SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
Download to read offline
บทนํา
การวิเคราะหเนื้อหา เปนขั้นตอนที่มีความสําคัญในการที่จะไดมาซึ่งเนื้อหาของบทเรียน
โดยพิจารณาวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมของบทเรียนที่ไดจากขั้นตอนที่ผานมา เพื่อเปนแนวทาง
ในการรวบรวมเนื้อหาใหสอดคลองกับวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม เปาหมาย และความตองการ
ของผูออกแบบบทเรียน โดยเปนที่ยอมรับกันโดยทั่วไปวาผูสอนที่มีความเชี่ยวชาญดานการสอน
จะสามารถออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรไดดีกวานักคอมพิวเตอร ที่มีความเชี่ยวชาญดานการ
โปรแกรม เนื่องจากผูเชี่ยวชาญดานการสอน จะมีความสามารถแยกแยะเนื้อหาออกเปน
รายละเอียดตาง ๆ ไดดีและมีกลยุทธวิธีในการนําเสนอเนื้อหาที่ดี ดังนั้น หลังจากรวบรวมเนื้อหา
เสร็จสิ้นแลว จําเปนตองอาศัยผูเชี่ยวชาญดานการสอนเปนผูใหคําแนะนํา เพื่อตรวจสอบเนื้อหา
กอนที่จะนําไปออกแบบบทเรียนสวนอื่น ๆ ตอไป
ความหมายของการวิเคราะหเนื้อหา จึงเปนวิธีการแยกแยะและแจกแจงเนื้อหาหรือแนวคิดที่
ปรากฏในเอกสารสิ่งพิมพ ขอความ ขาวสาร คําพูด หรือภาพตาง ๆ เปนตน เพื่อใหทราบถึง
โครงสรางและขอบเขตเนื้อหาอยางละเอียด รวมทั้งทําใหเห็นการเปลี่ยนแปลงของเนื้อหาในแตละ
ชวงเวลาที่วิเคราะหดวย ผลจากการแยกแยะเนื้อหาจะชวยใหสามารถแบงเนื้อหาออกเปนหัวเรื่อง
ยอย ๆ ซึ่งการที่จะวิเคราะหเนื้อหาเพื่อการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรนั้น จําเปนตองเขาใจ
เกี่ยวกับองคประกอบในการวิเคราะหเนื้อหาและขั้นตอนในการวิเคราะหเนื้อหาเปนอยางดี
ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับเนื้อหา
เนื้อหา (Content) หมายถึง ขาวสารที่เปนสาระสําคัญตาง ๆ เพื่อใชเปนขอมูลในการ
เพิ่มพูนประสบการณทั้งที่เปนความรูและทักษะแกผูเรียน เพื่อใหเกิดความรูและความเขาใจใน
เรื่องราวตาง ๆ ในการเรียนการสอนจะระบุลงไปวา “เนื้อหาวิชา” เนื่องจากเนนการใชในบทเรียน
ซึ่งประกอบดวยรายวิชาตาง ๆ ตามหลักสูตร
เนื้อหาวิชาจะสัมพันธกับวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมโดยตรง โดยที่วัตถุประสงคจะเปน
ตัวกําหนดเนื้อหาสาระที่จะนําเสนอแกผูเรียน จากแนวความคิดตาง ๆ ที่ไดแยกแยะตามความ
ตองการของการเรียนรู ซึ่งสิ่งนี้มักจะเรียกกันวา ความคิดรวบยอดหรือสังกัป (Concept) ดังนั้น
ทั้ง 3 สวนนี้จึงมีความสัมพันธกัน
7การวิเคราะหเนื้อหาและยุทธวิธีดานการสอน
Content Analysis and Instructional Strategy
174 การออกแบบและพัฒนาคอรสแวรสําหรับบทเรียนคอมพิวเตอร
ภาพที่ 7-1 ความสัมพันธของหัวเรื่อง วัตถุประสงค ความคิดรวบยอด และเนื้อหา
ความคิดรวบยอดหรือสังกัป (Concept)
ความคิดรวบยอดหรืสังกัป หมายถึง เปาหมายหรือแกนของสาระของบทเรียน ที่จําแนก
ความแตกตางขององคประกอบยอย ๆ หรือรวบรวมจากองคประกอบยอย ๆ สรุปรวมเปนกลุม
ของสาระที่เปนกลุมเดียวกัน ซึ่งเปนสิ่งที่จะใชเปนกรอบเนื้อหากวาง ๆ ที่ผูออกแบบเนื้อหาจะตอง
คํานึงถึงเปนสิ่งแรก ภายใตขอบขายของวัตถุประสงคที่กําหนดไว
การกําหนดความคิดรวบยอดของเนื้อหา พิจารณาจากสิ่งตาง ๆ ตอไปนี้
1. ลักษณะที่เห็นจากภายนอก เชน รูปราง โครงสราง สวนประกอบ และลักษณะเดนของ
สิ่งนั้น เปนตน
2. ลักษณะที่อยูภายใน เชน การทํางานภายใน และระบบการทํางาน เปนตน
3. ความสัมพันธกับสิ่งอื่น ๆ เชน การใชงาน ประโยชน โทษ ขอดี และขอเสีย เปนตน
4. องคประกอบพิเศษอื่น ๆ
แนวความคิดในการเขียนเนื้อหาสําหรับบทเรียนคอมพิวเตอรนั้น นอกจากจะตองคํานึงถึง
ความรวบยอดของเนื้อหาซึ่งเปนแกนเนื้อหาแลว ยังจะตองพิจารณารายละเอียดเพิ่มเติมแตละ
สวน ๆ ดวย เพื่อขยายความเขาใจในเนื้อหาออกไป ถาบทเรียนนําเสนอเฉพาะแกนของเนื้อหา
ก็จะเปนสิ่งที่ยากตอการเรียนรู โดยเฉพาะอยางยิ่งบทเรียนที่ใชกับผูเรียนระดับเด็กเล็ก ยิ่งมี
ความจําเปนที่จะตองเพิ่มเติมเนื้อหาปลีกยอยสําหรับขยายความเขาใจมากกวาปกติ
โดยสรุปแลวการวิเคราะหเนื้อหาสาระ จะทําใหผูออกแบบบทเรียนสามารถกําหนดเนื้อหาที่
จะนําเสนอไดอยางเหมาะสม สอดคลองกับความคิดรวบยอดของหัวเรื่อง วัตถุประสงคบทเรียน
และระยะเวลาที่ใชในการเรียนรู ดังนั้น ถามีการวิเคราะหเนื้อหาอยางถูกตองและมีระบบแลว
จะชวยใหบทเรียนดําเนินไปอยางราบรื่น และบรรลุเปาหมายในที่สุด
ประเภทของเนื้อหา
เนื้อหาจําแนกตามลักษณะของการเรียนรูได 2 ประเภท คือ 1) ประเภทความรูทางทฤษฎี
(Knowledge) ที่สงเสริมการเรียนรูทางดานพุทธิพิสัย และ 2) ประเภททักษะความชํานาญ (Skill)
Objective
Concept Content
Topic
การวิเคราะหเนื้อหาและยุทธวิธีดานการสอน 175
ที่สงเสริมการเรียนรูทางดานทักษะพิสัย แตถาจําแนกตามโครงสรางและระดับของเนื้อหา จะ
สามารถจําแนกได 4 ระดับ ดังนี้
1. เนื้อหาที่เปนจริงและกระบวนการ (Facts and Process) เปนเนื้อหาพื้นฐานที่ตอง
อาศัยพื้นฐานความจํา เชน ชื่อ รูปราง ลักษณะ ทาทาง สัญญาณ สัญลักษณ ขนาด ระยะ เปนตน
2. เนื้อหาที่เปนหลักการที่เกิดจากแนวคิดเบื้องตน (Basic Idea) เปนเนื้อหาที่แสดงความ
สัมพันธหรือเปรียบเทียบกันระหวางกลุม เชน สวนประกอบ การเปรียบเทียบกัน ความสัมพันธกัน
เปนตน
3. เนื้อหาที่แสดงความคิดรวบยอด (Concept) เปนเนื้อหาที่สรุปเปนคําจํากัดความ กฎ
สูตร ทฤษฎี และหลักการตาง ๆ
4. เนื้อหาที่อยูในรูปของระบบความคิด (Thought System) เปนเนื้อหาที่ตองการให
ผูเรียนไดใฝคิดหรือรวมคิดสรางสรรค เพื่อใชเปนแนวทางในการแกปญหา การประยุกตใชงาน
และการสงถายความรู เปนตน
เกณฑทั่วไปในการพิจารณาเลือกเนื้อหา
การเลือกเนื้อหาวิชาเพื่อใชในบทเรียน มีการกําหนดเกณฑไวมากมาย เชน เกณฑความรู
จากผูเชี่ยวชาญ เกณฑความรูที่เปนแกนสาระ เกณฑความรูที่ชวยกระตุนความคิด และเกณฑ
ความรูที่เนนการเรียนรูแบบสืบสวน เกณฑเหลานี้มีขอจํากัดและขอยุงยากในการตัดสินพอสมควร
อยางไรก็ตาม สามารถสรุปเกณฑทั่วไปในการเลือกเนื้อหาสําหรับบทเรียนไดดังนี้
1. มีประโยชนตอการเรียนรูเพื่อการดํารงชีวิต
2. มีคุณคาและประโยชนในการที่จะถายทอดตอ ๆ ไป
3. เปนแกนของสาระที่มีความสําคัญตอศาสตรดานนั้น ๆ
4. สอดคลองกับความตองการและความสนใจของผูเรียน
5. สอดคลองกับประสบการณของผูเรียน
6. เปนเนื้อหาที่ชวยกระตุนแนวความคิดของผูเรียน
7. เปนเนื้อหาที่สมดุลทั้งขอบขายและความลึก
8. ทันตอเทคโนโลยีและความกาวหนา
9. สอดคลองกับวัตถุประสงคของบทเรียนที่กําหนดไว
การวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis)
การวิเคราะหเนื้อหา จะตองพิจารณาใน 2 ประเด็น ดังนี้
1. องคประกอบในการวิเคราะหเนื้อหา ประกอบดวยสวนตาง ๆ ดังนี้
1.1 แหลงที่มาของเนื้อหา (Content Resources) ไดแก ตํารา หนังสือ เอกสารสิ่ง
พิมพ หลักสูตร เอกสารคําสอน บทความ แบบทดสอบ ใบงาน บทสนทนา รูปภาพ หรือ
176 การออกแบบและพัฒนาคอรสแวรสําหรับบทเรียนคอมพิวเตอร
ไฮเปอรเท็กซที่ไดจากไฟล HTML รวมทั้งเนื้อหาที่ไดจากสื่ออื่น ๆ เชน เสียง วีดิทัศน และ
ไฮเปอรมีเดีย เปนตน
1.2 วัตถุประสงคการวิเคราะหเนื้อหา (Objective of Content Analysis) โดยทั่วไปใน
การวิเคราะหเนื้อหาเพื่อใชในบทเรียนคอมพิวเตอรหรือเพื่อออกแบบสื่อการเรียนการสอน จะมี
วัตถุประสงคเพื่อแบงเนื้อหาออกเปนสวน ๆ ใหสอดคลองกับกลยุทธการนําเสนอ และเพื่อใหทราบ
โครงสรางและลําดับของเนื้อหา นอกจากนี้ยังรวมถึงการใชประโยชนตอการนําสงบทเรียนอีกดวย
1.3 หนวยที่ใชในการวิเคราะห (Unit of Analysis) โดยทั่วไปมักวิเคราะหออกมาเปน
หัวเรื่อง หัวเรื่องยอย บทเรียน โมดูล หรือคลัสเตอร (Cluster) รวมทั้งปริมาณ เชน จํานวนหนา
เปนตน
2. ขั้นตอนการวิเคราะหเนื้อหา ประกอบดวยขั้นตอนตาง ๆ ดังนี้
2.1 การศึกษาวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม (Study Behavioral Objective)
2.2 การรวบรวมและการศึกษาขอมูล (Collect and Study Related Data)
2.3 การประเมินความสําคัญของหัวเรื่องยอย (Evaluate Sub-Topic)
2.4 การจัดลําดับความสัมพันธของหัวเรื่อง (Sequencing)
2.5 การเขียนเนื้อหาใหสอดคลองกับวัตถุประสงค (Write the Content)
ภาพที่ 7-2 ขั้นตอนการวิเคราะหเนื้อหา
Evaluate Sub-Topic
Sequencing
Study Behavioral Objective
Collect and Study Related
Data
Write the Content
การวิเคราะหเนื้อหาและยุทธวิธีดานการสอน 177
ขั้นตอนการวิเคราะหเนื้อหา
ขั้นตอนการวิเคราะหเนื้อหา ประกอบดวยขั้นตอนตาง ๆ ดังนี้
1. การศึกษาวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม (Study Behavioral Objective)
วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมของบทเรียน เปนสิ่งที่บงบอกถึงพฤติกรรมที่คาดหวังของผูเรียน
จากบทเรียน วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมจึงเปนหัวใจในการที่จะไดมาซึ่งเนื้อหาที่สอดคลองกับ
เปาหมายและความตองการ การวิเคราะหเนื้อหาจึงตองศึกษาวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมของ
บทเรียนที่ไดจากการวิเคราะหงานหรือภารกิจอยางละเอียด เพื่อพิจารณาถึงเคาโครง ลักษณะ
และความสัมพันธของเนื้อหาแตละสวนที่จะนําไปสรางเปนตัวบทเรียนคอมพิวเตอรตอไป
2. การรวบรวมและการศึกษาขอมูล (Collect and Study Related Data)
ขอมูลในที่นี้ หมายถึง ขอความ เนื้อหา ภาพ เสียง วัสดุ เครื่องมือ โปรแกรม และสวนอื่น ๆ
ที่ใชในการนําเสนอและออกแบบบทเรียน ประกอบดวย 3 สวนหลัก ดังนี้
1) สวนที่เกี่ยวกับเนื้อหาบทเรียน (Subject Matter Resources)
2) สวนที่เกี่ยวกับการออกแบบบทเรียน (Instructional Design Resources)
3) สวนที่เกี่ยวกับระบบการนําสงบทเรียน (Delivery System Resources)
ขอมูลสวนที่เกี่ยวกับเนื้อหาบทเรียน ไดแก เนื้อหาบทเรียนทั้งหมดที่จะตองนําเสนอแก
ผูเรียน รวมทั้งสวนที่เกี่ยวของ ทั้งภาพนิ่ง ภาพถาย ภาพเคลื่อนไหว ภาพวีดิทัศน ภาพสไลด
และเสียง เปนตน ขอมูลสวนที่เกี่ยวกับการออกแบบบทเรียน ไดแก รูปแบบการนําเสนอบทเรียน
ผังงาน วิธีการนําเสนอเนื้อหา บทเรียนที่ปรากฏอยูในหนังสือ และซอฟทแวรคอมพิวเตอรสําหรับ
ออกแบบบทเรียน และขอมูลสวนที่เกี่ยวกับระบบการนําสงบทเรียน ไดแก ซีดีรอม เครือขาย
คอมพิวเตอร และการนําเสนอแบบผูสอนเปนผูนํา เปนตน
ขั้นตอนการรวบรวมและการศึกษาขอมูล มีดังนี้
2.1 รวบรวมขอมูลปจจุบันที่มีอยูทั้งหมดจากแหลงที่มาของเนื้อหา
2.2 ประเมินขอมูลปจจุบันเหลานั้นวาเหมาะสมและสอดคลองกับความตองการหรือไม
2.3 รวบรวมขอมูลเพิ่มเติมจากแหลงขอมูลใหม ๆ ภายนอก
2.4 ประเมินขอมูลทั้งหมดวาเหมาะสมและสอดคลองกับความตองการหรือไม
2.5 ศึกษารายละเอียดของขอมูลที่ได
ขั้นตอนการรวบรวมและการศึกษาขอมูล มีดังนี้
2.1 รวบรวมขอมูลปจจุบันที่มีอยูทั้งหมดจากแหลงที่มาของเนื้อหา
การรวบรวมและการศึกษาขอมูล อาจดําเนินการทั้งรายบุคคล โดยผูออกแบบบทเรียน
เองหรือดําเนินการเปนกลุม โดยแบงหนาที่การรวบรวมขอมูลจากแหลงตาง ๆ หลังจากนั้นจึง
นําขอมูลที่ไดมาวิเคราะหโดยวิธีการระดมสมอง เพื่อใหไดขอมูลสอดคลองกับเปาหมายและความ
178 การออกแบบและพัฒนาคอรสแวรสําหรับบทเรียนคอมพิวเตอร
ตองการของบทเรียน โดยผานการตรวจสอบจากผูเชี่ยวชาญ ขอมูลที่ไดจากขั้นตอนนี้ จะนําไปใช
วิเคราะหเนื้อหาในขั้นตอไป สําหรับแหลงที่มาของขอมูลที่ใชในการวิเคราะหเนื้อหา มีอยู 5 แหลง
ดังนี้
2.1.1 ประสบการณของผูวิเคราะหเนื้อหา (Experiences)
2.1.2 หลักสูตรรายวิชา (Course Description)
2.1.3 ตํารา เอกสาร หนังสือ หรือแหลงอางอิงตาง ๆ (Literatures)
2.1.4 การสอบถามผูเชี่ยวชาญ (Experts)
2.1.5 การสังเกตการทํางาน (Job Observation) (ถามี)
เพื่อใหการรวบรวมเนื้อหาเปนระบบ ไมเกิดความซ้ําซอน และงายตอการพิจารณา
เลือกเนื้อหาบทเรียน จึงควรใชวิธีการตาง ๆ เขาชวย เพื่ออํานวยประโยชนใหการรวบรวมเนื้อหา
จากแหลงตาง ๆ ใหเปนรูปธรรมมากที่สุด วิธีการรวบรวมเนื้อหาที่นิยมใช ไดแก แบบปรามิด
และ แผนภาพปะการัง ซึ่งเปนวิธีการเดียวกันกับการวิเคราะหงานที่ผานมา ซึ่งแผนภาพปะการัง
เปนวิธีการรวบรวมเนื้อหาของบทเรียนที่สะดวกในการแกไขภายหลังและงายตอการเพิ่มเติมขอมูล
อีกดวย รวมทั้งสามารถนําเสนอลงในกระดาษเพียงแผนเดียว ทําใหเห็นภาพขอบเขตโครงสราง
ของเนื้อหาทั้งหมด จึงไดรับความนิยมในการรวบรวมเนื้อหามากกวาแบบปรามิด วิธีการรวบรวม
เนื้อหาจากแหลงที่มาของขอมูลทั้ง 5 แหลง โดยใชแผนภาพปะการังมีลําดับขั้นดังนี้
1) กําหนดหัวขอเรื่องหรือวิชาที่จะรวบรวมเนื้อหา
2) จากประสบการณของผูวิเคราะหเนื้อหา โดยไมตองดูจากตําราหรือเอกสาร
เลมใด ๆ ใหใสหัวเรื่องหรือหัวเรื่องยอยลงไป ตามประสบการณของผูวิเคราะหเองที่เห็นวาจะตอง
มีในหัวขอเรื่องหรือรายวิชาดังกลาว ซึ่งเขียนแยกออกเปนกิ่งหรือแขนงยอย ๆ จนครบตามความ
ตองการ
3) ขั้นตอไป ใหผูวิเคราะหศึกษาจากหลักสูตรรายวิชา จํานวน 1 - 2 ฉบับ เพื่อ
ศึกษาวามีหัวขอใดบางที่ยังไมปรากฏในแผนภาพปะการัง ใหเพิ่มเติมเฉพาะหัวเรื่องหรือหัวเรื่อง
ยอยที่ยังไมมีลงไปในแตละกิ่งหรือแขนงยอย ๆ ตามที่ปรากฏในหลักสูตรรายวิชา โดยจะไมมีการ
ตัดหัวขอเรื่องที่ปรากฏอยูแลวในแผนภาพปะการังออกไป
4) ขั้นตอไป สําหรับตํารา เอกสาร หนังสือ หรือแหลงอางอิงตาง ๆ ก็ใชวิธีการ
เดียวกันกับขั้นที่ 3 โดยคัดเลือกตําราจํานวน 2 - 4 ฉบับ เพื่อทําการเพิ่มเติมเฉพาะหัวเรื่องหรือหัว
เรื่องยอยที่ยังไมปรากฏในแผนภาพปะการัง โดยไมมีการตัดหัวขอเรื่องที่ปรากฏอยูแลวแตอยางใด
5) ขั้นตอไปเปนการสอบถามผูเชี่ยวชาญ เพื่อหาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับหัวเรื่อง
หรือหัวเรื่องยอยที่จะนํามาใสในแผนภาพปะการัง จนไดขอบขายของเนื้อหาครบสมบูรณ
6) ในบางกรณีที่ไมสามารถรวบรวบเนื้อหาจากแหลงขอมูลตาง ๆ ได เนื่องจาก
เปนเนื้อหาใหมหรือเปนเนื้อหาที่ซับซอน แตสามารถทํางานและสังเกตการณทํางานได ก็สามารถ
บันทึกขั้นตอนการทํางาน เพื่อนํามากําหนดเปนเนื้อหาได
การวิเคราะหเนื้อหาและยุทธวิธีดานการสอน 179
ภาพที่ 7-3 การใชแผนภาพปะการังรวบรวมเนื้อหา โดยใชโปรแกรม Mind Manager
2.2 ประเมินขอมูลปจจุบันเหลานั้นวาเหมาะสมและสอดคลองกับความตองการหรือไม
เมื่อรวบรวมขอมูลจากแหลงที่มาของเนื้อหาตามขั้นที่ 2.1 เสร็จสิ้นแลว ขั้นตอไปจะ
เปนการประเมินขอมูลวาเหมาะสมและสอดคลองกับความตองการหรือไม โดยพิจารณาขอบเขต
ของเนื้อหาที่ปรากฏในแผนภาพปะการังทั้งหมด ซึ่งในขั้นนี้ สามารถทําการปรับเปลี่ยนขอมูลได
ตามความเหมาะสม เชน ยายหัวเรื่องยอย ตั้งหัวเรื่องใหม หรือจัดกลุมของหัวเรื่องใหม เปนตน
2.3 รวบรวมขอมูลเพิ่มเติมจากแหลงขอมูลใหม ๆ ภายนอก
เมื่อพิจารณาแลว ถาเห็นวาขอมูลที่ปรากฏในแผนภาพปะการังยังไมเพียงพอหรือไม
สอดคลองกับความตองการ ผูวิเคราะหสามารถเพิ่มเติมขอมูลใหม ๆ ภายนอก โดยพิจารณาจาก
ตํารา เอกสาร หนังสือ หรือแหลงอางอิงใหม ๆ เชน ขอมูลบนเครือขายอินเทอรเน็ต หรือขอมูล
จากฐานขอมูลซีดีรอม เปนตน เพื่อปรับเปลี่ยนใหแผนภาพปะการังมีเนื้อหาครบสมบูรณตาม
วัตถุประสงค
2.4 ประเมินขอมูลทั้งหมดวาเหมาะสมและสอดคลองกับความตองการหรือไม
ทําการประเมินขอมูลที่รวบรวมไดทั้งหมด วามีความเหมาะสมและสอดคลองกับความ
ตองการหรือไม ถาหากยังไมเหมาะสมก็สามารถปรับเปลี่ยนใหเหมาะสมตามความคิดเห็นของ
ผูวิเคราะหเนื้อหา ภายใตวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมของบทเรียนเปนหลัก
180 การออกแบบและพัฒนาคอรสแวรสําหรับบทเรียนคอมพิวเตอร
2.5 ศึกษารายละเอียดของขอมูลที่ได
ขั้นตอนสุดทายเปนการศึกษารายละเอียดของขอมูลที่ได กอนที่จะนําไปประเมิน
ความสําคัญในขั้นตอไป
3. การประเมินความสําคัญของหัวเรื่องยอย (Evaluate Sub-Topic)
หัวเรื่องและหัวเรื่องยอยที่ปรากฏในแผนภาพปะการัง หากพิจารณาในรายละเอียด จะพบวา
บางหัวเรื่องมีความสําคัญมากที่จะตองนํามากําหนดเปนเนื้อหาบทเรียน ในขณะที่บางหัวเรื่อง
อาจจะตัดทิ้งออกไดโดยไมมีผลใด ๆ ตอการเรียนการสอน เนื่องจากเปนเรื่องพื้นฐานที่ผูเรียน
อาจจะเรียนรูไดจากประสบการณหรือสามารถศึกษาไดจากวิชาอื่น ๆ เกณฑในการพิจารณา
ความสําคัญของหัวเรื่องและหัวเรื่องยอยที่สมควรนํามาเปนเนื้อหาของบทเรียนหรือไม จะใชเกณฑ
เดียวกับการวิเคราะหงานหรือภารกิจที่ผานมา โดยมีขอพิจารณาดังนี้
3.1 การสงเสริมความสามารถในการแกปญหาในการเรียน (Promotes Problem Sol-
ving)
3.2 การสงเสริมทักษะในการทํางานถูกตองสมบูรณ (Promotes Learning Skill)
3.3 การสงเสริมใหผูเรียนมีเจตคติที่ดี (Promotes Transfer Value)
รายละเอียดของเกณฑการพิจารณา มีดังนี้
3.1 การสงเสริมความสามารถในการแกปญหาในการเรียน (Promotes Problem Sol-
ving)
เปนการพิจารณาวาหัวเรื่องหรือหัวเรื่องยอยที่รวบรวมมานั้น ผูเรียนจะนําความรูไปใช
ในการแกปญหาในการเรียนหรือการทํางานไดมากนอยเพียงใด โดยใหคะแนน X I O แทนระดับ
การสงเสริมความสามารถ โดยที่
X = สงเสริมการแกปญหาตาง ๆ ในการเรียนและการทํางานเปนอยางมาก
ถาไมมีการศึกษาหัวเรื่องนี้แลว จะไมสามารถแกปญหาไดลุลวง
I = สงเสริมการแกปญหาตาง ๆ ในการเรียนและการทํางานในระดับปานกลาง
O = เกือบจะไมชวยสงเสริมการแกปญหาในการเรียนหรือการทํางาน
ผูเรียนจะศึกษาหัวเรื่องนี้หรือไม ก็สามารถแกปญหาไดพอกัน
3.2 การสงเสริมทักษะในการทํางานใหถูกตองสมบูรณ (Promotes Learning Skill)
เปนการพิจารณาวาหัวเรื่องหรือหัวเรื่องยอยที่รวบรวมมานั้น เมื่อไดศึกษาแลวจะชวย
สงเสริมทักษะใหผูเรียนทํางานไดถูกตองสมบูรณมากขึ้นเพียงใด โดยที่
X = มีผลทําใหทักษะการทํางานถูกตองสมบูรณมากขึ้น หากไมไดศึกษา
หัวเรื่องนี้แลว จะทํางานไมไดผล
I = มีผลทําใหทักษะการทํางานถูกตองสมบูรณขึ้นในระดับหนึ่ง
การวิเคราะหเนื้อหาและยุทธวิธีดานการสอน 181
O = เกือบจะไมมีผลตอทักษะการทํางานที่เกี่ยวของเลย ผูเรียนจะศึกษา
หัวเรื่องนี้หรือไม ก็จะไดผลเหมือนกัน
3.3 การสงเสริมใหผูเรียนมีเจตคติที่ดี (Promotes Transfer Value)
เปนการพิจารณาวาหัวเรื่องหรือหัวเรื่องยอยที่รวบรวมมานั้น คาดวาจะสงผลใหผูเรียน
มีเจตคติที่ดีหรือไม เพียงใด โดยที่
X = สงเสริมใหผูเรียนมีเจตคติที่ดีตอการเรียน หรือการทํางานอยางมาก
I = อาจจะมีสวนชวยสงเสริมใหผูเรียนมีเจตคติที่ดีตอการเรียนหรือการทํางาน
O = เกือบจะหรือไมมีประโยชนในการสงเสริมใหผูเรียนมีเจตคติที่ดีตอ
การเรียนหรือการทํางานแตอยางใด
สําหรับการประเมินความสําคัญของหัวเรื่องหรือหัวเรื่องยอนในขั้นตอนนี้ จะใชแบบ
ฟอรม Sub-Topic Evaluation Sheet โดยระบุหัวขอยอยที่รวบรวมไดทั้งหมดลงในแบบฟอรม
หลังจากนั้นจึงประเมินความสําคัญทั้ง 3 ดาน โดยใชมาตราสวนประเมินคา X, I และ O หลังจาก
นั้นจึงพิจารณาตัดสินใจยอมรับหรือตัดทิ้งหัวเรื่องเปนรายขอ เชนเดียวกันกับการวิเคราะหงานหรือ
ภารกิจที่ผานมา
ลําดับขั้นของการประเมินความสําคัญของหัวเรื่องหรือหัวเรื่องยอย มีดังนี้
1. กําหนดเกณฑการยอมรับ (Accept) และเกณฑการตัดทิ้ง (Reject) ของหัวเรื่อง
หรือหัวเรื่องยอยไวกอน วาจะยอมรับหรือตัดทิ้งที่ระดับใดในผลการประเมินทั้ง 3 ดาน เชน ตัดทิ้ง
ตั้งแต I, I, O ลงมา หรือตัดทิ้งตั้งแต I, O, O ลงมา ทั้งนี้เพื่อลดอคติในระหวางการประเมิน
2. พิจารณาหัวเรื่องหรือหัวเรื่องยอยที่ปรากฏในแผนภาพปะการัง พิจารณาวาจะ
นําหัวเรื่องยอยระดับใดไปประเมิน เชน X.X หรือ Y.Y.Y เปนตน ซึ่งควรนําหัวเรื่องยอยที่มีระดับ
ความสําคัญเทากันไปประเมินดวยกัน แสดงวาหัวเรื่อง X.X.X จะอยูระดับเดียวกันกับหัวเรื่อง
Y.Y.Y ซึ่งจะนําหัวเรื่อง X.X.X ไปประเมินพรอมกับหัวเรื่อง Y.Y ไมได หลังจากนั้นจึงนําหัวเรื่อง
ยอยที่ตัดสินใจไดวาจะนําไปประเมิน เขียนลงในตาราง Sub-Topic Evaluation Sheet ใหครบ
ทั้งหมด โดยไมตองเรียงลําดับกอนหลังแตอยางใด
จากแผนภาพปะการังภาพที่ 7-3 พบวา จะประกอบไปดวย 2 หัวเรื่อง ไดแก 1.
องคประกอบในการวิเคราะหเนื้อหา และ 2 ขั้นตอนการวิเคราะหเนื้อหา ซึ่งเมื่อพิจารณาหัวเรื่องที่
2 พบวาไดแบงออกเปน 5 หัวเรื่องยอย ไดแก 2.1, 2.2, 2.3, 2.4 และ 2.5 เมื่อพิจารณาหัวเรื่องที่
2.2 พบวา ไดมีการแบงออกเปน 2.2.1 – 2.2.5 และจะพบวาหัวเรื่องยอยระดับ X.X.X มีเฉพาะใน
หัวเรื่อง 2.2 กับ 2.3 เทานั้น หัวเรื่องที่ 2.1, 2.4 และ 2.5 ไมมีการแบงออกเปนหัวเรื่องยอย ๆ แต
อยางใด ดังนั้น เมื่อพิจารณาวาควรนําหัวเรื่องยอยที่มีระดับความสําคัญเทากันไปประเมินดวยกัน
182 การออกแบบและพัฒนาคอรสแวรสําหรับบทเรียนคอมพิวเตอร
1 = Promotes Problem Solving A = Accept
2 = Promotes Learning Skill R = Reject
3 = Promotes Transfer Value
แสดงวาหัวเรื่องที่จะนําไปประเมินความสําคัญได ก็คือ X.X เทานั้น ซึ่งก็คือหัวเรื่อง 2.1, 2.2, 2.3,
2.4 และ 2.5
3. ประเมินความสําคัญอยางรอบคอบในแตละหัวเรื่องยอย โดยพิจารณาแตละ
หัวเรื่องใหครบทั้ง 3 ดานในครั้งเดียวตามเกณฑที่กําหนดไว ทั้งการสงเสริมความสามารถในการ
แกปญหาในการเรียน การสงเสริมทักษะในการทํางานถูกตองสมบูรณ และการสงเสริมใหผูเรียนมี
เจตคติที่ดี ตัดสินใจให X เมื่อเห็นวาหัวเรื่องยอยนั้น มีความจําเปนจริง ๆ ให I เมื่อเห็นวา
หัวเรื่องยอยนั้น มีความจําเปนปานกลาง และให O เมื่อเห็นวา มีความจําเปนคอนขางนอย
4. พิจารณายอมรับหรือตัดทิ้งหัวเรื่องยอยที่ไดจากการประเมินในขอที่ 3 โดยตัดสิน
จากเกณฑที่กําหนดไวแลวในขอที่ 1
5. พิจารณาหัวเรื่องยอยทั้งหมดอีกครั้งหนึ่ง เพื่อตรวจสอบความมั่นใจในการประเมิน
ตัวอยางการประเมินความสําคัญของหัวเรื่องยอย
Sub-Topic Evaluation Sheet : การวิเคราะหเนื้อหา
List of Sub-Topic Factor Criteria Note
1 2 3 A R
1. องคประกอบในการวิเคราะหเนื้อหา
1.1 แหลงที่มาของเนื้อหา
1.2 วัตถุประสงคการวิเคราะหเนื้อหา
1.3 หนวยที่ใชในการวิเคราะห
2. ขั้นตอนการวิเคราะหเนื้อหา
2.1 การศึกษาวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม
2.2 การรวบรวมและการศึกษาขอมูล
2.3 การประเมินความสําคัญของหัวเรื่องยอย
2.4 การจัดลําดับความสัมพันธของเนื้อหา
2.5 การเขียนเนื้อหาใหสอดคลองกับ
วัตถุประสงค
I
X
I
X
X
X
X
X
I
I
I
I
X
X
X
X
O
O
O
O
O
O
O
O
ü
ü
ü
ü
ü
ü
ü
ü
-
-
-
-
-
-
-
-
การวิเคราะหเนื้อหาและยุทธวิธีดานการสอน 183
4. การจัดลําดับความสัมพันธของเนื้อหา (Sequencing)
ภายหลังจากที่ผานการรวบรวมเนื้อหา โดยไดหัวเรื่องและหัวเรื่องยอยจากแหลงที่มาของ
ขอมูลและประเมินความสําคัญของหัวเรื่องดวย Sub-Topic Evaluation Sheet แลว ขั้นตอไปเปน
การจัดลําดับความสัมพันธของหัวเรื่อง เพื่อจัดลําดับเนื้อหาที่จะนําเสนอในบทเรียน โดยมีเกณฑ
การพิจารณาทั่ว ๆ ไป ดังนี้
4.1 จัดลําดับเนื้อหา โดยพิจารณาเนื้อหาจากงายไปสูเนื้อหายาก
4.2 จัดตามลําดับกอนหลังของเนื้อหา เชน เนื้อหาทฤษฎีตองมากอนเนื้อหาดานทักษะ
ปฏิบัติ เปนตน
4.3 จัดลําดับเนื้อหาจากสวนรวมไปหาสวนยอย ๆ
4.4 จัดลําดับเนื้อหาตามลําดับเวลาที่เกิดกอนหลัง
4.5 จัดลําดับเนื้อหาจากสิ่งที่เปนรูปธรรมไปหานามธรรม
4.6 จัดลําดับเนื้อหาจากสิ่งที่สังเกตไดไปหาขอมูลหรือกฎเกณฑ
เพื่อใหการจัดลําดับความสัมพันธของเนื้อหาตามหัวเรื่องและหัวเรื่องยอย เปนระบบมากขึ้น
สามารถใช Network Diagram ชวยในการจัดลําดับความสัมพันธของหัวเรื่องหรือหัวเรื่องยอยที่
ผานการยอมรับจากการประเมินความสําคัญของหัวเรื่องซึ่งเปนวิธีการเดียวกันกับการใช Network
Diagram จัดลําดับงานหรือภารกิจในบทที่ผานมา
ตัวอยางการใช Network Diagram จัดลําดับความสัมพันธของเนื้อหา
จาก Sub-Topic Evaluation Sheet ที่ผานการประเมินความสําคัญแลว พบวาหัวเรื่องหรือ
หัวเรื่องยอยที่ผานการยอมรับแลวของ “การวิเคราะหเนื้อหา” มีจํานวน 8 หัวเรื่อง ซึ่งสามารถ
นํามาจัดลําดับความสัมพันธโดยใช Network Diagram ไดดังนี้
จาก Network Diagram ที่แสดงความสัมพันธของหัวเรื่องทั้ง 8 หัวเรื่อง พบวาหัวเรื่องที่
1.1, 1.2 และ 1.3 ไมมีความสัมพันธกัน จะนําเสนอหัวเรื่องใดกอนก็ได แตตองนําเสนอใหครบทั้ง
3 หัวเรื่องกอนที่จะเริ่มหัวเรื่องที่ 2.1 จนถึง 2.5 ซึ่งหัวเรื่อง 2.1 จําเปนตองเริ่มกอน หัวเรื่องอื่น ๆ
เนื่องจากหัวเรื่องในสวนนี้มีเนื้อหาเรียงลําดับกันและมีความสัมพันธกันในลักษณะเชิงเสน จึงสรุป
ทางเลือกของหัวเรื่องทั้งหมด ได 6 ทางเลือก ดังนี้
1.1
Stop
Start
1.2
1.3
2.1 2.2 2.3 2.4 2.5
184 การออกแบบและพัฒนาคอรสแวรสําหรับบทเรียนคอมพิวเตอร
1. 1.1 – 1.2 – 1.3 – 2.1 – 2.2 – 2.3 – 2.4 – 2.5
2. 1.1 – 1.3 – 1.2 – 2.1 – 2.2 – 2.3 – 2.4 – 2.5
3. 1.2 – 1.3 – 1.1 – 2.1 – 2.2 – 2.3 – 2.4 – 2.5
4. 1.2 – 1.1 – 1.3 – 2.1 – 2.2 – 2.3 – 2.4 – 2.5
5. 1.3 – 1.1 – 1.2 – 2.1 – 2.2 – 2.3 – 2.4 – 2.5
6. 1.3 – 1.2 – 1.1 – 2.1 – 2.2 – 2.3 – 2.4 – 2.5
ขอดีของการใช Network Diagram วิเคราะหความสัมพันธของหัวเรื่องอีกประการหนึ่งก็คือ
สามารถนํา Network Diagram ที่ไดจากการวิเคราะหไปใชเปนแผนที่การเรียนรู (Learning Map)
ของบทเรียนคอมพิวเตอรได ทําใหผูเรียนไดทราบทางเลือกของบทเรียนที่ไมจําเปนตองศึกษา
บทเรียนเรียงลําดับเสมอไป สามารถศึกษาจากหัวเรื่องใดก็ได
ภาพที่ 7-4 การใช Network Diagram เปนรายการใหเลือก (Menu) ของบทเรียน
หัวเรื่องหรือเนื้อหาที่ผานการยอมรับและผารการจัดลําดับความสัมพันธแลว จะตองนํามา
วางแผนการจัดเตรียมเพื่อถายทอดใหผูเรียนสามารถรับเนื้อหาดังกลาวไดครบถวน การเขียน
เนื้อหาเพื่อสงเสริมความเขาใจใหผูเรียน จะตองพิจารณาวัตถุประสงคของบทเรียนเปนหลัก โดย
จะตองทําการแยกแยะเนื้อหาเพื่อใหผูเรียนรับไดในปริมาณที่เหมาะสม โดยมีขอควรพิจารณาก็คือ
ถาเนื้อหายาก ตองแยกแยะมาก แตถาเนื้อหางาย ก็แยกแยะนอยลงตามสัดสวน
Menu
EXIT
1.1
Stop
Start
1.2
1.3
2.1 2.2 2.3 2.4 2.5
Learning Map
< Please click at any number as you wish to study >
การวิเคราะหเนื้อหาและยุทธวิธีดานการสอน 185
5. การเขียนเนื้อหาใหสอดคลองกับวัตถุประสงค (Write the Content)
หลังจากไดรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับหัวเรื่องตาง ๆ ที่ผานการจัดลําดับความสัมพันธแลว
ขั้นตอนตอไปจะเปนการเขียนเนื้อหาที่เกี่ยวของทั้งหมด เพื่อรวบรวมแนวความคิดในการนําเสนอ
และนําเสนอเนื้อหาใหตรงตามวัตถุประสงคของบทเรียนที่กําหนดไว หลักพื้นฐานในการเขียน
เนื้อหาก็คือ ใหยึดวัตถุประสงคของบทเรียนเปนหลัก ถาสาระหลักของวัตถุประสงคเปนอยางใด
เนื้อหาก็จะตองสอดคลองกับสาระนั้น เนื้อหาที่จะนําเสนอในแตละวัตถุประสงคของบทเรียน
ประกอบดวย 2 สวน ดังนี้
5.1 เนื้อหาหลัก (Main Element) ไดแก ความคิดรวบยอดที่เปนแกนของเนื้อหานั้น ๆ
ที่จําเปนตองมี เพื่อใหผูเรียนไดศึกษาตามวัตถุประสงค
5.2 ความรูตาง ๆ (Knowledge) ไดแก ขอมูลหรือรายละเอียดปลีกยอยที่ใชสนับสนุน
ใหเกิดความเขาใจในเนื้อหาหลัก ซึ่งอาจมีมากกวาหนึ่งสวนก็ได โดยมีหลักพื้นฐานวาจะตอง
นําเสนอสวนของความรูตาง ๆ ใหละเอียดในบทเรียนสําหรับเด็กเล็ก แตถาเปนบทเรียนสําหรับ
ผูเรียนระดับผูใหญ ก็ใหนําเสนอเฉพาะเทาที่จําเปนเทานั้น เนื่องจากถานําเสนอเนื้อหาสวนนี้มาก
ไป จะทําใหเสียเวลาและเกิดความเบื่อหนาย
ภาพที่ 7-5 สวนประกอบของเนื้อหาแตละวัตถุประสงค
ในขั้นนี้จึงเปนการเขียนเนื้อหาตามวัตถุประสงค โดยพิจารณาจากหัวเรื่องและหัวเรื่องยอยที่
เกิดจากการจัดลําดับความสัมพันธแลว เพื่อใชเปนเนื้อหาของของบทเรียนคอมพิวเตอรตอไป
ขั้นตอนการเรียนการสอน
การเรียนการสอนเปนกระบวนการตาง ๆ ที่ทําใหบุคคลสามารถเรียนรูขึ้นไดตามวัตถุ
ประสงคของบทเรียนที่กําหนดไว ซึ่งการเรียนรูจะหมายถึงการที่บุคคลสามารถกระทําอยางหนึ่ง
Topic
Objective 1 Main Element 1 Knowledge 1
Knowledge 2
Objective 2 Main Element 2 Knowledge 1
Knowledge 2
186 การออกแบบและพัฒนาคอรสแวรสําหรับบทเรียนคอมพิวเตอร
อยางใดได โดยที่บุคคลนั้นไมเคยทํามากอน การเรียนรูจึงเปนกระบวนการที่มีขั้นตอนโดยยึดหลัก
ประสบการณของการศึกษา ซึ่งขั้นตอนการเรียนการสอน สามารถจําแนกเปน 4 ขั้นตอน ดังนี้
1. ขั้นสนใจปญหา (M : Motivation)
2. ขั้นศึกษาขอมูล (I : Information)
3. ขั้นนําขอมูลมาใช (A : Application)
4. ขั้นประเมินผลสําเร็จ (P : Progress)
รายละเอียดของแตละขั้นตอน มีดังนี้
1. ขั้นสนใจปญหา (Motivations)
ขั้นสนใจปญหาเปนกาวแรกในการนําทางเขาไปหาการเรียนรูในสิ่งใหม ๆ ปจจัยที่ทําให
เกิดความสนใจในเนื้อหาอาจเกิดมาจากหลาย ๆ ประการดวยกัน เชน แรงจูงใจทั้งภายนอกและ
ภายใน เจตคติ คานิยม เปนตน สําหรับในบทเรียนคอมพิวเตอรแลว ขั้นสนใจปญหามักจะ
เริ่มตนดวยการสรางปญหาใหผูเรียนไดคิด โดยการใชคําถามหรือการกลาวนําเพื่อโนมนาวใหเกิด
ความสนใจที่จะติดตามและศึกษาบทเรียน ขั้นตอนนี้นับวามีความจําเปนตอกระบวนการเรียน
การสอนมาก เนื่องจากถาผูเรียนไมสนใจ ความลมเหลวตอการเรียนรูจะมีโอกาสเกิดขึ้นไดสูง
2. ขั้นศึกษาขอมูล (Information)
หลังจากที่ผานขั้นสนใจปญหามาแลว แสดงวาผูเรียนมีความพรอมที่จะรับเนื้อหาและความรู
ใหม ๆ จากบทเรียนหรือจากผูสอน ขั้นตอนนี้จึงเปนการใหขอมูลเกี่ยวกับความรูใหม ๆ ที่จะชวย
แกปญหาที่ตั้งไวในขั้นแรก ดังนั้น ในขั้นนี้จึงตองใชเวลามากกวาขั้นตอนอื่น ๆ โดยอาจใชวิธีการ
ใหเนื้อหาหลากหลายรูปแบบ เพื่อเนนย้ําความเขาใจใหกับผูเรียน เชน การบรรยาย การถามตอบ
หรือใหผูเรียนศึกษาดวยตนเอง เปนตน
3. ขั้นนําขอมูลมาใช (Application)
ขั้นนี้เปนขั้นตอนที่ 3 ในกระบวนการเรียนรู เปนการแกปญหาโดยนําขอมูลที่ไดในขั้นที่ 2
มาใช เพื่อตรวจสอบความรูใหมที่ไดรับมาแกปญหาตามที่กําหนดไวในบทเรียน เชน แกปญหา
โจทยแบบฝกหัด ทําแบบทดสอบ เปนตน ในขั้นตอนนี้จึงนับวามีความสําคัญยิ่งในการที่จะ
ตรวจสอบผลการเรียนรูวาบรรลุตามวัตถุประสงคหรือไม หากยังไมบรรลุก็อาจจะตองใหศึกษา
ขอมูลเพิ่มเติมหรือเสนอแนะใหดําเนินการอื่น ๆ ตอไป
4. ขั้นประเมินผลสําเร็จ (Progress)
ขั้นตอนนี้ เปนการตรวจสอบผลที่ไดนําขอมูลมาใชวาตรงตามเปาหมายที่กําหนดไวหรือไม
โดยพิจารณาตามวัตถุประสงคของบทเรียนเปนหลัก ถาหากบรรลุตามวัตถุประสงคก็แสดงวา
การวิเคราะหเนื้อหาและยุทธวิธีดานการสอน 187
ผูเรียนเกิดการเรียนรูขึ้น ในขั้นนี้จะกระทําทันทีภายหลังจากที่นําขอมูลมาใชในขั้นที่ 2 เสร็จสิ้น แต
ถายังไมผานเกณฑการวัดผลที่กําหนดไว ก็อาจจะตองกลับไปศึกษาเพิ่มเติมหรือดําเนินการอยาง
อื่น ๆ ตอไป
ภาพที่ 7-6 ขั้นตอนการเรียนรู MIAP
เมื่อพิจารณากระบวนการเรียนรูทั้ง 4 ขั้น ซึ่งเปนการจัดการเรียนการสอนทั่วไป จะเห็นวา
สามารถประยุกตใชขั้นตอนทั้งหมดในบทเรียนคอมพิวเตอรได เนื่องจากเปนหลักการเดียวกัน
นับตั้งแตขั้นนําเขาสูบทเรียน ซึ่งบทเรียนคอมพิวเตอรก็จําเปนตองมีขั้นตอนนี้เชนกัน โดยอาจจะ
ใชคําถามเพื่อเรียกรองความสนใจ หลังจากนั้นจึงเขาสูขั้นตอนการศึกษาขอมูล ซึ่งนําเสนอตาม
หลักการเรียนรูดวยตนเอง เนื่องจากเปนบทเรียนที่เนนใหผูเรียนศึกษาดวยตนเอง ดังนั้น
ผูออกแบบบทเรียนจึงจําเปนตองวางแผนการนําเสนอเนื้อหาใหรัดกุม โดยการนําเสนอเนื้อหา
ประกอบคําถาม และสงเสริมใหมีการตรวจปรับเนื้อหาตามที่เห็นสมควร นอกจากนี้ยังตอง
พิจารณากิจกรรมรวมในบทเรียนดวยวาจะสามารถชี้แนะแนวทางการเรียนรูไดอยางไรบาง หลัง
สมชายมาจากตางจังหวัด สอบเขาศึกษาตอในมหาวิทยาลัยในกรุงเทพฯ ได
ขณะอยูที่ตางจังหวัดก็ไมมีโอกาสไดชมความกาวหนา
ทางดานเทคโนโลยีคอมพิวเตอรมากอนเลย
วันหนึ่งเขาเห็นประกาศ นิทรรศการคอมพิวเตอร ณ ศูนยประชุมแหงชาติ
เขามีความสนใจอยางมากที่จะไปดู แตเขาไมเคยไปศูนยประชุมแหงชาติ
มากอนเลย เขาตั้งใจวาจะไปแนนอน
M
เขาเริ่มศึกษาเสนทางการเดินทางไปศูนยประชุมแหงชาติ
โดยการดูจากแผนที่การเดินรถประจําทาง และสอบถามเพื่อน
เขาทดลองทําตามคําแนะนําของเพื่อน และนําขอมูลที่
เขาศึกษามาใช
เขาเดินทางไปถึงศูนยประชุมแหงชาติ และไดชมนิทรรศการ
คอมพิวเตอรตามที่ตั้งใจไว
I
A
P
188 การออกแบบและพัฒนาคอรสแวรสําหรับบทเรียนคอมพิวเตอร
จากนั้นจึงเขาสูขั้นตอนการนําขอมูลมาใช ซึ่งหมายถึงการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดวย
แบบทดสอบ กลาวโดยสรุปไดวา หลักการนําเสนอของบทเรียนคอมพิวเตอรก็คือ การดําเนินตาม
ขั้นตอนการเรียนรู 4 ขั้น ไดแก Motivation, Information, Application และ Progress นั่นเอง
วิธีการนําสงบทเรียนคอมพิวเตอร
บทเรียนคอมพิวเตอร สามารถจําแนกตามวิธีการนําสงบทเรียน (Delivery) ไปยังผูเรียนได
3 วิธี ดังตอไปนี้
1. นําเสนอแบบเปนกลุม (Group Presentation) ไดแก บทเรียนคอมพิวเตอรที่นําไปใช
ประกอบการบรรยายในการเรียนการสอนในชั้นเรียน เนื่องจากมีผูเรียนหลายคน ดังนั้นการใช
บทเรียนในลักษณะนี้ จึงอาจมีลักษณะเปนบทเรียนเสริม (Supplement Lesson) หรือบทเรียนเพื่อ
ใชทบทวนความรูมากกวาการใชเปนบทเรียนหลัก (Main Lesson)
2. นําเสนอแบบกลุมยอย (Small-group Presentation) ไดแก บทเรียนคอมพิวเตอรที่ใช
กับผูเรียนจํานวนไมมาก เพื่อนําเสนอความรูใหกับผูเรียนในกลุมในเวลาเดียวกัน เชน ระบบการ
เรียนรูแบบรวมมือ (Collaborative Learning System) หรือ CSCL (Computer Supported
Collaborative Learning) เปนตน
3. แบบเรียนดวยตัวเอง (Self-pace Instruction) ไดแก บทเรียนคอมพิวเตอรที่ใชสําหรับ
การเรียนรูรายบุคคล ซึ่งบทเรียนจะจัดประสบการณการเรียนรูเฉพาะตัวผูเรียน ตามที่ผูเรียนไดมี
ปฏิสัมพันธกับบทเรียนอยางตอเนื่อง ซึ่งเปนการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนศูนยกลาง ผูเรียน
จะตองรับผิดชอบตนเองในการติดตามกระบวนการเรียนรูจนจบบทเรียน
สําหรับชองทางการนําสงบทเรียนคอมพิวเตอร สามารถจําแนกไดดังนี้
1. บทเรียนแบบใชงานโดยลําพัง (Standalone Based Instruction) ไดแก CAI, CAL,
CBI, CBT และ CAE เปนตน
2. บทเรียนแบบใชงานผานเครือขาย (Network Based Instruction) แบงออกไดดังนี้
2.1 บทเรียนโดยใชเว็บ เชน WBI, WBT, IBI, IBT และ Online Learning เปนตน
2.2 e-Learning, c-Learning และ d-Learning เปนตน
3. บทเรียนแบบใชงานผานเครือขายไรสาย (Wireless Based Instruction) เชน m-
Learning เปนตน
การประเมินผลการเรียนการสอน
ขั้นตอนสุดทายของกระบวนการเรียน จะเปนการทดสอบผูเรียนเมื่อจบบทเรียนแลว เพื่อให
ทราบถึงสถานภาพของผูเรียนแตละคนวามีจุดเดน จุดดอย และมีความรูความสามารถในวิชาที่ได
ศึกษาเพียงใด เพื่อจะนําไปใชในการตัดสินผลหรือใชเปนพื้นฐานความรูในการศึกษาเรื่องถัดไป
การวิเคราะหเนื้อหาและยุทธวิธีดานการสอน 189
นอกจากนี้ยังสามารถนําผลการประเมินที่ได ไปปรับปรุงบทเรียนใหเหมาะสมยิ่งขึ้นในโอกาสตอไป
แบบทดสอบหรือขอสอบจึงมีความสําคัญตอบทเรียนคอมพิวเตอรมาก เนื่องจากเปนสวนที่ใช
สําหรับการวัดพฤติกรรมตามที่บทเรียนตองการ ซึ่งแบบทดสอบจะตองผานการหาคุณภาพตาม
เกณฑกอน จึงจะสามารถนําไปใชในบทเรียนได
ปจจัยในการพิจารณาแบบทดสอบที่ใชในการประเมินผล มีทั้งหมด 7 ประเด็นดังนี้
1. พฤติกรรมของผูเรียนที่ตองการ (Audience Behaviors)
2 เวลาในการทดสอบ (Time)
3. ลักษณะการสอบ (Kind of Test)
4. วิธีการสอบ (Methodology)
5. ความถี่ในการสอบ (Frequency)
6. เกณฑ (Criteria)
7. ลักษณะการตรวจผล (Checking Method)
รายละเอียดแตละประเด็น มีดังนี้
1. พฤติกรรมของผูเรียนที่ตองการ (Audience Behaviors) แบบทดสอบที่ใชในการวัด
ความรูความสามารถ จะตองคํานึงถึงพฤติกรรมที่ตองการใหผูเรียนแสดงออก ดังนี้
1.1 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ (Achievement Test) เปนแบบทดสอบที่วัดความ
สามารถทางวิชาการดานตาง ๆ ซึ่งเปนลักษณะพฤติกรรมทางดานพุทธพิสัย
1.2 แบบทดสอบวัดความถนัด (Aptitude Test) เปนแบบทดสอบที่วัดผลประสบการณ
เรียนรูทั่ว ๆ ไป ใชเปนตัวทํานายผลลัพธในอนาคต ซึ่งเปนลักษณะพฤติกรรมทางดานทักษะพิสัย
1.3 แบบทดสอบวัดบุคคลสังคม (Personal-Social Test) เปนแบบทดสอบที่ใชวัด
การปรับตัว บุคลิกภาพ ความรูทางดานจิต การวัดเจตคติที่มีตอบุคคล สังคม ศาสนา สถาบัน ชาติ
ความสนใจในอาชีพ สถานภาพทางอารมณ ซึ่งเปนลักษณะพฤติกรรมทางจิตพิสัย
2. เวลาในการทดสอบ (Time) แบบทดสอบควรคํานึงถึงเวลาที่ใชในการทดสอบวัด
ความรูความสามารถที่มีอยู ลักษณะของแบบทดสอบจะแบงออกเปน 2 ลักษณะ ดังนี้
2.1 แบบทดสอบวัดความเร็ว (Speed Test) เปนแบบทดสอบที่กําหนดเวลาใหทํานอย
แตมีจํานวนมากขอที่คอนขางงาย ผูตอบจะตองทําแบบทดสอบดวยความรวดเร็ว แบบทดสอบ
ประเภทนี้ใชวัดทักษะดานใดดานหนึ่ง เชน ทักษะในการทํางาน
2.2 แบบทดสอบวัดความคิด (Power Test) เปนแบบทดสอบที่ใหเวลาในการตอบ
มาก ลักษณะของแบบทดสอบจะไมถามในดานความรูความจํา แตใหแสดงความคิดสรางสรรค
โดยเปดโอกาสใหผูตอบไดแสดงความสามารถในการแสดงออกอยางเต็มที่
3. ลักษณะการสอบ (Kind of Test) จําแนกได 2 ลักษณะ ดังนี้
190 การออกแบบและพัฒนาคอรสแวรสําหรับบทเรียนคอมพิวเตอร
3.1 แบบทดสอบรายบุคคล (Individual Test) เปนแบบทดสอบที่ตอบไดครั้งละคน
เชน การสัมภาษณ การสอบปากเปลา
3.2 แบบทดสอบเปนกลุม (Group Test) เปนการทดสอบที่สามารถกระทําไดครั้งละ
หลาย คน เชน การสอบขอเขียน
4. วิธีการสอบ (Methodology) จําแนกลักษณะวิธีการสอบของผูตอบได 3 ลักษณะ ดังนี้
4.1 แบบใหลงมือกระทํา (Performance Test) เชน แบบทดสอบภาคปฏิบัติ
4.2 แบบใหเขียนตอบ (Paper Test) เชน แบบทดสอบปรนัย แบบทดสอบอัตนัย
4.3 แบบปากเปลา (Oral Test) เชน การสัมภาษณ แบบทดสอบการอาน
5. ความถี่ในการสอบ (Frequency) แบงออกเปน 2 ลักษณะ ดังนี้
5.1 แบบทดสอบยอย (Formative Test) เปนแบบทดสอบที่ประเมินผลความกาวหนา
ระหวางการสอน เพื่อนําผลการประเมินผลไปปรับปรุงการเรียนการสอน โดยมีจุดมุงหมายเพื่อ
ตรวจวัดผูเรียนวาไดเรียนรูมากนอยเพียงใดในเนื้อหาเฉพาะบท เชน แบบฝกหัด หรือแบบทดสอบ
กลางภาค
5.2 แบบทดสอบรวม (Summative Test) เปนแบบทดสอบที่ใชในการประเมินผล
หลังจากการเรียนการสอนสิ้นสุดลง มีจุดมุงหมายเพื่อตัดสินความสามารถของผูเรียน เมื่อเรียนจบ
ในแตละวิชาของหลักสูตร โดยผลจากการประเมินจะนําไปสูการจัดอันดับคะแนนในการตัดสินผล
การเรียน เชน แบบทดสอบปลายภาค แบบทดสอบหลังบทเรียน
6. เกณฑ (Criteria) หรือระดับการวัดผล แบงออกเปน 2 ลักษณะ ดังนี้
6.1 แบบอิงกลุม (Norm-Referenced Test) เปนแบบทดสอบที่ใชในการประเมินผลที่
มุงหาความแตกตางระหวางผูเรียน การประเมินผลจะขึ้นอยูกับพฤติกรรมของกลุมเปนสําคัญระดับ
คะแนนที่ไดของผูเรียนจะแสดงถึงผลสัมฤทธิ์และระดับของผูเรียนในแตละคนเมื่อเทียบกับกลุม
6.2 แบบอิงเกณฑ (Criterion-Referenced Test) เปนแบบทดสอบที่ใชในการ
ประเมินผลเพื่อหาวาผูเรียนทําอะไรไดบาง ผานเกณฑที่กําหนดไวหรือไม โดยมีการกําหนดเกณฑ
มาตรฐานไวลวงหนาอยางชัดเจน เชน กําหนดเกณฑไว 80% จึงจะถึงวาผาน ถาผูเรียนสอบได
คะแนนต่ํากวา 80% จะถือวาไมผานเกณฑ
7. ลักษณะการตรวจผล (Checking Method) แบงออกได 2 แบบ ดังนี้
7.1 แบบอัตนัยหรือแบบเรียงความ (Subjective Test) เปนแบบทดสอบที่ผูตอบ
จะตองรวบรวมความคิดในการตอบ แบบทดสอบประเภทนี้เหมาะสมในการวัดทางดานความคิด
ริเริ่มสรางสรรค การตรวจใหคะแนนอาจขึ้นอยูกับอารมณของผูตรวจและใชเวลาในการตรวจมาก
7.2 แบบปรนัย (Objective Test) เปนแบบทดสอบที่มีการใหคะแนนแนนอนเชื่อถือ
ได แบงออกเปน 4 ชนิด ดังนี้
7.2.1 แบบตอบสั้น ๆ (Short Answer)
7.2.2 แบบจับคู (Matching)
การวิเคราะหเนื้อหาและยุทธวิธีดานการสอน 191
7.2.3 แบบถูกผิด (True or False)
7.2.4 แบบเลือกตอบ (Multiple Choice)
ภาพที่ 7-7 ปจจัยในการพิจารณาแบบทดสอบในการประเมินผลผูเรียน
ขั้นตอนการออกแบบทดสอบสําหรับบทเรียนคอมพิวเตอร
ขั้นตอนการออกแบบทดสอบสําหรับบทเรียนคอมพิวเตอร มีดังนี้
1. ศึกษาวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม
2. กําหนดชนิดของแบบทดสอบ
3. เตรียมงานและเขียนแบบทดสอบฉบับราง
4. วิเคราะหคุณภาพของแบบทดสอบ
5. ดําเนินการจัดพิมพแบบทดสอบ
รายละเอียดแตละขั้นตอน มีดังนี้
1. ศึกษาวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม
วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมที่กําหนดไวในบทเรียน ประกอบดวยพฤติกรรมขั้นสุดทายที่ให
ผูเรียนแสดงออกในหลายลักษณะ เชน ทางดานพุทธิพิสัย ทักษะพิสัย หรือจิตพิสัย ซึ่งแตละดาน
แบงออกเปนระดับตาง ๆ กัน ผูสรางแบบทดสอบจะตองทําการวิเคราะหพฤติกรรมนั้น เพื่อสรุป
พฤติกรรมที่ตองการทั้งหมด แลวทําการเลือกพฤติกรรมที่เดนชัดและเหมาะสม เพื่อนําไปออก
แบบทดสอบหรือที่ใชในบทเรียนคอมพิวเตอรตอไป ในขั้นนี้จึงมีความสําคัญ เนื่องจาก
จะตองพิจารณาถึงความสอดคลองระหวางพฤติกรรมขั้นสุดทายของวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมกับ
ประเด็นหลักของแบบทดสอบที่ใชวัด
192 การออกแบบและพัฒนาคอรสแวรสําหรับบทเรียนคอมพิวเตอร
2. กําหนดชนิดของแบบทดสอบ
พฤติกรรมที่คาดหวังที่กําหนดไวในวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม ที่ไดจากการศึกษาในขั้นแรก
จะทําใหทราบวัตถุประสงควาเนนทางดานใด พุทธพิสัย ทักษะพิสัย หรือจิตพิสัย ชนิดของ
แบบทดสอบที่ใชวัดจึงมีความแตกตางกัน เชน ดานพุทธพิสัยอาจสอบแบบขอเขียน ดานทักษะ
พิสัยอาจสอบทั้งขอเขียนและทักษะปฏิบัติ นอกจากนี้ในแตละดานก็ยังแบงออกเปนระดับความ
ยากงายไดอีก แบบทดสอบจึงตองมีหลายชนิด เชน แบบอัตนัย แบบเติมคํา แบบเลือกตอบ แบบ
ถูก-ผิด เปนตน เพื่อใหผูเรียนไดแสดงพฤติกรรมตามสถานการณที่แตกตางกัน
สําหรับชนิดของแบบทดสอบที่เหมาะสมกับบทเรียนคอมพิวเตอรมากที่สุดก็คือ แบบทดสอบ
ทดสอบแบบเลือกตอบ เนื่องจากงายตอตรวจและการตัดสินผล อยางไรก็ตามแบบทดสอบชนิด
อื่น ๆ ก็สามารถใชกับระบบนิพนธบทเรียนสมัยใหมไดเชนกัน
3. เตรียมงานและลงมือเขียนแบบทดสอบฉบับราง
เมื่อไดชนิดของแบบทดสอบแลว ขั้นตอไปเปนการเตรียมงานเขียนแบบทดสอบ โดยอาจจะ
เขียนเปนฉบับรางกอน โดยมีขั้นตอนการดําเนินการดังนี้
3.1 พิจารณาพฤติกรรมที่คาดหวังของบทเรียนที่มีตอผูเรียน จากวัตถุประสงคเชิง
พฤติกรรมอยางละเอียด และตัดสินใจเลือกชนิดของแบบทดสอบหรือขอสอบที่จะใชในบทเรียน
3.2 เขียนรายการคําถาม (List of Question) ที่สอดคลองกับพฤติกรรมที่คาดหวังของ
วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม จํานวน 2 - 3 ขอในวัตถุประสงคแตละขอ รายการคําถามดังกลาวนี้
จะนําไปพัฒนาเปนขอสอบหรือแบบทดสอบตอไป ดังตัวอยางตอไปนี้
วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม : รายการคําถาม :
l บอกอาการของคอมพิวเตอรที่ 1. จงบอกอาการของคอมพิวเตอรที่ติด
ติดไวรัสไดอยางนอย 5 อาการ ไวรัสมาอยางนอย 5 อาการ
2. ใหเลือกวาอาการใดตอไปนี้ เกิดจาก
การที่คอมพิวเตอรติดไวรัส
l อธิบายหลักการทํางานของ 1. จงอธิบายหลักการทํางานของ UPS
UPS ได 2. UPS ทํางานอยางไร
l จําแนกสวนประกอบของ 1. คอมพิวเตอรประกอบดวย
คอมพิวเตอรได สวนประกอบอะไรบาง
2. ฮารดดิสค จัดวาเปนสวนประกอบ
สวนใดของคอมพิวเตอร
3. เครื่องพิมพ จัดวาเปนสวนประกอบ
สวนใดของคอมพิวเตอร
การวิเคราะหเนื้อหาและยุทธวิธีดานการสอน 193
3.3 พิจารณารายการคําถามทั้งหมดอีกครั้งหนึ่งวา มีความสอดคลองกับพฤติกรรมที่
คาดหวังของวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมแตละขอหรือไม เชน คําถามที่ใช เนื้อหาสาระของคําถาม
เปนตน รวมทั้งพิจารณาจํานวนรายการคําถามวามีจํานวนเพียงพอกับความตองการหรือไม โดย
เฉพาะจํานวนแบบทดสอบที่ใชสําหรับธนาคารขอสอบ ซึ่งจะตองมีจํานวนเพียงพอสําหรับการสุม
3.4 พัฒนารายการคําถามใหเปนขอสอบหรือแบบทดสอบ โดยใสตัวเลือกที่เปน
คําตอบที่ถูกตอง และตัวลวงที่เปนคําตอบผิด พรอมเฉลยคําตอบที่ถูกตอง
3.5 จัดพิมพเปนแบบทดสอบฉบับราง เพื่อนําไปวิเคราะหหาคุณภาพตอไป
4. วิเคราะหคุณภาพของแบบทดสอบ
เมื่อสรางแบบทดสอบเสร็จแลว จะตองมีการตรวจสอบความยากงายของขอคําถามเบื้องตน
ตรวจดูรูปแบบภาษาที่ใช เนื้อหาของแบบทดสอบ คําสั่ง และเฉลย เปนตน ซึ่งผูออกแบบทดสอบ
จะตองทําการแกไขปรับปรุงใหดีกอนนําไปใชจริง โดยจะตองผานการวิเคราะหหาคุณภาพของ
แบบทดสอบกอน สําหรับกลุมเปาหมายที่จะเปนผูใชแบบทดสอบในการวิเคราะหหาคุณภาพก็คือ
กลุมประชากรที่เคยผานการศึกษาหัวเรื่องนี้มาแลวในจํานวนที่เหมาะสม สําหรับการหาคุณภาพ
ของแบบทดสอบที่ใชในบทเรียนคอมพิวเตอร จะตองพิจารณาองคประกอบจํานวน 5 ดาน ดังนี้
4.1 คาความเชื่อมั่น (Reliability)
4.2 คาความเที่ยงตรง (Validity)
4.3 คาความยากงาย (Difficulty)
4.4 คาอํานาจจําแนก (Discrimination)
4.5 ความเปนปรนัย (Objectivity)
5. ดําเนินการจัดพิมพแบบทดสอบ
การดําเนินการจัดพิมพแบบทดสอบ เปนขั้นตอนสุดทายสําหรับกระบวนการสราง
แบบทดสอบสําหรับบทเรียนคอมพิวเตอร หลังจากที่ผานการวิเคราะหหาคุณภาพของแบบทดสอบ
และทําการคัดเลือกแบบทดสอบที่ผานเกณฑมาตรฐานแลว ในขั้นนี้ยังรวมถึงการพัฒนาโปรแกรม
เพื่อเก็บบันทึกแบบทดสอบที่ผานการวิเคราะหหาคุณภาพแลวลงในธนาคารขอสอบ โดยจัดการ
ใหมีกระบวนการสุม การตรวจวัดผล และการรายงานผล
ชนิดของแบบทดสอบสําหรับการเรียนการสอน
แบบทดสอบจําแนกออกเปน 2 ชนิดใหญ ๆ ดังนี้
1. แบบทดสอบอัตนัย (Subjective Test)
2. แบบทดสอบปรนัย (Objective Test)
E7
E7
E7
E7
E7
E7
E7
E7
E7
E7
E7
E7
E7

More Related Content

What's hot

โครงงานคอม 2557 608
โครงงานคอม  2557 608 โครงงานคอม  2557 608
โครงงานคอม 2557 608 Kalanyu Tamdee
 
ใบงานคอมม
ใบงานคอมมใบงานคอมม
ใบงานคอมมkonosor
 
Presentation3
Presentation3Presentation3
Presentation3noeynymon
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีsukanya5729
 
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์siratanap
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Fernimagine
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานAoy Amm Mee
 
ประเภทของโครงงาน
ประเภทของโครงงานประเภทของโครงงาน
ประเภทของโครงงานauttawut singkeaw
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2-8โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2-8unstreet
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8Scott Tape
 

What's hot (18)

โครงงานคอม 2557 608
โครงงานคอม  2557 608 โครงงานคอม  2557 608
โครงงานคอม 2557 608
 
Presentation Computer Project
Presentation Computer ProjectPresentation Computer Project
Presentation Computer Project
 
ใบงานคอมม
ใบงานคอมมใบงานคอมม
ใบงานคอมม
 
Presentation3
Presentation3Presentation3
Presentation3
 
Com
ComCom
Com
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏี
 
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
3computer
3computer3computer
3computer
 
K3
K3K3
K3
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
Work 3
Work 3Work 3
Work 3
 
ประเภทของโครงงาน
ประเภทของโครงงานประเภทของโครงงาน
ประเภทของโครงงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2-8โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2-8
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 

Viewers also liked (9)

บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำ
 
Chapter 1.2 properties of glass
Chapter 1.2 properties of glassChapter 1.2 properties of glass
Chapter 1.2 properties of glass
 
Glasses structures, properties and applications
Glasses structures, properties and applicationsGlasses structures, properties and applications
Glasses structures, properties and applications
 
บทที่ 5 พันธะเคมี
บทที่ 5 พันธะเคมีบทที่ 5 พันธะเคมี
บทที่ 5 พันธะเคมี
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
 
Chapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defectsChapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defects
 
Properties of glass
Properties of glassProperties of glass
Properties of glass
 
Ceramics
CeramicsCeramics
Ceramics
 
Silica sand and glass industry
Silica sand and glass industrySilica sand and glass industry
Silica sand and glass industry
 

Similar to E7

การพัฒนาสื่อวีดิทัศน์เรื่อง การใช้โปรแกรม-Adobe-audition-เบื้องต้น
การพัฒนาสื่อวีดิทัศน์เรื่อง การใช้โปรแกรม-Adobe-audition-เบื้องต้นการพัฒนาสื่อวีดิทัศน์เรื่อง การใช้โปรแกรม-Adobe-audition-เบื้องต้น
การพัฒนาสื่อวีดิทัศน์เรื่อง การใช้โปรแกรม-Adobe-audition-เบื้องต้นB CH
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานwichaya222
 
โครงงานคอม
โครงงานคอม โครงงานคอม
โครงงานคอม natjira
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Suchada Maksiri
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1Ailada_oa
 
ใบงาน2 8
ใบงาน2 8ใบงาน2 8
ใบงาน2 8Pream12
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practicepyopyo
 
โครงงานคอม 3
โครงงานคอม 3โครงงานคอม 3
โครงงานคอม 3wipawanmmiiww
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2powe1234
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8teannantika
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8teannantika
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8teannantika
 

Similar to E7 (20)

งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
เนื้อหา Addie ok
เนื้อหา Addie okเนื้อหา Addie ok
เนื้อหา Addie ok
 
การพัฒนาสื่อวีดิทัศน์เรื่อง การใช้โปรแกรม-Adobe-audition-เบื้องต้น
การพัฒนาสื่อวีดิทัศน์เรื่อง การใช้โปรแกรม-Adobe-audition-เบื้องต้นการพัฒนาสื่อวีดิทัศน์เรื่อง การใช้โปรแกรม-Adobe-audition-เบื้องต้น
การพัฒนาสื่อวีดิทัศน์เรื่อง การใช้โปรแกรม-Adobe-audition-เบื้องต้น
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทยโครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
โครงงานคอม
โครงงานคอม โครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
 
ใบงาน2 8
ใบงาน2 8ใบงาน2 8
ใบงาน2 8
 
E4
E4E4
E4
 
คู่มือการเขียนแผนการเรียนรู้ ศูนย์ส่งเสริม
คู่มือการเขียนแผนการเรียนรู้ ศูนย์ส่งเสริมคู่มือการเขียนแผนการเรียนรู้ ศูนย์ส่งเสริม
คู่มือการเขียนแผนการเรียนรู้ ศูนย์ส่งเสริม
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
บทเรียน ประกอบแผนที่ 2
บทเรียน ประกอบแผนที่ 2บทเรียน ประกอบแผนที่ 2
บทเรียน ประกอบแผนที่ 2
 
โครงงานคอม 3
โครงงานคอม 3โครงงานคอม 3
โครงงานคอม 3
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
 

More from Gawewat Dechaapinun

เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰Gawewat Dechaapinun
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰Gawewat Dechaapinun
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรGawewat Dechaapinun
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณGawewat Dechaapinun
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรGawewat Dechaapinun
 
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlChapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlGawewat Dechaapinun
 
Chapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsChapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsGawewat Dechaapinun
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesGawewat Dechaapinun
 
งานนำเสนอเทววิทยา3
งานนำเสนอเทววิทยา3งานนำเสนอเทววิทยา3
งานนำเสนอเทววิทยา3Gawewat Dechaapinun
 

More from Gawewat Dechaapinun (20)

เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7
 
งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6
 
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5
 
งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4
 
Chapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlChapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and control
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
Chapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculationsChapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculations
 
Chapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsChapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classifications
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
 
งานนำเสนอเทววิทยา3
งานนำเสนอเทววิทยา3งานนำเสนอเทววิทยา3
งานนำเสนอเทววิทยา3
 

E7

  • 1. บทนํา การวิเคราะหเนื้อหา เปนขั้นตอนที่มีความสําคัญในการที่จะไดมาซึ่งเนื้อหาของบทเรียน โดยพิจารณาวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมของบทเรียนที่ไดจากขั้นตอนที่ผานมา เพื่อเปนแนวทาง ในการรวบรวมเนื้อหาใหสอดคลองกับวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม เปาหมาย และความตองการ ของผูออกแบบบทเรียน โดยเปนที่ยอมรับกันโดยทั่วไปวาผูสอนที่มีความเชี่ยวชาญดานการสอน จะสามารถออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรไดดีกวานักคอมพิวเตอร ที่มีความเชี่ยวชาญดานการ โปรแกรม เนื่องจากผูเชี่ยวชาญดานการสอน จะมีความสามารถแยกแยะเนื้อหาออกเปน รายละเอียดตาง ๆ ไดดีและมีกลยุทธวิธีในการนําเสนอเนื้อหาที่ดี ดังนั้น หลังจากรวบรวมเนื้อหา เสร็จสิ้นแลว จําเปนตองอาศัยผูเชี่ยวชาญดานการสอนเปนผูใหคําแนะนํา เพื่อตรวจสอบเนื้อหา กอนที่จะนําไปออกแบบบทเรียนสวนอื่น ๆ ตอไป ความหมายของการวิเคราะหเนื้อหา จึงเปนวิธีการแยกแยะและแจกแจงเนื้อหาหรือแนวคิดที่ ปรากฏในเอกสารสิ่งพิมพ ขอความ ขาวสาร คําพูด หรือภาพตาง ๆ เปนตน เพื่อใหทราบถึง โครงสรางและขอบเขตเนื้อหาอยางละเอียด รวมทั้งทําใหเห็นการเปลี่ยนแปลงของเนื้อหาในแตละ ชวงเวลาที่วิเคราะหดวย ผลจากการแยกแยะเนื้อหาจะชวยใหสามารถแบงเนื้อหาออกเปนหัวเรื่อง ยอย ๆ ซึ่งการที่จะวิเคราะหเนื้อหาเพื่อการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรนั้น จําเปนตองเขาใจ เกี่ยวกับองคประกอบในการวิเคราะหเนื้อหาและขั้นตอนในการวิเคราะหเนื้อหาเปนอยางดี ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับเนื้อหา เนื้อหา (Content) หมายถึง ขาวสารที่เปนสาระสําคัญตาง ๆ เพื่อใชเปนขอมูลในการ เพิ่มพูนประสบการณทั้งที่เปนความรูและทักษะแกผูเรียน เพื่อใหเกิดความรูและความเขาใจใน เรื่องราวตาง ๆ ในการเรียนการสอนจะระบุลงไปวา “เนื้อหาวิชา” เนื่องจากเนนการใชในบทเรียน ซึ่งประกอบดวยรายวิชาตาง ๆ ตามหลักสูตร เนื้อหาวิชาจะสัมพันธกับวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมโดยตรง โดยที่วัตถุประสงคจะเปน ตัวกําหนดเนื้อหาสาระที่จะนําเสนอแกผูเรียน จากแนวความคิดตาง ๆ ที่ไดแยกแยะตามความ ตองการของการเรียนรู ซึ่งสิ่งนี้มักจะเรียกกันวา ความคิดรวบยอดหรือสังกัป (Concept) ดังนั้น ทั้ง 3 สวนนี้จึงมีความสัมพันธกัน 7การวิเคราะหเนื้อหาและยุทธวิธีดานการสอน Content Analysis and Instructional Strategy
  • 2. 174 การออกแบบและพัฒนาคอรสแวรสําหรับบทเรียนคอมพิวเตอร ภาพที่ 7-1 ความสัมพันธของหัวเรื่อง วัตถุประสงค ความคิดรวบยอด และเนื้อหา ความคิดรวบยอดหรือสังกัป (Concept) ความคิดรวบยอดหรืสังกัป หมายถึง เปาหมายหรือแกนของสาระของบทเรียน ที่จําแนก ความแตกตางขององคประกอบยอย ๆ หรือรวบรวมจากองคประกอบยอย ๆ สรุปรวมเปนกลุม ของสาระที่เปนกลุมเดียวกัน ซึ่งเปนสิ่งที่จะใชเปนกรอบเนื้อหากวาง ๆ ที่ผูออกแบบเนื้อหาจะตอง คํานึงถึงเปนสิ่งแรก ภายใตขอบขายของวัตถุประสงคที่กําหนดไว การกําหนดความคิดรวบยอดของเนื้อหา พิจารณาจากสิ่งตาง ๆ ตอไปนี้ 1. ลักษณะที่เห็นจากภายนอก เชน รูปราง โครงสราง สวนประกอบ และลักษณะเดนของ สิ่งนั้น เปนตน 2. ลักษณะที่อยูภายใน เชน การทํางานภายใน และระบบการทํางาน เปนตน 3. ความสัมพันธกับสิ่งอื่น ๆ เชน การใชงาน ประโยชน โทษ ขอดี และขอเสีย เปนตน 4. องคประกอบพิเศษอื่น ๆ แนวความคิดในการเขียนเนื้อหาสําหรับบทเรียนคอมพิวเตอรนั้น นอกจากจะตองคํานึงถึง ความรวบยอดของเนื้อหาซึ่งเปนแกนเนื้อหาแลว ยังจะตองพิจารณารายละเอียดเพิ่มเติมแตละ สวน ๆ ดวย เพื่อขยายความเขาใจในเนื้อหาออกไป ถาบทเรียนนําเสนอเฉพาะแกนของเนื้อหา ก็จะเปนสิ่งที่ยากตอการเรียนรู โดยเฉพาะอยางยิ่งบทเรียนที่ใชกับผูเรียนระดับเด็กเล็ก ยิ่งมี ความจําเปนที่จะตองเพิ่มเติมเนื้อหาปลีกยอยสําหรับขยายความเขาใจมากกวาปกติ โดยสรุปแลวการวิเคราะหเนื้อหาสาระ จะทําใหผูออกแบบบทเรียนสามารถกําหนดเนื้อหาที่ จะนําเสนอไดอยางเหมาะสม สอดคลองกับความคิดรวบยอดของหัวเรื่อง วัตถุประสงคบทเรียน และระยะเวลาที่ใชในการเรียนรู ดังนั้น ถามีการวิเคราะหเนื้อหาอยางถูกตองและมีระบบแลว จะชวยใหบทเรียนดําเนินไปอยางราบรื่น และบรรลุเปาหมายในที่สุด ประเภทของเนื้อหา เนื้อหาจําแนกตามลักษณะของการเรียนรูได 2 ประเภท คือ 1) ประเภทความรูทางทฤษฎี (Knowledge) ที่สงเสริมการเรียนรูทางดานพุทธิพิสัย และ 2) ประเภททักษะความชํานาญ (Skill) Objective Concept Content Topic
  • 3. การวิเคราะหเนื้อหาและยุทธวิธีดานการสอน 175 ที่สงเสริมการเรียนรูทางดานทักษะพิสัย แตถาจําแนกตามโครงสรางและระดับของเนื้อหา จะ สามารถจําแนกได 4 ระดับ ดังนี้ 1. เนื้อหาที่เปนจริงและกระบวนการ (Facts and Process) เปนเนื้อหาพื้นฐานที่ตอง อาศัยพื้นฐานความจํา เชน ชื่อ รูปราง ลักษณะ ทาทาง สัญญาณ สัญลักษณ ขนาด ระยะ เปนตน 2. เนื้อหาที่เปนหลักการที่เกิดจากแนวคิดเบื้องตน (Basic Idea) เปนเนื้อหาที่แสดงความ สัมพันธหรือเปรียบเทียบกันระหวางกลุม เชน สวนประกอบ การเปรียบเทียบกัน ความสัมพันธกัน เปนตน 3. เนื้อหาที่แสดงความคิดรวบยอด (Concept) เปนเนื้อหาที่สรุปเปนคําจํากัดความ กฎ สูตร ทฤษฎี และหลักการตาง ๆ 4. เนื้อหาที่อยูในรูปของระบบความคิด (Thought System) เปนเนื้อหาที่ตองการให ผูเรียนไดใฝคิดหรือรวมคิดสรางสรรค เพื่อใชเปนแนวทางในการแกปญหา การประยุกตใชงาน และการสงถายความรู เปนตน เกณฑทั่วไปในการพิจารณาเลือกเนื้อหา การเลือกเนื้อหาวิชาเพื่อใชในบทเรียน มีการกําหนดเกณฑไวมากมาย เชน เกณฑความรู จากผูเชี่ยวชาญ เกณฑความรูที่เปนแกนสาระ เกณฑความรูที่ชวยกระตุนความคิด และเกณฑ ความรูที่เนนการเรียนรูแบบสืบสวน เกณฑเหลานี้มีขอจํากัดและขอยุงยากในการตัดสินพอสมควร อยางไรก็ตาม สามารถสรุปเกณฑทั่วไปในการเลือกเนื้อหาสําหรับบทเรียนไดดังนี้ 1. มีประโยชนตอการเรียนรูเพื่อการดํารงชีวิต 2. มีคุณคาและประโยชนในการที่จะถายทอดตอ ๆ ไป 3. เปนแกนของสาระที่มีความสําคัญตอศาสตรดานนั้น ๆ 4. สอดคลองกับความตองการและความสนใจของผูเรียน 5. สอดคลองกับประสบการณของผูเรียน 6. เปนเนื้อหาที่ชวยกระตุนแนวความคิดของผูเรียน 7. เปนเนื้อหาที่สมดุลทั้งขอบขายและความลึก 8. ทันตอเทคโนโลยีและความกาวหนา 9. สอดคลองกับวัตถุประสงคของบทเรียนที่กําหนดไว การวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) การวิเคราะหเนื้อหา จะตองพิจารณาใน 2 ประเด็น ดังนี้ 1. องคประกอบในการวิเคราะหเนื้อหา ประกอบดวยสวนตาง ๆ ดังนี้ 1.1 แหลงที่มาของเนื้อหา (Content Resources) ไดแก ตํารา หนังสือ เอกสารสิ่ง พิมพ หลักสูตร เอกสารคําสอน บทความ แบบทดสอบ ใบงาน บทสนทนา รูปภาพ หรือ
  • 4. 176 การออกแบบและพัฒนาคอรสแวรสําหรับบทเรียนคอมพิวเตอร ไฮเปอรเท็กซที่ไดจากไฟล HTML รวมทั้งเนื้อหาที่ไดจากสื่ออื่น ๆ เชน เสียง วีดิทัศน และ ไฮเปอรมีเดีย เปนตน 1.2 วัตถุประสงคการวิเคราะหเนื้อหา (Objective of Content Analysis) โดยทั่วไปใน การวิเคราะหเนื้อหาเพื่อใชในบทเรียนคอมพิวเตอรหรือเพื่อออกแบบสื่อการเรียนการสอน จะมี วัตถุประสงคเพื่อแบงเนื้อหาออกเปนสวน ๆ ใหสอดคลองกับกลยุทธการนําเสนอ และเพื่อใหทราบ โครงสรางและลําดับของเนื้อหา นอกจากนี้ยังรวมถึงการใชประโยชนตอการนําสงบทเรียนอีกดวย 1.3 หนวยที่ใชในการวิเคราะห (Unit of Analysis) โดยทั่วไปมักวิเคราะหออกมาเปน หัวเรื่อง หัวเรื่องยอย บทเรียน โมดูล หรือคลัสเตอร (Cluster) รวมทั้งปริมาณ เชน จํานวนหนา เปนตน 2. ขั้นตอนการวิเคราะหเนื้อหา ประกอบดวยขั้นตอนตาง ๆ ดังนี้ 2.1 การศึกษาวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม (Study Behavioral Objective) 2.2 การรวบรวมและการศึกษาขอมูล (Collect and Study Related Data) 2.3 การประเมินความสําคัญของหัวเรื่องยอย (Evaluate Sub-Topic) 2.4 การจัดลําดับความสัมพันธของหัวเรื่อง (Sequencing) 2.5 การเขียนเนื้อหาใหสอดคลองกับวัตถุประสงค (Write the Content) ภาพที่ 7-2 ขั้นตอนการวิเคราะหเนื้อหา Evaluate Sub-Topic Sequencing Study Behavioral Objective Collect and Study Related Data Write the Content
  • 5. การวิเคราะหเนื้อหาและยุทธวิธีดานการสอน 177 ขั้นตอนการวิเคราะหเนื้อหา ขั้นตอนการวิเคราะหเนื้อหา ประกอบดวยขั้นตอนตาง ๆ ดังนี้ 1. การศึกษาวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม (Study Behavioral Objective) วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมของบทเรียน เปนสิ่งที่บงบอกถึงพฤติกรรมที่คาดหวังของผูเรียน จากบทเรียน วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมจึงเปนหัวใจในการที่จะไดมาซึ่งเนื้อหาที่สอดคลองกับ เปาหมายและความตองการ การวิเคราะหเนื้อหาจึงตองศึกษาวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมของ บทเรียนที่ไดจากการวิเคราะหงานหรือภารกิจอยางละเอียด เพื่อพิจารณาถึงเคาโครง ลักษณะ และความสัมพันธของเนื้อหาแตละสวนที่จะนําไปสรางเปนตัวบทเรียนคอมพิวเตอรตอไป 2. การรวบรวมและการศึกษาขอมูล (Collect and Study Related Data) ขอมูลในที่นี้ หมายถึง ขอความ เนื้อหา ภาพ เสียง วัสดุ เครื่องมือ โปรแกรม และสวนอื่น ๆ ที่ใชในการนําเสนอและออกแบบบทเรียน ประกอบดวย 3 สวนหลัก ดังนี้ 1) สวนที่เกี่ยวกับเนื้อหาบทเรียน (Subject Matter Resources) 2) สวนที่เกี่ยวกับการออกแบบบทเรียน (Instructional Design Resources) 3) สวนที่เกี่ยวกับระบบการนําสงบทเรียน (Delivery System Resources) ขอมูลสวนที่เกี่ยวกับเนื้อหาบทเรียน ไดแก เนื้อหาบทเรียนทั้งหมดที่จะตองนําเสนอแก ผูเรียน รวมทั้งสวนที่เกี่ยวของ ทั้งภาพนิ่ง ภาพถาย ภาพเคลื่อนไหว ภาพวีดิทัศน ภาพสไลด และเสียง เปนตน ขอมูลสวนที่เกี่ยวกับการออกแบบบทเรียน ไดแก รูปแบบการนําเสนอบทเรียน ผังงาน วิธีการนําเสนอเนื้อหา บทเรียนที่ปรากฏอยูในหนังสือ และซอฟทแวรคอมพิวเตอรสําหรับ ออกแบบบทเรียน และขอมูลสวนที่เกี่ยวกับระบบการนําสงบทเรียน ไดแก ซีดีรอม เครือขาย คอมพิวเตอร และการนําเสนอแบบผูสอนเปนผูนํา เปนตน ขั้นตอนการรวบรวมและการศึกษาขอมูล มีดังนี้ 2.1 รวบรวมขอมูลปจจุบันที่มีอยูทั้งหมดจากแหลงที่มาของเนื้อหา 2.2 ประเมินขอมูลปจจุบันเหลานั้นวาเหมาะสมและสอดคลองกับความตองการหรือไม 2.3 รวบรวมขอมูลเพิ่มเติมจากแหลงขอมูลใหม ๆ ภายนอก 2.4 ประเมินขอมูลทั้งหมดวาเหมาะสมและสอดคลองกับความตองการหรือไม 2.5 ศึกษารายละเอียดของขอมูลที่ได ขั้นตอนการรวบรวมและการศึกษาขอมูล มีดังนี้ 2.1 รวบรวมขอมูลปจจุบันที่มีอยูทั้งหมดจากแหลงที่มาของเนื้อหา การรวบรวมและการศึกษาขอมูล อาจดําเนินการทั้งรายบุคคล โดยผูออกแบบบทเรียน เองหรือดําเนินการเปนกลุม โดยแบงหนาที่การรวบรวมขอมูลจากแหลงตาง ๆ หลังจากนั้นจึง นําขอมูลที่ไดมาวิเคราะหโดยวิธีการระดมสมอง เพื่อใหไดขอมูลสอดคลองกับเปาหมายและความ
  • 6. 178 การออกแบบและพัฒนาคอรสแวรสําหรับบทเรียนคอมพิวเตอร ตองการของบทเรียน โดยผานการตรวจสอบจากผูเชี่ยวชาญ ขอมูลที่ไดจากขั้นตอนนี้ จะนําไปใช วิเคราะหเนื้อหาในขั้นตอไป สําหรับแหลงที่มาของขอมูลที่ใชในการวิเคราะหเนื้อหา มีอยู 5 แหลง ดังนี้ 2.1.1 ประสบการณของผูวิเคราะหเนื้อหา (Experiences) 2.1.2 หลักสูตรรายวิชา (Course Description) 2.1.3 ตํารา เอกสาร หนังสือ หรือแหลงอางอิงตาง ๆ (Literatures) 2.1.4 การสอบถามผูเชี่ยวชาญ (Experts) 2.1.5 การสังเกตการทํางาน (Job Observation) (ถามี) เพื่อใหการรวบรวมเนื้อหาเปนระบบ ไมเกิดความซ้ําซอน และงายตอการพิจารณา เลือกเนื้อหาบทเรียน จึงควรใชวิธีการตาง ๆ เขาชวย เพื่ออํานวยประโยชนใหการรวบรวมเนื้อหา จากแหลงตาง ๆ ใหเปนรูปธรรมมากที่สุด วิธีการรวบรวมเนื้อหาที่นิยมใช ไดแก แบบปรามิด และ แผนภาพปะการัง ซึ่งเปนวิธีการเดียวกันกับการวิเคราะหงานที่ผานมา ซึ่งแผนภาพปะการัง เปนวิธีการรวบรวมเนื้อหาของบทเรียนที่สะดวกในการแกไขภายหลังและงายตอการเพิ่มเติมขอมูล อีกดวย รวมทั้งสามารถนําเสนอลงในกระดาษเพียงแผนเดียว ทําใหเห็นภาพขอบเขตโครงสราง ของเนื้อหาทั้งหมด จึงไดรับความนิยมในการรวบรวมเนื้อหามากกวาแบบปรามิด วิธีการรวบรวม เนื้อหาจากแหลงที่มาของขอมูลทั้ง 5 แหลง โดยใชแผนภาพปะการังมีลําดับขั้นดังนี้ 1) กําหนดหัวขอเรื่องหรือวิชาที่จะรวบรวมเนื้อหา 2) จากประสบการณของผูวิเคราะหเนื้อหา โดยไมตองดูจากตําราหรือเอกสาร เลมใด ๆ ใหใสหัวเรื่องหรือหัวเรื่องยอยลงไป ตามประสบการณของผูวิเคราะหเองที่เห็นวาจะตอง มีในหัวขอเรื่องหรือรายวิชาดังกลาว ซึ่งเขียนแยกออกเปนกิ่งหรือแขนงยอย ๆ จนครบตามความ ตองการ 3) ขั้นตอไป ใหผูวิเคราะหศึกษาจากหลักสูตรรายวิชา จํานวน 1 - 2 ฉบับ เพื่อ ศึกษาวามีหัวขอใดบางที่ยังไมปรากฏในแผนภาพปะการัง ใหเพิ่มเติมเฉพาะหัวเรื่องหรือหัวเรื่อง ยอยที่ยังไมมีลงไปในแตละกิ่งหรือแขนงยอย ๆ ตามที่ปรากฏในหลักสูตรรายวิชา โดยจะไมมีการ ตัดหัวขอเรื่องที่ปรากฏอยูแลวในแผนภาพปะการังออกไป 4) ขั้นตอไป สําหรับตํารา เอกสาร หนังสือ หรือแหลงอางอิงตาง ๆ ก็ใชวิธีการ เดียวกันกับขั้นที่ 3 โดยคัดเลือกตําราจํานวน 2 - 4 ฉบับ เพื่อทําการเพิ่มเติมเฉพาะหัวเรื่องหรือหัว เรื่องยอยที่ยังไมปรากฏในแผนภาพปะการัง โดยไมมีการตัดหัวขอเรื่องที่ปรากฏอยูแลวแตอยางใด 5) ขั้นตอไปเปนการสอบถามผูเชี่ยวชาญ เพื่อหาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับหัวเรื่อง หรือหัวเรื่องยอยที่จะนํามาใสในแผนภาพปะการัง จนไดขอบขายของเนื้อหาครบสมบูรณ 6) ในบางกรณีที่ไมสามารถรวบรวบเนื้อหาจากแหลงขอมูลตาง ๆ ได เนื่องจาก เปนเนื้อหาใหมหรือเปนเนื้อหาที่ซับซอน แตสามารถทํางานและสังเกตการณทํางานได ก็สามารถ บันทึกขั้นตอนการทํางาน เพื่อนํามากําหนดเปนเนื้อหาได
  • 7. การวิเคราะหเนื้อหาและยุทธวิธีดานการสอน 179 ภาพที่ 7-3 การใชแผนภาพปะการังรวบรวมเนื้อหา โดยใชโปรแกรม Mind Manager 2.2 ประเมินขอมูลปจจุบันเหลานั้นวาเหมาะสมและสอดคลองกับความตองการหรือไม เมื่อรวบรวมขอมูลจากแหลงที่มาของเนื้อหาตามขั้นที่ 2.1 เสร็จสิ้นแลว ขั้นตอไปจะ เปนการประเมินขอมูลวาเหมาะสมและสอดคลองกับความตองการหรือไม โดยพิจารณาขอบเขต ของเนื้อหาที่ปรากฏในแผนภาพปะการังทั้งหมด ซึ่งในขั้นนี้ สามารถทําการปรับเปลี่ยนขอมูลได ตามความเหมาะสม เชน ยายหัวเรื่องยอย ตั้งหัวเรื่องใหม หรือจัดกลุมของหัวเรื่องใหม เปนตน 2.3 รวบรวมขอมูลเพิ่มเติมจากแหลงขอมูลใหม ๆ ภายนอก เมื่อพิจารณาแลว ถาเห็นวาขอมูลที่ปรากฏในแผนภาพปะการังยังไมเพียงพอหรือไม สอดคลองกับความตองการ ผูวิเคราะหสามารถเพิ่มเติมขอมูลใหม ๆ ภายนอก โดยพิจารณาจาก ตํารา เอกสาร หนังสือ หรือแหลงอางอิงใหม ๆ เชน ขอมูลบนเครือขายอินเทอรเน็ต หรือขอมูล จากฐานขอมูลซีดีรอม เปนตน เพื่อปรับเปลี่ยนใหแผนภาพปะการังมีเนื้อหาครบสมบูรณตาม วัตถุประสงค 2.4 ประเมินขอมูลทั้งหมดวาเหมาะสมและสอดคลองกับความตองการหรือไม ทําการประเมินขอมูลที่รวบรวมไดทั้งหมด วามีความเหมาะสมและสอดคลองกับความ ตองการหรือไม ถาหากยังไมเหมาะสมก็สามารถปรับเปลี่ยนใหเหมาะสมตามความคิดเห็นของ ผูวิเคราะหเนื้อหา ภายใตวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมของบทเรียนเปนหลัก
  • 8. 180 การออกแบบและพัฒนาคอรสแวรสําหรับบทเรียนคอมพิวเตอร 2.5 ศึกษารายละเอียดของขอมูลที่ได ขั้นตอนสุดทายเปนการศึกษารายละเอียดของขอมูลที่ได กอนที่จะนําไปประเมิน ความสําคัญในขั้นตอไป 3. การประเมินความสําคัญของหัวเรื่องยอย (Evaluate Sub-Topic) หัวเรื่องและหัวเรื่องยอยที่ปรากฏในแผนภาพปะการัง หากพิจารณาในรายละเอียด จะพบวา บางหัวเรื่องมีความสําคัญมากที่จะตองนํามากําหนดเปนเนื้อหาบทเรียน ในขณะที่บางหัวเรื่อง อาจจะตัดทิ้งออกไดโดยไมมีผลใด ๆ ตอการเรียนการสอน เนื่องจากเปนเรื่องพื้นฐานที่ผูเรียน อาจจะเรียนรูไดจากประสบการณหรือสามารถศึกษาไดจากวิชาอื่น ๆ เกณฑในการพิจารณา ความสําคัญของหัวเรื่องและหัวเรื่องยอยที่สมควรนํามาเปนเนื้อหาของบทเรียนหรือไม จะใชเกณฑ เดียวกับการวิเคราะหงานหรือภารกิจที่ผานมา โดยมีขอพิจารณาดังนี้ 3.1 การสงเสริมความสามารถในการแกปญหาในการเรียน (Promotes Problem Sol- ving) 3.2 การสงเสริมทักษะในการทํางานถูกตองสมบูรณ (Promotes Learning Skill) 3.3 การสงเสริมใหผูเรียนมีเจตคติที่ดี (Promotes Transfer Value) รายละเอียดของเกณฑการพิจารณา มีดังนี้ 3.1 การสงเสริมความสามารถในการแกปญหาในการเรียน (Promotes Problem Sol- ving) เปนการพิจารณาวาหัวเรื่องหรือหัวเรื่องยอยที่รวบรวมมานั้น ผูเรียนจะนําความรูไปใช ในการแกปญหาในการเรียนหรือการทํางานไดมากนอยเพียงใด โดยใหคะแนน X I O แทนระดับ การสงเสริมความสามารถ โดยที่ X = สงเสริมการแกปญหาตาง ๆ ในการเรียนและการทํางานเปนอยางมาก ถาไมมีการศึกษาหัวเรื่องนี้แลว จะไมสามารถแกปญหาไดลุลวง I = สงเสริมการแกปญหาตาง ๆ ในการเรียนและการทํางานในระดับปานกลาง O = เกือบจะไมชวยสงเสริมการแกปญหาในการเรียนหรือการทํางาน ผูเรียนจะศึกษาหัวเรื่องนี้หรือไม ก็สามารถแกปญหาไดพอกัน 3.2 การสงเสริมทักษะในการทํางานใหถูกตองสมบูรณ (Promotes Learning Skill) เปนการพิจารณาวาหัวเรื่องหรือหัวเรื่องยอยที่รวบรวมมานั้น เมื่อไดศึกษาแลวจะชวย สงเสริมทักษะใหผูเรียนทํางานไดถูกตองสมบูรณมากขึ้นเพียงใด โดยที่ X = มีผลทําใหทักษะการทํางานถูกตองสมบูรณมากขึ้น หากไมไดศึกษา หัวเรื่องนี้แลว จะทํางานไมไดผล I = มีผลทําใหทักษะการทํางานถูกตองสมบูรณขึ้นในระดับหนึ่ง
  • 9. การวิเคราะหเนื้อหาและยุทธวิธีดานการสอน 181 O = เกือบจะไมมีผลตอทักษะการทํางานที่เกี่ยวของเลย ผูเรียนจะศึกษา หัวเรื่องนี้หรือไม ก็จะไดผลเหมือนกัน 3.3 การสงเสริมใหผูเรียนมีเจตคติที่ดี (Promotes Transfer Value) เปนการพิจารณาวาหัวเรื่องหรือหัวเรื่องยอยที่รวบรวมมานั้น คาดวาจะสงผลใหผูเรียน มีเจตคติที่ดีหรือไม เพียงใด โดยที่ X = สงเสริมใหผูเรียนมีเจตคติที่ดีตอการเรียน หรือการทํางานอยางมาก I = อาจจะมีสวนชวยสงเสริมใหผูเรียนมีเจตคติที่ดีตอการเรียนหรือการทํางาน O = เกือบจะหรือไมมีประโยชนในการสงเสริมใหผูเรียนมีเจตคติที่ดีตอ การเรียนหรือการทํางานแตอยางใด สําหรับการประเมินความสําคัญของหัวเรื่องหรือหัวเรื่องยอนในขั้นตอนนี้ จะใชแบบ ฟอรม Sub-Topic Evaluation Sheet โดยระบุหัวขอยอยที่รวบรวมไดทั้งหมดลงในแบบฟอรม หลังจากนั้นจึงประเมินความสําคัญทั้ง 3 ดาน โดยใชมาตราสวนประเมินคา X, I และ O หลังจาก นั้นจึงพิจารณาตัดสินใจยอมรับหรือตัดทิ้งหัวเรื่องเปนรายขอ เชนเดียวกันกับการวิเคราะหงานหรือ ภารกิจที่ผานมา ลําดับขั้นของการประเมินความสําคัญของหัวเรื่องหรือหัวเรื่องยอย มีดังนี้ 1. กําหนดเกณฑการยอมรับ (Accept) และเกณฑการตัดทิ้ง (Reject) ของหัวเรื่อง หรือหัวเรื่องยอยไวกอน วาจะยอมรับหรือตัดทิ้งที่ระดับใดในผลการประเมินทั้ง 3 ดาน เชน ตัดทิ้ง ตั้งแต I, I, O ลงมา หรือตัดทิ้งตั้งแต I, O, O ลงมา ทั้งนี้เพื่อลดอคติในระหวางการประเมิน 2. พิจารณาหัวเรื่องหรือหัวเรื่องยอยที่ปรากฏในแผนภาพปะการัง พิจารณาวาจะ นําหัวเรื่องยอยระดับใดไปประเมิน เชน X.X หรือ Y.Y.Y เปนตน ซึ่งควรนําหัวเรื่องยอยที่มีระดับ ความสําคัญเทากันไปประเมินดวยกัน แสดงวาหัวเรื่อง X.X.X จะอยูระดับเดียวกันกับหัวเรื่อง Y.Y.Y ซึ่งจะนําหัวเรื่อง X.X.X ไปประเมินพรอมกับหัวเรื่อง Y.Y ไมได หลังจากนั้นจึงนําหัวเรื่อง ยอยที่ตัดสินใจไดวาจะนําไปประเมิน เขียนลงในตาราง Sub-Topic Evaluation Sheet ใหครบ ทั้งหมด โดยไมตองเรียงลําดับกอนหลังแตอยางใด จากแผนภาพปะการังภาพที่ 7-3 พบวา จะประกอบไปดวย 2 หัวเรื่อง ไดแก 1. องคประกอบในการวิเคราะหเนื้อหา และ 2 ขั้นตอนการวิเคราะหเนื้อหา ซึ่งเมื่อพิจารณาหัวเรื่องที่ 2 พบวาไดแบงออกเปน 5 หัวเรื่องยอย ไดแก 2.1, 2.2, 2.3, 2.4 และ 2.5 เมื่อพิจารณาหัวเรื่องที่ 2.2 พบวา ไดมีการแบงออกเปน 2.2.1 – 2.2.5 และจะพบวาหัวเรื่องยอยระดับ X.X.X มีเฉพาะใน หัวเรื่อง 2.2 กับ 2.3 เทานั้น หัวเรื่องที่ 2.1, 2.4 และ 2.5 ไมมีการแบงออกเปนหัวเรื่องยอย ๆ แต อยางใด ดังนั้น เมื่อพิจารณาวาควรนําหัวเรื่องยอยที่มีระดับความสําคัญเทากันไปประเมินดวยกัน
  • 10. 182 การออกแบบและพัฒนาคอรสแวรสําหรับบทเรียนคอมพิวเตอร 1 = Promotes Problem Solving A = Accept 2 = Promotes Learning Skill R = Reject 3 = Promotes Transfer Value แสดงวาหัวเรื่องที่จะนําไปประเมินความสําคัญได ก็คือ X.X เทานั้น ซึ่งก็คือหัวเรื่อง 2.1, 2.2, 2.3, 2.4 และ 2.5 3. ประเมินความสําคัญอยางรอบคอบในแตละหัวเรื่องยอย โดยพิจารณาแตละ หัวเรื่องใหครบทั้ง 3 ดานในครั้งเดียวตามเกณฑที่กําหนดไว ทั้งการสงเสริมความสามารถในการ แกปญหาในการเรียน การสงเสริมทักษะในการทํางานถูกตองสมบูรณ และการสงเสริมใหผูเรียนมี เจตคติที่ดี ตัดสินใจให X เมื่อเห็นวาหัวเรื่องยอยนั้น มีความจําเปนจริง ๆ ให I เมื่อเห็นวา หัวเรื่องยอยนั้น มีความจําเปนปานกลาง และให O เมื่อเห็นวา มีความจําเปนคอนขางนอย 4. พิจารณายอมรับหรือตัดทิ้งหัวเรื่องยอยที่ไดจากการประเมินในขอที่ 3 โดยตัดสิน จากเกณฑที่กําหนดไวแลวในขอที่ 1 5. พิจารณาหัวเรื่องยอยทั้งหมดอีกครั้งหนึ่ง เพื่อตรวจสอบความมั่นใจในการประเมิน ตัวอยางการประเมินความสําคัญของหัวเรื่องยอย Sub-Topic Evaluation Sheet : การวิเคราะหเนื้อหา List of Sub-Topic Factor Criteria Note 1 2 3 A R 1. องคประกอบในการวิเคราะหเนื้อหา 1.1 แหลงที่มาของเนื้อหา 1.2 วัตถุประสงคการวิเคราะหเนื้อหา 1.3 หนวยที่ใชในการวิเคราะห 2. ขั้นตอนการวิเคราะหเนื้อหา 2.1 การศึกษาวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 2.2 การรวบรวมและการศึกษาขอมูล 2.3 การประเมินความสําคัญของหัวเรื่องยอย 2.4 การจัดลําดับความสัมพันธของเนื้อหา 2.5 การเขียนเนื้อหาใหสอดคลองกับ วัตถุประสงค I X I X X X X X I I I I X X X X O O O O O O O O ü ü ü ü ü ü ü ü - - - - - - - -
  • 11. การวิเคราะหเนื้อหาและยุทธวิธีดานการสอน 183 4. การจัดลําดับความสัมพันธของเนื้อหา (Sequencing) ภายหลังจากที่ผานการรวบรวมเนื้อหา โดยไดหัวเรื่องและหัวเรื่องยอยจากแหลงที่มาของ ขอมูลและประเมินความสําคัญของหัวเรื่องดวย Sub-Topic Evaluation Sheet แลว ขั้นตอไปเปน การจัดลําดับความสัมพันธของหัวเรื่อง เพื่อจัดลําดับเนื้อหาที่จะนําเสนอในบทเรียน โดยมีเกณฑ การพิจารณาทั่ว ๆ ไป ดังนี้ 4.1 จัดลําดับเนื้อหา โดยพิจารณาเนื้อหาจากงายไปสูเนื้อหายาก 4.2 จัดตามลําดับกอนหลังของเนื้อหา เชน เนื้อหาทฤษฎีตองมากอนเนื้อหาดานทักษะ ปฏิบัติ เปนตน 4.3 จัดลําดับเนื้อหาจากสวนรวมไปหาสวนยอย ๆ 4.4 จัดลําดับเนื้อหาตามลําดับเวลาที่เกิดกอนหลัง 4.5 จัดลําดับเนื้อหาจากสิ่งที่เปนรูปธรรมไปหานามธรรม 4.6 จัดลําดับเนื้อหาจากสิ่งที่สังเกตไดไปหาขอมูลหรือกฎเกณฑ เพื่อใหการจัดลําดับความสัมพันธของเนื้อหาตามหัวเรื่องและหัวเรื่องยอย เปนระบบมากขึ้น สามารถใช Network Diagram ชวยในการจัดลําดับความสัมพันธของหัวเรื่องหรือหัวเรื่องยอยที่ ผานการยอมรับจากการประเมินความสําคัญของหัวเรื่องซึ่งเปนวิธีการเดียวกันกับการใช Network Diagram จัดลําดับงานหรือภารกิจในบทที่ผานมา ตัวอยางการใช Network Diagram จัดลําดับความสัมพันธของเนื้อหา จาก Sub-Topic Evaluation Sheet ที่ผานการประเมินความสําคัญแลว พบวาหัวเรื่องหรือ หัวเรื่องยอยที่ผานการยอมรับแลวของ “การวิเคราะหเนื้อหา” มีจํานวน 8 หัวเรื่อง ซึ่งสามารถ นํามาจัดลําดับความสัมพันธโดยใช Network Diagram ไดดังนี้ จาก Network Diagram ที่แสดงความสัมพันธของหัวเรื่องทั้ง 8 หัวเรื่อง พบวาหัวเรื่องที่ 1.1, 1.2 และ 1.3 ไมมีความสัมพันธกัน จะนําเสนอหัวเรื่องใดกอนก็ได แตตองนําเสนอใหครบทั้ง 3 หัวเรื่องกอนที่จะเริ่มหัวเรื่องที่ 2.1 จนถึง 2.5 ซึ่งหัวเรื่อง 2.1 จําเปนตองเริ่มกอน หัวเรื่องอื่น ๆ เนื่องจากหัวเรื่องในสวนนี้มีเนื้อหาเรียงลําดับกันและมีความสัมพันธกันในลักษณะเชิงเสน จึงสรุป ทางเลือกของหัวเรื่องทั้งหมด ได 6 ทางเลือก ดังนี้ 1.1 Stop Start 1.2 1.3 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5
  • 12. 184 การออกแบบและพัฒนาคอรสแวรสําหรับบทเรียนคอมพิวเตอร 1. 1.1 – 1.2 – 1.3 – 2.1 – 2.2 – 2.3 – 2.4 – 2.5 2. 1.1 – 1.3 – 1.2 – 2.1 – 2.2 – 2.3 – 2.4 – 2.5 3. 1.2 – 1.3 – 1.1 – 2.1 – 2.2 – 2.3 – 2.4 – 2.5 4. 1.2 – 1.1 – 1.3 – 2.1 – 2.2 – 2.3 – 2.4 – 2.5 5. 1.3 – 1.1 – 1.2 – 2.1 – 2.2 – 2.3 – 2.4 – 2.5 6. 1.3 – 1.2 – 1.1 – 2.1 – 2.2 – 2.3 – 2.4 – 2.5 ขอดีของการใช Network Diagram วิเคราะหความสัมพันธของหัวเรื่องอีกประการหนึ่งก็คือ สามารถนํา Network Diagram ที่ไดจากการวิเคราะหไปใชเปนแผนที่การเรียนรู (Learning Map) ของบทเรียนคอมพิวเตอรได ทําใหผูเรียนไดทราบทางเลือกของบทเรียนที่ไมจําเปนตองศึกษา บทเรียนเรียงลําดับเสมอไป สามารถศึกษาจากหัวเรื่องใดก็ได ภาพที่ 7-4 การใช Network Diagram เปนรายการใหเลือก (Menu) ของบทเรียน หัวเรื่องหรือเนื้อหาที่ผานการยอมรับและผารการจัดลําดับความสัมพันธแลว จะตองนํามา วางแผนการจัดเตรียมเพื่อถายทอดใหผูเรียนสามารถรับเนื้อหาดังกลาวไดครบถวน การเขียน เนื้อหาเพื่อสงเสริมความเขาใจใหผูเรียน จะตองพิจารณาวัตถุประสงคของบทเรียนเปนหลัก โดย จะตองทําการแยกแยะเนื้อหาเพื่อใหผูเรียนรับไดในปริมาณที่เหมาะสม โดยมีขอควรพิจารณาก็คือ ถาเนื้อหายาก ตองแยกแยะมาก แตถาเนื้อหางาย ก็แยกแยะนอยลงตามสัดสวน Menu EXIT 1.1 Stop Start 1.2 1.3 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 Learning Map < Please click at any number as you wish to study >
  • 13. การวิเคราะหเนื้อหาและยุทธวิธีดานการสอน 185 5. การเขียนเนื้อหาใหสอดคลองกับวัตถุประสงค (Write the Content) หลังจากไดรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับหัวเรื่องตาง ๆ ที่ผานการจัดลําดับความสัมพันธแลว ขั้นตอนตอไปจะเปนการเขียนเนื้อหาที่เกี่ยวของทั้งหมด เพื่อรวบรวมแนวความคิดในการนําเสนอ และนําเสนอเนื้อหาใหตรงตามวัตถุประสงคของบทเรียนที่กําหนดไว หลักพื้นฐานในการเขียน เนื้อหาก็คือ ใหยึดวัตถุประสงคของบทเรียนเปนหลัก ถาสาระหลักของวัตถุประสงคเปนอยางใด เนื้อหาก็จะตองสอดคลองกับสาระนั้น เนื้อหาที่จะนําเสนอในแตละวัตถุประสงคของบทเรียน ประกอบดวย 2 สวน ดังนี้ 5.1 เนื้อหาหลัก (Main Element) ไดแก ความคิดรวบยอดที่เปนแกนของเนื้อหานั้น ๆ ที่จําเปนตองมี เพื่อใหผูเรียนไดศึกษาตามวัตถุประสงค 5.2 ความรูตาง ๆ (Knowledge) ไดแก ขอมูลหรือรายละเอียดปลีกยอยที่ใชสนับสนุน ใหเกิดความเขาใจในเนื้อหาหลัก ซึ่งอาจมีมากกวาหนึ่งสวนก็ได โดยมีหลักพื้นฐานวาจะตอง นําเสนอสวนของความรูตาง ๆ ใหละเอียดในบทเรียนสําหรับเด็กเล็ก แตถาเปนบทเรียนสําหรับ ผูเรียนระดับผูใหญ ก็ใหนําเสนอเฉพาะเทาที่จําเปนเทานั้น เนื่องจากถานําเสนอเนื้อหาสวนนี้มาก ไป จะทําใหเสียเวลาและเกิดความเบื่อหนาย ภาพที่ 7-5 สวนประกอบของเนื้อหาแตละวัตถุประสงค ในขั้นนี้จึงเปนการเขียนเนื้อหาตามวัตถุประสงค โดยพิจารณาจากหัวเรื่องและหัวเรื่องยอยที่ เกิดจากการจัดลําดับความสัมพันธแลว เพื่อใชเปนเนื้อหาของของบทเรียนคอมพิวเตอรตอไป ขั้นตอนการเรียนการสอน การเรียนการสอนเปนกระบวนการตาง ๆ ที่ทําใหบุคคลสามารถเรียนรูขึ้นไดตามวัตถุ ประสงคของบทเรียนที่กําหนดไว ซึ่งการเรียนรูจะหมายถึงการที่บุคคลสามารถกระทําอยางหนึ่ง Topic Objective 1 Main Element 1 Knowledge 1 Knowledge 2 Objective 2 Main Element 2 Knowledge 1 Knowledge 2
  • 14. 186 การออกแบบและพัฒนาคอรสแวรสําหรับบทเรียนคอมพิวเตอร อยางใดได โดยที่บุคคลนั้นไมเคยทํามากอน การเรียนรูจึงเปนกระบวนการที่มีขั้นตอนโดยยึดหลัก ประสบการณของการศึกษา ซึ่งขั้นตอนการเรียนการสอน สามารถจําแนกเปน 4 ขั้นตอน ดังนี้ 1. ขั้นสนใจปญหา (M : Motivation) 2. ขั้นศึกษาขอมูล (I : Information) 3. ขั้นนําขอมูลมาใช (A : Application) 4. ขั้นประเมินผลสําเร็จ (P : Progress) รายละเอียดของแตละขั้นตอน มีดังนี้ 1. ขั้นสนใจปญหา (Motivations) ขั้นสนใจปญหาเปนกาวแรกในการนําทางเขาไปหาการเรียนรูในสิ่งใหม ๆ ปจจัยที่ทําให เกิดความสนใจในเนื้อหาอาจเกิดมาจากหลาย ๆ ประการดวยกัน เชน แรงจูงใจทั้งภายนอกและ ภายใน เจตคติ คานิยม เปนตน สําหรับในบทเรียนคอมพิวเตอรแลว ขั้นสนใจปญหามักจะ เริ่มตนดวยการสรางปญหาใหผูเรียนไดคิด โดยการใชคําถามหรือการกลาวนําเพื่อโนมนาวใหเกิด ความสนใจที่จะติดตามและศึกษาบทเรียน ขั้นตอนนี้นับวามีความจําเปนตอกระบวนการเรียน การสอนมาก เนื่องจากถาผูเรียนไมสนใจ ความลมเหลวตอการเรียนรูจะมีโอกาสเกิดขึ้นไดสูง 2. ขั้นศึกษาขอมูล (Information) หลังจากที่ผานขั้นสนใจปญหามาแลว แสดงวาผูเรียนมีความพรอมที่จะรับเนื้อหาและความรู ใหม ๆ จากบทเรียนหรือจากผูสอน ขั้นตอนนี้จึงเปนการใหขอมูลเกี่ยวกับความรูใหม ๆ ที่จะชวย แกปญหาที่ตั้งไวในขั้นแรก ดังนั้น ในขั้นนี้จึงตองใชเวลามากกวาขั้นตอนอื่น ๆ โดยอาจใชวิธีการ ใหเนื้อหาหลากหลายรูปแบบ เพื่อเนนย้ําความเขาใจใหกับผูเรียน เชน การบรรยาย การถามตอบ หรือใหผูเรียนศึกษาดวยตนเอง เปนตน 3. ขั้นนําขอมูลมาใช (Application) ขั้นนี้เปนขั้นตอนที่ 3 ในกระบวนการเรียนรู เปนการแกปญหาโดยนําขอมูลที่ไดในขั้นที่ 2 มาใช เพื่อตรวจสอบความรูใหมที่ไดรับมาแกปญหาตามที่กําหนดไวในบทเรียน เชน แกปญหา โจทยแบบฝกหัด ทําแบบทดสอบ เปนตน ในขั้นตอนนี้จึงนับวามีความสําคัญยิ่งในการที่จะ ตรวจสอบผลการเรียนรูวาบรรลุตามวัตถุประสงคหรือไม หากยังไมบรรลุก็อาจจะตองใหศึกษา ขอมูลเพิ่มเติมหรือเสนอแนะใหดําเนินการอื่น ๆ ตอไป 4. ขั้นประเมินผลสําเร็จ (Progress) ขั้นตอนนี้ เปนการตรวจสอบผลที่ไดนําขอมูลมาใชวาตรงตามเปาหมายที่กําหนดไวหรือไม โดยพิจารณาตามวัตถุประสงคของบทเรียนเปนหลัก ถาหากบรรลุตามวัตถุประสงคก็แสดงวา
  • 15. การวิเคราะหเนื้อหาและยุทธวิธีดานการสอน 187 ผูเรียนเกิดการเรียนรูขึ้น ในขั้นนี้จะกระทําทันทีภายหลังจากที่นําขอมูลมาใชในขั้นที่ 2 เสร็จสิ้น แต ถายังไมผานเกณฑการวัดผลที่กําหนดไว ก็อาจจะตองกลับไปศึกษาเพิ่มเติมหรือดําเนินการอยาง อื่น ๆ ตอไป ภาพที่ 7-6 ขั้นตอนการเรียนรู MIAP เมื่อพิจารณากระบวนการเรียนรูทั้ง 4 ขั้น ซึ่งเปนการจัดการเรียนการสอนทั่วไป จะเห็นวา สามารถประยุกตใชขั้นตอนทั้งหมดในบทเรียนคอมพิวเตอรได เนื่องจากเปนหลักการเดียวกัน นับตั้งแตขั้นนําเขาสูบทเรียน ซึ่งบทเรียนคอมพิวเตอรก็จําเปนตองมีขั้นตอนนี้เชนกัน โดยอาจจะ ใชคําถามเพื่อเรียกรองความสนใจ หลังจากนั้นจึงเขาสูขั้นตอนการศึกษาขอมูล ซึ่งนําเสนอตาม หลักการเรียนรูดวยตนเอง เนื่องจากเปนบทเรียนที่เนนใหผูเรียนศึกษาดวยตนเอง ดังนั้น ผูออกแบบบทเรียนจึงจําเปนตองวางแผนการนําเสนอเนื้อหาใหรัดกุม โดยการนําเสนอเนื้อหา ประกอบคําถาม และสงเสริมใหมีการตรวจปรับเนื้อหาตามที่เห็นสมควร นอกจากนี้ยังตอง พิจารณากิจกรรมรวมในบทเรียนดวยวาจะสามารถชี้แนะแนวทางการเรียนรูไดอยางไรบาง หลัง สมชายมาจากตางจังหวัด สอบเขาศึกษาตอในมหาวิทยาลัยในกรุงเทพฯ ได ขณะอยูที่ตางจังหวัดก็ไมมีโอกาสไดชมความกาวหนา ทางดานเทคโนโลยีคอมพิวเตอรมากอนเลย วันหนึ่งเขาเห็นประกาศ นิทรรศการคอมพิวเตอร ณ ศูนยประชุมแหงชาติ เขามีความสนใจอยางมากที่จะไปดู แตเขาไมเคยไปศูนยประชุมแหงชาติ มากอนเลย เขาตั้งใจวาจะไปแนนอน M เขาเริ่มศึกษาเสนทางการเดินทางไปศูนยประชุมแหงชาติ โดยการดูจากแผนที่การเดินรถประจําทาง และสอบถามเพื่อน เขาทดลองทําตามคําแนะนําของเพื่อน และนําขอมูลที่ เขาศึกษามาใช เขาเดินทางไปถึงศูนยประชุมแหงชาติ และไดชมนิทรรศการ คอมพิวเตอรตามที่ตั้งใจไว I A P
  • 16. 188 การออกแบบและพัฒนาคอรสแวรสําหรับบทเรียนคอมพิวเตอร จากนั้นจึงเขาสูขั้นตอนการนําขอมูลมาใช ซึ่งหมายถึงการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดวย แบบทดสอบ กลาวโดยสรุปไดวา หลักการนําเสนอของบทเรียนคอมพิวเตอรก็คือ การดําเนินตาม ขั้นตอนการเรียนรู 4 ขั้น ไดแก Motivation, Information, Application และ Progress นั่นเอง วิธีการนําสงบทเรียนคอมพิวเตอร บทเรียนคอมพิวเตอร สามารถจําแนกตามวิธีการนําสงบทเรียน (Delivery) ไปยังผูเรียนได 3 วิธี ดังตอไปนี้ 1. นําเสนอแบบเปนกลุม (Group Presentation) ไดแก บทเรียนคอมพิวเตอรที่นําไปใช ประกอบการบรรยายในการเรียนการสอนในชั้นเรียน เนื่องจากมีผูเรียนหลายคน ดังนั้นการใช บทเรียนในลักษณะนี้ จึงอาจมีลักษณะเปนบทเรียนเสริม (Supplement Lesson) หรือบทเรียนเพื่อ ใชทบทวนความรูมากกวาการใชเปนบทเรียนหลัก (Main Lesson) 2. นําเสนอแบบกลุมยอย (Small-group Presentation) ไดแก บทเรียนคอมพิวเตอรที่ใช กับผูเรียนจํานวนไมมาก เพื่อนําเสนอความรูใหกับผูเรียนในกลุมในเวลาเดียวกัน เชน ระบบการ เรียนรูแบบรวมมือ (Collaborative Learning System) หรือ CSCL (Computer Supported Collaborative Learning) เปนตน 3. แบบเรียนดวยตัวเอง (Self-pace Instruction) ไดแก บทเรียนคอมพิวเตอรที่ใชสําหรับ การเรียนรูรายบุคคล ซึ่งบทเรียนจะจัดประสบการณการเรียนรูเฉพาะตัวผูเรียน ตามที่ผูเรียนไดมี ปฏิสัมพันธกับบทเรียนอยางตอเนื่อง ซึ่งเปนการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนศูนยกลาง ผูเรียน จะตองรับผิดชอบตนเองในการติดตามกระบวนการเรียนรูจนจบบทเรียน สําหรับชองทางการนําสงบทเรียนคอมพิวเตอร สามารถจําแนกไดดังนี้ 1. บทเรียนแบบใชงานโดยลําพัง (Standalone Based Instruction) ไดแก CAI, CAL, CBI, CBT และ CAE เปนตน 2. บทเรียนแบบใชงานผานเครือขาย (Network Based Instruction) แบงออกไดดังนี้ 2.1 บทเรียนโดยใชเว็บ เชน WBI, WBT, IBI, IBT และ Online Learning เปนตน 2.2 e-Learning, c-Learning และ d-Learning เปนตน 3. บทเรียนแบบใชงานผานเครือขายไรสาย (Wireless Based Instruction) เชน m- Learning เปนตน การประเมินผลการเรียนการสอน ขั้นตอนสุดทายของกระบวนการเรียน จะเปนการทดสอบผูเรียนเมื่อจบบทเรียนแลว เพื่อให ทราบถึงสถานภาพของผูเรียนแตละคนวามีจุดเดน จุดดอย และมีความรูความสามารถในวิชาที่ได ศึกษาเพียงใด เพื่อจะนําไปใชในการตัดสินผลหรือใชเปนพื้นฐานความรูในการศึกษาเรื่องถัดไป
  • 17. การวิเคราะหเนื้อหาและยุทธวิธีดานการสอน 189 นอกจากนี้ยังสามารถนําผลการประเมินที่ได ไปปรับปรุงบทเรียนใหเหมาะสมยิ่งขึ้นในโอกาสตอไป แบบทดสอบหรือขอสอบจึงมีความสําคัญตอบทเรียนคอมพิวเตอรมาก เนื่องจากเปนสวนที่ใช สําหรับการวัดพฤติกรรมตามที่บทเรียนตองการ ซึ่งแบบทดสอบจะตองผานการหาคุณภาพตาม เกณฑกอน จึงจะสามารถนําไปใชในบทเรียนได ปจจัยในการพิจารณาแบบทดสอบที่ใชในการประเมินผล มีทั้งหมด 7 ประเด็นดังนี้ 1. พฤติกรรมของผูเรียนที่ตองการ (Audience Behaviors) 2 เวลาในการทดสอบ (Time) 3. ลักษณะการสอบ (Kind of Test) 4. วิธีการสอบ (Methodology) 5. ความถี่ในการสอบ (Frequency) 6. เกณฑ (Criteria) 7. ลักษณะการตรวจผล (Checking Method) รายละเอียดแตละประเด็น มีดังนี้ 1. พฤติกรรมของผูเรียนที่ตองการ (Audience Behaviors) แบบทดสอบที่ใชในการวัด ความรูความสามารถ จะตองคํานึงถึงพฤติกรรมที่ตองการใหผูเรียนแสดงออก ดังนี้ 1.1 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ (Achievement Test) เปนแบบทดสอบที่วัดความ สามารถทางวิชาการดานตาง ๆ ซึ่งเปนลักษณะพฤติกรรมทางดานพุทธพิสัย 1.2 แบบทดสอบวัดความถนัด (Aptitude Test) เปนแบบทดสอบที่วัดผลประสบการณ เรียนรูทั่ว ๆ ไป ใชเปนตัวทํานายผลลัพธในอนาคต ซึ่งเปนลักษณะพฤติกรรมทางดานทักษะพิสัย 1.3 แบบทดสอบวัดบุคคลสังคม (Personal-Social Test) เปนแบบทดสอบที่ใชวัด การปรับตัว บุคลิกภาพ ความรูทางดานจิต การวัดเจตคติที่มีตอบุคคล สังคม ศาสนา สถาบัน ชาติ ความสนใจในอาชีพ สถานภาพทางอารมณ ซึ่งเปนลักษณะพฤติกรรมทางจิตพิสัย 2. เวลาในการทดสอบ (Time) แบบทดสอบควรคํานึงถึงเวลาที่ใชในการทดสอบวัด ความรูความสามารถที่มีอยู ลักษณะของแบบทดสอบจะแบงออกเปน 2 ลักษณะ ดังนี้ 2.1 แบบทดสอบวัดความเร็ว (Speed Test) เปนแบบทดสอบที่กําหนดเวลาใหทํานอย แตมีจํานวนมากขอที่คอนขางงาย ผูตอบจะตองทําแบบทดสอบดวยความรวดเร็ว แบบทดสอบ ประเภทนี้ใชวัดทักษะดานใดดานหนึ่ง เชน ทักษะในการทํางาน 2.2 แบบทดสอบวัดความคิด (Power Test) เปนแบบทดสอบที่ใหเวลาในการตอบ มาก ลักษณะของแบบทดสอบจะไมถามในดานความรูความจํา แตใหแสดงความคิดสรางสรรค โดยเปดโอกาสใหผูตอบไดแสดงความสามารถในการแสดงออกอยางเต็มที่ 3. ลักษณะการสอบ (Kind of Test) จําแนกได 2 ลักษณะ ดังนี้
  • 18. 190 การออกแบบและพัฒนาคอรสแวรสําหรับบทเรียนคอมพิวเตอร 3.1 แบบทดสอบรายบุคคล (Individual Test) เปนแบบทดสอบที่ตอบไดครั้งละคน เชน การสัมภาษณ การสอบปากเปลา 3.2 แบบทดสอบเปนกลุม (Group Test) เปนการทดสอบที่สามารถกระทําไดครั้งละ หลาย คน เชน การสอบขอเขียน 4. วิธีการสอบ (Methodology) จําแนกลักษณะวิธีการสอบของผูตอบได 3 ลักษณะ ดังนี้ 4.1 แบบใหลงมือกระทํา (Performance Test) เชน แบบทดสอบภาคปฏิบัติ 4.2 แบบใหเขียนตอบ (Paper Test) เชน แบบทดสอบปรนัย แบบทดสอบอัตนัย 4.3 แบบปากเปลา (Oral Test) เชน การสัมภาษณ แบบทดสอบการอาน 5. ความถี่ในการสอบ (Frequency) แบงออกเปน 2 ลักษณะ ดังนี้ 5.1 แบบทดสอบยอย (Formative Test) เปนแบบทดสอบที่ประเมินผลความกาวหนา ระหวางการสอน เพื่อนําผลการประเมินผลไปปรับปรุงการเรียนการสอน โดยมีจุดมุงหมายเพื่อ ตรวจวัดผูเรียนวาไดเรียนรูมากนอยเพียงใดในเนื้อหาเฉพาะบท เชน แบบฝกหัด หรือแบบทดสอบ กลางภาค 5.2 แบบทดสอบรวม (Summative Test) เปนแบบทดสอบที่ใชในการประเมินผล หลังจากการเรียนการสอนสิ้นสุดลง มีจุดมุงหมายเพื่อตัดสินความสามารถของผูเรียน เมื่อเรียนจบ ในแตละวิชาของหลักสูตร โดยผลจากการประเมินจะนําไปสูการจัดอันดับคะแนนในการตัดสินผล การเรียน เชน แบบทดสอบปลายภาค แบบทดสอบหลังบทเรียน 6. เกณฑ (Criteria) หรือระดับการวัดผล แบงออกเปน 2 ลักษณะ ดังนี้ 6.1 แบบอิงกลุม (Norm-Referenced Test) เปนแบบทดสอบที่ใชในการประเมินผลที่ มุงหาความแตกตางระหวางผูเรียน การประเมินผลจะขึ้นอยูกับพฤติกรรมของกลุมเปนสําคัญระดับ คะแนนที่ไดของผูเรียนจะแสดงถึงผลสัมฤทธิ์และระดับของผูเรียนในแตละคนเมื่อเทียบกับกลุม 6.2 แบบอิงเกณฑ (Criterion-Referenced Test) เปนแบบทดสอบที่ใชในการ ประเมินผลเพื่อหาวาผูเรียนทําอะไรไดบาง ผานเกณฑที่กําหนดไวหรือไม โดยมีการกําหนดเกณฑ มาตรฐานไวลวงหนาอยางชัดเจน เชน กําหนดเกณฑไว 80% จึงจะถึงวาผาน ถาผูเรียนสอบได คะแนนต่ํากวา 80% จะถือวาไมผานเกณฑ 7. ลักษณะการตรวจผล (Checking Method) แบงออกได 2 แบบ ดังนี้ 7.1 แบบอัตนัยหรือแบบเรียงความ (Subjective Test) เปนแบบทดสอบที่ผูตอบ จะตองรวบรวมความคิดในการตอบ แบบทดสอบประเภทนี้เหมาะสมในการวัดทางดานความคิด ริเริ่มสรางสรรค การตรวจใหคะแนนอาจขึ้นอยูกับอารมณของผูตรวจและใชเวลาในการตรวจมาก 7.2 แบบปรนัย (Objective Test) เปนแบบทดสอบที่มีการใหคะแนนแนนอนเชื่อถือ ได แบงออกเปน 4 ชนิด ดังนี้ 7.2.1 แบบตอบสั้น ๆ (Short Answer) 7.2.2 แบบจับคู (Matching)
  • 19. การวิเคราะหเนื้อหาและยุทธวิธีดานการสอน 191 7.2.3 แบบถูกผิด (True or False) 7.2.4 แบบเลือกตอบ (Multiple Choice) ภาพที่ 7-7 ปจจัยในการพิจารณาแบบทดสอบในการประเมินผลผูเรียน ขั้นตอนการออกแบบทดสอบสําหรับบทเรียนคอมพิวเตอร ขั้นตอนการออกแบบทดสอบสําหรับบทเรียนคอมพิวเตอร มีดังนี้ 1. ศึกษาวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 2. กําหนดชนิดของแบบทดสอบ 3. เตรียมงานและเขียนแบบทดสอบฉบับราง 4. วิเคราะหคุณภาพของแบบทดสอบ 5. ดําเนินการจัดพิมพแบบทดสอบ รายละเอียดแตละขั้นตอน มีดังนี้ 1. ศึกษาวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมที่กําหนดไวในบทเรียน ประกอบดวยพฤติกรรมขั้นสุดทายที่ให ผูเรียนแสดงออกในหลายลักษณะ เชน ทางดานพุทธิพิสัย ทักษะพิสัย หรือจิตพิสัย ซึ่งแตละดาน แบงออกเปนระดับตาง ๆ กัน ผูสรางแบบทดสอบจะตองทําการวิเคราะหพฤติกรรมนั้น เพื่อสรุป พฤติกรรมที่ตองการทั้งหมด แลวทําการเลือกพฤติกรรมที่เดนชัดและเหมาะสม เพื่อนําไปออก แบบทดสอบหรือที่ใชในบทเรียนคอมพิวเตอรตอไป ในขั้นนี้จึงมีความสําคัญ เนื่องจาก จะตองพิจารณาถึงความสอดคลองระหวางพฤติกรรมขั้นสุดทายของวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมกับ ประเด็นหลักของแบบทดสอบที่ใชวัด
  • 20. 192 การออกแบบและพัฒนาคอรสแวรสําหรับบทเรียนคอมพิวเตอร 2. กําหนดชนิดของแบบทดสอบ พฤติกรรมที่คาดหวังที่กําหนดไวในวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม ที่ไดจากการศึกษาในขั้นแรก จะทําใหทราบวัตถุประสงควาเนนทางดานใด พุทธพิสัย ทักษะพิสัย หรือจิตพิสัย ชนิดของ แบบทดสอบที่ใชวัดจึงมีความแตกตางกัน เชน ดานพุทธพิสัยอาจสอบแบบขอเขียน ดานทักษะ พิสัยอาจสอบทั้งขอเขียนและทักษะปฏิบัติ นอกจากนี้ในแตละดานก็ยังแบงออกเปนระดับความ ยากงายไดอีก แบบทดสอบจึงตองมีหลายชนิด เชน แบบอัตนัย แบบเติมคํา แบบเลือกตอบ แบบ ถูก-ผิด เปนตน เพื่อใหผูเรียนไดแสดงพฤติกรรมตามสถานการณที่แตกตางกัน สําหรับชนิดของแบบทดสอบที่เหมาะสมกับบทเรียนคอมพิวเตอรมากที่สุดก็คือ แบบทดสอบ ทดสอบแบบเลือกตอบ เนื่องจากงายตอตรวจและการตัดสินผล อยางไรก็ตามแบบทดสอบชนิด อื่น ๆ ก็สามารถใชกับระบบนิพนธบทเรียนสมัยใหมไดเชนกัน 3. เตรียมงานและลงมือเขียนแบบทดสอบฉบับราง เมื่อไดชนิดของแบบทดสอบแลว ขั้นตอไปเปนการเตรียมงานเขียนแบบทดสอบ โดยอาจจะ เขียนเปนฉบับรางกอน โดยมีขั้นตอนการดําเนินการดังนี้ 3.1 พิจารณาพฤติกรรมที่คาดหวังของบทเรียนที่มีตอผูเรียน จากวัตถุประสงคเชิง พฤติกรรมอยางละเอียด และตัดสินใจเลือกชนิดของแบบทดสอบหรือขอสอบที่จะใชในบทเรียน 3.2 เขียนรายการคําถาม (List of Question) ที่สอดคลองกับพฤติกรรมที่คาดหวังของ วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม จํานวน 2 - 3 ขอในวัตถุประสงคแตละขอ รายการคําถามดังกลาวนี้ จะนําไปพัฒนาเปนขอสอบหรือแบบทดสอบตอไป ดังตัวอยางตอไปนี้ วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม : รายการคําถาม : l บอกอาการของคอมพิวเตอรที่ 1. จงบอกอาการของคอมพิวเตอรที่ติด ติดไวรัสไดอยางนอย 5 อาการ ไวรัสมาอยางนอย 5 อาการ 2. ใหเลือกวาอาการใดตอไปนี้ เกิดจาก การที่คอมพิวเตอรติดไวรัส l อธิบายหลักการทํางานของ 1. จงอธิบายหลักการทํางานของ UPS UPS ได 2. UPS ทํางานอยางไร l จําแนกสวนประกอบของ 1. คอมพิวเตอรประกอบดวย คอมพิวเตอรได สวนประกอบอะไรบาง 2. ฮารดดิสค จัดวาเปนสวนประกอบ สวนใดของคอมพิวเตอร 3. เครื่องพิมพ จัดวาเปนสวนประกอบ สวนใดของคอมพิวเตอร
  • 21. การวิเคราะหเนื้อหาและยุทธวิธีดานการสอน 193 3.3 พิจารณารายการคําถามทั้งหมดอีกครั้งหนึ่งวา มีความสอดคลองกับพฤติกรรมที่ คาดหวังของวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมแตละขอหรือไม เชน คําถามที่ใช เนื้อหาสาระของคําถาม เปนตน รวมทั้งพิจารณาจํานวนรายการคําถามวามีจํานวนเพียงพอกับความตองการหรือไม โดย เฉพาะจํานวนแบบทดสอบที่ใชสําหรับธนาคารขอสอบ ซึ่งจะตองมีจํานวนเพียงพอสําหรับการสุม 3.4 พัฒนารายการคําถามใหเปนขอสอบหรือแบบทดสอบ โดยใสตัวเลือกที่เปน คําตอบที่ถูกตอง และตัวลวงที่เปนคําตอบผิด พรอมเฉลยคําตอบที่ถูกตอง 3.5 จัดพิมพเปนแบบทดสอบฉบับราง เพื่อนําไปวิเคราะหหาคุณภาพตอไป 4. วิเคราะหคุณภาพของแบบทดสอบ เมื่อสรางแบบทดสอบเสร็จแลว จะตองมีการตรวจสอบความยากงายของขอคําถามเบื้องตน ตรวจดูรูปแบบภาษาที่ใช เนื้อหาของแบบทดสอบ คําสั่ง และเฉลย เปนตน ซึ่งผูออกแบบทดสอบ จะตองทําการแกไขปรับปรุงใหดีกอนนําไปใชจริง โดยจะตองผานการวิเคราะหหาคุณภาพของ แบบทดสอบกอน สําหรับกลุมเปาหมายที่จะเปนผูใชแบบทดสอบในการวิเคราะหหาคุณภาพก็คือ กลุมประชากรที่เคยผานการศึกษาหัวเรื่องนี้มาแลวในจํานวนที่เหมาะสม สําหรับการหาคุณภาพ ของแบบทดสอบที่ใชในบทเรียนคอมพิวเตอร จะตองพิจารณาองคประกอบจํานวน 5 ดาน ดังนี้ 4.1 คาความเชื่อมั่น (Reliability) 4.2 คาความเที่ยงตรง (Validity) 4.3 คาความยากงาย (Difficulty) 4.4 คาอํานาจจําแนก (Discrimination) 4.5 ความเปนปรนัย (Objectivity) 5. ดําเนินการจัดพิมพแบบทดสอบ การดําเนินการจัดพิมพแบบทดสอบ เปนขั้นตอนสุดทายสําหรับกระบวนการสราง แบบทดสอบสําหรับบทเรียนคอมพิวเตอร หลังจากที่ผานการวิเคราะหหาคุณภาพของแบบทดสอบ และทําการคัดเลือกแบบทดสอบที่ผานเกณฑมาตรฐานแลว ในขั้นนี้ยังรวมถึงการพัฒนาโปรแกรม เพื่อเก็บบันทึกแบบทดสอบที่ผานการวิเคราะหหาคุณภาพแลวลงในธนาคารขอสอบ โดยจัดการ ใหมีกระบวนการสุม การตรวจวัดผล และการรายงานผล ชนิดของแบบทดสอบสําหรับการเรียนการสอน แบบทดสอบจําแนกออกเปน 2 ชนิดใหญ ๆ ดังนี้ 1. แบบทดสอบอัตนัย (Subjective Test) 2. แบบทดสอบปรนัย (Objective Test)