SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
ความหมายของโครงงาน
โครงงาน หมายถึง กิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้าและลงมือ
ปฏิบัติด้วยตนเองตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจ โดยอาศัย
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือกระบวนการอื่นใดไปใช้ในการศึกษาหาคาตอบ
ในเรื่องนั้นๆ โดยมีครูผู้สอนแนะนาและให้คาปรึกษา ตั้งแต่การเลือกหัวข้อที่จะ
ศึกษา ค้นคว้า ดาเนินการ วางแผน กาหนดขั้นตอนการดาเนินงาน รวมทั้ง
ร่วมกาหนดแนวทางในการวัดผลและประเมิณผล
1.ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ หมายถึง กิจกรรมการเรียนที่นักเรียนมีอิสระในการเลือกศึกษา
ปัญหาที่ตนเองสนใจ โดยวางแผนการดาเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม โดยใช้ความรู้
ทางกระบวนการวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจน
ทักษะพื้นฐานในการพัฒนาโครงงาน ซึ่งอาจมีผู้ศึกษามาก่อน หรือเป็นเรื่องที่นักพัฒนา
โปรแกรมได้เคยค้นคว้าและพัฒนาแล้ว นักเรียนสามารถทาโครงงานเรื่องดังกล่าวได้ แต่
ต้องคิดดัดแปลงแนวทางในการศึกษา วิเคราะห์ข้อมูล พัฒนาโปรแกรม หรือศึกษา
เพิ่มเติมจากผลงานเดิมที่มีผู้รายงานไว้
2.ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ หมายถึง กิจกรรมการเรียนที่นักเรียนมีอิสระในการเลือกศึกษา
ปัญหาที่ตนเองสนใจ โดยวางแผนการดาเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม โดยใช้ความรู้
ทางกระบวนการวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจน
ทักษะพื้นฐานในการพัฒนาโครงงาน ซึ่งอาจมีผู้ศึกษามาก่อน หรือเป็นเรื่องที่นักพัฒนา
โปรแกรมได้เคยค้นคว้าและพัฒนาแล้ว นักเรียนสามารถทาโครงงานเรื่องดังกล่าวได้ แต่
ต้องคิดดัดแปลงแนวทางในการศึกษา วิเคราะห์ข้อมูล พัฒนาโปรแกรม หรือศึกษา
เพิ่มเติมจากผลงานเดิมที่มีผู้รายงานไว้
3.ขั้นตอนการทาโครงงานคอมพิวเตอร์
1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจจะทา
โดยทั่วไปโครงงานคอมพิวเตอร์มักได้จากปัญหา คาถาม หรือความสนใจใน
เรื่องต่าง ๆ จากการสังเกตสิ่งต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ หรือสิ่งที่
อยู่รอบตัวเรา แหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ การตัดสินใจเลือกหัวข้อที่จะนามาเป็น
โครงงานควรพิจารณา ดังต่อไปนี้
1.1 ต้องมีความรู้และทักษะพื้นฐานอย่างเพียงพอในหัวข้อเรื่องที่จะศึกษา
1.2 สามารถจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์และวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องได้
1.3 มีแหล่งความรู้เพียงพอที่จะค้นคว้าหรือขอคาปรึกษา
1.4 มีเวลาเพียงพอ
1.5 มีงบประมาณเพียงพอ
1.6 มีความปลอดภัย
2.ศึกษาค้นคว้าและวางแผน การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
รวมถึงการขอคาปรึกษาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จะช่วยให้นักเรียนได้แนวคิดที่ใช้ใน
การกาหนดขอบเขตของเรื่องที่จะศึกษาได้เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น รวมทั้งได้
ความรู้เพิ่มเติมในเรื่องที่จะศึกษา จนสามารถใช้ออกแบบและวางแผน
ดาเนินการทาโครงงานนั้นได้
3.จัดทาเค้าโครงของโครงงานที่จะทา ดังนี้
3.1 ศึกษาค้นคว้าเอกสารอ้างอิงและรวบรวมข้อมูลที่ได้จากผู้ทรงคุณวุฒิ
3.2 วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อกาหนดขอบเขตและลักษณะของโครงการที่จะพัฒนา
3.3 ออกแบบการพัฒนา มีการกาหนดลักษณะของเครื่องคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และตัวแปลภาษา โปรแกรม และวัสดุต่าง ๆ ที่ต้องใช้
3.4 กาหนดตารางการปฏิบัติงานของการจัดทาเค้าโครงของโครงงาน ลงมือทา
โครงงานและสรุปรายงานโครงงาน โดยกาหนดช่วงเวลาอย่างกว้าง ๆ
3.5 ทาการพัฒนาโครงงานขั้นต้น เพื่อศึกษาความเป็นไปได้เบื้องต้น โดย
อาจจะทาการพัฒนาส่วนย่อย ๆ บางส่วนตามที่ได้ออกแบบไว้แล้ว นาผลจาก
การศึกษาในช่วงนี้ไปปรับปรุงแผนการทดลองที่ออกแบบไว้ในครั้งแรกให้
เหมาะสมมากยิ่งขึ้น
3.6 เสนอเค้าโครงของโครงงานคอมพิวเตอร์ต่ออาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อขอ
คาแนะนาและปรับปรุงแก้ไข เพื่อให้การวางแผนและดาเนินการทาโครงงาน
เป็นไปอย่างเหมาะสมเป็นขั้นตอนตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุด
4.การลงมือทาโครงงาน เมื่อเค้าโครงของโครงงานได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาแล้ว ก็
เสมือนว่าการจัดทาโครงงานได้ผ่านพ้นไปแล้วมากกว่าครึ่ง ขั้นตอนต่อไปเป็นการลงมือพัฒนาตาม
ขั้นตอนที่ได้วางแผนไว้ เช่น จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ให้พร้อม รวมทั้งการกาหนดหน้าที่ความ
รับผิดชอบของสมาชิกในกลุ่มให้ชัดเจน แล้วจึงดาเนินการทาโครงงาน ขณะเดียวกันต้องมีการทดสอบ
ตรวจสอบ ปรับปรุงแก้ไข เพื่อพัฒนาโครงงานเป็นระยะ ๆ เพื่อให้แน่ใจว่าผลงานที่พัฒนาขึ้น
ทางานได้ถูกต้องตรงกับความต้องการที่ระบุไว้ในเป้าหมาย และเกิดประสิทธิภาพตามขั้นตอนต่อไปนี้
4.1 การเตรียมการ ต้องเตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอื่น ๆ ที่จะใช้ใน
การพัฒนาให้พร้อมและควรเตรียมสมุดบันทึกหรือบันทึกเป็นแฟ้มข้อความไว้ในระบบ
คอมพิวเตอร์ สาหรับบันทึกการทากิจกรรมต่าง ๆ ระหว่างการทาโครงงาน ได้แก่ การ
ดาเนินการอย่างไร ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและแก้ไขได้หรือไม่อย่างไร รวมทั้งข้อสังเกตต่างๆ
ทีjพบ
4.2 การลงมือพัฒนา เป็นการปฏิบัติตามแผนงานที่ได้วางไว้ในเค้าโครง ซึ่งสามารถ
เปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมได้ หากพบว่าจะช่วยให้ผลงานพัฒนาได้ดีขึ้น โดยจัดระบบการ
ทางาน ทาส่วนที่เป็นหลักสาคัญให้เสร็จก่อน จึงค่อยทาส่วนที่เป็นส่วนประกอบหรือส่วน
เสริม เพื่อให้โครงงานมีความสมบูรณ์มากขึ้น และถ้ามีการแบ่งงานกันทา ให้มีการตกลง
รายละเอียดในการเชื่อมต่อชิ้นงานที่ชัดเจนด้วย รวมทั้งต้องพัฒนาระบบงานด้วยความ
ละเอียดรอบคอบ บันทึกข้อมูลอย่างเป็นระบบและครบถ้วน
4.3 การทดสอบผลงานและแก้ไข เป็นการตรวจสอบความถูกต้องของผลงาน เพื่อให้แน่ใจ
ว่าผลงานที่พัฒนาขึ้น ทางานได้ถูกต้องตรงตามความต้องการที่ระบุไว้ในเป้าหมาย และมี
ประสิทธิภาพ
4.4 การอภิปรายและข้อเสนอแนะ เมื่อพัฒนาผลงานเรียบร้อยแล้ว ให้จัดทาข้อสรุปด้วย
ข้อความที่สั้นกะทัดรัด ครอบคลุมหัวข้อโครงงาน เพื่อช่วยให้ผู้อ่านได้เข้าใจถึงสิ่งที่ค้นพบจาก
การทาโครงงานและอภิปรายผล เพื่อพิจารณาข้อมูลและผลที่ได้ พร้อมกับนาไปหา
ความสัมพันธ์กับ หลักการ ทฤษฎี หรือผลงานที่ผู้อื่นได้ศึกษาไว้แล้ว ทั้งนี้รวมไปถึง
หลักการ ทฤษฎี หรือผลงานของผู้อื่นมาใช้ประกอบการอภิปรายผลได้
4.5 แนวทางการพัฒนาโครงงานในอนาคตและข้อเสนอแนะ เมื่อทาโครงงานเสร็จสิ้นลง
แล้ว นักเรียนอาจพบข้อสังเกต ประเด็นที่สาคัญหรือปัญหาซึ่งสามารถเขียนเป็น
ข้อเสนอแนะ สาหรับผู้ที่สนใจจะนาไปพัฒนาผลงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
5. เขียนรายงานและจัดทาคู่มือการใช้ การเขียนรายงานเป็นวิธีการสื่อความหมายเพื่อให้
ผู้อื่นเข้าใจแนวคิด วิธีดาเนินการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและ
ข้อเสนอแนะต่าง ๆ เกี่ยวกับโครงงาน ในการเขียนรายงานนักเรียนควรใช้ภาษาที่อ่านง่าย
ชัดเจน กระชับ และตรงไปตรงมา และส่วนสุดท้ายเป็นคู่มือการใช้งานโครงงาน ซึ่ง
ประกอบด้วย
ส่วนแรกของรายงานจะให้ข้อมูลเกี่ยวกับโครงงาน โดยส่วนใหญ่ได้เขียนไว้ในข้อเสนอ
โครงงานบ้างแล้ว ยกเว้น กิตติกรรมประกาศ ซึ่งเป็นคากล่าวขอบคุณบุคลากรหรือหน่วยงาน
ต่าง ๆ ที่มีส่วนช่วยให้การทาโครงงานสาเร็จ อีกส่วนหนึ่งคือ บทคัดย่อ ซึ่งเป็นการอธิบาย
โดยสรุปให้เห็นถึงผลการศึกษาที่ได้จากการทาโครงงาน โดยเขียนเป็นความเรียง
บทที่ 1 บทนา เป็นส่วนรายละเอียดของเนื้อหาของโครงงานโดยได้เขียนไว้แล้วในข้อเสนอ
โครงงานซึ่งประกอบด้วย ที่มาและความสาคัญของโครงงาน วัตถุประสงค์ ขอบเขตของ
โครงงาน
บทที่ 2 หลักการและทฤษฎี เป็นส่วนสรุปข้อมูลที่ได้จากการศึกษาหาข้อมูล หลักการ
ทฤษฎี หรือวิธีการที่จะนามาใช้ในการพัฒนาโครงงาน ซึ่งรวมถึงการระบุผลงานของผู้อื่น ที่
ผู้จัดทาโครงงานนามาเปรียบเทียบหรือพัฒนาเพิ่มเติมด้วย
บทที่ 3 วิธีดาเนินการ อธิบายขั้นตอนการดาเนินงานโดยละเอียด ระบุปัญหาหรือ
อุปสรรคที่พบ วิธีการที่ใช้แก้ไข พร้อมทั้งวัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการทาโครงงาน
บทที่ 3 วิธีดาเนินการ อธิบายขั้นตอนการดาเนินงานโดยละเอียด ระบุปัญหาหรือ
อุปสรรคที่พบ วิธีการที่ใช้แก้ไข พร้อมทั้งวัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการทาโครงงาน
บทที่ 4 ผลการศึกษา นาเสนอข้อมูลหรือระบบที่พัฒนาได้ โดยอาจแสดงเป็นรูปภาพ
ตาราง กราฟ ข้อความ ทั้งนี้ต้องการสื่อความหมายให้ผู้อื่นเข้าใจได้ง่าย
บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ การสรุปผลการดาเนินงาน เป็นการอธิบายผลสรุปที่ได้
จากการทาโครงงาน ถ้ามีการตั้งสมมุติฐานควรระบุถึงข้อมูลที่ได้สนับสนุนหรือคัดค้าน
สมมุติฐานที่ตั้งไว้หรือยังสรุปไม่ได้ การนาผลการทดลองหรือพัฒนาไปใช้ประโยชน์
อุปสรรคของการทาโครงงานหรือข้อสังเกตที่สาคัญหรือข้อผิดพลาดบางประการที่เกิดขึ้นจาก
การทาโครงงานนี้ และควรมีข้อเสนอแนะในการปรับปรุงโครงงานเพื่อเป็นแนวทางให้ผู้อื่น
ศึกษาค้นคว้าต่อไปในอนาคต นอกจากนี้ควรกล่าวถึงประโยชน์ที่ผู้จัดทาและผู้ใช้จะได้
ประโยชน์จากการทาโครงงานด้วย
บรรณานุกรม รวบรวมรายชื่อหนังสือ วารสารเอกสารและ /หรือเว็บไซต์ ที่
ผู้จัดทาโครงงานใช้ศึกษา ค้นคว้ารายละเอียด ที่นามาใช้ประโยชน์ในการทา
โครงงาน ทั้งนี้เขียนเอกสารบรรณานุกรมต้องให้ถูกต้องตามหลักการเขียนด้วย
คู่มือการใช้งาน เป็นคู่มืออธิบายวิธีการใช้งานผลงานนั้นโดยละเอียด ซึ่ง
ประกอบด้วย ชื่อผลงาน คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์เพื่อที่จะใช้กับผลงานนั้นได้
(ถ้ามี) รายละเอียดของคอมพิวเตอร์ ต้องมีรายชื่อซอฟต์แวร์ ผลงานนั้นทา
หน้าที่อะไรบ้าง รับอะไรเป็นข้อมูลเข้า และส่งอะไรออกมาเป็นข้อมูลออก
วิธีการใช้งาน ควรอธิบายขั้นตอนตามลาดับการทางานที่สามารถเข้าใจได้ง่าย
ข้อแนะนาการใช้งาน สามารถแยกออกจากรายงานหรือใส่ไว้ในภาคผนวกของ
รายงานก็ได้ แล้วแต่ดุลยพินิจของผู้จัดทา
6.การนาเสนอและแสดงโครงงาน โดยทั่วไปเมื่อโครงงานเสร็จสิ้นแล้ว ต้องมี
การนาเสนอโครงงานให้กับผู้ที่ต้องการใช้งานหรือครูที่ปรึกษาโครงงาน ดังนั้น
ควรเตรียมเอกสารนาเสนอให้สมบูรณ์ โดยอาจปรับย่อข้อความที่สาคัญมาจาก
การรายงานก็ได้ การนาเสนอในรูปแบบใดนั้นต้องเลือกให้เหมาะสมโดย
พิจารณาวัตถุประสงค์ของงานนาเสนอ เช่น สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ป้าย
นิทรรศการ เอกสารรายงาน แผ่นพับ นอกจากนี้ยังต้องวางแผนในการ
นาเสนอและสาธิตโครงงานและควรฝึกตอบคาถามที่เกี่ยวข้องไว้ด้วย
6.1 ชื่อโครงงาน
6.2 ชื่อผู้จัดทาโครงงาน
6.3 ชื่อที่ปรึกษา
6.4 คาอธิบายถึงที่มาและความสาคัญของโครงงาน
6.5 วิธีการดาเนินการที่สาคัญ
6.6 การสาธิตผลงาน
6.7 ผลการสังเกตและข้อสรุปสาคัญที่ได้จากการทาโครงงาน
ถ้าเป็นการรายงานด้วยคาพูดต่อที่ประชุม ควรมีการเตรียมการในประเด็นต่อไปนี้
1)จัดลาดับความคิดในการนาเสนออย่างมีระบบ และนาเสนออย่างตรงไปตรงมาด้วยภาษา
ที่ชัดเจนเข้าใจง่าย
2)ทาความเข้าใจกับเรื่องที่จะอธิบาย รวมไปถึงการเตรียมข้อมูลที่อาจจะต้องใช้ในการตอบ
คาถาม
3) หลีกเลี่ยงการอ่านรายงาน
4) ควรมองไปยังผู้ฟังรายงาน
5) ตอบคาถามอย่างตรงไปตรงมา
6) รายงานให้เสร็จภายในระยะเวลาที่กาหนด
7) ควรใช้สื่อ เช่น สไลด์ แผ่นใส ประกอบการรายงาน
8) ความเหมาะสมของเนื้อหาต่อผู้ฟัง
9) ถ้าเป็นโครงงานพัฒนาผลงาน ผลงานนั้นควรอยู่ในสภาพที่ทางานได้เป็นอย่างดี
การทาโครงงานคอมพิวเตอร์นอกจากจะเป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้นาความรู้
ทางคอมพิวเตอร์มาใช้แก้ปัญหา พัฒนาคิดค้นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ แล้ว ยังเป็นกิจกรรมที่
ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความสนใจที่จะทางานวิจัย และประกอบอาชีพทางคอมพิวเตอร์มาก
ยิ่งขึ้นด้วย ดังนั้นจึงน่าที่จะจัดให้การทาโครงงานคอมพิวเตอร์เป็นกิจกรรมในทุกระดับชั้น
เพื่อนาไปสู่การพัฒนาประเทศต่อไปในอนาคต
ความหมายของโครงงาน จาก http://slamunder1.blogspot.com/ และ
https://www.gotoknow.org/posts/314096
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์ จาก http://www.acr.ac.th/acr/ACR_E-
Learning/CAREER_COMPUTER/COMPUTER/M4/ComputerProject
/content1.html
ขั้นตอนการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ จาก
http://www.krukaewta.net/web1/ng23101/unit1/step_of_project_co
m.html
ภาพการนาเสนอและแสดงโครงงาน จาก http://www.nrw.ac.th/krumod/e-
learning/Unit1-4-1.html
จัดทาโดย
1.น.ส.ธนัชชา ปิ่นทอง ชั้น ม.5/2 เลขที่ 26
2.น.ส.สุชาดา มากศิริ ชั้น ม.5/2 เลขที่ 35

More Related Content

What's hot

ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานkrunangrong
 
ใบงานที่ 2 03 12 611
ใบงานที่ 2 03 12 611ใบงานที่ 2 03 12 611
ใบงานที่ 2 03 12 611Tanawan Janrasa
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์jiratchaya45627
 
กิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงาน
กิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงานกิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงาน
กิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงาน0910797083
 
กิจกรรมที่2 3-4 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่2 3-4 หลักทรัพย์กิจกรรมที่2 3-4 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่2 3-4 หลักทรัพย์kanyaluk dornsanoi
 
โครงงานคอมฯ
โครงงานคอมฯโครงงานคอมฯ
โครงงานคอมฯPorPoii
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Onrapanee Kettawong
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ppnd18
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานFreshsica Chunyanuch
 
r525
r525r525
r525ACR
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ppnd18
 
ประเภทของโครงงาน
ประเภทของโครงงานประเภทของโครงงาน
ประเภทของโครงงานauttawut singkeaw
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานNattawoot Boonmee
 

What's hot (16)

Yrc 606
Yrc 606Yrc 606
Yrc 606
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
ใบงานที่ 2 03 12 611
ใบงานที่ 2 03 12 611ใบงานที่ 2 03 12 611
ใบงานที่ 2 03 12 611
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงาน
กิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงานกิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงาน
กิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงาน
 
กิจกรรมที่2 3-4 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่2 3-4 หลักทรัพย์กิจกรรมที่2 3-4 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่2 3-4 หลักทรัพย์
 
โครงงานคอมฯ
โครงงานคอมฯโครงงานคอมฯ
โครงงานคอมฯ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
r525
r525r525
r525
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ประเภทของโครงงาน
ประเภทของโครงงานประเภทของโครงงาน
ประเภทของโครงงาน
 
001
001001
001
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8
 

Similar to โครงงานคอมพิวเตอร์

ขั้นตอนการพัฒนาโครงงาน
ขั้นตอนการพัฒนาโครงงานขั้นตอนการพัฒนาโครงงาน
ขั้นตอนการพัฒนาโครงงานpharthid
 
ใบงานโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานโครงงานคอมพิวเตอร์Atthaphon45614
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานAtip19617
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Pongpanote Wachirawongwarun
 
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภทประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภทmcf_cnx1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Peeravit Tipneht
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Peeravit Tipneht
 
กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4Thunyakan Intrawut
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์natsun2424
 
ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์Thanatchaporn Yawichai
 
โครงงานคอมพิวเตอร์606
โครงงานคอมพิวเตอร์606โครงงานคอมพิวเตอร์606
โครงงานคอมพิวเตอร์606Ploy Purr
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 8
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 8โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 8
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 8Szo'k JaJar
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 8
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 8โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 8
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 8Szo'k JaJar
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 8
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 8โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 8
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 8Szo'k JaJar
 
โครงงานคอม
โครงงานคอม โครงงานคอม
โครงงานคอม natjira
 
Computer project type (1)
Computer project type (1)Computer project type (1)
Computer project type (1)Natchaya49391
 

Similar to โครงงานคอมพิวเตอร์ (20)

ขั้นตอนการพัฒนาโครงงาน
ขั้นตอนการพัฒนาโครงงานขั้นตอนการพัฒนาโครงงาน
ขั้นตอนการพัฒนาโครงงาน
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
 
Com
ComCom
Com
 
ใบงานโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภทประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4
 
Com 1
Com 1Com 1
Com 1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
งาน4
งาน4งาน4
งาน4
 
โครงงานคอมพิวเตอร์606
โครงงานคอมพิวเตอร์606โครงงานคอมพิวเตอร์606
โครงงานคอมพิวเตอร์606
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 8
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 8โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 8
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 8
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 8
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 8โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 8
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 8
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 8
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 8โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 8
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 8
 
โครงงานคอม
โครงงานคอม โครงงานคอม
โครงงานคอม
 
Computer project type (1)
Computer project type (1)Computer project type (1)
Computer project type (1)
 

More from Suchada Maksiri

ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทSuchada Maksiri
 
เว็ปไซต์ทางการศึกษา
เว็ปไซต์ทางการศึกษาเว็ปไซต์ทางการศึกษา
เว็ปไซต์ทางการศึกษาSuchada Maksiri
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (PPT)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (PPT)โครงงานคอมพิวเตอร์ (PPT)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (PPT)Suchada Maksiri
 
internet ต้นฉบับ
internet ต้นฉบับinternet ต้นฉบับ
internet ต้นฉบับSuchada Maksiri
 
สุชาดา บริการอินเตอ
สุชาดา บริการอินเตอสุชาดา บริการอินเตอ
สุชาดา บริการอินเตอSuchada Maksiri
 
อาการจิตแปลกๆ
อาการจิตแปลกๆอาการจิตแปลกๆ
อาการจิตแปลกๆSuchada Maksiri
 

More from Suchada Maksiri (7)

ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
 
เว็ปไซต์ทางการศึกษา
เว็ปไซต์ทางการศึกษาเว็ปไซต์ทางการศึกษา
เว็ปไซต์ทางการศึกษา
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (PPT)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (PPT)โครงงานคอมพิวเตอร์ (PPT)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (PPT)
 
internet ต้นฉบับ
internet ต้นฉบับinternet ต้นฉบับ
internet ต้นฉบับ
 
สุชาดา บริการอินเตอ
สุชาดา บริการอินเตอสุชาดา บริการอินเตอ
สุชาดา บริการอินเตอ
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
อาการจิตแปลกๆ
อาการจิตแปลกๆอาการจิตแปลกๆ
อาการจิตแปลกๆ
 

โครงงานคอมพิวเตอร์

  • 1.
  • 2. ความหมายของโครงงาน โครงงาน หมายถึง กิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้าและลงมือ ปฏิบัติด้วยตนเองตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจ โดยอาศัย กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือกระบวนการอื่นใดไปใช้ในการศึกษาหาคาตอบ ในเรื่องนั้นๆ โดยมีครูผู้สอนแนะนาและให้คาปรึกษา ตั้งแต่การเลือกหัวข้อที่จะ ศึกษา ค้นคว้า ดาเนินการ วางแผน กาหนดขั้นตอนการดาเนินงาน รวมทั้ง ร่วมกาหนดแนวทางในการวัดผลและประเมิณผล
  • 3. 1.ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์ หมายถึง กิจกรรมการเรียนที่นักเรียนมีอิสระในการเลือกศึกษา ปัญหาที่ตนเองสนใจ โดยวางแผนการดาเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม โดยใช้ความรู้ ทางกระบวนการวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจน ทักษะพื้นฐานในการพัฒนาโครงงาน ซึ่งอาจมีผู้ศึกษามาก่อน หรือเป็นเรื่องที่นักพัฒนา โปรแกรมได้เคยค้นคว้าและพัฒนาแล้ว นักเรียนสามารถทาโครงงานเรื่องดังกล่าวได้ แต่ ต้องคิดดัดแปลงแนวทางในการศึกษา วิเคราะห์ข้อมูล พัฒนาโปรแกรม หรือศึกษา เพิ่มเติมจากผลงานเดิมที่มีผู้รายงานไว้
  • 4. 2.ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์ หมายถึง กิจกรรมการเรียนที่นักเรียนมีอิสระในการเลือกศึกษา ปัญหาที่ตนเองสนใจ โดยวางแผนการดาเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม โดยใช้ความรู้ ทางกระบวนการวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจน ทักษะพื้นฐานในการพัฒนาโครงงาน ซึ่งอาจมีผู้ศึกษามาก่อน หรือเป็นเรื่องที่นักพัฒนา โปรแกรมได้เคยค้นคว้าและพัฒนาแล้ว นักเรียนสามารถทาโครงงานเรื่องดังกล่าวได้ แต่ ต้องคิดดัดแปลงแนวทางในการศึกษา วิเคราะห์ข้อมูล พัฒนาโปรแกรม หรือศึกษา เพิ่มเติมจากผลงานเดิมที่มีผู้รายงานไว้
  • 5. 3.ขั้นตอนการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ 1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจจะทา โดยทั่วไปโครงงานคอมพิวเตอร์มักได้จากปัญหา คาถาม หรือความสนใจใน เรื่องต่าง ๆ จากการสังเกตสิ่งต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ หรือสิ่งที่ อยู่รอบตัวเรา แหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ การตัดสินใจเลือกหัวข้อที่จะนามาเป็น โครงงานควรพิจารณา ดังต่อไปนี้
  • 6. 1.1 ต้องมีความรู้และทักษะพื้นฐานอย่างเพียงพอในหัวข้อเรื่องที่จะศึกษา 1.2 สามารถจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์และวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องได้ 1.3 มีแหล่งความรู้เพียงพอที่จะค้นคว้าหรือขอคาปรึกษา 1.4 มีเวลาเพียงพอ 1.5 มีงบประมาณเพียงพอ 1.6 มีความปลอดภัย
  • 7. 2.ศึกษาค้นคว้าและวางแผน การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล รวมถึงการขอคาปรึกษาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จะช่วยให้นักเรียนได้แนวคิดที่ใช้ใน การกาหนดขอบเขตของเรื่องที่จะศึกษาได้เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น รวมทั้งได้ ความรู้เพิ่มเติมในเรื่องที่จะศึกษา จนสามารถใช้ออกแบบและวางแผน ดาเนินการทาโครงงานนั้นได้ 3.จัดทาเค้าโครงของโครงงานที่จะทา ดังนี้ 3.1 ศึกษาค้นคว้าเอกสารอ้างอิงและรวบรวมข้อมูลที่ได้จากผู้ทรงคุณวุฒิ 3.2 วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อกาหนดขอบเขตและลักษณะของโครงการที่จะพัฒนา 3.3 ออกแบบการพัฒนา มีการกาหนดลักษณะของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์และตัวแปลภาษา โปรแกรม และวัสดุต่าง ๆ ที่ต้องใช้
  • 8. 3.4 กาหนดตารางการปฏิบัติงานของการจัดทาเค้าโครงของโครงงาน ลงมือทา โครงงานและสรุปรายงานโครงงาน โดยกาหนดช่วงเวลาอย่างกว้าง ๆ 3.5 ทาการพัฒนาโครงงานขั้นต้น เพื่อศึกษาความเป็นไปได้เบื้องต้น โดย อาจจะทาการพัฒนาส่วนย่อย ๆ บางส่วนตามที่ได้ออกแบบไว้แล้ว นาผลจาก การศึกษาในช่วงนี้ไปปรับปรุงแผนการทดลองที่ออกแบบไว้ในครั้งแรกให้ เหมาะสมมากยิ่งขึ้น 3.6 เสนอเค้าโครงของโครงงานคอมพิวเตอร์ต่ออาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อขอ คาแนะนาและปรับปรุงแก้ไข เพื่อให้การวางแผนและดาเนินการทาโครงงาน เป็นไปอย่างเหมาะสมเป็นขั้นตอนตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุด
  • 9.
  • 10. 4.การลงมือทาโครงงาน เมื่อเค้าโครงของโครงงานได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาแล้ว ก็ เสมือนว่าการจัดทาโครงงานได้ผ่านพ้นไปแล้วมากกว่าครึ่ง ขั้นตอนต่อไปเป็นการลงมือพัฒนาตาม ขั้นตอนที่ได้วางแผนไว้ เช่น จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ให้พร้อม รวมทั้งการกาหนดหน้าที่ความ รับผิดชอบของสมาชิกในกลุ่มให้ชัดเจน แล้วจึงดาเนินการทาโครงงาน ขณะเดียวกันต้องมีการทดสอบ ตรวจสอบ ปรับปรุงแก้ไข เพื่อพัฒนาโครงงานเป็นระยะ ๆ เพื่อให้แน่ใจว่าผลงานที่พัฒนาขึ้น ทางานได้ถูกต้องตรงกับความต้องการที่ระบุไว้ในเป้าหมาย และเกิดประสิทธิภาพตามขั้นตอนต่อไปนี้
  • 11. 4.1 การเตรียมการ ต้องเตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอื่น ๆ ที่จะใช้ใน การพัฒนาให้พร้อมและควรเตรียมสมุดบันทึกหรือบันทึกเป็นแฟ้มข้อความไว้ในระบบ คอมพิวเตอร์ สาหรับบันทึกการทากิจกรรมต่าง ๆ ระหว่างการทาโครงงาน ได้แก่ การ ดาเนินการอย่างไร ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและแก้ไขได้หรือไม่อย่างไร รวมทั้งข้อสังเกตต่างๆ ทีjพบ 4.2 การลงมือพัฒนา เป็นการปฏิบัติตามแผนงานที่ได้วางไว้ในเค้าโครง ซึ่งสามารถ เปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมได้ หากพบว่าจะช่วยให้ผลงานพัฒนาได้ดีขึ้น โดยจัดระบบการ ทางาน ทาส่วนที่เป็นหลักสาคัญให้เสร็จก่อน จึงค่อยทาส่วนที่เป็นส่วนประกอบหรือส่วน เสริม เพื่อให้โครงงานมีความสมบูรณ์มากขึ้น และถ้ามีการแบ่งงานกันทา ให้มีการตกลง รายละเอียดในการเชื่อมต่อชิ้นงานที่ชัดเจนด้วย รวมทั้งต้องพัฒนาระบบงานด้วยความ ละเอียดรอบคอบ บันทึกข้อมูลอย่างเป็นระบบและครบถ้วน
  • 12. 4.3 การทดสอบผลงานและแก้ไข เป็นการตรวจสอบความถูกต้องของผลงาน เพื่อให้แน่ใจ ว่าผลงานที่พัฒนาขึ้น ทางานได้ถูกต้องตรงตามความต้องการที่ระบุไว้ในเป้าหมาย และมี ประสิทธิภาพ 4.4 การอภิปรายและข้อเสนอแนะ เมื่อพัฒนาผลงานเรียบร้อยแล้ว ให้จัดทาข้อสรุปด้วย ข้อความที่สั้นกะทัดรัด ครอบคลุมหัวข้อโครงงาน เพื่อช่วยให้ผู้อ่านได้เข้าใจถึงสิ่งที่ค้นพบจาก การทาโครงงานและอภิปรายผล เพื่อพิจารณาข้อมูลและผลที่ได้ พร้อมกับนาไปหา ความสัมพันธ์กับ หลักการ ทฤษฎี หรือผลงานที่ผู้อื่นได้ศึกษาไว้แล้ว ทั้งนี้รวมไปถึง หลักการ ทฤษฎี หรือผลงานของผู้อื่นมาใช้ประกอบการอภิปรายผลได้ 4.5 แนวทางการพัฒนาโครงงานในอนาคตและข้อเสนอแนะ เมื่อทาโครงงานเสร็จสิ้นลง แล้ว นักเรียนอาจพบข้อสังเกต ประเด็นที่สาคัญหรือปัญหาซึ่งสามารถเขียนเป็น ข้อเสนอแนะ สาหรับผู้ที่สนใจจะนาไปพัฒนาผลงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
  • 13. 5. เขียนรายงานและจัดทาคู่มือการใช้ การเขียนรายงานเป็นวิธีการสื่อความหมายเพื่อให้ ผู้อื่นเข้าใจแนวคิด วิธีดาเนินการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและ ข้อเสนอแนะต่าง ๆ เกี่ยวกับโครงงาน ในการเขียนรายงานนักเรียนควรใช้ภาษาที่อ่านง่าย ชัดเจน กระชับ และตรงไปตรงมา และส่วนสุดท้ายเป็นคู่มือการใช้งานโครงงาน ซึ่ง ประกอบด้วย
  • 14. ส่วนแรกของรายงานจะให้ข้อมูลเกี่ยวกับโครงงาน โดยส่วนใหญ่ได้เขียนไว้ในข้อเสนอ โครงงานบ้างแล้ว ยกเว้น กิตติกรรมประกาศ ซึ่งเป็นคากล่าวขอบคุณบุคลากรหรือหน่วยงาน ต่าง ๆ ที่มีส่วนช่วยให้การทาโครงงานสาเร็จ อีกส่วนหนึ่งคือ บทคัดย่อ ซึ่งเป็นการอธิบาย โดยสรุปให้เห็นถึงผลการศึกษาที่ได้จากการทาโครงงาน โดยเขียนเป็นความเรียง บทที่ 1 บทนา เป็นส่วนรายละเอียดของเนื้อหาของโครงงานโดยได้เขียนไว้แล้วในข้อเสนอ โครงงานซึ่งประกอบด้วย ที่มาและความสาคัญของโครงงาน วัตถุประสงค์ ขอบเขตของ โครงงาน บทที่ 2 หลักการและทฤษฎี เป็นส่วนสรุปข้อมูลที่ได้จากการศึกษาหาข้อมูล หลักการ ทฤษฎี หรือวิธีการที่จะนามาใช้ในการพัฒนาโครงงาน ซึ่งรวมถึงการระบุผลงานของผู้อื่น ที่ ผู้จัดทาโครงงานนามาเปรียบเทียบหรือพัฒนาเพิ่มเติมด้วย บทที่ 3 วิธีดาเนินการ อธิบายขั้นตอนการดาเนินงานโดยละเอียด ระบุปัญหาหรือ อุปสรรคที่พบ วิธีการที่ใช้แก้ไข พร้อมทั้งวัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการทาโครงงาน
  • 15. บทที่ 3 วิธีดาเนินการ อธิบายขั้นตอนการดาเนินงานโดยละเอียด ระบุปัญหาหรือ อุปสรรคที่พบ วิธีการที่ใช้แก้ไข พร้อมทั้งวัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการทาโครงงาน บทที่ 4 ผลการศึกษา นาเสนอข้อมูลหรือระบบที่พัฒนาได้ โดยอาจแสดงเป็นรูปภาพ ตาราง กราฟ ข้อความ ทั้งนี้ต้องการสื่อความหมายให้ผู้อื่นเข้าใจได้ง่าย บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ การสรุปผลการดาเนินงาน เป็นการอธิบายผลสรุปที่ได้ จากการทาโครงงาน ถ้ามีการตั้งสมมุติฐานควรระบุถึงข้อมูลที่ได้สนับสนุนหรือคัดค้าน สมมุติฐานที่ตั้งไว้หรือยังสรุปไม่ได้ การนาผลการทดลองหรือพัฒนาไปใช้ประโยชน์ อุปสรรคของการทาโครงงานหรือข้อสังเกตที่สาคัญหรือข้อผิดพลาดบางประการที่เกิดขึ้นจาก การทาโครงงานนี้ และควรมีข้อเสนอแนะในการปรับปรุงโครงงานเพื่อเป็นแนวทางให้ผู้อื่น ศึกษาค้นคว้าต่อไปในอนาคต นอกจากนี้ควรกล่าวถึงประโยชน์ที่ผู้จัดทาและผู้ใช้จะได้ ประโยชน์จากการทาโครงงานด้วย
  • 16. บรรณานุกรม รวบรวมรายชื่อหนังสือ วารสารเอกสารและ /หรือเว็บไซต์ ที่ ผู้จัดทาโครงงานใช้ศึกษา ค้นคว้ารายละเอียด ที่นามาใช้ประโยชน์ในการทา โครงงาน ทั้งนี้เขียนเอกสารบรรณานุกรมต้องให้ถูกต้องตามหลักการเขียนด้วย คู่มือการใช้งาน เป็นคู่มืออธิบายวิธีการใช้งานผลงานนั้นโดยละเอียด ซึ่ง ประกอบด้วย ชื่อผลงาน คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์เพื่อที่จะใช้กับผลงานนั้นได้ (ถ้ามี) รายละเอียดของคอมพิวเตอร์ ต้องมีรายชื่อซอฟต์แวร์ ผลงานนั้นทา หน้าที่อะไรบ้าง รับอะไรเป็นข้อมูลเข้า และส่งอะไรออกมาเป็นข้อมูลออก วิธีการใช้งาน ควรอธิบายขั้นตอนตามลาดับการทางานที่สามารถเข้าใจได้ง่าย ข้อแนะนาการใช้งาน สามารถแยกออกจากรายงานหรือใส่ไว้ในภาคผนวกของ รายงานก็ได้ แล้วแต่ดุลยพินิจของผู้จัดทา
  • 17. 6.การนาเสนอและแสดงโครงงาน โดยทั่วไปเมื่อโครงงานเสร็จสิ้นแล้ว ต้องมี การนาเสนอโครงงานให้กับผู้ที่ต้องการใช้งานหรือครูที่ปรึกษาโครงงาน ดังนั้น ควรเตรียมเอกสารนาเสนอให้สมบูรณ์ โดยอาจปรับย่อข้อความที่สาคัญมาจาก การรายงานก็ได้ การนาเสนอในรูปแบบใดนั้นต้องเลือกให้เหมาะสมโดย พิจารณาวัตถุประสงค์ของงานนาเสนอ เช่น สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ป้าย นิทรรศการ เอกสารรายงาน แผ่นพับ นอกจากนี้ยังต้องวางแผนในการ นาเสนอและสาธิตโครงงานและควรฝึกตอบคาถามที่เกี่ยวข้องไว้ด้วย
  • 18. 6.1 ชื่อโครงงาน 6.2 ชื่อผู้จัดทาโครงงาน 6.3 ชื่อที่ปรึกษา 6.4 คาอธิบายถึงที่มาและความสาคัญของโครงงาน 6.5 วิธีการดาเนินการที่สาคัญ 6.6 การสาธิตผลงาน 6.7 ผลการสังเกตและข้อสรุปสาคัญที่ได้จากการทาโครงงาน ถ้าเป็นการรายงานด้วยคาพูดต่อที่ประชุม ควรมีการเตรียมการในประเด็นต่อไปนี้ 1)จัดลาดับความคิดในการนาเสนออย่างมีระบบ และนาเสนออย่างตรงไปตรงมาด้วยภาษา ที่ชัดเจนเข้าใจง่าย 2)ทาความเข้าใจกับเรื่องที่จะอธิบาย รวมไปถึงการเตรียมข้อมูลที่อาจจะต้องใช้ในการตอบ คาถาม
  • 19. 3) หลีกเลี่ยงการอ่านรายงาน 4) ควรมองไปยังผู้ฟังรายงาน 5) ตอบคาถามอย่างตรงไปตรงมา 6) รายงานให้เสร็จภายในระยะเวลาที่กาหนด 7) ควรใช้สื่อ เช่น สไลด์ แผ่นใส ประกอบการรายงาน 8) ความเหมาะสมของเนื้อหาต่อผู้ฟัง 9) ถ้าเป็นโครงงานพัฒนาผลงาน ผลงานนั้นควรอยู่ในสภาพที่ทางานได้เป็นอย่างดี การทาโครงงานคอมพิวเตอร์นอกจากจะเป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้นาความรู้ ทางคอมพิวเตอร์มาใช้แก้ปัญหา พัฒนาคิดค้นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ แล้ว ยังเป็นกิจกรรมที่ ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความสนใจที่จะทางานวิจัย และประกอบอาชีพทางคอมพิวเตอร์มาก ยิ่งขึ้นด้วย ดังนั้นจึงน่าที่จะจัดให้การทาโครงงานคอมพิวเตอร์เป็นกิจกรรมในทุกระดับชั้น เพื่อนาไปสู่การพัฒนาประเทศต่อไปในอนาคต
  • 20. ความหมายของโครงงาน จาก http://slamunder1.blogspot.com/ และ https://www.gotoknow.org/posts/314096 ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์ จาก http://www.acr.ac.th/acr/ACR_E- Learning/CAREER_COMPUTER/COMPUTER/M4/ComputerProject /content1.html ขั้นตอนการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ จาก http://www.krukaewta.net/web1/ng23101/unit1/step_of_project_co m.html ภาพการนาเสนอและแสดงโครงงาน จาก http://www.nrw.ac.th/krumod/e- learning/Unit1-4-1.html
  • 21. จัดทาโดย 1.น.ส.ธนัชชา ปิ่นทอง ชั้น ม.5/2 เลขที่ 26 2.น.ส.สุชาดา มากศิริ ชั้น ม.5/2 เลขที่ 35