SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
การพัฒนาบทเรียนตามแนวทางการออกแบบ
     รูปแบบการสอนรูปแบบ ADDIE
สมาชิกในกลุ่ม
             สาขาคอมพิวเตอร์ศึกษาปี 2 หมู่1
               มหาวิทยาลัยราชภัฎกาฬสินธุ์
1.เจนจิรา       จีนเจือ      รหัสนักศึกษา 548144109
2.วีรพันธ์      วราเอกศิริ                548144114
3.สั ตยา        อาษาพรม                   548144110
4.ณัฐฌิชา       เจียมตัว                  548144112
5.ภานุวฒน์
         ั      มณีจักร์                  548144111
6.อัครพล        ภาระขันธ์                 548144113
ผังมโนทัศน์
1. ขั้นการวิเคราะห์ ANALYSIS
2. ขั้นการออกแบบ DESIGN
3. ขั้นการพัฒนา DEVELOPMENT
4. ขั้นการทดลองใช้ IMPLEMENTATION
5. ขั้นการประเมินผล EVALUATION
1. ขั้นการวิเคราะห์ Analysis

ประกอบด้ว ยรายละเอี ย ดแต่ ล ะส่ ว น ดัง นี้
1) การกาหนดกลุ่ ม ผู เ รี ย นเป าหมาย
                      ้          ้
2) การวิ เ คราะห์ง าน
3) การวิ เ คราะห์แ หล่ ง ข้อ มู ล
4) กาหนดสิ่ง จาเป็ นมาจั ด การ
1. ขั้นการวิเคราะห์ Analysis
1) การกาหนดกลุ่ มเป าหมายผู เ รี ย น
                        ้           ้
   กาหนดกลุ่มเป้ าหมายผู้เรียนคือชั้นมัธยมศึกษา
   ปี ที่ 5 รายวิชา สังคมศึกษา เรื่องภาวะโลกร้ อน
   เนื่องจากเนื้อหาดังกล่าวเป็ นเนื้อหาที่เข้ าใจได้ ยาก
   จึงนาประเด็นปัญหามาเป็ นข้ อมูลเพื่อที่จะนามา
   ประกอบในการสร้ างบทเรียนเพื่อให้ สอดคล้ องกับ
   ตัวผู้เรียน
1. ขั้นการวิเคราะห์ Analysis

2) การวิ เ คราะห์ง าน
   เมื่อผู้เรียนได้ เรียนเนื้อหาจากบทเรียนแล้ ว ผู้เรียน
   ต้ องสามารถทากิจกรรมหรือภารกิจงานที่ได้ รับ
   มอบหมายได้
1. ขั้นการวิเคราะห์ Analysis

3) การวิ เ คราะห์แ หล่ ง ข้อ มู ล
    เป็ นการกาหนดแหล่งที่มาของข้ อมูลที่จะใช้ ในการออกแบบ
    บทเรียน เช่น แหล่งที่มาของเนื้อหา อาจจะมีจานวนหลาย ๆ
    แหล่ง ดังนั้นเมื่อจะใช้ งานผู้ออกแบบสามารถเลือกแหล่งที่ดี
    ที่สด หรืออาจจะผสมผสานข้ อมูลจากแต่ละแหล่งก็ได้
        ุ
1. ขั้นการวิเคราะห์ Analysis

4) กาหนดสิ่ง จาเป็ นในการจั ด การ
ประเด็นต่าง ๆ ที่ต้องใช้ ในการจัดการบทเรียน
เช่น ระบบรักษาความปลอดภัยของระบบ รูปแบบการโต้ ตอบ
      ระหว่างผู้เรียนกับบทเรียน การนาเสนอบทเรียน การจัดเก็บ
      ข้ อมูลของบทเรียน เพื่อให้ การออกแบบบทเรียนมีความ
      สมบูรณ์ และมีประสิทธิภาพมากที่สด เนื้อหาต้ องครอบคลุม
                                       ุ
      และชัดเจน
2. ขั้นการออกแบบ DESIGN

2.1 เลือกแหล่งข้อมูล
การเลือกแหล่งข้ อมูลในการออกแบบบทเรียนจากแหล่งข้ อมูล ที่
ผู้ออกแบบได้ กาหนดไว้
2.2 การออกแบบมาตรฐาน
เป็ นมาตรฐานที่ใช้ ในบทเรียน เช่น มาตรฐานจอภาพ มาตรฐาน
ระหว่างการติดต่อระหว่างบทเรียนและผู้เรียน เพื่อเป็ นรูปแบบการ
ใช้ งานในประเด็นต่างๆ
2. ขั้นการออกแบบ DESIGN

2.3 ออกแบบโครงสร้ างบทเรียน
                                     ั
การออกแบบส่วนต่างๆที่สมพันธ์กน เช่น ส่วนจัดการด้าน
                              ั
เนื้อหา ด้านผูเ้ รี ยน ด้านการประเมินผล เมื่อออกแบบโครงสร้าง
บทเรี ยน โดยพิจารณาเนื้อหาที่มีความสัมพันธ์และต่อเนื่อง กัน
2.4 การวิเคราะห์ เนือหา้
เป็ นการวิเคราะห์เนื้อหาทั้งหมดที่ใช้ในบทเรี ยน เพื่อจะลาดับ
เนื้อหา และออกแบบเป็ นลาดับต่อไป
2. ขั้นการออกแบบ DESIGN

2.5 การออกแบบบทเรียน
การออกแบบองค์ประกอบของบทเรี ยน ต้องประกอบด้วย
เนื้อหา กิจกรรม ที่เกี่ยวข้องในแต่ละส่ วนนามาประกอบ
เข้าด้วยกัน มีความสัมพันธ์กน ั
3.ขั้ นตอนการพัฒนาน(Develop)
3.1 การพัฒนาบทเรีย
ในการพัฒนาบทเรี ยนจะนาบทดาเนินเรื่ องที่ออกแบบไว้ มาเป็ นแบบ
ในการพัฒนาให้ดีข้ ึน ผูออกแบบจะต้องนาบทเรี ยนไปทดสอบหาความ
                       ้
ผิดพลาด เพื่อที่จะแก้ไขให้มีความสมบูรณ์
3.2 การพัฒนาระบบจัดการบทเรียน
ควรพัฒนาระบบจัดการผูเ้ รี ยน ระบบจัดการเนื้อหา ระบบจัดการ
ข้อสอบ เพื่อให้บทเรี ยนสามารถจัดการสอนได้ตามความต้องการและ
ตรงตามวัตถุประสงค์
3.3 การรวมบทเรียน
เป็ นการรวมเอาทุกส่ วนของระบบรวม ให้เป็ นระบบเดียว
4.ขั้ นตอนการทดลองใช้ (Implement)

4.1 การจักเตรียมสถานที่
เพื่อที่จะใช้ในการทดลองให้มีความพร้อม เช่น ห้องเรี ยน เครื่ อง
คอมพิวเตอร์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เครื่ องมือและบทเรี ยน
4.ขั้ นตอนการทดลองใช้ (Implement)

4.2 การฝึ กอบรมผู้ใช้
ผูออกแบบหรื อผูสอนควรจะควบคุมอย่างใกล้ชิด โดยจดบันทึก
  ้               ้
พฤติกรรมของผูอบรม สังเกตพฤติกรรมของผูเ้ ข้าอบรม
                ้
โดยสอบถามด้านความคิดเห็นของผูเ้ ข้าอบรมต่อการใช้งาน
บทเรี ยน เพื่อตรวจสอบความผิดพลาด และเพื่อนาไปปรับปรุ ง
แก้ไขบทเรี ยนให้มีความสมบูรณ์
4.ขั้ นตอนการทดลองใช้ (Implement)

4.3 การยอมรับบทเรียน
ทาได้โดยการสอบถามความคิดเห็น เพื่อพิจารณาความสมบูรณ์
ของบทเรี ยนว่าสมควรผ่านการยอมรับหรื อไม่
5.ขั้ นตอนการประเมินผล (Evaluate)

5.1 การประเมินผลระหว่ างดาเนินการ
เป็ นการประเมินในแต่ละขั้นของการดาเนินการ เพื่อดูผลดาเนินในแต่
ละขั้น และนาไปจัดทารายงานนาเสนอต่อไป
5.2 การประเมินผลสรุป
เป็ นการประเมินหลังจากใช้บทเรี ยนแล้ว โดยสรุ ปประเด็นต่างๆ โดย
การสรุ ปว่าบทเรี ยนมีคุณภาพหรื อประสิ ทธิภาพอย่างไร

More Related Content

What's hot

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Ploymnr
 
สมาการวิจัย
สมาการวิจัยสมาการวิจัย
สมาการวิจัยwichien wongwan
 
กระบวนการวิจัยการสอนออนไลน์
กระบวนการวิจัยการสอนออนไลน์กระบวนการวิจัยการสอนออนไลน์
กระบวนการวิจัยการสอนออนไลน์Prachyanun Nilsook
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนguest68e3471
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ gybrathtikan
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์gybrathtikan
 
เทคนิคการสอนตาม Tqf3
เทคนิคการสอนตาม Tqf3เทคนิคการสอนตาม Tqf3
เทคนิคการสอนตาม Tqf3Prachyanun Nilsook
 
โครงงานคอมพิวเตอร์.
โครงงานคอมพิวเตอร์.โครงงานคอมพิวเตอร์.
โครงงานคอมพิวเตอร์.Ploymnr
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 5
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 5โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 5
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 5Mind Sirivimol
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางBest Khotseekhiaw
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ gybrathtikan
 
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Work4 cognitive tools for open ended
Work4 cognitive tools for open endedWork4 cognitive tools for open ended
Work4 cognitive tools for open endedsaowana
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์PTtp WgWt
 
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...Panita Wannapiroon Kmutnb
 

What's hot (18)

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
สมาการวิจัย
สมาการวิจัยสมาการวิจัย
สมาการวิจัย
 
กระบวนการวิจัยการสอนออนไลน์
กระบวนการวิจัยการสอนออนไลน์กระบวนการวิจัยการสอนออนไลน์
กระบวนการวิจัยการสอนออนไลน์
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Radchaneeporn
RadchaneepornRadchaneeporn
Radchaneeporn
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
เทคนิคการสอนตาม Tqf3
เทคนิคการสอนตาม Tqf3เทคนิคการสอนตาม Tqf3
เทคนิคการสอนตาม Tqf3
 
โครงงานคอมพิวเตอร์.
โครงงานคอมพิวเตอร์.โครงงานคอมพิวเตอร์.
โครงงานคอมพิวเตอร์.
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 5
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 5โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 5
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 5
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Abstarct
AbstarctAbstarct
Abstarct
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
 
Work4 cognitive tools for open ended
Work4 cognitive tools for open endedWork4 cognitive tools for open ended
Work4 cognitive tools for open ended
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
 

Similar to เนื้อหา Addie ok

การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์
การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์
การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์Kutjung Rmuti
 
การพัฒนาสื่อวีดิทัศน์เรื่อง การใช้โปรแกรม-Adobe-audition-เบื้องต้น
การพัฒนาสื่อวีดิทัศน์เรื่อง การใช้โปรแกรม-Adobe-audition-เบื้องต้นการพัฒนาสื่อวีดิทัศน์เรื่อง การใช้โปรแกรม-Adobe-audition-เบื้องต้น
การพัฒนาสื่อวีดิทัศน์เรื่อง การใช้โปรแกรม-Adobe-audition-เบื้องต้นB CH
 
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนวิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนAj Ob Panlop
 
9789740329176
97897403291769789740329176
9789740329176CUPress
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยwitthaya601
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6Meaw Sukee
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
การพํฒนาบทเรียนช่วยสอนแนวทางบทเรียนสำเร็จรูป ฉบับสมบูรณ์
การพํฒนาบทเรียนช่วยสอนแนวทางบทเรียนสำเร็จรูป ฉบับสมบูรณ์การพํฒนาบทเรียนช่วยสอนแนวทางบทเรียนสำเร็จรูป ฉบับสมบูรณ์
การพํฒนาบทเรียนช่วยสอนแนวทางบทเรียนสำเร็จรูป ฉบับสมบูรณ์Por Oraya Moungmontree
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยsudaphud
 

Similar to เนื้อหา Addie ok (20)

Infor
InforInfor
Infor
 
การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์
การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์
การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์
 
การพัฒนาสื่อวีดิทัศน์เรื่อง การใช้โปรแกรม-Adobe-audition-เบื้องต้น
การพัฒนาสื่อวีดิทัศน์เรื่อง การใช้โปรแกรม-Adobe-audition-เบื้องต้นการพัฒนาสื่อวีดิทัศน์เรื่อง การใช้โปรแกรม-Adobe-audition-เบื้องต้น
การพัฒนาสื่อวีดิทัศน์เรื่อง การใช้โปรแกรม-Adobe-audition-เบื้องต้น
 
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนวิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
 
E6
E6E6
E6
 
9789740329176
97897403291769789740329176
9789740329176
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
 
Surapol3
Surapol3Surapol3
Surapol3
 
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
 
E7
E7E7
E7
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
บทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอนบทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอน
 
บทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอนบทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอน
 
บทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอนบทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอน
 
Identifying isd addie 2 wiki
Identifying  isd addie 2 wikiIdentifying  isd addie 2 wiki
Identifying isd addie 2 wiki
 
การพํฒนาบทเรียนช่วยสอนแนวทางบทเรียนสำเร็จรูป ฉบับสมบูรณ์
การพํฒนาบทเรียนช่วยสอนแนวทางบทเรียนสำเร็จรูป ฉบับสมบูรณ์การพํฒนาบทเรียนช่วยสอนแนวทางบทเรียนสำเร็จรูป ฉบับสมบูรณ์
การพํฒนาบทเรียนช่วยสอนแนวทางบทเรียนสำเร็จรูป ฉบับสมบูรณ์
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 

เนื้อหา Addie ok

  • 2. สมาชิกในกลุ่ม สาขาคอมพิวเตอร์ศึกษาปี 2 หมู่1 มหาวิทยาลัยราชภัฎกาฬสินธุ์ 1.เจนจิรา จีนเจือ รหัสนักศึกษา 548144109 2.วีรพันธ์ วราเอกศิริ 548144114 3.สั ตยา อาษาพรม 548144110 4.ณัฐฌิชา เจียมตัว 548144112 5.ภานุวฒน์ ั มณีจักร์ 548144111 6.อัครพล ภาระขันธ์ 548144113
  • 4.
  • 5. 1. ขั้นการวิเคราะห์ ANALYSIS 2. ขั้นการออกแบบ DESIGN 3. ขั้นการพัฒนา DEVELOPMENT 4. ขั้นการทดลองใช้ IMPLEMENTATION 5. ขั้นการประเมินผล EVALUATION
  • 6. 1. ขั้นการวิเคราะห์ Analysis ประกอบด้ว ยรายละเอี ย ดแต่ ล ะส่ ว น ดัง นี้ 1) การกาหนดกลุ่ ม ผู เ รี ย นเป าหมาย ้ ้ 2) การวิ เ คราะห์ง าน 3) การวิ เ คราะห์แ หล่ ง ข้อ มู ล 4) กาหนดสิ่ง จาเป็ นมาจั ด การ
  • 7. 1. ขั้นการวิเคราะห์ Analysis 1) การกาหนดกลุ่ มเป าหมายผู เ รี ย น ้ ้ กาหนดกลุ่มเป้ าหมายผู้เรียนคือชั้นมัธยมศึกษา ปี ที่ 5 รายวิชา สังคมศึกษา เรื่องภาวะโลกร้ อน เนื่องจากเนื้อหาดังกล่าวเป็ นเนื้อหาที่เข้ าใจได้ ยาก จึงนาประเด็นปัญหามาเป็ นข้ อมูลเพื่อที่จะนามา ประกอบในการสร้ างบทเรียนเพื่อให้ สอดคล้ องกับ ตัวผู้เรียน
  • 8. 1. ขั้นการวิเคราะห์ Analysis 2) การวิ เ คราะห์ง าน เมื่อผู้เรียนได้ เรียนเนื้อหาจากบทเรียนแล้ ว ผู้เรียน ต้ องสามารถทากิจกรรมหรือภารกิจงานที่ได้ รับ มอบหมายได้
  • 9. 1. ขั้นการวิเคราะห์ Analysis 3) การวิ เ คราะห์แ หล่ ง ข้อ มู ล เป็ นการกาหนดแหล่งที่มาของข้ อมูลที่จะใช้ ในการออกแบบ บทเรียน เช่น แหล่งที่มาของเนื้อหา อาจจะมีจานวนหลาย ๆ แหล่ง ดังนั้นเมื่อจะใช้ งานผู้ออกแบบสามารถเลือกแหล่งที่ดี ที่สด หรืออาจจะผสมผสานข้ อมูลจากแต่ละแหล่งก็ได้ ุ
  • 10. 1. ขั้นการวิเคราะห์ Analysis 4) กาหนดสิ่ง จาเป็ นในการจั ด การ ประเด็นต่าง ๆ ที่ต้องใช้ ในการจัดการบทเรียน เช่น ระบบรักษาความปลอดภัยของระบบ รูปแบบการโต้ ตอบ ระหว่างผู้เรียนกับบทเรียน การนาเสนอบทเรียน การจัดเก็บ ข้ อมูลของบทเรียน เพื่อให้ การออกแบบบทเรียนมีความ สมบูรณ์ และมีประสิทธิภาพมากที่สด เนื้อหาต้ องครอบคลุม ุ และชัดเจน
  • 11. 2. ขั้นการออกแบบ DESIGN 2.1 เลือกแหล่งข้อมูล การเลือกแหล่งข้ อมูลในการออกแบบบทเรียนจากแหล่งข้ อมูล ที่ ผู้ออกแบบได้ กาหนดไว้ 2.2 การออกแบบมาตรฐาน เป็ นมาตรฐานที่ใช้ ในบทเรียน เช่น มาตรฐานจอภาพ มาตรฐาน ระหว่างการติดต่อระหว่างบทเรียนและผู้เรียน เพื่อเป็ นรูปแบบการ ใช้ งานในประเด็นต่างๆ
  • 12. 2. ขั้นการออกแบบ DESIGN 2.3 ออกแบบโครงสร้ างบทเรียน ั การออกแบบส่วนต่างๆที่สมพันธ์กน เช่น ส่วนจัดการด้าน ั เนื้อหา ด้านผูเ้ รี ยน ด้านการประเมินผล เมื่อออกแบบโครงสร้าง บทเรี ยน โดยพิจารณาเนื้อหาที่มีความสัมพันธ์และต่อเนื่อง กัน 2.4 การวิเคราะห์ เนือหา้ เป็ นการวิเคราะห์เนื้อหาทั้งหมดที่ใช้ในบทเรี ยน เพื่อจะลาดับ เนื้อหา และออกแบบเป็ นลาดับต่อไป
  • 13. 2. ขั้นการออกแบบ DESIGN 2.5 การออกแบบบทเรียน การออกแบบองค์ประกอบของบทเรี ยน ต้องประกอบด้วย เนื้อหา กิจกรรม ที่เกี่ยวข้องในแต่ละส่ วนนามาประกอบ เข้าด้วยกัน มีความสัมพันธ์กน ั
  • 14. 3.ขั้ นตอนการพัฒนาน(Develop) 3.1 การพัฒนาบทเรีย ในการพัฒนาบทเรี ยนจะนาบทดาเนินเรื่ องที่ออกแบบไว้ มาเป็ นแบบ ในการพัฒนาให้ดีข้ ึน ผูออกแบบจะต้องนาบทเรี ยนไปทดสอบหาความ ้ ผิดพลาด เพื่อที่จะแก้ไขให้มีความสมบูรณ์ 3.2 การพัฒนาระบบจัดการบทเรียน ควรพัฒนาระบบจัดการผูเ้ รี ยน ระบบจัดการเนื้อหา ระบบจัดการ ข้อสอบ เพื่อให้บทเรี ยนสามารถจัดการสอนได้ตามความต้องการและ ตรงตามวัตถุประสงค์ 3.3 การรวมบทเรียน เป็ นการรวมเอาทุกส่ วนของระบบรวม ให้เป็ นระบบเดียว
  • 15. 4.ขั้ นตอนการทดลองใช้ (Implement) 4.1 การจักเตรียมสถานที่ เพื่อที่จะใช้ในการทดลองให้มีความพร้อม เช่น ห้องเรี ยน เครื่ อง คอมพิวเตอร์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เครื่ องมือและบทเรี ยน
  • 16. 4.ขั้ นตอนการทดลองใช้ (Implement) 4.2 การฝึ กอบรมผู้ใช้ ผูออกแบบหรื อผูสอนควรจะควบคุมอย่างใกล้ชิด โดยจดบันทึก ้ ้ พฤติกรรมของผูอบรม สังเกตพฤติกรรมของผูเ้ ข้าอบรม ้ โดยสอบถามด้านความคิดเห็นของผูเ้ ข้าอบรมต่อการใช้งาน บทเรี ยน เพื่อตรวจสอบความผิดพลาด และเพื่อนาไปปรับปรุ ง แก้ไขบทเรี ยนให้มีความสมบูรณ์
  • 17. 4.ขั้ นตอนการทดลองใช้ (Implement) 4.3 การยอมรับบทเรียน ทาได้โดยการสอบถามความคิดเห็น เพื่อพิจารณาความสมบูรณ์ ของบทเรี ยนว่าสมควรผ่านการยอมรับหรื อไม่
  • 18. 5.ขั้ นตอนการประเมินผล (Evaluate) 5.1 การประเมินผลระหว่ างดาเนินการ เป็ นการประเมินในแต่ละขั้นของการดาเนินการ เพื่อดูผลดาเนินในแต่ ละขั้น และนาไปจัดทารายงานนาเสนอต่อไป 5.2 การประเมินผลสรุป เป็ นการประเมินหลังจากใช้บทเรี ยนแล้ว โดยสรุ ปประเด็นต่างๆ โดย การสรุ ปว่าบทเรี ยนมีคุณภาพหรื อประสิ ทธิภาพอย่างไร