SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
โครงสร้างเนื้อหา 1 แหล่งข้อมูล 2 การคิดจะเลือกหัวข้อเรื่องหรือปัญหาที่จะศึกษา
              แหล่งข้อมูลเป็นแหล่งที่ให้ประโยชน์ในการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ในเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับวิชาคอมพิวเตอร์ ในการแก้ไขปัญหาหรือประเด็นที่นักเรียนสนใจ ตอบสนองความต้องการในการเรียนรู้ของนักเรียนเป็นรายบุคคล หรือเป็นกลุ่มที่มีความสนใจและความต้องการในสิ่งที่คล้ายคลึงกัน 	ปัญหาที่จะศึกษาค้นคว้าควรเป็นปัญหาที่ตรงกับความสนใจของตนเอง ตรงกับระดับความรู้ความสามารถเป็นอย่างดี แปลกใหม่น่าสนใจ มีแหล่งข้อมูลความรู้ในการศึกษาค้นคว้าอย่างเพียงพอ มีลักษณะเฉพาะเจาะจง มีแนวทางในการแก้ไขอย่างชัดเจน และส่งเสริมความรู้และความคิดสร้างสรรค์ทางคอมพิวเตอร์
	1.  สามารถใช้แหล่งข้อมูลที่มีอยู่อย่างหลากหลายให้เป็นประโยชน์ 2.  สามารถบอกแหล่งข้อมูลและรายละเอียดของแหล่งข้อมูลได้ 3.  ทำความเข้าใจกับข้อมูลได้ 4.  สามารถแปลความหมายของข้อมูลที่ได้มาให้เหมาะสมกับความต้องการ 5.  สามารถคิดและเลือกปัญหาที่จะศึกษาได้ 6.  นำเสนอปัญหาได้
แหล่งข้อมูล
       เพื่อให้นักเรียนได้ค้นพบสิ่งที่ตนเองสนใจได้อย่างกว้างขวาง นอกเหนือจากการเรียนในชั้นเรียน และการอ่านหนังสือแบบเรียนแล้ว
     นักเรียนควรจะได้ศึกษาหาความรู้จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เพิ่มเติมอีกดังต่อไปนี้ การอ่านหนังสือต่าง ๆ เช่น ตำรา หนังสือพิมพ์ วารสาร เป็นต้น การไปเยี่ยมชมสถานที่ต่าง ๆ เช่น โรงงานอุตสาหกรรม หน่วยงานวิจัย ห้องปฏิบัติการ         คณิตศาสตร์ เป็นต้น การฟังบรรยายทางวิชาการ การฟัง และชมรายการทางวิทยุ โทรทัศน์ จากกิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรียน การเข้าชมนิทรรศการ หรืองานประกวดโครงงานคณิตศาสตร์และเทคโนโลยี งานอดิเรกของนักเรียนเอง การศึกษาโครงงานคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีที่มีผู้อื่นทำไว้แล้ว การสนทนากับครูอาจารย์ เพื่อน ๆ หรือบุคคลอื่น ๆ การสังเกตปรากฏการณ์ต่าง ๆ รอบ ๆ ตัว จากคอมพิวเตอร์
       และสิ่งที่สำคัญที่ควรจดบันทึกทุกครั้งเมื่อได้ข้อมูลที่ต้องการแล้ว คือ ที่มาของข้อมูลอันประกอบด้วย ชื่อเรื่อง ชื่อผู้เขียนหรือผู้แต่ง ชื่อหนังสือ วัน เดือน ปีที่พิมพ์ และสำนักพิมพ์
การคิดจะเลือกหัวข้อเรื่องหรือปัญหาที่จะศึกษา
       การคิดหัวข้อเรื่องหรือปัญหาที่จะศึกษา เป็นขั้นตอนแรกของการทำโครงงาน ดังนั้นจึงเป็นขั้นตอนที่สำคัญที่สุดและยากที่สุด
      โดยทั่วไป หัวเรื่องของโครงงานมักจะได้มาจากปัญหา คำถาม หรือความอยากรู้อยากเห็นเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ ของนักเรียนเอง เพราะฉะนั้นหัวเรื่องหรือปัญหาที่จะศึกษาควรให้นักเรียนเป็นผู้คิดด้วยตนเอง โดยที่หัวข้อเรื่องของโครงงานควรมีความเฉพาะเจาะจง และชัดเจน มุ่งชัดว่า จะศึกษาสิ่งใดหรือตัวแปรใด และควรเป็นเรื่องที่แปลกใหม่ ซึ่งแสดงถึงความคิดสร้างสรรค์ด้วย นอกจากนั้นหากคำนึงถึงเรื่องที่เป็นประโยชน์ด้วย ก็จะทำให้โครงงานนั้นมีคุณค่ายิ่งขึ้น ...นะครับ
แนวความคิดในการเลือกหัวข้อเรื่องเพื่อทำโครงงานอาจได้มาจาก จากการอ่านหนังสือต่าง ๆ เช่น ตำรา หนังสือพิมพ์ วารสารฯ จากการไปเยี่ยมชมสถานที่ต่าง ๆ เช่น วนอุทยาน สวนสัตว์ พิพิธภัณฑ์ โรงงานอุตสาหกรรม หน่วยงานวิจัย ห้องปฏิบัติการ ฯลฯ จากการบรรยายทางวิชาการ การฟัง และชมรายการทางวิทยุและโทรทัศน์ จากกิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรียน จากงานอดิเรกของนักเรียนเอง จากการเข้าชมนิทรรศการ หรืองานประกวดโครงงานคณิตศาสตร์ที่จัดในปีที่ผ่านมา จากการศึกษาโครงงานคณิตศาสตร์ที่ผู้อื่นทำไว้แล้ว จากการสนทนากับครูอาจารย์ จากการสังเกตปรากฏการณ์รอบตัว  
      หลังจากนักเรียนได้หัวเรื่องกว้าง ๆ ที่สนใจแล้ว ขั้นตอนต่อไปคือ หาแหล่งข้อมูลที่นักเรียนจะสามารถศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องจะช่วยให้นักเรียนได้แนวความคิดที่จะกำหนดขอบข่ายของเรื่องที่จะศึกษาค้นคว้าให้เฉพาะเจาะจงมากขึ้น และได้ความรู้ที่จะศึกษาเพิ่มเติมมากขึ้น จนสามารถออกแบบและวางแผนการดำเนินการทำโครงงานนั้นได้อย่างเหมาะสม
       นอกจากจะทราบแหล่งที่จะทำให้ได้ปัญหาในการทำโครงงานแล้ว ผู้ทำควรทราบหลักเกณฑ์ในการเลือกหัวข้อปัญหา ประกอบด้วย จึงจะทำให้ได้หัวข้อเป็นปัญหาที่ดี และเหมาะสมในการทำโครงงาน
การพิจารณาปัญหาที่จะศึกษา  อาศัยเกณฑ์การพิจารณาดังต่อไปนี้ เลือกปัญหาโดยคำนึงถึงความสนใจของตนเองเป็นที่ตั้ง เพราะความสนใจจะเป็นแรงจูงใจให้ผู้ทำทำโครงงานได้สำเร็จ เลือกปัญหาที่ตรงกับความสามารถและระดับความรู้ของตนเอง กล่าวคือ ควรจะเลือกปัญหาที่ตนเองมีพื้นฐานความรู้ เพราะการมีพื้นฐานความรู้จะทำให้มีแนวทางที่จะเสาะแสวงหาความรู้เพิ่มเติม เพื่อให้การทำโครงงานนั้นสำเร็จลุล่วงได้อย่างดี และรวดเร็วยิ่งขึ้น เลือกปัญหาที่มีคุณค่าและเป็นปัญหาใหม่ ๆ เพื่อผลการทำโครงงานที่ได้จะเป็นการเพิ่มพูนความรู้ใหม่ ๆ อันจะนำไปเสริมสร้างทฤษฎี อีกทั้งนำไปใช้ให้เป็นประโยชน์ในทางปฏิบัติได้  
การพิจารณาปัญหาที่จะศึกษา  อาศัยเกณฑ์การพิจารณาดังต่อไปนี้ 4.     เลือกปัญหาโดยคำนึงถึงความเหมาะสมในเรื่องของเวลา งบประมาณ และกำลังแรงงานของตน ผู้ทำโครงงานจะต้องวิเคราะห์สถานะของตนว่า ควรทำโครงงานที่มีขนาดใหญ่สักแค่ไหนจึงจะเหมาะสม เพราะการทำโครงงานเป็นงานที่ต้องใช้เวลา เงินทอง และแรงงาน เลือกปัญหา โดยคำนึงถึงสภาพแวดล้อมที่จะเอื้ออำนวยต่อการทำโครงงานอัน ได้แก่ 5.1  ปัญหานั้น จะได้รับความร่วมมือจากผู้เกี่ยวข้องมาก – น้อย แค่ไหน 5.2  ปัญหานั้น มีแหล่งความรู้หรือเอกสารเพียงพอที่จะค้นคว้าหรือไม่  
ลักษณะของปัญหาที่ดี เป็นเรื่องที่มีความสำคัญ มีประโยชน์ คือ ทำให้เกิดความรู้ใหม่ ๆ และนำไปใช้ปรับปรุงแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้ พร้อมทั้งเป็นการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์อีกด้วย เป็นปัญหาที่สามารถวางแผนการดำเนินงานตามขั้นตอนต่าง ๆ ไว้ล่วงหน้าได้ และเห็นลู่ทางที่จะทำได้สำเร็จ เป็นปัญหาที่ไม่เกินกำลังความสามารถของผู้ทำโครงงานที่จะทำให้สำเร็จ แม้จะมีอุปสรรคบางอย่างก็สามารถแก้ไขได้ เป็นปัญหาที่สามารถหาคำตอบได้โดยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เป็นปัญหาที่สามารถหาเครื่องมือหรือสร้างเครื่องมือที่มีคุณภาพเพื่อรวบรวมข้อมูลได้  
 ข้อควรระวังในการเลือกหัวข้อปัญหา อย่าเลือกปัญหาที่ใหญ่โตเกินไป หรือปัญหาที่กว้างไม่มีขอบเขต ซึ่งผู้ทำโครงงานอาจทำไม่สำเร็จภายในเวลาอันจำกัด อย่าเลือกปัญหาที่หาข้อยุติไม่ได้ อย่าเลือกปัญหาที่ไม่สามารถหาข้อมูลมาทดสอบได้ อย่าเลือกปัญหาที่ไม่มีสาระสำคัญ
คำชี้แจงในการเลือกคำตอบ ให้นักเรียนใช้เมาส์คลิกเลือกตรงกับข้อความที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
แบบทดสอบหลังเรียน 10 ถ้านักเรียนกำหนดปัญหาไม่ชัดเจน จะมีผลกระทบต่อการปฏิบัติโครงงานอย่างไร (ความเข้าใจ) ก.  ทำให้ไม่สามารถจัดเตรียมงบประมาณได้ 1 ข.  ทำให้วิธีการดำเนินโครงงานไม่เป็นไปตามขั้นตอน ค.  ทำให้ไม่สามารถกำหนดจุดประสงค์ได้อย่างชัดเจน ง. ทำให้กำหนดระยะเวลาในการปฏิบัติงานโครงงาน    ไม่ได้
แบบทดสอบหลังเรียน 10 ถ้านักเรียนต้องการปฏิบัติโครงงานให้เสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด นักเรียนจะเลือกปฏิบัติอย่างไร (การนำไปใช้) ก.  เลือกทำชิ้นงานที่ใช้เวลาน้อย 2 ข.  รวมกลุ่มคนทำงานให้ได้จำนวนมาก ค.  วางแผนการทำงานตลอดทั้งโครงงาน ง.  ปฏิบัติงานโครงงานทั้งที่บ้านและที่โรงเรียน
แบบทดสอบหลังเรียน 10 สิ่งแรกที่นักเรียนควรทำในการเลือกปฏิบัติโครงงาน คือ (ความเข้าใจ) ก.  สำรวจความต้องการของตนเอง 3 ข.  สำรวจความต้องการของครอบครัว ค.  สำรวจความต้องการของโรงเรียน ง.  สำรวจความต้องการของท้องถิ่น
แบบทดสอบหลังเรียน 10 วิธีดำเนินโครงงานที่ถูกต้อง มีจุดมุ่งหมายอยู่ที่ใด (ความเข้าใจ) ก.  เสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด 4 ข.  มีขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ถูกต้อง ค.  สมาชิกในกลุ่มทำงานได้อย่างเป็นระบบ ง.  บรรลุจุดประสงค์และเป้าหมายที่ได้กำหนดไว้
แบบทดสอบหลังเรียน 10 การตัดสินใจเลือกโครงงาน ควรยึดหลักข้อใดสำคัญที่สุด (ความเข้าใจ) ก.  ประโยชน์ใช้สอย 5 ข.  งบประมาณค่าใช้จ่าย ค.  ความถนัดความสนใจ ง.  ความรู้ประสบการณ์
แบบทดสอบหลังเรียน 10 การที่จะสรุปผลการปฏิบัติงานโครงงานว่าประสบผลสำเร็จหรือไม่ นักเรียนควรพิจารณาจาก (การนำไปใช้) ก.  การประเมินผล 6 ข.  ผลสำเร็จของชิ้นงาน ค.  การปฏิบัติงานเสร็จทันตามกำหนดเวลา ง.  ความสามัคคีในกลุ่มสมาชิกที่ร่วมปฏิบัติงาน
แบบทดสอบหลังเรียน 10 การนำข้อมูลความต้องการผลิตชิ้นงานมาศึกษารายละเอียดหลายๆ ด้าน คือขั้นตอนใด (ความรู้ความจำ) ก.  การสรุปผล 7 ข.  การวางแผน ค.  การวิเคราะห์ ง.  การประเมินผล
แบบทดสอบหลังเรียน 10 เมื่อนักเรียนตัดสินใจเลือกโครงงานแล้ว ลำดับขั้นตอนการปฏิบัติงานขั้นต่อไปคือ (ความรู้ความจำ) ก.  ศึกษาข้อมูล 8 ข.  วิเคราะห์ข้อมูล ค.  วางแผนการทำงาน ง.  ปฏิบัติงานโครงงาน
แบบทดสอบหลังเรียน 10 ผลที่คาดว่าจะได้รับในการเขียนโครงงานควรสอดคล้องกับข้อใด (ความเข้าใจ) ก.  จุดประสงค์และเป้าหมาย 9 ข.  เป้าหมายและวิธีการดำเนินงาน ค.  จุดประสงค์และวิธีดำเนินงาน ง.  วิธีดำเนินงานและงบประมาณ
แบบทดสอบหลังเรียน 10 เมื่อพบปัญหาขณะดำเนินโครงงาน นักเรียนควรทำอย่างไร (การนำไปใช้) ก.  ปรึกษาเพื่อน 10 ข.  ปรึกษาครอบครัว ค.  ปรึกษาครูที่ปรึกษา ง.  แก้ปัญหาด้วยตนเอง

More Related Content

What's hot

นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3
นวัตกรรมกลุ่ม  Chapter3นวัตกรรมกลุ่ม  Chapter3
นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3Pronsawan Petklub
 
Project1229
Project1229Project1229
Project1229L4EManic
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3Ptato Ok
 
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาLesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาsaowana
 
การเขียนรายงานวิชาการ
การเขียนรายงานวิชาการการเขียนรายงานวิชาการ
การเขียนรายงานวิชาการSurapong Klamboot
 

What's hot (9)

Random 140902100629-phpapp02
Random 140902100629-phpapp02Random 140902100629-phpapp02
Random 140902100629-phpapp02
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
Titiya-Act-Power1
Titiya-Act-Power1Titiya-Act-Power1
Titiya-Act-Power1
 
Titiya_Act-Power1
Titiya_Act-Power1Titiya_Act-Power1
Titiya_Act-Power1
 
นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3
นวัตกรรมกลุ่ม  Chapter3นวัตกรรมกลุ่ม  Chapter3
นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3
 
Project1229
Project1229Project1229
Project1229
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
 
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาLesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
การเขียนรายงานวิชาการ
การเขียนรายงานวิชาการการเขียนรายงานวิชาการ
การเขียนรายงานวิชาการ
 

Similar to บทเรียน ประกอบแผนที่ 2

Research11 conceptual framework
Research11 conceptual frameworkResearch11 conceptual framework
Research11 conceptual frameworkSani Satjachaliao
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2powe1234
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
ความหมายและความสำคัญ
ความหมายและความสำคัญความหมายและความสำคัญ
ความหมายและความสำคัญPennapa Boopphacharoensok
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานwichaya222
 
บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์bussaba_pupa
 

Similar to บทเรียน ประกอบแผนที่ 2 (20)

Research11 conceptual framework
Research11 conceptual frameworkResearch11 conceptual framework
Research11 conceptual framework
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 
Research4
Research4Research4
Research4
 
Presentation Computer Project
Presentation Computer ProjectPresentation Computer Project
Presentation Computer Project
 
K2
K2K2
K2
 
Ch6 cognitive weapons 201700
Ch6 cognitive weapons 201700Ch6 cognitive weapons 201700
Ch6 cognitive weapons 201700
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
project
projectproject
project
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
บทที่ 6 การออกแบบสื่อการเรียนการสอน
บทที่  6 การออกแบบสื่อการเรียนการสอนบทที่  6 การออกแบบสื่อการเรียนการสอน
บทที่ 6 การออกแบบสื่อการเรียนการสอน
 
ความหมายและความสำคัญ
ความหมายและความสำคัญความหมายและความสำคัญ
ความหมายและความสำคัญ
 
E7
E7E7
E7
 
Make a plan
Make a planMake a plan
Make a plan
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์
 

More from ปาริชาติ เภสัชชา

แนวการจัดกิจกรรมคณิตศาสตร์ กิจกรรมที่ 8 การเรียงลำดับจำนวน
แนวการจัดกิจกรรมคณิตศาสตร์ กิจกรรมที่ 8 การเรียงลำดับจำนวนแนวการจัดกิจกรรมคณิตศาสตร์ กิจกรรมที่ 8 การเรียงลำดับจำนวน
แนวการจัดกิจกรรมคณิตศาสตร์ กิจกรรมที่ 8 การเรียงลำดับจำนวนปาริชาติ เภสัชชา
 
แนวการจัดกิจกรรมคณิตศาสตร์ กิจกรรมที่ 7 การเปรียบเทียบ
แนวการจัดกิจกรรมคณิตศาสตร์ กิจกรรมที่ 7 การเปรียบเทียบแนวการจัดกิจกรรมคณิตศาสตร์ กิจกรรมที่ 7 การเปรียบเทียบ
แนวการจัดกิจกรรมคณิตศาสตร์ กิจกรรมที่ 7 การเปรียบเทียบปาริชาติ เภสัชชา
 

More from ปาริชาติ เภสัชชา (20)

หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
ปก
ปกปก
ปก
 
แบบทดสอบหลังเรียน
แบบทดสอบหลังเรียนแบบทดสอบหลังเรียน
แบบทดสอบหลังเรียน
 
แบบทดสอบก่อนเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียนแบบทดสอบก่อนเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน
 
หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2
 
แนวการจัดกิจกรรมคณิตศาสตร์ กิจกรรมที่ 8 การเรียงลำดับจำนวน
แนวการจัดกิจกรรมคณิตศาสตร์ กิจกรรมที่ 8 การเรียงลำดับจำนวนแนวการจัดกิจกรรมคณิตศาสตร์ กิจกรรมที่ 8 การเรียงลำดับจำนวน
แนวการจัดกิจกรรมคณิตศาสตร์ กิจกรรมที่ 8 การเรียงลำดับจำนวน
 
แนวการจัดกิจกรรมคณิตศาสตร์ กิจกรรมที่ 7 การเปรียบเทียบ
แนวการจัดกิจกรรมคณิตศาสตร์ กิจกรรมที่ 7 การเปรียบเทียบแนวการจัดกิจกรรมคณิตศาสตร์ กิจกรรมที่ 7 การเปรียบเทียบ
แนวการจัดกิจกรรมคณิตศาสตร์ กิจกรรมที่ 7 การเปรียบเทียบ
 
เทคโนโลยี ตอนที่ 2 ป.1 ถึง ป.3
เทคโนโลยี ตอนที่ 2 ป.1 ถึง ป.3เทคโนโลยี ตอนที่ 2 ป.1 ถึง ป.3
เทคโนโลยี ตอนที่ 2 ป.1 ถึง ป.3
 
หน่วยที่ 5
หน่วยที่ 5หน่วยที่ 5
หน่วยที่ 5
 
หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4
 
หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3
 
หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7
 
หน่วยที่ 6
หน่วยที่  6หน่วยที่  6
หน่วยที่ 6
 
หน่วยที่ 5
หน่วยที่  5หน่วยที่  5
หน่วยที่ 5
 
หน่วยที่ 4
หน่วยที่  4หน่วยที่  4
หน่วยที่ 4
 
หน่วยที่ 3
หน่วยที่  3หน่วยที่  3
หน่วยที่ 3
 
หน่วยที่ 2
หน่วยที่  2หน่วยที่  2
หน่วยที่ 2
 
หน่วยที่ 13
หน่วยที่ 13หน่วยที่ 13
หน่วยที่ 13
 

บทเรียน ประกอบแผนที่ 2

  • 1.
  • 2. โครงสร้างเนื้อหา 1 แหล่งข้อมูล 2 การคิดจะเลือกหัวข้อเรื่องหรือปัญหาที่จะศึกษา
  • 3. แหล่งข้อมูลเป็นแหล่งที่ให้ประโยชน์ในการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ในเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับวิชาคอมพิวเตอร์ ในการแก้ไขปัญหาหรือประเด็นที่นักเรียนสนใจ ตอบสนองความต้องการในการเรียนรู้ของนักเรียนเป็นรายบุคคล หรือเป็นกลุ่มที่มีความสนใจและความต้องการในสิ่งที่คล้ายคลึงกัน ปัญหาที่จะศึกษาค้นคว้าควรเป็นปัญหาที่ตรงกับความสนใจของตนเอง ตรงกับระดับความรู้ความสามารถเป็นอย่างดี แปลกใหม่น่าสนใจ มีแหล่งข้อมูลความรู้ในการศึกษาค้นคว้าอย่างเพียงพอ มีลักษณะเฉพาะเจาะจง มีแนวทางในการแก้ไขอย่างชัดเจน และส่งเสริมความรู้และความคิดสร้างสรรค์ทางคอมพิวเตอร์
  • 4. 1. สามารถใช้แหล่งข้อมูลที่มีอยู่อย่างหลากหลายให้เป็นประโยชน์ 2. สามารถบอกแหล่งข้อมูลและรายละเอียดของแหล่งข้อมูลได้ 3. ทำความเข้าใจกับข้อมูลได้ 4. สามารถแปลความหมายของข้อมูลที่ได้มาให้เหมาะสมกับความต้องการ 5. สามารถคิดและเลือกปัญหาที่จะศึกษาได้ 6. นำเสนอปัญหาได้
  • 6. เพื่อให้นักเรียนได้ค้นพบสิ่งที่ตนเองสนใจได้อย่างกว้างขวาง นอกเหนือจากการเรียนในชั้นเรียน และการอ่านหนังสือแบบเรียนแล้ว
  • 7.      นักเรียนควรจะได้ศึกษาหาความรู้จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เพิ่มเติมอีกดังต่อไปนี้ การอ่านหนังสือต่าง ๆ เช่น ตำรา หนังสือพิมพ์ วารสาร เป็นต้น การไปเยี่ยมชมสถานที่ต่าง ๆ เช่น โรงงานอุตสาหกรรม หน่วยงานวิจัย ห้องปฏิบัติการ คณิตศาสตร์ เป็นต้น การฟังบรรยายทางวิชาการ การฟัง และชมรายการทางวิทยุ โทรทัศน์ จากกิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรียน การเข้าชมนิทรรศการ หรืองานประกวดโครงงานคณิตศาสตร์และเทคโนโลยี งานอดิเรกของนักเรียนเอง การศึกษาโครงงานคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีที่มีผู้อื่นทำไว้แล้ว การสนทนากับครูอาจารย์ เพื่อน ๆ หรือบุคคลอื่น ๆ การสังเกตปรากฏการณ์ต่าง ๆ รอบ ๆ ตัว จากคอมพิวเตอร์
  • 8. และสิ่งที่สำคัญที่ควรจดบันทึกทุกครั้งเมื่อได้ข้อมูลที่ต้องการแล้ว คือ ที่มาของข้อมูลอันประกอบด้วย ชื่อเรื่อง ชื่อผู้เขียนหรือผู้แต่ง ชื่อหนังสือ วัน เดือน ปีที่พิมพ์ และสำนักพิมพ์
  • 10. การคิดหัวข้อเรื่องหรือปัญหาที่จะศึกษา เป็นขั้นตอนแรกของการทำโครงงาน ดังนั้นจึงเป็นขั้นตอนที่สำคัญที่สุดและยากที่สุด
  • 11. โดยทั่วไป หัวเรื่องของโครงงานมักจะได้มาจากปัญหา คำถาม หรือความอยากรู้อยากเห็นเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ ของนักเรียนเอง เพราะฉะนั้นหัวเรื่องหรือปัญหาที่จะศึกษาควรให้นักเรียนเป็นผู้คิดด้วยตนเอง โดยที่หัวข้อเรื่องของโครงงานควรมีความเฉพาะเจาะจง และชัดเจน มุ่งชัดว่า จะศึกษาสิ่งใดหรือตัวแปรใด และควรเป็นเรื่องที่แปลกใหม่ ซึ่งแสดงถึงความคิดสร้างสรรค์ด้วย นอกจากนั้นหากคำนึงถึงเรื่องที่เป็นประโยชน์ด้วย ก็จะทำให้โครงงานนั้นมีคุณค่ายิ่งขึ้น ...นะครับ
  • 12. แนวความคิดในการเลือกหัวข้อเรื่องเพื่อทำโครงงานอาจได้มาจาก จากการอ่านหนังสือต่าง ๆ เช่น ตำรา หนังสือพิมพ์ วารสารฯ จากการไปเยี่ยมชมสถานที่ต่าง ๆ เช่น วนอุทยาน สวนสัตว์ พิพิธภัณฑ์ โรงงานอุตสาหกรรม หน่วยงานวิจัย ห้องปฏิบัติการ ฯลฯ จากการบรรยายทางวิชาการ การฟัง และชมรายการทางวิทยุและโทรทัศน์ จากกิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรียน จากงานอดิเรกของนักเรียนเอง จากการเข้าชมนิทรรศการ หรืองานประกวดโครงงานคณิตศาสตร์ที่จัดในปีที่ผ่านมา จากการศึกษาโครงงานคณิตศาสตร์ที่ผู้อื่นทำไว้แล้ว จากการสนทนากับครูอาจารย์ จากการสังเกตปรากฏการณ์รอบตัว  
  • 13. หลังจากนักเรียนได้หัวเรื่องกว้าง ๆ ที่สนใจแล้ว ขั้นตอนต่อไปคือ หาแหล่งข้อมูลที่นักเรียนจะสามารถศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องจะช่วยให้นักเรียนได้แนวความคิดที่จะกำหนดขอบข่ายของเรื่องที่จะศึกษาค้นคว้าให้เฉพาะเจาะจงมากขึ้น และได้ความรู้ที่จะศึกษาเพิ่มเติมมากขึ้น จนสามารถออกแบบและวางแผนการดำเนินการทำโครงงานนั้นได้อย่างเหมาะสม
  • 14. นอกจากจะทราบแหล่งที่จะทำให้ได้ปัญหาในการทำโครงงานแล้ว ผู้ทำควรทราบหลักเกณฑ์ในการเลือกหัวข้อปัญหา ประกอบด้วย จึงจะทำให้ได้หัวข้อเป็นปัญหาที่ดี และเหมาะสมในการทำโครงงาน
  • 15. การพิจารณาปัญหาที่จะศึกษา อาศัยเกณฑ์การพิจารณาดังต่อไปนี้ เลือกปัญหาโดยคำนึงถึงความสนใจของตนเองเป็นที่ตั้ง เพราะความสนใจจะเป็นแรงจูงใจให้ผู้ทำทำโครงงานได้สำเร็จ เลือกปัญหาที่ตรงกับความสามารถและระดับความรู้ของตนเอง กล่าวคือ ควรจะเลือกปัญหาที่ตนเองมีพื้นฐานความรู้ เพราะการมีพื้นฐานความรู้จะทำให้มีแนวทางที่จะเสาะแสวงหาความรู้เพิ่มเติม เพื่อให้การทำโครงงานนั้นสำเร็จลุล่วงได้อย่างดี และรวดเร็วยิ่งขึ้น เลือกปัญหาที่มีคุณค่าและเป็นปัญหาใหม่ ๆ เพื่อผลการทำโครงงานที่ได้จะเป็นการเพิ่มพูนความรู้ใหม่ ๆ อันจะนำไปเสริมสร้างทฤษฎี อีกทั้งนำไปใช้ให้เป็นประโยชน์ในทางปฏิบัติได้  
  • 16. การพิจารณาปัญหาที่จะศึกษา อาศัยเกณฑ์การพิจารณาดังต่อไปนี้ 4. เลือกปัญหาโดยคำนึงถึงความเหมาะสมในเรื่องของเวลา งบประมาณ และกำลังแรงงานของตน ผู้ทำโครงงานจะต้องวิเคราะห์สถานะของตนว่า ควรทำโครงงานที่มีขนาดใหญ่สักแค่ไหนจึงจะเหมาะสม เพราะการทำโครงงานเป็นงานที่ต้องใช้เวลา เงินทอง และแรงงาน เลือกปัญหา โดยคำนึงถึงสภาพแวดล้อมที่จะเอื้ออำนวยต่อการทำโครงงานอัน ได้แก่ 5.1 ปัญหานั้น จะได้รับความร่วมมือจากผู้เกี่ยวข้องมาก – น้อย แค่ไหน 5.2 ปัญหานั้น มีแหล่งความรู้หรือเอกสารเพียงพอที่จะค้นคว้าหรือไม่  
  • 17. ลักษณะของปัญหาที่ดี เป็นเรื่องที่มีความสำคัญ มีประโยชน์ คือ ทำให้เกิดความรู้ใหม่ ๆ และนำไปใช้ปรับปรุงแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้ พร้อมทั้งเป็นการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์อีกด้วย เป็นปัญหาที่สามารถวางแผนการดำเนินงานตามขั้นตอนต่าง ๆ ไว้ล่วงหน้าได้ และเห็นลู่ทางที่จะทำได้สำเร็จ เป็นปัญหาที่ไม่เกินกำลังความสามารถของผู้ทำโครงงานที่จะทำให้สำเร็จ แม้จะมีอุปสรรคบางอย่างก็สามารถแก้ไขได้ เป็นปัญหาที่สามารถหาคำตอบได้โดยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เป็นปัญหาที่สามารถหาเครื่องมือหรือสร้างเครื่องมือที่มีคุณภาพเพื่อรวบรวมข้อมูลได้  
  • 18.  ข้อควรระวังในการเลือกหัวข้อปัญหา อย่าเลือกปัญหาที่ใหญ่โตเกินไป หรือปัญหาที่กว้างไม่มีขอบเขต ซึ่งผู้ทำโครงงานอาจทำไม่สำเร็จภายในเวลาอันจำกัด อย่าเลือกปัญหาที่หาข้อยุติไม่ได้ อย่าเลือกปัญหาที่ไม่สามารถหาข้อมูลมาทดสอบได้ อย่าเลือกปัญหาที่ไม่มีสาระสำคัญ
  • 19.
  • 21. แบบทดสอบหลังเรียน 10 ถ้านักเรียนกำหนดปัญหาไม่ชัดเจน จะมีผลกระทบต่อการปฏิบัติโครงงานอย่างไร (ความเข้าใจ) ก. ทำให้ไม่สามารถจัดเตรียมงบประมาณได้ 1 ข. ทำให้วิธีการดำเนินโครงงานไม่เป็นไปตามขั้นตอน ค. ทำให้ไม่สามารถกำหนดจุดประสงค์ได้อย่างชัดเจน ง. ทำให้กำหนดระยะเวลาในการปฏิบัติงานโครงงาน ไม่ได้
  • 22. แบบทดสอบหลังเรียน 10 ถ้านักเรียนต้องการปฏิบัติโครงงานให้เสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด นักเรียนจะเลือกปฏิบัติอย่างไร (การนำไปใช้) ก. เลือกทำชิ้นงานที่ใช้เวลาน้อย 2 ข. รวมกลุ่มคนทำงานให้ได้จำนวนมาก ค. วางแผนการทำงานตลอดทั้งโครงงาน ง. ปฏิบัติงานโครงงานทั้งที่บ้านและที่โรงเรียน
  • 23. แบบทดสอบหลังเรียน 10 สิ่งแรกที่นักเรียนควรทำในการเลือกปฏิบัติโครงงาน คือ (ความเข้าใจ) ก. สำรวจความต้องการของตนเอง 3 ข. สำรวจความต้องการของครอบครัว ค. สำรวจความต้องการของโรงเรียน ง. สำรวจความต้องการของท้องถิ่น
  • 24. แบบทดสอบหลังเรียน 10 วิธีดำเนินโครงงานที่ถูกต้อง มีจุดมุ่งหมายอยู่ที่ใด (ความเข้าใจ) ก. เสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด 4 ข. มีขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ถูกต้อง ค. สมาชิกในกลุ่มทำงานได้อย่างเป็นระบบ ง. บรรลุจุดประสงค์และเป้าหมายที่ได้กำหนดไว้
  • 25. แบบทดสอบหลังเรียน 10 การตัดสินใจเลือกโครงงาน ควรยึดหลักข้อใดสำคัญที่สุด (ความเข้าใจ) ก. ประโยชน์ใช้สอย 5 ข. งบประมาณค่าใช้จ่าย ค. ความถนัดความสนใจ ง. ความรู้ประสบการณ์
  • 26. แบบทดสอบหลังเรียน 10 การที่จะสรุปผลการปฏิบัติงานโครงงานว่าประสบผลสำเร็จหรือไม่ นักเรียนควรพิจารณาจาก (การนำไปใช้) ก. การประเมินผล 6 ข. ผลสำเร็จของชิ้นงาน ค. การปฏิบัติงานเสร็จทันตามกำหนดเวลา ง. ความสามัคคีในกลุ่มสมาชิกที่ร่วมปฏิบัติงาน
  • 27. แบบทดสอบหลังเรียน 10 การนำข้อมูลความต้องการผลิตชิ้นงานมาศึกษารายละเอียดหลายๆ ด้าน คือขั้นตอนใด (ความรู้ความจำ) ก. การสรุปผล 7 ข. การวางแผน ค. การวิเคราะห์ ง. การประเมินผล
  • 28. แบบทดสอบหลังเรียน 10 เมื่อนักเรียนตัดสินใจเลือกโครงงานแล้ว ลำดับขั้นตอนการปฏิบัติงานขั้นต่อไปคือ (ความรู้ความจำ) ก. ศึกษาข้อมูล 8 ข. วิเคราะห์ข้อมูล ค. วางแผนการทำงาน ง. ปฏิบัติงานโครงงาน
  • 29. แบบทดสอบหลังเรียน 10 ผลที่คาดว่าจะได้รับในการเขียนโครงงานควรสอดคล้องกับข้อใด (ความเข้าใจ) ก. จุดประสงค์และเป้าหมาย 9 ข. เป้าหมายและวิธีการดำเนินงาน ค. จุดประสงค์และวิธีดำเนินงาน ง. วิธีดำเนินงานและงบประมาณ
  • 30. แบบทดสอบหลังเรียน 10 เมื่อพบปัญหาขณะดำเนินโครงงาน นักเรียนควรทำอย่างไร (การนำไปใช้) ก. ปรึกษาเพื่อน 10 ข. ปรึกษาครอบครัว ค. ปรึกษาครูที่ปรึกษา ง. แก้ปัญหาด้วยตนเอง