SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
Download to read offline
Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน
30
ฟสิกส บทที่ 10 ความรอน
ตอนที่ 1 ความรอน
พลังงานความรอนที่ใชเปลี่ยนอุณหภูมิ หาคาไดจาก
υυυυQ = c m υυυυt หรือ υυυυQ = C υυυυt
เมื่อ υQ = พลังงานความรอน (จูล)
c = คาความจุความรอนจําเพาะ (จูล/กิโลกรัม.เคลวิน)
υt = อุณหภูมิที่เปลี่ยนไป ( K หรือ oC )
m = มวล (กิโลกรัม)
C = คาความจุความรอน (จูล / เคลวิน)
1. จงหาพลังงานความรอนที่ทําใหเหล็กมวล 200 กรัม ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส มี
อุณหภูมิสูงขึ้นเปน 60 องศาเซลเซียส
( กําหนด คาความจุความรอนจําเพาะของเหล็กเทากับ 450 J /kg.K ) ( 3600 จูล )
วิธีทํา
2. ใหพลังงานความรอนแกตะกั่ว 252 จูล ถาตะกั่วมีมวล 1 กิโลกรัม จะมีอุณหภูมิสูงขึ้นเทาใด
(ความจุความรอนจําเพาะของตะกั่ว = 126 จูล/กิโลกรัม.เคลวิน) (2 K(oC))
วิธีทํา
3. ใหพลังงานความรอนขนาด 3000 จูล กับเหล็กทอนหนึ่ง ปรากฏวาเหล็กมีอุณหภูมิสูงขึ้น
จาก 30 องศาเซลเซียส เปน 80 องศาเซลเซียส จงหามวลของเหล็กกอนนี้
(กําหนด เหล็กมีคาความจุความรอนจําเพาะ 0.500 กิโลจูล/กิโลกรัม.เคลวิน) (0.12 kg)
วิธีทํา
Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน
31
4. ยิงกระสุนปนทองแดง กระสุนกระทบเปาดวยความเร็ว 385 m/s กระสุนจะหยุดทันทีที่ชน
เปาถา 3 ใน 4 ของพลังงานจลนเปลี่ยนเปนพลังงานความรอน จงหาวากระสุนปนจะมี
อุณหภูมิเพิ่มเปนเทาใด ถาเดิมกระสุนมีอุณหภูมิ 27oC
กําหนด คาความจุความรอนจําเพาะของทองแดง 0.385 kJ / kg.K (171.38oC)
วิธีทํา
5. น้ําตก ตกจากหนาผาสูง 50 m ปรากฏวาพลังงานศักยเปลี่ยนเปนพลังงานความรอนเพียง
50 % ถาคาความจุความรอนจําเพาะของน้ําเทากับ 4.180 kJ/kg.k ถามวาน้ําจะมีอุณหภูมิ
สูงขึ้นจากเดิมกี่องศาเซลเซียส ( 0.059 )
วิธีทํา
พิจารณาการเปลี่ยนแปลงจากน้ําแข็งเปลี่ยนเปนน้ํา และจากน้ําเดือดกลายเปนไอตอ
อุณหภูมิระหวางการเปลี่ยนแปลงเปนดังนี้
น้ําแข็ง
น้ํา
ไอน้ํา
100
0
อุณหภูมิ ( o )
เวลา
Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน
32
การเปลี่ยนแปลงจาก ของแข็ง ไปเปนของเหลว และจากของเหลวไปเปนไอ ทุกขั้นตอน
จะเปนการเปลี่ยนแปลงแบบดูดความรอน
( ถาเปลี่ยนยอนกลับ จากไอเปนของเหลว หรือจากของเหลวเปนของแข็ง จะเปน
การเปลี่ยนแปลงแบบคายความรอน )
พลังงานความรอนที่ดูดเขาไปในชวงเปลี่ยนสถานะจากของแข็งเปนของเหลว ( ชวง
ในรูปภาพ ) จะใชไปเพื่อสลายแรงดึงดูดระหวางโมเลกุลของแข็ง ทําใหโมเลกุลของ
แข็งถอยหางออกจากกัน แลวของแข็งจะเกิดการเปลี่ยนสถานะเปนของเหลว พลัง
งานที่ใชเปลี่ยนสถานะชวงนี้ เรียก ความรอนแฝงสําหรับการหลอมเหลว
พลังงานความรอนที่ดูดเขาไปในชวงเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเปนไอ ( ชวง ในรูป )
จะใชไปเพื่อสลายแรงดึงดูดระหวางโมเลกุลของเหลว ทําใหโมเลกุลของเหลวถอยหาง
ออกจากกัน แลวของเหลวจะเกิดการเปลี่ยนสถานะเปนไอ พลังงานที่ใชเปลี่ยนสถานะ
ชวงนี้ เรียก ความรอนแฝงสําหรับการกลายเปนไอ
พลังงานความรอนที่ใชเปลี่ยนสถานะ หรือ ความรอนแฝง สามารถหาคาไดจาก
υQ = m.L
เมื่อ υQ = พลังงานความรอน (จูล)
m = มวล (กิโลกรัม)
L = คาความรอนแฝงจําเพาะ (จูล/กิโลกรัม)
6. น้ําแข็งมวล 5 kg อุณหภูมิ 0oC เปลี่ยนเปนน้ําที่ 0oC ตองใชพลังงานความรอนเทาใด
กําหนด คาความรอนแฝงจําเพาะของการหลอมเหลวของน้ํา 333 kJ / kg (1665 kJ)
วิธีทํา
7. ถาจะทําใหน้ํา 100oC มวล 5 kg เปลี่ยนเปนไอน้ําหมดที่ 100oC ตองใชความรอนเทาใด
กําหนด คาความรอนแฝงจําเพาะการกลายเปนไอของน้ํา 2256 kJ / kg (11280 kJ)
วิธีทํา
Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน
33
8. ใหพลังงานความรอนแกน้ําแข็ง (0oC) มวล 2 กิโลกรัม เปนปริมาณเทาไร เพื่อใหน้ําแข็ง
กลายเปนน้ําและเหลือน้ําแข็ง 0.5 กิโลกรัม ใหความรอนแฝงจําเพาะของน้ําแข็ง 336 kJ/ kg
1. 504 kJ 2. 336 kJ 3. 168 kJ 4. 94 kJ (ขอ 1)
วิธีทํา
9(En 44/2) จงหาปริมาณความรอนที่ทําใหน้ําแข็งมวล 100 กรัม อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส
กลายเปนน้ํามวล 100 กรัม อุณหภูมิ 10 องศาเซลเซียส กําหนดใหความจุความรอนจําเพาะ
ของน้ําเทากับ 4200 จูลตอกิโลกรัม เคลวิน และความรอนแฝงจําเพาะของการหลอมเหลว
ของน้ําแข็งเทากับ 333 กิโลจูลตอกิโลกรัม
1. 33.7 kJ 2. 37.5 kJ 3. 75.3 kJ 4. 4233 kJ (ขอ 2)
วิธีทํา
10. ตองการทําใหน้ําแข็ง 1 kg อุณหภูมิ –10o C เปลี่ยนเปนน้ํา 10oC ตองใชพลังงานความ
รอนเทาใด กําหนด คาความจุความรอนจําเพาะของน้ําแข็ง 2.1 kJ/kg.k
คาความรอนแฝงจําเพาะการหลอมเหลวของน้ํา 333 kJ/kg
คาความจุความรอนจําเพาะของน้ํา 4.2 kJ/kg.k (396 kJ)
วิธีทํา
Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน
34
11. นําเหล็กมวล 1 kg อุณหภูมิ 60oC ใสในน้ํา 1 kg อุณหภูมิ 0oC ในเวลาตอมา
อุณหภูมิของน้ําและเหล็กเทากัน อยากทราบวาอุณหภูมินี้มีคาเทาใด ถาความจุความรอน
จําเพาะของน้ําและเหล็กมีคา 4180 และ 500 J/kg.k ตามลําดับ (6.41oC)
วิธีทํา
12. กอนอะลูมิเนียมมวล 200 กรัม อุณหภูมิ 300 องศาเซลเซียส อยูในภาชนะที่เปนฉนวน
เมื่อเทน้ําแข็งอุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส มวล 70 กรัม ลงในภาชนะ จากนั้นปดภาชนะดวย
ฝาฉนวน อุณหภูมิสุดทายภายในภาชนะเปนเทาใด
( กําหนด คาความจุความรอนจําเพาะของอลูมิเนียม = 0.9 KJ /kg.K
คาความจุความรอนจําเพาะของน้ํา = 4.2 KJ /kg.K
คาความรอนแฝงของการหลอมเหลวของน้ํา = 333 KJ / Kg ) ( 64.7o )
วิธีทํา
Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน
35
13. ลูกแซคเปนเครื่องดนตรีชนิดหนึ่งที่ใชเขยาเปนจังหวะ การเขยาลูกแซคจนจบเพลง
อุณหภูมิภายในลูกแซคจะเปลี่ยนแปลงหรือไม อยางไร ( อุณหภูมิเพิ่มขึ้น )
วิธีทํา
14. แทงเหล็กมวล 5 กิโลกรัม และ 10 กิโลกรัม จะมีคาความรอนและคาความจุความรอน
จําเพาะเทากันหรือตางกัน อยางไร ( เทากัน )
วิธีทํา
15. A กับ B เปนวัตถุชนิดเดียวกัน แต A มีมวลมากกวา B ถา A และ B อยูในที่เดียวกันขอใดถูก
ก. A มีความรอนมากกวา B ข. A และ B มีความรอนเทากัน
ค. A และ B มีอุณหภูมิเทากัน ง. ขอ ก. และ ค. ถูก (ขอ ง)
วิธีทํา
การนําความรอน คือ การสงผานความรอนโดยโมเลกุลของตัวกลางที่สงผานความรอนไม
ไดเคลื่อนที่ไปพรอมกับความรอนที่สงผาน
การพาความรอน คือ การสงผานความรอนโดยโมเลกุลของตัวกลางที่สงผานความรอน
เคลื่อนที่ไปพรอมกับความรอนที่สงผาน
การแผรังสีความรอน คือ การสงพลังงานความรอนโดยไมตองอาศัยตัวกลาง เชน การสง
พลังงานความรอนขากดวงอาทิตยมาสูโลกของเรา เปนตน
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
ตอนที่ 2 สมบัติของแกส
สมบัติของแกสจากการทดลอง
กฏของบอยส กลาววา "เมื่ออุณหภูมิและมวลของแกสคงที่ ปริมาตรของแกสจะแปรผก
ผันกับความดันของแกสนั้น"
เขียนเปนสมการจะได P1V1 = P2V2
เมื่อ P1 = ความดันตอนแรก V1 = ปริมาตรตอนแรก
P2 = ความดันตอนหลัง V2 = ปริมาตรตอนหลัง
ควรระวัง สูตรนี้ใชไดเมื่ออุณหภูมิ และ มวลแกสคงที่
Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน
36
กฏของชาลล กลาววา "เมื่อความดัน และมวลของแกสคงที่ ปริมาตรของแกสใดๆ จะ
แปรผันตรงกับอุณหภูมิเคลวิน"
เขียนเปนสมการจะได
V
T
V
T
1
1
2
2
ν
เมื่อ T1 = อุณหภูมิเคลวินตอนแรก V1 = ปริมาตรตอนแรก
T2 = อุณหภูมิเคลวินตอนหลัง V2 = ปริมาตรตอนหลัง
ควรระวัง สูตรนี้ใชไดเมื่อ ความดัน และ มวลแกสคงที่
กฏรวมของแกส
เมื่อเรานํากฏของบอลย และ กฏของชาลล มารวมกัน
จะไดกฏรวมของแกส คือ
PV
T =
P V
T
1 1
1
2 2
2
ควรระวัง สูตรนี้ใชไดเมื่อมวลของแกสที่มีคงที่เทานั้น
หากมวลของแกสไมคงที่ ตองใชสมการ
1T1m
1V1P
=
2T2m
2V2P
เมื่อ P1 , P2 = ความดันตอนแรกและตอนหลัง (atm , N/m2 , Pascal ,.)
V1 , V2 = ปริมาตรตอนแรก และตอนหลัง (m3 , Lit , …)
T1 , T2 = อุณหภูมิตอนแรก และตอนหลัง (K)
m1 , m2 = มวลตอนแรก และตอนหลัง (g , kg , …)
หากมีความหนาแนนของแกสมาเกี่ยวของ ตองใชสมการ
1T1
1P
≥ =
2T2
2P
≥
เมื่อ ≥1 , ≥2 = ความหนาแนนตอนแรก และตอนหลัง (kg/m3 , g/cm3 ,.)
16(มช 42) อากาศปริมาตร 2 ลูกบาศกฟุต อุณหภูมิ 17oC เคลื่อนผานพื้นผิวที่มีอุณหภูมิ 77oC
ถาความดันอากาศไมเปลี่ยนแปลงปริมาตรอากาศจะกลายเปนกี่ลูกบาศกฟุต (ขอ 3)
1. 0.4 2. 1.7 3. 2.4 4. 9.0
วิธีทํา
Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน
37
17. ความดันแกสในภาชนะปดอันหนึ่งเปน 8x105 N/m2 ที่อุณหภูมิ 27oC ถาอุณหภูมิเพิ่ม
ขึ้นอีก 900oC ความดันในระบบจะเปนเทาใด (32x105 N/m2)
วิธีทํา
18(มช 45) แกสชนิดหนึ่งมีปริมาตร 1x10–3 ลูกบาศกเมตรที่ 27oC ความดัน 1 บรรยากาศ
ขยายตัวจนมีปริมาตรเปน 1.5x10–3 ลูกบาศกเมตร และความดันเปน 1.1 บรรยากาศ
จงหาอุณหภูมิสุดทายของแกสนี้วาเปนกี่องศาเซลเซียส (ขอ 4)
1. 49.5 2. 495 3. 22.2 4. 222
วิธีทํา
19. ที่ 0oC ความดัน 1 atm อากาศ 1 ลิตร มีมวล 1.29 g และที่อุณหภูมิ 27oC ความดัน
2 atm อากาศมวล 2.73 g จะมีปริมาตรกี่ลิตร (1.16 ลิตร)
วิธีทํา
20(En 32) ถาความหนาแนนของแกสที่อุณหภูมิ 27oC ความดัน 1 บรรยากาศ มีคาเทากับ
1.3 กิโลกรัม/ลูกบาศกเมตร จงคํานวณหาความหนาแนนของแกสนี้ที่อุณหภูมิ 127oC และ
มีความดัน 2 บรรยากาศ (ขอ 3)
1. 0.55 kg/m3 2. 0.81 kg/m3 3. 1.95 kg/m3 4. 2.35 kg/m3
วิธีทํา
Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน
38
21. ฟองอากาศปริมาตร 20 cm3 อยูกนทะเลสาบลึก 40 m และมีอุณหภูมิ 2oC ถาฟองอากาศ
ลอยขึ้นสูผิวน้ําซึ่งมีอุณหภูมิ 27oC จงหาปริมาตรของฟองอากาศซึ่งอยูที่ผิวน้ําพอดี (109 cm3)
กําหนด ความหนาแนนของน้ํา = 1x103 kg/m3 และ ความดันบรรยากาศ = 1x105 N/m2
วิธีทํา
สมการที่ใชคํานวณเกี่ยวกับการผสมแกส
Pรวม . Vรวม = P1V1 + P2 V2 + …
nรวม . tรวม = n1t1 + n2 t2 + …
เมื่อ n = จํานวนโมลแกส และ t = อุณหภูมิ (oC)
22. ถัง A มีปริมาตร 40 cc บรรจุแกสความดัน 80 mm–Hg และ ถัง B มีปริมาตร 60 cc บรรจุ
แกสความดัน 70 mm-Hg โดยที่ถังทั้งสองมีทอตอกันและมีลิ้นปดเปดอยู เมื่อเปดทอใหแกส
ผสมกันแลวแกสจะมีความดันเทาใด (74 mm-Hg)
วิธีทํา
Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน
39
23 (En 42/1) แกสฮีเลียมบรรจุในถังสองใบซึ่งเชื่อมตอกันผานวาลว ถังแรกมีความดัน 2
บรรยากาศ ปริมาตร 10 ลิตร ถังที่สองมีความดัน 3 บรรยากาศ ปริมาตร 15 ลิตร
ถาเปดวาลวใหแกสรวมกัน โดยไมมีการถายเทความรอน จากนอกระบบความดันของแกส
ผสมเปนกี่บรรยากาศ (2.60)
วิธีทํา
24(มช 38) ผสมแกสฮีเลียม 2 โมล อุณหภูมิ 60oC กับแกสอารกอน 1 โมล อุณหภูมิ 30oC
จงหาวาอุณหภูมิผสมเปนเทาใด (ขอ 3)
1. 40oC 2. 45oC 3. 50oC 4. 55oC
วิธีทํา
25. เมื่อนําแกสฮีเลียม 5 mol ที่ 40oC และแกสนีออน 3 mol ที่ 20oC กับแกสอารกอน 4 mol
ที่ 25oC มาผสมกัน จงหาอุณหภูมิของแกสผสม (30oC)
วิธีทํา
สมการสถานะ
PV = n R T ถา R = คานิจของแกส = 0.0821 Lit atm / mol.K
P = ความดันแกส (atm)
V = ปริมาตรแกส (Lit)
ถา R = คานิจของแกส = 8.31 N.m / mol.K
P = ความดันแกส (N/m2)
V = ปริมาตรแกส (m3)
Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน
40
n = m
g = 236.02x10
N g = มวล (กรัม)
m = มวลโมเลกุล
N= จํานวนโมเลกุล
26. ภาชนะ 2 ลิตร บรรจุแกส CO2 มีความดัน 20.5 atm ที่อุณหภูมิ –23oC มีกี่โมล
1. 4.0 โมล 2. 3.0 โมล 3. 2.0 โมล 4. 1.0 โมล (ขอ 3)
วิธีทํา
27. แกส (ก) 1 mol กับแกส (ข) 1 mol บรรจุในกลองเดียวกันซึ่งมีปริมาตร 1 m3 โดยไมทํา
ปฏิกิริยากันที่ 27oC ความดันแกสในกลองเปนเทาใด (4986 N/m2)
วิธีทํา
28. มีแกสอยู 4 โมล บรรจุในภาชนะ 8.31 ลิตร ถาแกสมีอุณหภูมิ 27oC จะมีความดันเทาไร
1. 1.0 x 106 N/m2 2. 1.1 x 106 N/m2
3. 1.2 x 106 N/m2 4. 1.4 x 106 N/m2 (ขอ 3)
วิธีทํา
29. ถังบรรจุแกสออกซิเจน 560 ลิตร อุณหภูมิ 273 เคลวิน ความดัน 1 บรรยากาศ จงหามวล
ของออกซิเจนในถังนี้ (800 กรัม)
วิธีทํา
1 m3 = 1000 Lit
1 Lit = 1000 cm3
1 atm= 1.01 x 105 N/m2
Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน
41
30. แกส N2 100 cm3 ที่อุณหภูมิ 0oC ความดัน 2 atm มีกี่โมเลกุล (ขอ 3)
1. 6.02 x 1023 2. 1.25 x 1020 3. 5.37 x 1021 4. 4.20 x 1015
วิธีทํา
31. แกส N2 จํานวน 4.8 x 1024 โมเลกุล บรรจุในภาชนะ 67.2 ลิตร ที่ 0oC มีความดันเทาไร
1. 3.3 atm 2. 2.6 atm 3. 2.1 atm 4. 1.6 atm (ขอ 2)
วิธีทํา
32(En 43/1) ถาอุณหภูมิภายในหองเพิ่มขึ้นจาก 27oC เปน 37oC และ ความดันในหองไมเปลี่ยน
แปลงจะมีอากาศไหลออกจากหองกี่โมล หากเดิมมีอากาศอยูในหองจํานวน 2000 โมล
1. 65 2. 940 3. 1620 4. 1940 (ขอ 1)
วิธีทํา
Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน
42
33. แกสออกซิเจนในถังที่มีปริมาตร 40 ลูกบาศกเดซิเมตร เดิมมีความดัน 20 บรรยากาศ
และมีอุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส ตอมาแกสรั่วไปบางสวนจนมีความดัน 4.0 บรรยากาศ
และมีอุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส จงหาวาแกสรั่วไปกี่กิโลกรัม
( กําหนด ออกซิเจน 1 โมลมีมวล 32 กรัม ) ( 0.827 กิโลกรัม)
วิธีทํา
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
ตอนที่ 3 ทฤษฏีจลนของแกส
เพื่อความสะดวกในการศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับแกส นักวิทยาศาสตรจึงไดสรางแบบ
จําลองของแกสในอุดมคติขึ้น ซึ่งมีความดังนี้
1) แกสประกอบดวยโมเลกุลจํานวนมาก ทุกโมเลกุลมีลักษณะเปนกอนกลมที่มีขนาด
เทากัน มีความยืดหยุนสูง ดังนั้นโมเลกุลเหลานี้จะชนผนังและกระดอนแบบยืดหยุน
2) ถือวาปริมาตรรวมของโมเลกุลทุกตัวนอยมาก เมื่อเปรียบเทียบกับปริมาตรของกาซ
ทั้งภาชนะ จึงสามารถตัดปริมาตรของโมเลกุลทิ้งไปได
3) ไมมีแรงใดๆ กระทําตอโมเลกุลไมวาจะเปนแรงผลักหรือแรงดูด หรือแมกระทั่งแรง
โนมถวงโลกที่กระทําตอโมเลกุลดวย
4) โมเลกุลทุกโมเลกุลจะเคลื่อนที่เปนเสนตรงแบบสับสนไรทิศทาง และอาจเปลี่ยนแนว
การเคลื่อนที่ไดหากไปชนใสผนังภาชนะหรือชนกับโมเลกุลแกสดวยกันเอง เรียกการ
เคลื่อนที่แบบนี้วา การเคลื่อนที่แบบบราวนเนียน
และนักวิทยาศาสตรยังสามารถหาความสัมพันธระหวางความดันกับพลังานจลนเฉลี่ยของ
โมเลกุลแกสได ดังนี้ P V = 3
1 N m 2v หรือ P V = 3
2 N m kE
34. เหตุใดแกสจึงฟุงกระจายเต็มภาชนะที่บรรจุ และ สามารถบีบอัดใหมีปริมาตรนอยลงกวา
เดิมไดมาก ( เพราะแรงดึงดูดระหวางโมเลกุลแกสมีนอย โมเลกุลแกสจึงฟุงกระจายไดเต็มภาชนะ
บรรจุ และ โมเลกุลแกสจะอยูหางกัน ที่วางระหวางโมเลกุลมีมาก ดังนั้นเมื่อเราทําการบีบ
อัดโมเลกุลจะเบียดชิดเขาใกลกันได จึงทําใหปริมาตรของแกสโดยรวมลดลงได )
Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน
43
35. เมื่ออัดแกสใหมีปริมาตรลดลง ความดันของแกสจะเพิ่มขึ้นเพราะเหตุใด
( เพราะเมื่อปริมาตรลดลง จะทําใหโมเลกุลพุงชนผนังภาชนะบรรจุแกสบอยขึ้น จึงทําให
ความดันแกสที่กระทําตอภาชนะมีคาเพิ่มขึ้น )
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
ตอนที่ 4 อัตราเร็วโมเลกุลแกส
Vrms = 2
v
Vrms = 4
26252321 ΙΙΙ
= 4
362591 ΙΙΙ
= 17.75
Vrms = 4.21 m/s
Vrms = M
3RT Vrms = m
TB3k
Vrms = ″
3P
เมื่อ Vrms = อัตราเร็วรากที่สองของกําลังสองเฉลี่ย
T = อุณหภูมิ (K)
R = 8.31 N.m/mol.K
kB = คานิจของโบสธมาล = 1.38 x 10–23 N.m/mol.K
P = ความดันแกส (N/m2)
″ = ความหนาแนน (kg/m3)
m = มวลแกส 1 โมเลกุล (kg) = มวลโมเลกุล x 1.66 x 10–27 kg
M = มวลแกส 1 โมล (kg) = มวลโมเลกุล x 10–3 kg
36(En 39) สมมติวาสามารถทดลองวัดคาอัตราเร็วของโมเลกุล แตละตัวไดทั้งหมด 5 โมเลกุล
ไดการกระจายอัตราเร็วโมเลกุลดังตาราง จงหาคารากที่สองของกําลังสองเฉลี่ยของอัตราเร็ว
อัตราเร็วโมเลกุล (เมตรตอวินาที) 3 4 5
จํานวนโมเลกุล 2 2 1
1. 3.5 m/s 2. 3.9 m/s 3. 4.2 m/s 4. 4.5 m/s (ขอ 2)
วิธีทํา
Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน
44
37. จงหาอัตราเร็วของโมเลกุลแกสไฮโดรเจน (H2) ที่อุณหภูมิ 27oC (1934 m/s)
วิธีทํา
38. จงหา Vrms ของโมเลกุลของแกสออกซิเจน (O2) ที่มีอุณหภูมิ 300 เคลวิน (483 m/s)
วิธีทํา
39. อากาศที่อุณหภูมิปกติ มีความหนาแนน 1.24 kg/m3 ที่ความดัน 1 atm จงหาวาโมเลกุล
ของแกสจะมี Vrms เทาใด (1 atm = 1 x 105 N/m2) (491.87 m/s)
วิธีทํา
40. อัตราเร็วเฉลี่ยของโมเลกุลไฮโดรเจนเทากับ 400 m/s ที่ 27oC ถาอุณหภูมิเปลี่ยนเปน
927oC อัตราเร็วจะเปนเทาใด (800 m/s)
วิธีทํา
Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน
45
41. แกสที่ 927oC แกสมีคา Vrms เปน 800 m/s ถาตองการใหแกสมีคา Vrms เปนครึ่งหนึ่ง
ของคาเดิม ตองทําใหมีอุณหภูมิเทาใด (27oC)
วิธีทํา
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
ตอนที่ 5 พลังงานจลนโมเลกุลแกส
kE = 2
3 kB T kE = 2
3
N
PV
เมื่อ kE = พลังงานจลนเฉลี่ยของโมเลกุลแกส (J)
(มีคาเปนพลังงานจลนของแกส 1 โมเลกุล)
kB = 1.38 x 10–23 N.m / mol.k
T = อุณหภูมิ (K)
P = ความดัน (N/m2)
V = ปริมาตร (m3)
N = จํานวนโมเลกุลแกส
n คือ จํานวนโมลแกส
R = 8.31 J / mol . K
42. พลังงานจลนเฉลี่ยของแกส 1 โมเลกุล ที่อุณหภูมิ 27oC มีคากี่จูล (ขอ ง)
ก. 1.38 x 10–21 ข. 2.07 x 10–21 ค. 2.67 x 10–21 ง. 6.21 x 10–21
วิธีทํา
Ekรวม = N kE
U = N 2
3 kB T
U = 2
3 PV
U = 2
3 n R T
Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน
46
43. บรรจุแกสในถังที่มีปริมาตร 0.2 m3 ที่ความดัน 104 N/m2 ภายใตภาวะนี้ แกสนี้ 0.2 m3
มี 0.6x1022 โมเลกุล อยากทราบวาพลังงานจลนเฉลี่ยของแตละโมเลกุลของแกสมีคาเทาใด
วิธีทํา (5x10–19 จูล)
44. พลังงานของแกส 1 โมล ( 6.02 x 1023 โมเลกุล ) ที่อุณหภูมิ 27oC มีคากี่จูล
ก. 3.7 x 103 ข. 7.4 x 103 ค. 11.1 x 103 ง. 14.8 x 103 (ขอ ก)
วิธีทํา
45. ณ.อุณหภูมิ 37oC แกสชนิดหนึ่ง 2 โมล จะมีพลังงานเทาใด (R = 8.3 J/mol.K) (7719 J)
วิธีทํา
46. จงหาพลังงานจลนเฉลี่ยของโมเลกุลแกสที่ 30oC (6.27x10–21 จูล)
วิธีทํา
Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน
47
47. จงหาพลังงานจลนของโมเลกุลแกสทั้งหมดซึ่งมีปริมาตร 2 ลิตร ความดัน 2.5 บรรยากาศ
(กําหนด ความดัน 1 บรรยากาศ = 1.01 x 105 N/m2) (ขอ ง)
ก. 1.7 x 102 จูล ข. 3.4 x 102 จูล ค. 3.8 x 102 จูล ง. 7.6 x 102 จูล
วิธีทํา
48. ถาพลังงานจลนเฉลี่ยของแกสในภาชนะปดเทากับ 6.3x10–21 จูล และ จํานวนโมเลกุล
ตอปริมาตรของแกสเทากับ 2.4x1025 โมเลกุลตอลูกบาศกเมตร จงหาความดันของแกสนี้
วิธีทํา ( 1.008x105 N /m2 )
49. แกสชนิดหนึ่งมีอุณหภูมิ 300 K ถาจะใหแกสพลังงานจลนเฉลี่ยของโมเลกุลเพิ่มเปน 2
เทาของเดิมจะตองทําใหอุณหภูมิเปนเทาใด (600 K)
วิธีทํา
50. ถาพลังงานจลนเฉลี่ยของแกสเพิ่มขึ้น 25% จากพลังงานจลน ณ อุณหภูมิ 31oC ขณะ
นั้นแกสมีอุณหภูมิเปนเทาไร (107oC)
วิธีทํา
Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน
48
51. แกสตางชนิดกัน ถามีอุณหภูมิเทากัน พลังงานจลนเฉลี่ยของโมเลกุลเทากันหรือไม (เทากัน)
วิธีทํา
52. ถาความดันและปริมาตรของแกสเปลี่ยนไปโดยจํานวนโมเลกุลและอุณหภูมิคงตัว พลังงาน
ภายในของระบบจะเปลี่ยนแปลงหรือไม อยางไร
( พลังงานภายในระบบจะแปรผันตรงกับผลคูณของความดันกับปริมาตร )
วิธีทํา
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
ตอนที่ 6 พลังงานภายในระบบ
U = 2
3 NkB T เมื่อ U = พลังงานภายในระบบ (พลังงานจลนรวม) (J)
U = 2
3 PV N = จํานวนโมเลกุล
U = 2
3 n R T kB = คาคงที่ของโบสชมาล = 1.38 x 10–23 J / mol.K
T = อุณหภูมิ (K)
P = ความดัน (N/m2)
V = ปริมาตร (m3)
χχχχQ = χχχχU + χχχχW
χW = งานเนื่องจากการขยายตัวของแกส
χU = พลังงานภายในระบบที่เพิ่มขึ้น
χW = PχV χU = 2
3 NkB χT
χW = n R χT χU = 2
3 n R χT
χU = 2
3 P2 V2 – 2
3 P1 V1
เมื่อ P คือ ความดันแกส (N/m2)
χV คือ ปริมาตรที่เปลี่ยนแปลง
χT คือ อุณหภูมิที่เปลี่ยนไป ( K หรือ oC )
n คือ จํานวนโมล R = 8.31 J / mol.K
Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน
49
53. จงหาพลังงานภายในระบบของแกสไฮโดรเจนเมื่อ
ก. ปริมาณ 2 โมล ที่อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส (7479 จูล)
ข. ปริมาตร 10 ลิตร ความดัน 2 x 105 พาสคัล (3x103)
วิธีทํา
54. พลังงานภายในของแกสฮีเลียม 10 โมล จะเปลี่ยนไปเทาใด เมื่ออุณหภูมิของแกสฮีเลียม
เปลี่ยนไป 20 องศาเซลเซียส (2493 จูล)
วิธีทํา
55. แกสโมเลกุลอะตอมเดี่ยวชนิดหนึ่งมีมวล 60 กรัม เมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนไป 10 K พลังงาน
ของแกสนี้จะเปลี่ยนไปเทาไร กําหนดใหมวลโมเลกุลของแกสนี้ = 15 (498.6 J)
วิธีทํา
56. แกสปริมาตร 2 ลูกบาศกเมตร อุณหภูมิ 0oC ความดัน 105 N/m2 มีปริมาตรเพิ่มขึ้นเปน
12 ลูกบาศกเมตร มีความดันเดิม การขยายตัวนี้แกสทํางานไดกี่จูล (ขอ ก)
ก. 1.0 x 106 ข. 1.2 x 106 ค. 2 x 106 ง. 4.0 x 106
วิธีทํา
Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน
50
57. แกสในระบบขยายตัวดวยความดันคงที่ 2x105 N/m2 ในกระบวนการนี้วัดงานได 104 จูล
โดยพลังงานภายในระบบไมเปลี่ยนแปลงปริมาตรของระบบเปลี่ยนแปลงกี่ลูกบาศกเมตร
ก. 0.05 ข. 0.02 ค. 0.2 ง. 0.3 (ขอ ก)
วิธีทํา
สมการ ββββQ = ββββU + ββββW
การใชสมการนี้ตองคํานึงถึงคาบวก ลบ ของตัวแปรทุกตัวดังนี้
สําหรับ ββββQ หากความรอนเขาสูระบบ (ดูดความรอน) χQ มีคา +
หากความรอนออกจากระบบ (คายความรอน) χQ มีคา –
หากความรอนไมเขาหรือออก ระบบ χQ มีคา 0
สําหรับ ββββU หากพลังงานภายในเพิ่ม (อุณหภูมิเพิ่ม) χU มีคา +
หากพลังงานภายในลด (อุณหภูมิลด) χU มีคา –
หากพลังงานภายในไมเปลี่ยน (อุณหภูมิคงที่) χU มีคา 0
สําหรับ ββββW หากปริมาตรแกสเพิ่ม χW มีคา +
หากปริมาตรแกสลด χW มีคา –
หากปริมาตรแกสคงที่ χW มีคา 0
58. แกสในกระบอกสูบรับความรอนจากภายนอก 142 จูล ขณะที่แกสขยายตัวมันทํางานบน
ระบบภายนอก 160 จูล ถามวาพลังงานภายในของแกสเพิ่มขึ้นหรือลดลงเทาใด และ
อุณหภูมิของแกสเพิ่มขึ้นหรือลดลง ( ลดลง 18 จูล )
วิธีทํา
59. แกสในกระบอกสูบคายความรอน 240 จูล ขณะที่พลังงานภายในเพิ่มขึ้น 50 จูล ถามวา
แกสหดตัวหรือขยายตัว ( หดตัว )
วิธีทํา
Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน
51
60. อัดแกสในกระบอกสูบดวยความดันคงที่ 1x105 N/m2 ทําใหปริมาตรเปลี่ยนลดลง 0.004 m3
ถาพลังงานภายในระบบของแกสในกระบอกคงที่ จงหาพลังงานความรอนที่เกิดขึ้น (400 J)
วิธีทํา
61. เมื่อเพิ่มความรอนใหแกระบบแกส 8400 จูล พรอมกับทํางานใหระบบ 4000 จูล พลังงาน
ภายในระบบเปลี่ยนไปเทาใด (12400 จูล)
วิธีทํา
62. ในการอัดแกส 2 โมล ในกระบอกสูบตองทํางานใหระบบ 400 จูล ถาระบบไมถายเท
ความรอนเลย อยากทราบวาอุณหภูมิของแกสจะสูงขึ้นเทาใด (16.04 K)
วิธีทํา
63. เมื่อใหความรอน 64.9 จูล แกแกส 0.5 โมล ที่บรรจุในกระบอกสูบ แกสทํางานได 40 จูล
ดันลูกสูบใหเคลื่อนที่ อุณหภูมิของแกสเพิ่มขึ้นกี่เคลวิน (R = 8.3 J/mol.k) (4 K)
วิธีทํา
Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน
52
64 ระบบหนึ่ง เมื่อไดรับความรอน 8000 จูล จะทําใหพลังงานภายในระบบเพิ่มขึ้น 6000 จูล
อยากทราบวาในการนี้ตองทํางานใหแกระบบหรือระบบทํางานเทาไร (2000 จูล)
วิธีทํา
65. ใหพลังงานความรอนแกแกส 3
2 โมล จํานวน 830 จูล แกสมีการเปลี่ยนแปลงแบบ
ปริมาตรคงตัว จงหาอุณหภูมิของแกสที่เพิ่มขึ้น (R = 8.3 J / mol.K) (ขอ 2)
1. 10 K 2. 100 K 3. 150 K 4. 200 K
วิธีทํา
66. แกสในกระบอกสูบมีความดัน 1 kPa และปริมาตร 2 m3 ถาแกสนี้ไดรับความรอน 10
kJ จนมีความดัน 2 kPa และปริมาตร 4 m3 จงหางานที่กระทําโดยแกสในกระบวนการนี้
1. 1 kJ 2. 4 kJ 3. 7 kJ 4. 8 kJ (ขอ 1)
วิธีทํา
67. แกสฮีเลียมจํานวน 1 โมล บรรจุอยูในภาชนะปดที่แข็งแรงมาก อยากทราบวาเมื่อให
ความรอนเขาไป 600 จูล ความดันแกสในภาชนะจะเพิ่มขึ้นจากเดิมเทาใด ถาถังมี
ปริมาตร 0.5 ลูกบาศกเมตร (ขอ 2)
1. 600 N/m2 2. 800 N/m2 3. 1000 N/m2 4. 1200 N/m2
วิธีทํา
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน
53
แบบฝกหัด ฟสิกส บทที่ 10 ความรอน
ความรอน
1. ลูกปนทองแดง อุณหภูมิ 10 องศาเซลเซียส ถูกยิงออกไปดวยความเร็ว 300 เมตร/วินาที
กระทบเปา แลวหยุดนิ่งในเปา ลูกปนจะมีอุณหภูมิเปนเทาใด (ความจุความรอนจําเพาะของ
ทองแดง 385 J/kg. K) (กําหนดพลังงานจลนทั้งหมดเปลี่ยนเปนความรอน)
2. น้ําตกจากหนาผาสูง 200 เมตร ถาในการเปลี่ยนรูปของพลังงานเปลี่ยนเปนพลังงานความ
รอนทั้งหมด ถาน้ําตกถึงพื้นดานลาง จะมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้นเทาไร (ความจุความรอนจําเพาะ
ของน้ํา 4.2 kJ.kg.K )
3. ในการทดลองการเปลี่ยนรูปพลังงานกลเปนพลังงานความรอน โดยใชกระบอกยาว 0.4 เมตร
บรรจุลูกกลมโลหะมีความจุความรอนจําเพาะ 500 จูล / กิโลกรัม.เคลวิน มีมวล 100 กรัม
ทําการทดลองพลิกกลับกระบอกขึ้นลงใหลูกกลมหลนในกระบอก 200 ครั้ง จงหาวา
อุณหภูมิของลูกกลมโลหะเพิ่มขึ้นมากที่สุดเทาไร
4. ผลักกอนเหล็กมวล 15 กิโลกรัม ใหเคลื่อนที่ไปบนพื้นฝดดวยความเร็วคงที่เปนระยะทาง
80 เมตร พบวาอุณหภูมิของเหล็กทั้งกอนเปลี่ยน 0.24 องศาเซลเซียส ถาสมมติวางานของ
แรงเสียดทานทั้งหมดกลายเปนความรอน และไมมีความรอนสูญหายไปจากระบบ
สัมประสิทธิ์ของความเสียดทานของพื้นและกอนเหล็กมีคาเทาใด
กําหนด ความจุความรอนจําเพาะของเหล็ก = 0.5 kJ/kg – K
1. 0.10 2. 0.15 3. 0.20 4. 0.25
5. ลากวัตถุมวล 10 กิโลกรัม อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ที่วางบนพื้นดวยแรงคงที่ 40 นิวตัน
เปนระยะทาง 25 เมตร ปรากฏวาวัตถุมีความเร็ว 10 เมตร/วินาที ถาพลังงานที่สูญเสียไป
เปลี่ยนเปนพลังงานความรอนทั้งหมด ( c ของวัตถุ 200 J/kg.K) จงหา
ก) พลังงานความรอนที่เกิด ข) อุณหภูมิสุดทายของวัตถุ
6. ถานหิน 1 กรัม เมื่อเผาไหมหมดจะคายพลังงานความรอนเทากับ 3.34 x 104 จูล ถาเครื่อง
จักรหนึ่งใชถานหินเปนเชื้อเพลิงและเครื่องจักรนี้ไดถูกใชในการยกของมวล 50 กิโลกรัม
ขึ้นไปจากพื้นสูง 50 เมตร จะตองใชถานหินเผากี่กรัม ถาหากพลังงานความรอนไดสูญเสีย
ออกจากเตาเผารอยละ 95
1. 0.71 2. 0.75 3. 0.79 4. 14.97
Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน
54
7. น้ําแข็งมวล 20 กรัม อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส ละลายกลายเปนน้ําหมดที่ 0 องศา
เซลเซียสจะตองใชความรอนเทาไร (L น้ําแข็ง = 333 x 103 J/kg)
8. กอนน้ําแข็งมวล 1 กิโลกรัม มีอุณหภูมิศูนยองศาเซลเซียส ตกลงไปในทะเลสาปที่น้ํามี
อุณหภูมิศูนยองศาเซลเซียสเชนเดียวกัน ปรากฏวาน้ําแข็งละลายไป 0.01 กิโลกรัม น้ําแข็ง
ตกลงมาจากระดับความสูงเทาใด
(ความรอนแฝงจําเพาะของการหลอมเหลวของน้ํา = 300 x 103 J/kg )
1. 10 เมตร 2. 30 เมตร 3. 300 เมตร 4. 1000 เมตร
9. ใหพลังงานความรอนแกน้ําแข็ง (0o C) มวล 2 กิโลกรัม เปนปริมาณเทาไรเพื่อใหน้ําแข็ง
กลายเปนน้ํา และเหลือน้ําแข็ง 0.5 กิโลกรัม กําหนดใหความรอนแฝงจําเพาะของน้ําแข็ง
336 kJ/kg
1. 504 kJ 2. 336 kJ 3. 168 kJ 4. 94 kJ
10. กอนน้ําแข็งมวล 5 กิโลกรัม ไถลลงจากที่สูง 5 เมตร แลวไถลตอไปบนพื้นระดับจนหยุด
อยากทราบวาน้ําแข็งจะละลายไปเทาไร ถาพื้นมีอุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส
(กําหนด L น้ําแข็ง เทากับ 333 kJ/kg )
11. ถาตองการใหน้ําแข็งมวล 1 กิโลกรัม อุณหภูมิ –10 องศาเซลเซียส กลายเปนน้ําที่อุณหภูมิ
100 องศาเซลเซียส ทั้งหมด จงหาวาตองใชพลังงานความรอนเทาไร
กําหนด Cน้ํา = 4.18 กิโลจูล / กก.เคลวิน
Cน้ําแข็ง = 2.10 กิโลจูล / กก.เคลวิน
Lน้ําแข็ง = 333 กิโลจูล / กก.
1. 231 กิโลจูล 2. 649 กิโลจูล 3. 772 กิโลจูล 4. 793 กิโลจูล
12. นําน้ําแข็ง 60 กรัม ที่ 0o C ใสเขาไปในคาลอริมิเตอร (ที่ถือวาไมมีคาความรอนจําเพาะ)
ซึ่งบรรจุน้ํา 400 กรัม อุณหภูมิ 70o C อยู ภายหลังจากกวนจนเกิดสมดุลทางความรอน
อุณหภูมิสุดทายจะเปนเทาใด
1. 0o C เพราะน้ําแข็งละลายไมหมด 2. ประมาณ 5o C
3. ใกลเคียงกับ 50o C 4. ใกลๆ กับจุดเดือด (100o C)
Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน
55
13. แกสในกระบอกสูบอักลูกสูบใหมีปริมาตรลดลงจาก 10 cc เปน 5 cc ความดันเดิม 1 atm
จงหาความดันของแกสในกระบอกสูบหลังอัดแลว เมื่อกําหนดใหอุณหภูมิของแกสคงตัว?
1. 4.0 atm 2. 2.0 atm 3. 1.5 atm 4. 1.0 atm
14. แกสจํานวนหนึ่งปริมาณ 0.5 ลูกบาศกเมตร ที่ความดัน 105 นิวตัน/ตารางเมตร อุณหภูมิ
0 องศาเซลเซียส ถาจะทําใหแกสนี้มีปริมาตร 1 ลูกบาศกเมตร โดยความดันไมเปลี่ยน
แปลง อุณหภูมิสุดทายเปนเทาไร
15. Idealgas จํานวนหนึ่งอุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส ความดัน 1 บรรยากาศ ถาความดันลดลง
เปน 0.6 บรรยากาศ ปริมาตรเพิ่มเปน 2 เทา อุณหภูมิสุดทายของแกสจะเปนเทาไร
16. แกสชนิดหนึ่งถูกบังคับใหมีความดันคงที่ และอุณหภูมิของแกสถูกทําใหเพิ่มขึ้นจาก 27o C
ไปเปน 127o C ปริมาตรของแกสจะเปลี่ยนไปเปนอัตราสวนเทาใดของปริมาตรเดิม
1. 4/3 2. 3 /4 3. 127/27 4. ไมเปลี่ยน
17. แกสชนิดหนึ่งมีปริมาตรและอุณหภูมิสัมบูรณเพิ่มเปน 1.5 เทา และ 2 เทา ตามลําดับ
จงหาวาความดันของแกสนี้เปนกี่เทาของความดันเดิม
18. แกสในถังใบหนึ่ง เมื่อทําใหอุณหภูมิลดลงจาก 27 องศาเซลเซียส –6 องศาเซลเซียส ความ
ดันของแกส จะเพิ่มหรือลดลงจากเดิมกี่เปอรเซ็นต
19. ในการทดลองเพื่อหาความสัมพันธระหวางความดันและปริมาตรของแกสชนิดหนึ่ง พบวา
ถาเราเพิ่มความดันขึ้นเปน 3 เทาของความดันเริ่มตนปริมาตรของแกสในระบบจะลดลง
เปนครึ่งหนึ่ง จงหาวาอุณหภูมิของแกสควรจะเพิ่มขึ้นกี่เปอรเซ็นต
1. 0% 2. 50% 3. 75% 4. 150%
20. ที่ S.T.P. อากาศ 1 ลิตร มีมวล 1.293 กรัม จงหาความดันของอากาศมวล 12.93 กรัม
ปริมาตร 10 ลิตร ที่อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส
21. แกสจํานวนหนึ่งบรรจุในถังที่มีอุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส แกสนี้มีมวล 10 กิโลกรัม
และมีความดัน 2 บรรยากาศ ถาแกสรั่วออกไปจํานวนหนึ่ง ทําใหอุณหภูมิลดลงเหลือ
27 องศาเซลเซียส และมีความดัน 1 บรรยากาศ แกสรั่วออกไปกี่กิโลกรัม
Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน
56
22. ความหนาแนนของอากาศที่ 27 องศาเซลเซียส ความดัน 760 มิลลิเมตร ของปรอทเปน
2.5 กรัม / ลิตร ถา ณ อุณหภูมิเดียวกัน ความดันเปน 860 มิลลิเมตร ของปรอท ความ
หนาแนนของอากาศเปนเทาไร
23. หองประชุมมีอุณหภูมิ 32o C เมื่อเปดเครื่องปรับอากาศ ทําใหอุณหภูมิของหองเปน 26o C
จงหาอัตราสวนความหนาแนนของอากาศที่อุณหภูมิ 26o C ตอความหนาแนนของอากาศ
ที่อุณหภูมิ 32o C
1. 32
26 2. 26
32 3. 305
299 4. 299
305
24. ถาความดันบรรยากาศเทากับความดันของน้ําลึก 10 เมตร ถาฟองอากาศใตผิวน้ําลึก
50 เมตร มีปริมาตร 1 ลูกบาศกมิลลิเมตร ลอยขึ้นมาอยูที่ตําแหนงต่ํากวาระดับผิวน้ํา
10 เมตร จะมีปริมาตรเทาใด
1. 4 mm3 2. 3 mm3 3. 2 mm3 4. 1 mm3
25. ถัง A มีปริมาตร 5 ลิตร บรรจุแกสความดัน 2 บรรยากาศ ถัง B มีปริมาตร 10 ลิตร
บรรจุแกสความดัน 3 บรรยากาศ นําทอเล็กๆ ตอระหวาง ถัง A และ B ความดันของ
แกสในถังทั้งสองเปนเทาใด เมื่ออุณหภูมิไมเปลี่ยนแปลง
26. Idel gas ที่ความดัน 1 บรรยากาศ อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส ปริมาตร 20 ลิตร จะมี
ปริมาณแกสกี่โมล (R = 8.31 J/mol.K , 1 atm = 1.01 x 105 N/m2 )
27. แกส 4 โมล บรรจุในภาชนะ 8.31 ลิตร ถาแกสมีอุณหภูมิ 27o C จะมีความดันเทาไร
1. 1.0 x 106 N/m2 2. 1.1 x 106 N/m2
3. 1.2 x 106 N/m2 4. 1.4 x 106 N/m2
28. แกสไฮโดรเจน 10 ลิตร ความดัน 1 บรรยากาศ อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส จะมีมวล
ของ แกสเทาใด ( H = 1 )
29. ภาชนะปริมาตร 2 x 10–2 ลูกบาศกเมตร บรรจุแกส CO2 20 กรัม อุณหภูมิ 57 องศา
เซลเซียส จงหาความดันของแกส CO2 นี้ ( C = 12 , O = 16)
30. อากาศที่ความดัน 105 นิวตัน/ตารางเมตร อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส จะมีกี่โมเลกุลใน
1 ลูกบาศกเมตร ( kB = 1.38 10–23 J/K )
Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน
57
31. ภาชนะบรรจุแกสในอุดมคติ เดิมบรรจุแกสไว n โมล มีความดัน 4 บรรยากาศ ถาตองการ
ใหความดันลดลงเหลือ 3 บรรยากาศ จะตองปลอยแกสออกมากี่โมล โดยอุณหภูมิคงตัว
1. 4
n 2. 3
n 3. 3
2n 4. 4
3n
32. แกสในถังใบหนึ่งมีอุณหภูมิคงตัวเมื่อใชแกสไปจนความดันลดลงครึ่งหนึ่งของความดันเดิม
จํานวนโมเลกุลของแกสที่ออกจากถังมีคาเปนกี่เทาของเดิม
33. หลอดแกวทดลองบรรจุแกสปริมาตร 50 ลูกบาศกเซนติเมตร อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส
ความดัน 1 บรรยากาศ ดานบนมีจุกไมกอกแตไมสนิทแกสพอรั่วออกมาได จุมหลอดแกว
นี้ลงไปในน้ําอุณหภูมิ 87 องศาเซลเซียส ทิ้งไวนานพอสมควร จงหาวามีแกสรั่วไปกี่โมล
34. มีแกสอยูในภาชนะ ถาตองการรูจํานวนโมลของแกส จะตองทราบปริมาณใดบาง
1. ความดัน , ปริมาตร , อุณหภูมิ 2. ความดัน , อุณหภูมิ
3. ความดัน , ปริมาตร 4. ปริมาตร , อุณหภูมิ
35. ภาชนะบรรจุแกส ความดัน P มีอุณหภูมิ T มีปริมาณ N โมเลกุล จงหาปริมาตรแกส
1. P
TBNk
2. P
nRT 3. P
TB2Nk
4. 2P
nRT
36. สมมติวาในการทดลองวัดอัตราเร็วของโมเลกุลแตละตัวไดทั้งหมด 6 โมเลกุล ไดการ
กระจายอัตราเร็วโมเลกุลดังตาราง จงหาคารากที่สองของกําลังสองเฉลี่ยของอัตราเร็ว
อัตราเร็วโมเลกุล (เมตร/วินาที) 10 20 30
จํานวนโมเลกุล 1 3 2
37. จงหา vrms ของแกส H2 ที่ 0 องศาเซลเซียส (H = 1)
38. โมเลกุลของแกสออกซิเจนที่ 27 องศาเซลเซียส จะมีคาเฉลี่ยกําลังสองของอัตราเร็วเทาใด
(จูล / กิโลกรัม) ถามวลอะตอมของออกซิเจนเทากับ 15
1. 4.2 x 10–27 2. 250 3. 490 4. 2.5 x 105
39. ออกซิเจนมีมวลโมเลกุลเปน 16 เทาของไฮโดรเจน ถามวลโมเลกุลไฮโดรเจนเทากับ 2
และแกสไฮโดรเจนมีอุณหภูมิเปน 4 เทาของแกสออกซิเจนอัตราเร็วรากที่สองของกําลัง
สองเฉลี่ยของแกสไอโดรเจนตอแกสออกซิเจนคือ
1. 2 : 1 2. 4 : 1 3. 8 : 1 4. 16 : 1
Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน
58
40. ที่อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส แกสชนิดหนึ่งมีอัตราเร็วเฉลี่ย 300 เมตร/วินาที ถาอุณหภูมิ
เปลี่ยนเปน 927 องศาเซลเซียส อยากทราบวา แกสนี้จะมีอัตราเร็วเฉลี่ยโมเลกุลเปนเทาไร
41. ที่อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส แกสไฮโดรเจน มีอัตราเฉลี่ย 2000 เมตร/วินาที อยากทราบ
วา ที่อุณหภูมิ 47 องศาเซลเซียส แกสออกซิเจน จะมีอัตราเร็วเฉลี่ยเทาใด (H = 1 , O = 16)
42. ถาความดันของแก็สในถังใบหนึ่งเพิ่มขึ้น 21 เปอรเซ็นต อยากทราบวา อัตราเร็วเฉลี่ยของ
แกสจะเพิ่มหรือลดลงกี่เปอรเซ็นต
43. แกสชนิดหนึ่งบรรจุภายในภาชนะปดที่มีความดัน 1 บรรยากาศ อุณหภูมิ 15o C มีความ
หนาแนน 1.225 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร เมื่ออัดแกสนี้ใหมีปริมาตรนอยลงและมีความดัน
3 บรรยากาศ อุณหภูมิ 100o C จงหาอัตราเร็วรากที่สองของกําลังสองเฉลี่ยของโมเลกุล
ของแกสนั้นในหนวย เมตรตอวินาที (1 บรรยากาศ = 1.01 x 105 N/m2 )
1. 4.9 x 102 2. 5.4 x 102 3. 5.7 x 102 4. 8.6 x 102
44. ถาอัตราสวนของอัตราเร็วรากที่สองของกําลังสองเฉลี่ย (Vrms ) ของแกสออกซิเจนตอ
แกสไนโตรเจนเปน 3 ตอ 2 และแกสออกซิเจนมีความดันเปน 2 เทาของแกสไนโตรเจน
อัตราสวนของความหนาแนนของแกสออกซิเจนตอกาซไนโตรเจน
1. 2/9 2. 8/9 3. 4/3 4. 3 / 4
45. กระบอกสูบแกสชนิดหนึ่งบรรจุจํานวน n โมล เมื่อใหความรอนจํานวนหนึ่งแกกระบอก
สูบ พบวา Vrms ของแกสเพิ่มขึ้นเปน 2 เทา และปริมาตรเพิ่มขึ้นเปน 3 เทา ความดัน
ของแกสจะเปลี่ยนเปนกี่เทาของความดันเดิม
1. 3/2 2. 4 /3 3. 3/2 3. 3/4
46. บรรจุแกสในภาชนะปดจํานวนหนึ่ง อัตราเร็วรากที่สองของกําลังสองเฉลี่ยของแกสเปน
0.5 เมตร/วินาที ถาอุณหภูมิสัมบูรณของแกสเพิ่มขึ้นเปน 4 เทาของเดิม อัตราเร็วราก
ที่สองของกําลังเฉลี่ยของแกสเปนเทาไร
1. 1 m/s 2. 2 m/s 3. 4 m/s 4. 4 2 m/s
47. แกสไฮโดรเจนบรรจุภาชนะมีอุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส ถาแกสไฮโดรเจน 1 โมเลกุล
มีมวล 3.32 x 10–27 กิโลกรัม เมื่อโมเลกุลของแกสไฮโดรเจนชนฝาผนังในแนวตั้งฉาก
จะมีโมเมนตัมเปลี่ยนไปเทาใด
Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน
59
48. แกส (อะตอมเดี่ยว) นีออน อารกอน และคริปตอน มีน้ําหนักโมเลกุลเปน 10, 18 และ 36
ตามลําดับที่อุณหภูมิ 300 องศาเคลวิน แกสชนิดไหนจะมีอัตราเร็วรากที่สองของกําลังสอง
เฉลี่ยสูงที่สุด
1. นีออน 2. อารกอน 3. คริปตอน 4. ไมมี เพราะเทากันหมด
49. Ideal gas ณ อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส จะมีพลังงานจลนเฉลี่ยเทาใด
(kB = 1.38 x 10–23 J/K )
50. ที่ความดัน 2 บรรยากาศ แกสชนิดหนึ่งมีความหนาแนนของโมเลกุล 4 x 1025 โมเลกุล/
ลูกบาศกเมตร อยากทราบวาแกส 0.2 ลูกบาศกเมตร จะมีพลังงานจลนเฉลี่ยเทาใด
(1 atm = 1.01 x 105 N/m2 )
51. ณ อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส แกสชนิดหนึ่ง 2 โมล จะมีพลังงานเทาใด
(R = 8.3 J/mol.K)
52. ถาความดันของอากาศในหองปดหองหนึ่งเปน a N/m2 พลังงานจลนของอากาศตอหนึ่ง
หนวยปริมาตรเปนเทาไร
1. 3
2a J/m2 2. 2
3a J/m2 3. 3
2a J/m3 4. 2
3a J/m3
53. ที่ความดัน 4 x 105 นิวตัน/ตารางเมตร แกสจะมีพลังงานกี่จูลตอลูกบาศกเมตร
54. เมื่ออุณหภูมิของแกสลดลงจาก 27 องศาเซลเซียสเปน 9 องศาเซลเซียสอยากทราบวา
พลังงานจลนเฉลี่ยของโมเลกุลของแกสจะเพิ่มหรือลดลงกี่เปอรเซนต
55. เมื่อความดันเฉลี่ยของแกสภายในถังใบหนึ่ง เพิ่ม 20 เปอรเซ็นต อยากทราบวา พลังงาน
จลนเฉลี่ยของแกสภายในถังนี้จะเปลี่ยนแปลงอยางไร
56. พลังงานภายในของแกสฮีเลียม 10 โมล จะเปลี่ยนไปเทาใด เมื่ออุณหภูมิของแกสฮีเลียม
เปลี่ยนไป 20 องศาเซลเซียส
57. แกสโมเลกุลอะตอมเดี่ยวชนิดหนึ่งมีมวล 60 กรัม เมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนไป 10 K พลังงาน
ของแกสนี้จะเปลี่ยนไปเทาไร กําหนดใหมวลโมเลกุลของแกสนี้ = 15
58. แกสจํานวนหนึ่งมีจํานวนโมเลกุล 1025 โมเลกุล ถาตองการใหแกสจํานวนนี้มีอุณหภูมิ
เพิ่มขึ้น 1 องศาเซลเซียส ตองใหความรอนแกแกสนี้เทาไร เมื่อปริมาตรของแกสคงที่
Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน
60
59. ระบบหนึ่ง เมื่อไดรับความรอน 8,000 จูล จะทําใหพลังงานภายในระบบเพิ่มขึ้น 6,000 จูล
อยากทราบวาในการนี้ตองทํางานใหแกระบบหรือระบบทํางานเทาไร
60. ในการอัดแกสฮีเลียมจํานวน 0.2 กิโลโมล จากปริมาตร 0.4 ลูกบาศกเมตร ใหเหลือ 0.2
ลูกบาศกเมตร ดวยความดันคงที่ 2 x 105 พาสคัล ถาระบบหุมดวยฉนวนที่หนามาก จงหา
พลังงานภายในระบบของแกสเปลี่ยนไปอยางไร
61. ในการอัดแกส 2 โมล ในกระบอกสูบตองทํางานใหระบบ 400 จูล ถาระบบไมถายเท
ความรอนเลย อยากทราบวา อุณหภูมิของแกสจะสูงขึ้นเทาใด
62. เมื่อระบบขยายตัวอยางชาๆ โดยความดันและอุณหภูมิคงที่ เมื่อวัดความดันได 5 x 105
พาสคัลและปริมาตรของระบบเพิ่มจาก 5 ลิตร เปน 10 ลิตร จงหาพลังงานความรอน
ที่ใหแกระบบ
เฉลยแบบฝกหัดฟสิกส บทที่ 10 เรื่อง ความรอน
1. (126.88o C) 2. (0.48o C) 3. (1.6o C)
4. ขอ 2 5. ก) 500 J , ข) 25.25o C 6. ขอ 4
7. (6,660 จูล) 8. ขอ 3 9. ขอ 1
10. (0.75 กรัม) 11. ขอ 3 12. ขอ 3
13. ขอ 1 14. (546 k) 15. (87o C)
16. ขอ 1 17. ( 3
4 เทา ) 18. ลดลง 11%
19. ขอ 2 20. (1.1 atm ) 21. (4.95 kg)
22. (2.83 g/) 23. ขอ 4 24. ขอ 2
25. (2.67 atm) 26. (0.81) 27. ขอ 3
28. (0.81 กรัม) 29. (6.23 x 104 N/m2 ) 30. (2.34 x 1025 )
31. ขอ 1 32. (0.5) 33. (3.38 x 10–4 )
Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน
61
34. ตอบขอ 1
วิธีทํา จากสูตร PV = nRT
จะได n = RT
PV
นั่นคือตองทราบคา ความดัน (P) , ปริมาตร (V) และอุณหภูมิ (T) จึงจะหาคาจํานวน
โมล (n) ได สวน R นั้นเปนคาคงที่
35. ตอบขอ 1
วิธีทํา จากสูตร PV = NkB T
จะได V = P
TBNk
36. (22.73 sw ) 37. (1844.7 sw ) 38. ขอ 4
39. ขอ 3 40. (600 sm ) 41. (516.4 sm )
42. เพิ่มขึ้น 10% 43. ขอ 3 44. ขอ 2
45. ขอ 2 46. ขอ 1 47. (1.28 x 10–23 N.S)
48. ขอ 1 49. (6.21 x 10–21 ) 50. (7.58 x 10–21 J )
51. (7719 J) 52. ขอ 4 53. (6 x 105 )
54. ลดลง 6% 55. เพิ่มขึ้น 20% 56. (2493 J)
57. (498.6 J) 58. (207 จูล) 59. ระบบทํางาน 2000 จูล
60. (4 x 10–4 J) 61. (16.04 k) 62. (2500 )

More Related Content

What's hot

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfssuser2feafc1
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรงTaweesak Poochai
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์Kapom K.S.
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนWijitta DevilTeacher
 
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาการคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาSaipanya school
 
4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลีWijitta DevilTeacher
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxแบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxNing Thanyaphon
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงานPhanuwat Somvongs
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีoraneehussem
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงานdnavaroj
 

What's hot (20)

07สมดุลกล
07สมดุลกล07สมดุลกล
07สมดุลกล
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรง
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
 
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาการคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
 
4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
08งานและพลังงาน
08งานและพลังงาน08งานและพลังงาน
08งานและพลังงาน
 
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxแบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
 
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงานตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน
 
2
22
2
 
โมล ม.4
โมล ม.4โมล ม.4
โมล ม.4
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมี
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 

Similar to เรื่องที่10 ความร้อน

5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพWijitta DevilTeacher
 
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซNawamin Wongchai
 
เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์Pipat Chooto
 
ของเหลวและสารละลายเพื่อการศึกษาในระดับอุดมศึกษา
ของเหลวและสารละลายเพื่อการศึกษาในระดับอุดมศึกษาของเหลวและสารละลายเพื่อการศึกษาในระดับอุดมศึกษา
ของเหลวและสารละลายเพื่อการศึกษาในระดับอุดมศึกษา661031554
 
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2Jiraporn Chaimongkol
 
กฏของแก๊ส ม.5
กฏของแก๊ส ม.5กฏของแก๊ส ม.5
กฏของแก๊ส ม.5Piyanuch Plaon
 
03. ใบงาน 5 ปรับ
03. ใบงาน 5 ปรับ03. ใบงาน 5 ปรับ
03. ใบงาน 5 ปรับWijitta DevilTeacher
 

Similar to เรื่องที่10 ความร้อน (20)

ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
P10
P10P10
P10
 
Themodynamics
ThemodynamicsThemodynamics
Themodynamics
 
heat
heatheat
heat
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
 
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
 
แก๊ส
แก๊ส แก๊ส
แก๊ส
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
Gas genchem
Gas genchemGas genchem
Gas genchem
 
Thermodynamics.pptx
Thermodynamics.pptxThermodynamics.pptx
Thermodynamics.pptx
 
เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์
 
ของเหลวและสารละลายเพื่อการศึกษาในระดับอุดมศึกษา
ของเหลวและสารละลายเพื่อการศึกษาในระดับอุดมศึกษาของเหลวและสารละลายเพื่อการศึกษาในระดับอุดมศึกษา
ของเหลวและสารละลายเพื่อการศึกษาในระดับอุดมศึกษา
 
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
 
9 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 569 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 56
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
กฏของแก๊ส ม.5
กฏของแก๊ส ม.5กฏของแก๊ส ม.5
กฏของแก๊ส ม.5
 
03. ใบงาน 5 ปรับ
03. ใบงาน 5 ปรับ03. ใบงาน 5 ปรับ
03. ใบงาน 5 ปรับ
 
วัฏจักรคาร์โนต์
วัฏจักรคาร์โนต์วัฏจักรคาร์โนต์
วัฏจักรคาร์โนต์
 
แก๊ส (Gases)
แก๊ส (Gases)แก๊ส (Gases)
แก๊ส (Gases)
 
เคมี กสพท ปี58 พร้อมเฉลย
เคมี กสพท ปี58 พร้อมเฉลยเคมี กสพท ปี58 พร้อมเฉลย
เคมี กสพท ปี58 พร้อมเฉลย
 

More from Apinya Phuadsing

แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมี
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมีแบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมี
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมีApinya Phuadsing
 
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอนข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอนApinya Phuadsing
 
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอนข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอนApinya Phuadsing
 
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอนข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอนApinya Phuadsing
 
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอนข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอนApinya Phuadsing
 
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยาอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยาApinya Phuadsing
 
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยาอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยาApinya Phuadsing
 
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยาอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยาApinya Phuadsing
 
แนะนำอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
แนะนำอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยาแนะนำอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
แนะนำอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยาApinya Phuadsing
 
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอมเรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอมApinya Phuadsing
 
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าApinya Phuadsing
 
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2Apinya Phuadsing
 
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็กเรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็กApinya Phuadsing
 
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์Apinya Phuadsing
 
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์Apinya Phuadsing
 

More from Apinya Phuadsing (20)

แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมี
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมีแบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมี
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมี
 
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอนข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
 
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอนข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
 
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอนข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
 
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอนข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
 
Img2
Img2Img2
Img2
 
Img1
Img1Img1
Img1
 
Img
ImgImg
Img
 
Img 0001
Img 0001Img 0001
Img 0001
 
Img 0001
Img 0001Img 0001
Img 0001
 
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยาอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
 
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยาอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
 
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยาอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
 
แนะนำอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
แนะนำอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยาแนะนำอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
แนะนำอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
 
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอมเรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
 
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
 
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็กเรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
 
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
 
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
 

เรื่องที่10 ความร้อน

  • 1. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน 30 ฟสิกส บทที่ 10 ความรอน ตอนที่ 1 ความรอน พลังงานความรอนที่ใชเปลี่ยนอุณหภูมิ หาคาไดจาก υυυυQ = c m υυυυt หรือ υυυυQ = C υυυυt เมื่อ υQ = พลังงานความรอน (จูล) c = คาความจุความรอนจําเพาะ (จูล/กิโลกรัม.เคลวิน) υt = อุณหภูมิที่เปลี่ยนไป ( K หรือ oC ) m = มวล (กิโลกรัม) C = คาความจุความรอน (จูล / เคลวิน) 1. จงหาพลังงานความรอนที่ทําใหเหล็กมวล 200 กรัม ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส มี อุณหภูมิสูงขึ้นเปน 60 องศาเซลเซียส ( กําหนด คาความจุความรอนจําเพาะของเหล็กเทากับ 450 J /kg.K ) ( 3600 จูล ) วิธีทํา 2. ใหพลังงานความรอนแกตะกั่ว 252 จูล ถาตะกั่วมีมวล 1 กิโลกรัม จะมีอุณหภูมิสูงขึ้นเทาใด (ความจุความรอนจําเพาะของตะกั่ว = 126 จูล/กิโลกรัม.เคลวิน) (2 K(oC)) วิธีทํา 3. ใหพลังงานความรอนขนาด 3000 จูล กับเหล็กทอนหนึ่ง ปรากฏวาเหล็กมีอุณหภูมิสูงขึ้น จาก 30 องศาเซลเซียส เปน 80 องศาเซลเซียส จงหามวลของเหล็กกอนนี้ (กําหนด เหล็กมีคาความจุความรอนจําเพาะ 0.500 กิโลจูล/กิโลกรัม.เคลวิน) (0.12 kg) วิธีทํา
  • 2. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน 31 4. ยิงกระสุนปนทองแดง กระสุนกระทบเปาดวยความเร็ว 385 m/s กระสุนจะหยุดทันทีที่ชน เปาถา 3 ใน 4 ของพลังงานจลนเปลี่ยนเปนพลังงานความรอน จงหาวากระสุนปนจะมี อุณหภูมิเพิ่มเปนเทาใด ถาเดิมกระสุนมีอุณหภูมิ 27oC กําหนด คาความจุความรอนจําเพาะของทองแดง 0.385 kJ / kg.K (171.38oC) วิธีทํา 5. น้ําตก ตกจากหนาผาสูง 50 m ปรากฏวาพลังงานศักยเปลี่ยนเปนพลังงานความรอนเพียง 50 % ถาคาความจุความรอนจําเพาะของน้ําเทากับ 4.180 kJ/kg.k ถามวาน้ําจะมีอุณหภูมิ สูงขึ้นจากเดิมกี่องศาเซลเซียส ( 0.059 ) วิธีทํา พิจารณาการเปลี่ยนแปลงจากน้ําแข็งเปลี่ยนเปนน้ํา และจากน้ําเดือดกลายเปนไอตอ อุณหภูมิระหวางการเปลี่ยนแปลงเปนดังนี้ น้ําแข็ง น้ํา ไอน้ํา 100 0 อุณหภูมิ ( o ) เวลา
  • 3. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน 32 การเปลี่ยนแปลงจาก ของแข็ง ไปเปนของเหลว และจากของเหลวไปเปนไอ ทุกขั้นตอน จะเปนการเปลี่ยนแปลงแบบดูดความรอน ( ถาเปลี่ยนยอนกลับ จากไอเปนของเหลว หรือจากของเหลวเปนของแข็ง จะเปน การเปลี่ยนแปลงแบบคายความรอน ) พลังงานความรอนที่ดูดเขาไปในชวงเปลี่ยนสถานะจากของแข็งเปนของเหลว ( ชวง ในรูปภาพ ) จะใชไปเพื่อสลายแรงดึงดูดระหวางโมเลกุลของแข็ง ทําใหโมเลกุลของ แข็งถอยหางออกจากกัน แลวของแข็งจะเกิดการเปลี่ยนสถานะเปนของเหลว พลัง งานที่ใชเปลี่ยนสถานะชวงนี้ เรียก ความรอนแฝงสําหรับการหลอมเหลว พลังงานความรอนที่ดูดเขาไปในชวงเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเปนไอ ( ชวง ในรูป ) จะใชไปเพื่อสลายแรงดึงดูดระหวางโมเลกุลของเหลว ทําใหโมเลกุลของเหลวถอยหาง ออกจากกัน แลวของเหลวจะเกิดการเปลี่ยนสถานะเปนไอ พลังงานที่ใชเปลี่ยนสถานะ ชวงนี้ เรียก ความรอนแฝงสําหรับการกลายเปนไอ พลังงานความรอนที่ใชเปลี่ยนสถานะ หรือ ความรอนแฝง สามารถหาคาไดจาก υQ = m.L เมื่อ υQ = พลังงานความรอน (จูล) m = มวล (กิโลกรัม) L = คาความรอนแฝงจําเพาะ (จูล/กิโลกรัม) 6. น้ําแข็งมวล 5 kg อุณหภูมิ 0oC เปลี่ยนเปนน้ําที่ 0oC ตองใชพลังงานความรอนเทาใด กําหนด คาความรอนแฝงจําเพาะของการหลอมเหลวของน้ํา 333 kJ / kg (1665 kJ) วิธีทํา 7. ถาจะทําใหน้ํา 100oC มวล 5 kg เปลี่ยนเปนไอน้ําหมดที่ 100oC ตองใชความรอนเทาใด กําหนด คาความรอนแฝงจําเพาะการกลายเปนไอของน้ํา 2256 kJ / kg (11280 kJ) วิธีทํา
  • 4. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน 33 8. ใหพลังงานความรอนแกน้ําแข็ง (0oC) มวล 2 กิโลกรัม เปนปริมาณเทาไร เพื่อใหน้ําแข็ง กลายเปนน้ําและเหลือน้ําแข็ง 0.5 กิโลกรัม ใหความรอนแฝงจําเพาะของน้ําแข็ง 336 kJ/ kg 1. 504 kJ 2. 336 kJ 3. 168 kJ 4. 94 kJ (ขอ 1) วิธีทํา 9(En 44/2) จงหาปริมาณความรอนที่ทําใหน้ําแข็งมวล 100 กรัม อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส กลายเปนน้ํามวล 100 กรัม อุณหภูมิ 10 องศาเซลเซียส กําหนดใหความจุความรอนจําเพาะ ของน้ําเทากับ 4200 จูลตอกิโลกรัม เคลวิน และความรอนแฝงจําเพาะของการหลอมเหลว ของน้ําแข็งเทากับ 333 กิโลจูลตอกิโลกรัม 1. 33.7 kJ 2. 37.5 kJ 3. 75.3 kJ 4. 4233 kJ (ขอ 2) วิธีทํา 10. ตองการทําใหน้ําแข็ง 1 kg อุณหภูมิ –10o C เปลี่ยนเปนน้ํา 10oC ตองใชพลังงานความ รอนเทาใด กําหนด คาความจุความรอนจําเพาะของน้ําแข็ง 2.1 kJ/kg.k คาความรอนแฝงจําเพาะการหลอมเหลวของน้ํา 333 kJ/kg คาความจุความรอนจําเพาะของน้ํา 4.2 kJ/kg.k (396 kJ) วิธีทํา
  • 5. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน 34 11. นําเหล็กมวล 1 kg อุณหภูมิ 60oC ใสในน้ํา 1 kg อุณหภูมิ 0oC ในเวลาตอมา อุณหภูมิของน้ําและเหล็กเทากัน อยากทราบวาอุณหภูมินี้มีคาเทาใด ถาความจุความรอน จําเพาะของน้ําและเหล็กมีคา 4180 และ 500 J/kg.k ตามลําดับ (6.41oC) วิธีทํา 12. กอนอะลูมิเนียมมวล 200 กรัม อุณหภูมิ 300 องศาเซลเซียส อยูในภาชนะที่เปนฉนวน เมื่อเทน้ําแข็งอุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส มวล 70 กรัม ลงในภาชนะ จากนั้นปดภาชนะดวย ฝาฉนวน อุณหภูมิสุดทายภายในภาชนะเปนเทาใด ( กําหนด คาความจุความรอนจําเพาะของอลูมิเนียม = 0.9 KJ /kg.K คาความจุความรอนจําเพาะของน้ํา = 4.2 KJ /kg.K คาความรอนแฝงของการหลอมเหลวของน้ํา = 333 KJ / Kg ) ( 64.7o ) วิธีทํา
  • 6. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน 35 13. ลูกแซคเปนเครื่องดนตรีชนิดหนึ่งที่ใชเขยาเปนจังหวะ การเขยาลูกแซคจนจบเพลง อุณหภูมิภายในลูกแซคจะเปลี่ยนแปลงหรือไม อยางไร ( อุณหภูมิเพิ่มขึ้น ) วิธีทํา 14. แทงเหล็กมวล 5 กิโลกรัม และ 10 กิโลกรัม จะมีคาความรอนและคาความจุความรอน จําเพาะเทากันหรือตางกัน อยางไร ( เทากัน ) วิธีทํา 15. A กับ B เปนวัตถุชนิดเดียวกัน แต A มีมวลมากกวา B ถา A และ B อยูในที่เดียวกันขอใดถูก ก. A มีความรอนมากกวา B ข. A และ B มีความรอนเทากัน ค. A และ B มีอุณหภูมิเทากัน ง. ขอ ก. และ ค. ถูก (ขอ ง) วิธีทํา การนําความรอน คือ การสงผานความรอนโดยโมเลกุลของตัวกลางที่สงผานความรอนไม ไดเคลื่อนที่ไปพรอมกับความรอนที่สงผาน การพาความรอน คือ การสงผานความรอนโดยโมเลกุลของตัวกลางที่สงผานความรอน เคลื่อนที่ไปพรอมกับความรอนที่สงผาน การแผรังสีความรอน คือ การสงพลังงานความรอนโดยไมตองอาศัยตัวกลาง เชน การสง พลังงานความรอนขากดวงอาทิตยมาสูโลกของเรา เปนตน ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ ตอนที่ 2 สมบัติของแกส สมบัติของแกสจากการทดลอง กฏของบอยส กลาววา "เมื่ออุณหภูมิและมวลของแกสคงที่ ปริมาตรของแกสจะแปรผก ผันกับความดันของแกสนั้น" เขียนเปนสมการจะได P1V1 = P2V2 เมื่อ P1 = ความดันตอนแรก V1 = ปริมาตรตอนแรก P2 = ความดันตอนหลัง V2 = ปริมาตรตอนหลัง ควรระวัง สูตรนี้ใชไดเมื่ออุณหภูมิ และ มวลแกสคงที่
  • 7. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน 36 กฏของชาลล กลาววา "เมื่อความดัน และมวลของแกสคงที่ ปริมาตรของแกสใดๆ จะ แปรผันตรงกับอุณหภูมิเคลวิน" เขียนเปนสมการจะได V T V T 1 1 2 2 ν เมื่อ T1 = อุณหภูมิเคลวินตอนแรก V1 = ปริมาตรตอนแรก T2 = อุณหภูมิเคลวินตอนหลัง V2 = ปริมาตรตอนหลัง ควรระวัง สูตรนี้ใชไดเมื่อ ความดัน และ มวลแกสคงที่ กฏรวมของแกส เมื่อเรานํากฏของบอลย และ กฏของชาลล มารวมกัน จะไดกฏรวมของแกส คือ PV T = P V T 1 1 1 2 2 2 ควรระวัง สูตรนี้ใชไดเมื่อมวลของแกสที่มีคงที่เทานั้น หากมวลของแกสไมคงที่ ตองใชสมการ 1T1m 1V1P = 2T2m 2V2P เมื่อ P1 , P2 = ความดันตอนแรกและตอนหลัง (atm , N/m2 , Pascal ,.) V1 , V2 = ปริมาตรตอนแรก และตอนหลัง (m3 , Lit , …) T1 , T2 = อุณหภูมิตอนแรก และตอนหลัง (K) m1 , m2 = มวลตอนแรก และตอนหลัง (g , kg , …) หากมีความหนาแนนของแกสมาเกี่ยวของ ตองใชสมการ 1T1 1P ≥ = 2T2 2P ≥ เมื่อ ≥1 , ≥2 = ความหนาแนนตอนแรก และตอนหลัง (kg/m3 , g/cm3 ,.) 16(มช 42) อากาศปริมาตร 2 ลูกบาศกฟุต อุณหภูมิ 17oC เคลื่อนผานพื้นผิวที่มีอุณหภูมิ 77oC ถาความดันอากาศไมเปลี่ยนแปลงปริมาตรอากาศจะกลายเปนกี่ลูกบาศกฟุต (ขอ 3) 1. 0.4 2. 1.7 3. 2.4 4. 9.0 วิธีทํา
  • 8. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน 37 17. ความดันแกสในภาชนะปดอันหนึ่งเปน 8x105 N/m2 ที่อุณหภูมิ 27oC ถาอุณหภูมิเพิ่ม ขึ้นอีก 900oC ความดันในระบบจะเปนเทาใด (32x105 N/m2) วิธีทํา 18(มช 45) แกสชนิดหนึ่งมีปริมาตร 1x10–3 ลูกบาศกเมตรที่ 27oC ความดัน 1 บรรยากาศ ขยายตัวจนมีปริมาตรเปน 1.5x10–3 ลูกบาศกเมตร และความดันเปน 1.1 บรรยากาศ จงหาอุณหภูมิสุดทายของแกสนี้วาเปนกี่องศาเซลเซียส (ขอ 4) 1. 49.5 2. 495 3. 22.2 4. 222 วิธีทํา 19. ที่ 0oC ความดัน 1 atm อากาศ 1 ลิตร มีมวล 1.29 g และที่อุณหภูมิ 27oC ความดัน 2 atm อากาศมวล 2.73 g จะมีปริมาตรกี่ลิตร (1.16 ลิตร) วิธีทํา 20(En 32) ถาความหนาแนนของแกสที่อุณหภูมิ 27oC ความดัน 1 บรรยากาศ มีคาเทากับ 1.3 กิโลกรัม/ลูกบาศกเมตร จงคํานวณหาความหนาแนนของแกสนี้ที่อุณหภูมิ 127oC และ มีความดัน 2 บรรยากาศ (ขอ 3) 1. 0.55 kg/m3 2. 0.81 kg/m3 3. 1.95 kg/m3 4. 2.35 kg/m3 วิธีทํา
  • 9. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน 38 21. ฟองอากาศปริมาตร 20 cm3 อยูกนทะเลสาบลึก 40 m และมีอุณหภูมิ 2oC ถาฟองอากาศ ลอยขึ้นสูผิวน้ําซึ่งมีอุณหภูมิ 27oC จงหาปริมาตรของฟองอากาศซึ่งอยูที่ผิวน้ําพอดี (109 cm3) กําหนด ความหนาแนนของน้ํา = 1x103 kg/m3 และ ความดันบรรยากาศ = 1x105 N/m2 วิธีทํา สมการที่ใชคํานวณเกี่ยวกับการผสมแกส Pรวม . Vรวม = P1V1 + P2 V2 + … nรวม . tรวม = n1t1 + n2 t2 + … เมื่อ n = จํานวนโมลแกส และ t = อุณหภูมิ (oC) 22. ถัง A มีปริมาตร 40 cc บรรจุแกสความดัน 80 mm–Hg และ ถัง B มีปริมาตร 60 cc บรรจุ แกสความดัน 70 mm-Hg โดยที่ถังทั้งสองมีทอตอกันและมีลิ้นปดเปดอยู เมื่อเปดทอใหแกส ผสมกันแลวแกสจะมีความดันเทาใด (74 mm-Hg) วิธีทํา
  • 10. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน 39 23 (En 42/1) แกสฮีเลียมบรรจุในถังสองใบซึ่งเชื่อมตอกันผานวาลว ถังแรกมีความดัน 2 บรรยากาศ ปริมาตร 10 ลิตร ถังที่สองมีความดัน 3 บรรยากาศ ปริมาตร 15 ลิตร ถาเปดวาลวใหแกสรวมกัน โดยไมมีการถายเทความรอน จากนอกระบบความดันของแกส ผสมเปนกี่บรรยากาศ (2.60) วิธีทํา 24(มช 38) ผสมแกสฮีเลียม 2 โมล อุณหภูมิ 60oC กับแกสอารกอน 1 โมล อุณหภูมิ 30oC จงหาวาอุณหภูมิผสมเปนเทาใด (ขอ 3) 1. 40oC 2. 45oC 3. 50oC 4. 55oC วิธีทํา 25. เมื่อนําแกสฮีเลียม 5 mol ที่ 40oC และแกสนีออน 3 mol ที่ 20oC กับแกสอารกอน 4 mol ที่ 25oC มาผสมกัน จงหาอุณหภูมิของแกสผสม (30oC) วิธีทํา สมการสถานะ PV = n R T ถา R = คานิจของแกส = 0.0821 Lit atm / mol.K P = ความดันแกส (atm) V = ปริมาตรแกส (Lit) ถา R = คานิจของแกส = 8.31 N.m / mol.K P = ความดันแกส (N/m2) V = ปริมาตรแกส (m3)
  • 11. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน 40 n = m g = 236.02x10 N g = มวล (กรัม) m = มวลโมเลกุล N= จํานวนโมเลกุล 26. ภาชนะ 2 ลิตร บรรจุแกส CO2 มีความดัน 20.5 atm ที่อุณหภูมิ –23oC มีกี่โมล 1. 4.0 โมล 2. 3.0 โมล 3. 2.0 โมล 4. 1.0 โมล (ขอ 3) วิธีทํา 27. แกส (ก) 1 mol กับแกส (ข) 1 mol บรรจุในกลองเดียวกันซึ่งมีปริมาตร 1 m3 โดยไมทํา ปฏิกิริยากันที่ 27oC ความดันแกสในกลองเปนเทาใด (4986 N/m2) วิธีทํา 28. มีแกสอยู 4 โมล บรรจุในภาชนะ 8.31 ลิตร ถาแกสมีอุณหภูมิ 27oC จะมีความดันเทาไร 1. 1.0 x 106 N/m2 2. 1.1 x 106 N/m2 3. 1.2 x 106 N/m2 4. 1.4 x 106 N/m2 (ขอ 3) วิธีทํา 29. ถังบรรจุแกสออกซิเจน 560 ลิตร อุณหภูมิ 273 เคลวิน ความดัน 1 บรรยากาศ จงหามวล ของออกซิเจนในถังนี้ (800 กรัม) วิธีทํา 1 m3 = 1000 Lit 1 Lit = 1000 cm3 1 atm= 1.01 x 105 N/m2
  • 12. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน 41 30. แกส N2 100 cm3 ที่อุณหภูมิ 0oC ความดัน 2 atm มีกี่โมเลกุล (ขอ 3) 1. 6.02 x 1023 2. 1.25 x 1020 3. 5.37 x 1021 4. 4.20 x 1015 วิธีทํา 31. แกส N2 จํานวน 4.8 x 1024 โมเลกุล บรรจุในภาชนะ 67.2 ลิตร ที่ 0oC มีความดันเทาไร 1. 3.3 atm 2. 2.6 atm 3. 2.1 atm 4. 1.6 atm (ขอ 2) วิธีทํา 32(En 43/1) ถาอุณหภูมิภายในหองเพิ่มขึ้นจาก 27oC เปน 37oC และ ความดันในหองไมเปลี่ยน แปลงจะมีอากาศไหลออกจากหองกี่โมล หากเดิมมีอากาศอยูในหองจํานวน 2000 โมล 1. 65 2. 940 3. 1620 4. 1940 (ขอ 1) วิธีทํา
  • 13. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน 42 33. แกสออกซิเจนในถังที่มีปริมาตร 40 ลูกบาศกเดซิเมตร เดิมมีความดัน 20 บรรยากาศ และมีอุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส ตอมาแกสรั่วไปบางสวนจนมีความดัน 4.0 บรรยากาศ และมีอุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส จงหาวาแกสรั่วไปกี่กิโลกรัม ( กําหนด ออกซิเจน 1 โมลมีมวล 32 กรัม ) ( 0.827 กิโลกรัม) วิธีทํา ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ ตอนที่ 3 ทฤษฏีจลนของแกส เพื่อความสะดวกในการศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับแกส นักวิทยาศาสตรจึงไดสรางแบบ จําลองของแกสในอุดมคติขึ้น ซึ่งมีความดังนี้ 1) แกสประกอบดวยโมเลกุลจํานวนมาก ทุกโมเลกุลมีลักษณะเปนกอนกลมที่มีขนาด เทากัน มีความยืดหยุนสูง ดังนั้นโมเลกุลเหลานี้จะชนผนังและกระดอนแบบยืดหยุน 2) ถือวาปริมาตรรวมของโมเลกุลทุกตัวนอยมาก เมื่อเปรียบเทียบกับปริมาตรของกาซ ทั้งภาชนะ จึงสามารถตัดปริมาตรของโมเลกุลทิ้งไปได 3) ไมมีแรงใดๆ กระทําตอโมเลกุลไมวาจะเปนแรงผลักหรือแรงดูด หรือแมกระทั่งแรง โนมถวงโลกที่กระทําตอโมเลกุลดวย 4) โมเลกุลทุกโมเลกุลจะเคลื่อนที่เปนเสนตรงแบบสับสนไรทิศทาง และอาจเปลี่ยนแนว การเคลื่อนที่ไดหากไปชนใสผนังภาชนะหรือชนกับโมเลกุลแกสดวยกันเอง เรียกการ เคลื่อนที่แบบนี้วา การเคลื่อนที่แบบบราวนเนียน และนักวิทยาศาสตรยังสามารถหาความสัมพันธระหวางความดันกับพลังานจลนเฉลี่ยของ โมเลกุลแกสได ดังนี้ P V = 3 1 N m 2v หรือ P V = 3 2 N m kE 34. เหตุใดแกสจึงฟุงกระจายเต็มภาชนะที่บรรจุ และ สามารถบีบอัดใหมีปริมาตรนอยลงกวา เดิมไดมาก ( เพราะแรงดึงดูดระหวางโมเลกุลแกสมีนอย โมเลกุลแกสจึงฟุงกระจายไดเต็มภาชนะ บรรจุ และ โมเลกุลแกสจะอยูหางกัน ที่วางระหวางโมเลกุลมีมาก ดังนั้นเมื่อเราทําการบีบ อัดโมเลกุลจะเบียดชิดเขาใกลกันได จึงทําใหปริมาตรของแกสโดยรวมลดลงได )
  • 14. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน 43 35. เมื่ออัดแกสใหมีปริมาตรลดลง ความดันของแกสจะเพิ่มขึ้นเพราะเหตุใด ( เพราะเมื่อปริมาตรลดลง จะทําใหโมเลกุลพุงชนผนังภาชนะบรรจุแกสบอยขึ้น จึงทําให ความดันแกสที่กระทําตอภาชนะมีคาเพิ่มขึ้น ) ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ ตอนที่ 4 อัตราเร็วโมเลกุลแกส Vrms = 2 v Vrms = 4 26252321 ΙΙΙ = 4 362591 ΙΙΙ = 17.75 Vrms = 4.21 m/s Vrms = M 3RT Vrms = m TB3k Vrms = ″ 3P เมื่อ Vrms = อัตราเร็วรากที่สองของกําลังสองเฉลี่ย T = อุณหภูมิ (K) R = 8.31 N.m/mol.K kB = คานิจของโบสธมาล = 1.38 x 10–23 N.m/mol.K P = ความดันแกส (N/m2) ″ = ความหนาแนน (kg/m3) m = มวลแกส 1 โมเลกุล (kg) = มวลโมเลกุล x 1.66 x 10–27 kg M = มวลแกส 1 โมล (kg) = มวลโมเลกุล x 10–3 kg 36(En 39) สมมติวาสามารถทดลองวัดคาอัตราเร็วของโมเลกุล แตละตัวไดทั้งหมด 5 โมเลกุล ไดการกระจายอัตราเร็วโมเลกุลดังตาราง จงหาคารากที่สองของกําลังสองเฉลี่ยของอัตราเร็ว อัตราเร็วโมเลกุล (เมตรตอวินาที) 3 4 5 จํานวนโมเลกุล 2 2 1 1. 3.5 m/s 2. 3.9 m/s 3. 4.2 m/s 4. 4.5 m/s (ขอ 2) วิธีทํา
  • 15. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน 44 37. จงหาอัตราเร็วของโมเลกุลแกสไฮโดรเจน (H2) ที่อุณหภูมิ 27oC (1934 m/s) วิธีทํา 38. จงหา Vrms ของโมเลกุลของแกสออกซิเจน (O2) ที่มีอุณหภูมิ 300 เคลวิน (483 m/s) วิธีทํา 39. อากาศที่อุณหภูมิปกติ มีความหนาแนน 1.24 kg/m3 ที่ความดัน 1 atm จงหาวาโมเลกุล ของแกสจะมี Vrms เทาใด (1 atm = 1 x 105 N/m2) (491.87 m/s) วิธีทํา 40. อัตราเร็วเฉลี่ยของโมเลกุลไฮโดรเจนเทากับ 400 m/s ที่ 27oC ถาอุณหภูมิเปลี่ยนเปน 927oC อัตราเร็วจะเปนเทาใด (800 m/s) วิธีทํา
  • 16. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน 45 41. แกสที่ 927oC แกสมีคา Vrms เปน 800 m/s ถาตองการใหแกสมีคา Vrms เปนครึ่งหนึ่ง ของคาเดิม ตองทําใหมีอุณหภูมิเทาใด (27oC) วิธีทํา ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ ตอนที่ 5 พลังงานจลนโมเลกุลแกส kE = 2 3 kB T kE = 2 3 N PV เมื่อ kE = พลังงานจลนเฉลี่ยของโมเลกุลแกส (J) (มีคาเปนพลังงานจลนของแกส 1 โมเลกุล) kB = 1.38 x 10–23 N.m / mol.k T = อุณหภูมิ (K) P = ความดัน (N/m2) V = ปริมาตร (m3) N = จํานวนโมเลกุลแกส n คือ จํานวนโมลแกส R = 8.31 J / mol . K 42. พลังงานจลนเฉลี่ยของแกส 1 โมเลกุล ที่อุณหภูมิ 27oC มีคากี่จูล (ขอ ง) ก. 1.38 x 10–21 ข. 2.07 x 10–21 ค. 2.67 x 10–21 ง. 6.21 x 10–21 วิธีทํา Ekรวม = N kE U = N 2 3 kB T U = 2 3 PV U = 2 3 n R T
  • 17. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน 46 43. บรรจุแกสในถังที่มีปริมาตร 0.2 m3 ที่ความดัน 104 N/m2 ภายใตภาวะนี้ แกสนี้ 0.2 m3 มี 0.6x1022 โมเลกุล อยากทราบวาพลังงานจลนเฉลี่ยของแตละโมเลกุลของแกสมีคาเทาใด วิธีทํา (5x10–19 จูล) 44. พลังงานของแกส 1 โมล ( 6.02 x 1023 โมเลกุล ) ที่อุณหภูมิ 27oC มีคากี่จูล ก. 3.7 x 103 ข. 7.4 x 103 ค. 11.1 x 103 ง. 14.8 x 103 (ขอ ก) วิธีทํา 45. ณ.อุณหภูมิ 37oC แกสชนิดหนึ่ง 2 โมล จะมีพลังงานเทาใด (R = 8.3 J/mol.K) (7719 J) วิธีทํา 46. จงหาพลังงานจลนเฉลี่ยของโมเลกุลแกสที่ 30oC (6.27x10–21 จูล) วิธีทํา
  • 18. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน 47 47. จงหาพลังงานจลนของโมเลกุลแกสทั้งหมดซึ่งมีปริมาตร 2 ลิตร ความดัน 2.5 บรรยากาศ (กําหนด ความดัน 1 บรรยากาศ = 1.01 x 105 N/m2) (ขอ ง) ก. 1.7 x 102 จูล ข. 3.4 x 102 จูล ค. 3.8 x 102 จูล ง. 7.6 x 102 จูล วิธีทํา 48. ถาพลังงานจลนเฉลี่ยของแกสในภาชนะปดเทากับ 6.3x10–21 จูล และ จํานวนโมเลกุล ตอปริมาตรของแกสเทากับ 2.4x1025 โมเลกุลตอลูกบาศกเมตร จงหาความดันของแกสนี้ วิธีทํา ( 1.008x105 N /m2 ) 49. แกสชนิดหนึ่งมีอุณหภูมิ 300 K ถาจะใหแกสพลังงานจลนเฉลี่ยของโมเลกุลเพิ่มเปน 2 เทาของเดิมจะตองทําใหอุณหภูมิเปนเทาใด (600 K) วิธีทํา 50. ถาพลังงานจลนเฉลี่ยของแกสเพิ่มขึ้น 25% จากพลังงานจลน ณ อุณหภูมิ 31oC ขณะ นั้นแกสมีอุณหภูมิเปนเทาไร (107oC) วิธีทํา
  • 19. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน 48 51. แกสตางชนิดกัน ถามีอุณหภูมิเทากัน พลังงานจลนเฉลี่ยของโมเลกุลเทากันหรือไม (เทากัน) วิธีทํา 52. ถาความดันและปริมาตรของแกสเปลี่ยนไปโดยจํานวนโมเลกุลและอุณหภูมิคงตัว พลังงาน ภายในของระบบจะเปลี่ยนแปลงหรือไม อยางไร ( พลังงานภายในระบบจะแปรผันตรงกับผลคูณของความดันกับปริมาตร ) วิธีทํา ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ ตอนที่ 6 พลังงานภายในระบบ U = 2 3 NkB T เมื่อ U = พลังงานภายในระบบ (พลังงานจลนรวม) (J) U = 2 3 PV N = จํานวนโมเลกุล U = 2 3 n R T kB = คาคงที่ของโบสชมาล = 1.38 x 10–23 J / mol.K T = อุณหภูมิ (K) P = ความดัน (N/m2) V = ปริมาตร (m3) χχχχQ = χχχχU + χχχχW χW = งานเนื่องจากการขยายตัวของแกส χU = พลังงานภายในระบบที่เพิ่มขึ้น χW = PχV χU = 2 3 NkB χT χW = n R χT χU = 2 3 n R χT χU = 2 3 P2 V2 – 2 3 P1 V1 เมื่อ P คือ ความดันแกส (N/m2) χV คือ ปริมาตรที่เปลี่ยนแปลง χT คือ อุณหภูมิที่เปลี่ยนไป ( K หรือ oC ) n คือ จํานวนโมล R = 8.31 J / mol.K
  • 20. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน 49 53. จงหาพลังงานภายในระบบของแกสไฮโดรเจนเมื่อ ก. ปริมาณ 2 โมล ที่อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส (7479 จูล) ข. ปริมาตร 10 ลิตร ความดัน 2 x 105 พาสคัล (3x103) วิธีทํา 54. พลังงานภายในของแกสฮีเลียม 10 โมล จะเปลี่ยนไปเทาใด เมื่ออุณหภูมิของแกสฮีเลียม เปลี่ยนไป 20 องศาเซลเซียส (2493 จูล) วิธีทํา 55. แกสโมเลกุลอะตอมเดี่ยวชนิดหนึ่งมีมวล 60 กรัม เมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนไป 10 K พลังงาน ของแกสนี้จะเปลี่ยนไปเทาไร กําหนดใหมวลโมเลกุลของแกสนี้ = 15 (498.6 J) วิธีทํา 56. แกสปริมาตร 2 ลูกบาศกเมตร อุณหภูมิ 0oC ความดัน 105 N/m2 มีปริมาตรเพิ่มขึ้นเปน 12 ลูกบาศกเมตร มีความดันเดิม การขยายตัวนี้แกสทํางานไดกี่จูล (ขอ ก) ก. 1.0 x 106 ข. 1.2 x 106 ค. 2 x 106 ง. 4.0 x 106 วิธีทํา
  • 21. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน 50 57. แกสในระบบขยายตัวดวยความดันคงที่ 2x105 N/m2 ในกระบวนการนี้วัดงานได 104 จูล โดยพลังงานภายในระบบไมเปลี่ยนแปลงปริมาตรของระบบเปลี่ยนแปลงกี่ลูกบาศกเมตร ก. 0.05 ข. 0.02 ค. 0.2 ง. 0.3 (ขอ ก) วิธีทํา สมการ ββββQ = ββββU + ββββW การใชสมการนี้ตองคํานึงถึงคาบวก ลบ ของตัวแปรทุกตัวดังนี้ สําหรับ ββββQ หากความรอนเขาสูระบบ (ดูดความรอน) χQ มีคา + หากความรอนออกจากระบบ (คายความรอน) χQ มีคา – หากความรอนไมเขาหรือออก ระบบ χQ มีคา 0 สําหรับ ββββU หากพลังงานภายในเพิ่ม (อุณหภูมิเพิ่ม) χU มีคา + หากพลังงานภายในลด (อุณหภูมิลด) χU มีคา – หากพลังงานภายในไมเปลี่ยน (อุณหภูมิคงที่) χU มีคา 0 สําหรับ ββββW หากปริมาตรแกสเพิ่ม χW มีคา + หากปริมาตรแกสลด χW มีคา – หากปริมาตรแกสคงที่ χW มีคา 0 58. แกสในกระบอกสูบรับความรอนจากภายนอก 142 จูล ขณะที่แกสขยายตัวมันทํางานบน ระบบภายนอก 160 จูล ถามวาพลังงานภายในของแกสเพิ่มขึ้นหรือลดลงเทาใด และ อุณหภูมิของแกสเพิ่มขึ้นหรือลดลง ( ลดลง 18 จูล ) วิธีทํา 59. แกสในกระบอกสูบคายความรอน 240 จูล ขณะที่พลังงานภายในเพิ่มขึ้น 50 จูล ถามวา แกสหดตัวหรือขยายตัว ( หดตัว ) วิธีทํา
  • 22. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน 51 60. อัดแกสในกระบอกสูบดวยความดันคงที่ 1x105 N/m2 ทําใหปริมาตรเปลี่ยนลดลง 0.004 m3 ถาพลังงานภายในระบบของแกสในกระบอกคงที่ จงหาพลังงานความรอนที่เกิดขึ้น (400 J) วิธีทํา 61. เมื่อเพิ่มความรอนใหแกระบบแกส 8400 จูล พรอมกับทํางานใหระบบ 4000 จูล พลังงาน ภายในระบบเปลี่ยนไปเทาใด (12400 จูล) วิธีทํา 62. ในการอัดแกส 2 โมล ในกระบอกสูบตองทํางานใหระบบ 400 จูล ถาระบบไมถายเท ความรอนเลย อยากทราบวาอุณหภูมิของแกสจะสูงขึ้นเทาใด (16.04 K) วิธีทํา 63. เมื่อใหความรอน 64.9 จูล แกแกส 0.5 โมล ที่บรรจุในกระบอกสูบ แกสทํางานได 40 จูล ดันลูกสูบใหเคลื่อนที่ อุณหภูมิของแกสเพิ่มขึ้นกี่เคลวิน (R = 8.3 J/mol.k) (4 K) วิธีทํา
  • 23. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน 52 64 ระบบหนึ่ง เมื่อไดรับความรอน 8000 จูล จะทําใหพลังงานภายในระบบเพิ่มขึ้น 6000 จูล อยากทราบวาในการนี้ตองทํางานใหแกระบบหรือระบบทํางานเทาไร (2000 จูล) วิธีทํา 65. ใหพลังงานความรอนแกแกส 3 2 โมล จํานวน 830 จูล แกสมีการเปลี่ยนแปลงแบบ ปริมาตรคงตัว จงหาอุณหภูมิของแกสที่เพิ่มขึ้น (R = 8.3 J / mol.K) (ขอ 2) 1. 10 K 2. 100 K 3. 150 K 4. 200 K วิธีทํา 66. แกสในกระบอกสูบมีความดัน 1 kPa และปริมาตร 2 m3 ถาแกสนี้ไดรับความรอน 10 kJ จนมีความดัน 2 kPa และปริมาตร 4 m3 จงหางานที่กระทําโดยแกสในกระบวนการนี้ 1. 1 kJ 2. 4 kJ 3. 7 kJ 4. 8 kJ (ขอ 1) วิธีทํา 67. แกสฮีเลียมจํานวน 1 โมล บรรจุอยูในภาชนะปดที่แข็งแรงมาก อยากทราบวาเมื่อให ความรอนเขาไป 600 จูล ความดันแกสในภาชนะจะเพิ่มขึ้นจากเดิมเทาใด ถาถังมี ปริมาตร 0.5 ลูกบาศกเมตร (ขอ 2) 1. 600 N/m2 2. 800 N/m2 3. 1000 N/m2 4. 1200 N/m2 วิธีทํา ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
  • 24. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน 53 แบบฝกหัด ฟสิกส บทที่ 10 ความรอน ความรอน 1. ลูกปนทองแดง อุณหภูมิ 10 องศาเซลเซียส ถูกยิงออกไปดวยความเร็ว 300 เมตร/วินาที กระทบเปา แลวหยุดนิ่งในเปา ลูกปนจะมีอุณหภูมิเปนเทาใด (ความจุความรอนจําเพาะของ ทองแดง 385 J/kg. K) (กําหนดพลังงานจลนทั้งหมดเปลี่ยนเปนความรอน) 2. น้ําตกจากหนาผาสูง 200 เมตร ถาในการเปลี่ยนรูปของพลังงานเปลี่ยนเปนพลังงานความ รอนทั้งหมด ถาน้ําตกถึงพื้นดานลาง จะมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้นเทาไร (ความจุความรอนจําเพาะ ของน้ํา 4.2 kJ.kg.K ) 3. ในการทดลองการเปลี่ยนรูปพลังงานกลเปนพลังงานความรอน โดยใชกระบอกยาว 0.4 เมตร บรรจุลูกกลมโลหะมีความจุความรอนจําเพาะ 500 จูล / กิโลกรัม.เคลวิน มีมวล 100 กรัม ทําการทดลองพลิกกลับกระบอกขึ้นลงใหลูกกลมหลนในกระบอก 200 ครั้ง จงหาวา อุณหภูมิของลูกกลมโลหะเพิ่มขึ้นมากที่สุดเทาไร 4. ผลักกอนเหล็กมวล 15 กิโลกรัม ใหเคลื่อนที่ไปบนพื้นฝดดวยความเร็วคงที่เปนระยะทาง 80 เมตร พบวาอุณหภูมิของเหล็กทั้งกอนเปลี่ยน 0.24 องศาเซลเซียส ถาสมมติวางานของ แรงเสียดทานทั้งหมดกลายเปนความรอน และไมมีความรอนสูญหายไปจากระบบ สัมประสิทธิ์ของความเสียดทานของพื้นและกอนเหล็กมีคาเทาใด กําหนด ความจุความรอนจําเพาะของเหล็ก = 0.5 kJ/kg – K 1. 0.10 2. 0.15 3. 0.20 4. 0.25 5. ลากวัตถุมวล 10 กิโลกรัม อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ที่วางบนพื้นดวยแรงคงที่ 40 นิวตัน เปนระยะทาง 25 เมตร ปรากฏวาวัตถุมีความเร็ว 10 เมตร/วินาที ถาพลังงานที่สูญเสียไป เปลี่ยนเปนพลังงานความรอนทั้งหมด ( c ของวัตถุ 200 J/kg.K) จงหา ก) พลังงานความรอนที่เกิด ข) อุณหภูมิสุดทายของวัตถุ 6. ถานหิน 1 กรัม เมื่อเผาไหมหมดจะคายพลังงานความรอนเทากับ 3.34 x 104 จูล ถาเครื่อง จักรหนึ่งใชถานหินเปนเชื้อเพลิงและเครื่องจักรนี้ไดถูกใชในการยกของมวล 50 กิโลกรัม ขึ้นไปจากพื้นสูง 50 เมตร จะตองใชถานหินเผากี่กรัม ถาหากพลังงานความรอนไดสูญเสีย ออกจากเตาเผารอยละ 95 1. 0.71 2. 0.75 3. 0.79 4. 14.97
  • 25. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน 54 7. น้ําแข็งมวล 20 กรัม อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส ละลายกลายเปนน้ําหมดที่ 0 องศา เซลเซียสจะตองใชความรอนเทาไร (L น้ําแข็ง = 333 x 103 J/kg) 8. กอนน้ําแข็งมวล 1 กิโลกรัม มีอุณหภูมิศูนยองศาเซลเซียส ตกลงไปในทะเลสาปที่น้ํามี อุณหภูมิศูนยองศาเซลเซียสเชนเดียวกัน ปรากฏวาน้ําแข็งละลายไป 0.01 กิโลกรัม น้ําแข็ง ตกลงมาจากระดับความสูงเทาใด (ความรอนแฝงจําเพาะของการหลอมเหลวของน้ํา = 300 x 103 J/kg ) 1. 10 เมตร 2. 30 เมตร 3. 300 เมตร 4. 1000 เมตร 9. ใหพลังงานความรอนแกน้ําแข็ง (0o C) มวล 2 กิโลกรัม เปนปริมาณเทาไรเพื่อใหน้ําแข็ง กลายเปนน้ํา และเหลือน้ําแข็ง 0.5 กิโลกรัม กําหนดใหความรอนแฝงจําเพาะของน้ําแข็ง 336 kJ/kg 1. 504 kJ 2. 336 kJ 3. 168 kJ 4. 94 kJ 10. กอนน้ําแข็งมวล 5 กิโลกรัม ไถลลงจากที่สูง 5 เมตร แลวไถลตอไปบนพื้นระดับจนหยุด อยากทราบวาน้ําแข็งจะละลายไปเทาไร ถาพื้นมีอุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส (กําหนด L น้ําแข็ง เทากับ 333 kJ/kg ) 11. ถาตองการใหน้ําแข็งมวล 1 กิโลกรัม อุณหภูมิ –10 องศาเซลเซียส กลายเปนน้ําที่อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส ทั้งหมด จงหาวาตองใชพลังงานความรอนเทาไร กําหนด Cน้ํา = 4.18 กิโลจูล / กก.เคลวิน Cน้ําแข็ง = 2.10 กิโลจูล / กก.เคลวิน Lน้ําแข็ง = 333 กิโลจูล / กก. 1. 231 กิโลจูล 2. 649 กิโลจูล 3. 772 กิโลจูล 4. 793 กิโลจูล 12. นําน้ําแข็ง 60 กรัม ที่ 0o C ใสเขาไปในคาลอริมิเตอร (ที่ถือวาไมมีคาความรอนจําเพาะ) ซึ่งบรรจุน้ํา 400 กรัม อุณหภูมิ 70o C อยู ภายหลังจากกวนจนเกิดสมดุลทางความรอน อุณหภูมิสุดทายจะเปนเทาใด 1. 0o C เพราะน้ําแข็งละลายไมหมด 2. ประมาณ 5o C 3. ใกลเคียงกับ 50o C 4. ใกลๆ กับจุดเดือด (100o C)
  • 26. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน 55 13. แกสในกระบอกสูบอักลูกสูบใหมีปริมาตรลดลงจาก 10 cc เปน 5 cc ความดันเดิม 1 atm จงหาความดันของแกสในกระบอกสูบหลังอัดแลว เมื่อกําหนดใหอุณหภูมิของแกสคงตัว? 1. 4.0 atm 2. 2.0 atm 3. 1.5 atm 4. 1.0 atm 14. แกสจํานวนหนึ่งปริมาณ 0.5 ลูกบาศกเมตร ที่ความดัน 105 นิวตัน/ตารางเมตร อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส ถาจะทําใหแกสนี้มีปริมาตร 1 ลูกบาศกเมตร โดยความดันไมเปลี่ยน แปลง อุณหภูมิสุดทายเปนเทาไร 15. Idealgas จํานวนหนึ่งอุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส ความดัน 1 บรรยากาศ ถาความดันลดลง เปน 0.6 บรรยากาศ ปริมาตรเพิ่มเปน 2 เทา อุณหภูมิสุดทายของแกสจะเปนเทาไร 16. แกสชนิดหนึ่งถูกบังคับใหมีความดันคงที่ และอุณหภูมิของแกสถูกทําใหเพิ่มขึ้นจาก 27o C ไปเปน 127o C ปริมาตรของแกสจะเปลี่ยนไปเปนอัตราสวนเทาใดของปริมาตรเดิม 1. 4/3 2. 3 /4 3. 127/27 4. ไมเปลี่ยน 17. แกสชนิดหนึ่งมีปริมาตรและอุณหภูมิสัมบูรณเพิ่มเปน 1.5 เทา และ 2 เทา ตามลําดับ จงหาวาความดันของแกสนี้เปนกี่เทาของความดันเดิม 18. แกสในถังใบหนึ่ง เมื่อทําใหอุณหภูมิลดลงจาก 27 องศาเซลเซียส –6 องศาเซลเซียส ความ ดันของแกส จะเพิ่มหรือลดลงจากเดิมกี่เปอรเซ็นต 19. ในการทดลองเพื่อหาความสัมพันธระหวางความดันและปริมาตรของแกสชนิดหนึ่ง พบวา ถาเราเพิ่มความดันขึ้นเปน 3 เทาของความดันเริ่มตนปริมาตรของแกสในระบบจะลดลง เปนครึ่งหนึ่ง จงหาวาอุณหภูมิของแกสควรจะเพิ่มขึ้นกี่เปอรเซ็นต 1. 0% 2. 50% 3. 75% 4. 150% 20. ที่ S.T.P. อากาศ 1 ลิตร มีมวล 1.293 กรัม จงหาความดันของอากาศมวล 12.93 กรัม ปริมาตร 10 ลิตร ที่อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส 21. แกสจํานวนหนึ่งบรรจุในถังที่มีอุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส แกสนี้มีมวล 10 กิโลกรัม และมีความดัน 2 บรรยากาศ ถาแกสรั่วออกไปจํานวนหนึ่ง ทําใหอุณหภูมิลดลงเหลือ 27 องศาเซลเซียส และมีความดัน 1 บรรยากาศ แกสรั่วออกไปกี่กิโลกรัม
  • 27. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน 56 22. ความหนาแนนของอากาศที่ 27 องศาเซลเซียส ความดัน 760 มิลลิเมตร ของปรอทเปน 2.5 กรัม / ลิตร ถา ณ อุณหภูมิเดียวกัน ความดันเปน 860 มิลลิเมตร ของปรอท ความ หนาแนนของอากาศเปนเทาไร 23. หองประชุมมีอุณหภูมิ 32o C เมื่อเปดเครื่องปรับอากาศ ทําใหอุณหภูมิของหองเปน 26o C จงหาอัตราสวนความหนาแนนของอากาศที่อุณหภูมิ 26o C ตอความหนาแนนของอากาศ ที่อุณหภูมิ 32o C 1. 32 26 2. 26 32 3. 305 299 4. 299 305 24. ถาความดันบรรยากาศเทากับความดันของน้ําลึก 10 เมตร ถาฟองอากาศใตผิวน้ําลึก 50 เมตร มีปริมาตร 1 ลูกบาศกมิลลิเมตร ลอยขึ้นมาอยูที่ตําแหนงต่ํากวาระดับผิวน้ํา 10 เมตร จะมีปริมาตรเทาใด 1. 4 mm3 2. 3 mm3 3. 2 mm3 4. 1 mm3 25. ถัง A มีปริมาตร 5 ลิตร บรรจุแกสความดัน 2 บรรยากาศ ถัง B มีปริมาตร 10 ลิตร บรรจุแกสความดัน 3 บรรยากาศ นําทอเล็กๆ ตอระหวาง ถัง A และ B ความดันของ แกสในถังทั้งสองเปนเทาใด เมื่ออุณหภูมิไมเปลี่ยนแปลง 26. Idel gas ที่ความดัน 1 บรรยากาศ อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส ปริมาตร 20 ลิตร จะมี ปริมาณแกสกี่โมล (R = 8.31 J/mol.K , 1 atm = 1.01 x 105 N/m2 ) 27. แกส 4 โมล บรรจุในภาชนะ 8.31 ลิตร ถาแกสมีอุณหภูมิ 27o C จะมีความดันเทาไร 1. 1.0 x 106 N/m2 2. 1.1 x 106 N/m2 3. 1.2 x 106 N/m2 4. 1.4 x 106 N/m2 28. แกสไฮโดรเจน 10 ลิตร ความดัน 1 บรรยากาศ อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส จะมีมวล ของ แกสเทาใด ( H = 1 ) 29. ภาชนะปริมาตร 2 x 10–2 ลูกบาศกเมตร บรรจุแกส CO2 20 กรัม อุณหภูมิ 57 องศา เซลเซียส จงหาความดันของแกส CO2 นี้ ( C = 12 , O = 16) 30. อากาศที่ความดัน 105 นิวตัน/ตารางเมตร อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส จะมีกี่โมเลกุลใน 1 ลูกบาศกเมตร ( kB = 1.38 10–23 J/K )
  • 28. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน 57 31. ภาชนะบรรจุแกสในอุดมคติ เดิมบรรจุแกสไว n โมล มีความดัน 4 บรรยากาศ ถาตองการ ใหความดันลดลงเหลือ 3 บรรยากาศ จะตองปลอยแกสออกมากี่โมล โดยอุณหภูมิคงตัว 1. 4 n 2. 3 n 3. 3 2n 4. 4 3n 32. แกสในถังใบหนึ่งมีอุณหภูมิคงตัวเมื่อใชแกสไปจนความดันลดลงครึ่งหนึ่งของความดันเดิม จํานวนโมเลกุลของแกสที่ออกจากถังมีคาเปนกี่เทาของเดิม 33. หลอดแกวทดลองบรรจุแกสปริมาตร 50 ลูกบาศกเซนติเมตร อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส ความดัน 1 บรรยากาศ ดานบนมีจุกไมกอกแตไมสนิทแกสพอรั่วออกมาได จุมหลอดแกว นี้ลงไปในน้ําอุณหภูมิ 87 องศาเซลเซียส ทิ้งไวนานพอสมควร จงหาวามีแกสรั่วไปกี่โมล 34. มีแกสอยูในภาชนะ ถาตองการรูจํานวนโมลของแกส จะตองทราบปริมาณใดบาง 1. ความดัน , ปริมาตร , อุณหภูมิ 2. ความดัน , อุณหภูมิ 3. ความดัน , ปริมาตร 4. ปริมาตร , อุณหภูมิ 35. ภาชนะบรรจุแกส ความดัน P มีอุณหภูมิ T มีปริมาณ N โมเลกุล จงหาปริมาตรแกส 1. P TBNk 2. P nRT 3. P TB2Nk 4. 2P nRT 36. สมมติวาในการทดลองวัดอัตราเร็วของโมเลกุลแตละตัวไดทั้งหมด 6 โมเลกุล ไดการ กระจายอัตราเร็วโมเลกุลดังตาราง จงหาคารากที่สองของกําลังสองเฉลี่ยของอัตราเร็ว อัตราเร็วโมเลกุล (เมตร/วินาที) 10 20 30 จํานวนโมเลกุล 1 3 2 37. จงหา vrms ของแกส H2 ที่ 0 องศาเซลเซียส (H = 1) 38. โมเลกุลของแกสออกซิเจนที่ 27 องศาเซลเซียส จะมีคาเฉลี่ยกําลังสองของอัตราเร็วเทาใด (จูล / กิโลกรัม) ถามวลอะตอมของออกซิเจนเทากับ 15 1. 4.2 x 10–27 2. 250 3. 490 4. 2.5 x 105 39. ออกซิเจนมีมวลโมเลกุลเปน 16 เทาของไฮโดรเจน ถามวลโมเลกุลไฮโดรเจนเทากับ 2 และแกสไฮโดรเจนมีอุณหภูมิเปน 4 เทาของแกสออกซิเจนอัตราเร็วรากที่สองของกําลัง สองเฉลี่ยของแกสไอโดรเจนตอแกสออกซิเจนคือ 1. 2 : 1 2. 4 : 1 3. 8 : 1 4. 16 : 1
  • 29. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน 58 40. ที่อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส แกสชนิดหนึ่งมีอัตราเร็วเฉลี่ย 300 เมตร/วินาที ถาอุณหภูมิ เปลี่ยนเปน 927 องศาเซลเซียส อยากทราบวา แกสนี้จะมีอัตราเร็วเฉลี่ยโมเลกุลเปนเทาไร 41. ที่อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส แกสไฮโดรเจน มีอัตราเฉลี่ย 2000 เมตร/วินาที อยากทราบ วา ที่อุณหภูมิ 47 องศาเซลเซียส แกสออกซิเจน จะมีอัตราเร็วเฉลี่ยเทาใด (H = 1 , O = 16) 42. ถาความดันของแก็สในถังใบหนึ่งเพิ่มขึ้น 21 เปอรเซ็นต อยากทราบวา อัตราเร็วเฉลี่ยของ แกสจะเพิ่มหรือลดลงกี่เปอรเซ็นต 43. แกสชนิดหนึ่งบรรจุภายในภาชนะปดที่มีความดัน 1 บรรยากาศ อุณหภูมิ 15o C มีความ หนาแนน 1.225 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร เมื่ออัดแกสนี้ใหมีปริมาตรนอยลงและมีความดัน 3 บรรยากาศ อุณหภูมิ 100o C จงหาอัตราเร็วรากที่สองของกําลังสองเฉลี่ยของโมเลกุล ของแกสนั้นในหนวย เมตรตอวินาที (1 บรรยากาศ = 1.01 x 105 N/m2 ) 1. 4.9 x 102 2. 5.4 x 102 3. 5.7 x 102 4. 8.6 x 102 44. ถาอัตราสวนของอัตราเร็วรากที่สองของกําลังสองเฉลี่ย (Vrms ) ของแกสออกซิเจนตอ แกสไนโตรเจนเปน 3 ตอ 2 และแกสออกซิเจนมีความดันเปน 2 เทาของแกสไนโตรเจน อัตราสวนของความหนาแนนของแกสออกซิเจนตอกาซไนโตรเจน 1. 2/9 2. 8/9 3. 4/3 4. 3 / 4 45. กระบอกสูบแกสชนิดหนึ่งบรรจุจํานวน n โมล เมื่อใหความรอนจํานวนหนึ่งแกกระบอก สูบ พบวา Vrms ของแกสเพิ่มขึ้นเปน 2 เทา และปริมาตรเพิ่มขึ้นเปน 3 เทา ความดัน ของแกสจะเปลี่ยนเปนกี่เทาของความดันเดิม 1. 3/2 2. 4 /3 3. 3/2 3. 3/4 46. บรรจุแกสในภาชนะปดจํานวนหนึ่ง อัตราเร็วรากที่สองของกําลังสองเฉลี่ยของแกสเปน 0.5 เมตร/วินาที ถาอุณหภูมิสัมบูรณของแกสเพิ่มขึ้นเปน 4 เทาของเดิม อัตราเร็วราก ที่สองของกําลังเฉลี่ยของแกสเปนเทาไร 1. 1 m/s 2. 2 m/s 3. 4 m/s 4. 4 2 m/s 47. แกสไฮโดรเจนบรรจุภาชนะมีอุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส ถาแกสไฮโดรเจน 1 โมเลกุล มีมวล 3.32 x 10–27 กิโลกรัม เมื่อโมเลกุลของแกสไฮโดรเจนชนฝาผนังในแนวตั้งฉาก จะมีโมเมนตัมเปลี่ยนไปเทาใด
  • 30. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน 59 48. แกส (อะตอมเดี่ยว) นีออน อารกอน และคริปตอน มีน้ําหนักโมเลกุลเปน 10, 18 และ 36 ตามลําดับที่อุณหภูมิ 300 องศาเคลวิน แกสชนิดไหนจะมีอัตราเร็วรากที่สองของกําลังสอง เฉลี่ยสูงที่สุด 1. นีออน 2. อารกอน 3. คริปตอน 4. ไมมี เพราะเทากันหมด 49. Ideal gas ณ อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส จะมีพลังงานจลนเฉลี่ยเทาใด (kB = 1.38 x 10–23 J/K ) 50. ที่ความดัน 2 บรรยากาศ แกสชนิดหนึ่งมีความหนาแนนของโมเลกุล 4 x 1025 โมเลกุล/ ลูกบาศกเมตร อยากทราบวาแกส 0.2 ลูกบาศกเมตร จะมีพลังงานจลนเฉลี่ยเทาใด (1 atm = 1.01 x 105 N/m2 ) 51. ณ อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส แกสชนิดหนึ่ง 2 โมล จะมีพลังงานเทาใด (R = 8.3 J/mol.K) 52. ถาความดันของอากาศในหองปดหองหนึ่งเปน a N/m2 พลังงานจลนของอากาศตอหนึ่ง หนวยปริมาตรเปนเทาไร 1. 3 2a J/m2 2. 2 3a J/m2 3. 3 2a J/m3 4. 2 3a J/m3 53. ที่ความดัน 4 x 105 นิวตัน/ตารางเมตร แกสจะมีพลังงานกี่จูลตอลูกบาศกเมตร 54. เมื่ออุณหภูมิของแกสลดลงจาก 27 องศาเซลเซียสเปน 9 องศาเซลเซียสอยากทราบวา พลังงานจลนเฉลี่ยของโมเลกุลของแกสจะเพิ่มหรือลดลงกี่เปอรเซนต 55. เมื่อความดันเฉลี่ยของแกสภายในถังใบหนึ่ง เพิ่ม 20 เปอรเซ็นต อยากทราบวา พลังงาน จลนเฉลี่ยของแกสภายในถังนี้จะเปลี่ยนแปลงอยางไร 56. พลังงานภายในของแกสฮีเลียม 10 โมล จะเปลี่ยนไปเทาใด เมื่ออุณหภูมิของแกสฮีเลียม เปลี่ยนไป 20 องศาเซลเซียส 57. แกสโมเลกุลอะตอมเดี่ยวชนิดหนึ่งมีมวล 60 กรัม เมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนไป 10 K พลังงาน ของแกสนี้จะเปลี่ยนไปเทาไร กําหนดใหมวลโมเลกุลของแกสนี้ = 15 58. แกสจํานวนหนึ่งมีจํานวนโมเลกุล 1025 โมเลกุล ถาตองการใหแกสจํานวนนี้มีอุณหภูมิ เพิ่มขึ้น 1 องศาเซลเซียส ตองใหความรอนแกแกสนี้เทาไร เมื่อปริมาตรของแกสคงที่
  • 31. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน 60 59. ระบบหนึ่ง เมื่อไดรับความรอน 8,000 จูล จะทําใหพลังงานภายในระบบเพิ่มขึ้น 6,000 จูล อยากทราบวาในการนี้ตองทํางานใหแกระบบหรือระบบทํางานเทาไร 60. ในการอัดแกสฮีเลียมจํานวน 0.2 กิโลโมล จากปริมาตร 0.4 ลูกบาศกเมตร ใหเหลือ 0.2 ลูกบาศกเมตร ดวยความดันคงที่ 2 x 105 พาสคัล ถาระบบหุมดวยฉนวนที่หนามาก จงหา พลังงานภายในระบบของแกสเปลี่ยนไปอยางไร 61. ในการอัดแกส 2 โมล ในกระบอกสูบตองทํางานใหระบบ 400 จูล ถาระบบไมถายเท ความรอนเลย อยากทราบวา อุณหภูมิของแกสจะสูงขึ้นเทาใด 62. เมื่อระบบขยายตัวอยางชาๆ โดยความดันและอุณหภูมิคงที่ เมื่อวัดความดันได 5 x 105 พาสคัลและปริมาตรของระบบเพิ่มจาก 5 ลิตร เปน 10 ลิตร จงหาพลังงานความรอน ที่ใหแกระบบ เฉลยแบบฝกหัดฟสิกส บทที่ 10 เรื่อง ความรอน 1. (126.88o C) 2. (0.48o C) 3. (1.6o C) 4. ขอ 2 5. ก) 500 J , ข) 25.25o C 6. ขอ 4 7. (6,660 จูล) 8. ขอ 3 9. ขอ 1 10. (0.75 กรัม) 11. ขอ 3 12. ขอ 3 13. ขอ 1 14. (546 k) 15. (87o C) 16. ขอ 1 17. ( 3 4 เทา ) 18. ลดลง 11% 19. ขอ 2 20. (1.1 atm ) 21. (4.95 kg) 22. (2.83 g/) 23. ขอ 4 24. ขอ 2 25. (2.67 atm) 26. (0.81) 27. ขอ 3 28. (0.81 กรัม) 29. (6.23 x 104 N/m2 ) 30. (2.34 x 1025 ) 31. ขอ 1 32. (0.5) 33. (3.38 x 10–4 )
  • 32. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 10 ความรอน 61 34. ตอบขอ 1 วิธีทํา จากสูตร PV = nRT จะได n = RT PV นั่นคือตองทราบคา ความดัน (P) , ปริมาตร (V) และอุณหภูมิ (T) จึงจะหาคาจํานวน โมล (n) ได สวน R นั้นเปนคาคงที่ 35. ตอบขอ 1 วิธีทํา จากสูตร PV = NkB T จะได V = P TBNk 36. (22.73 sw ) 37. (1844.7 sw ) 38. ขอ 4 39. ขอ 3 40. (600 sm ) 41. (516.4 sm ) 42. เพิ่มขึ้น 10% 43. ขอ 3 44. ขอ 2 45. ขอ 2 46. ขอ 1 47. (1.28 x 10–23 N.S) 48. ขอ 1 49. (6.21 x 10–21 ) 50. (7.58 x 10–21 J ) 51. (7719 J) 52. ขอ 4 53. (6 x 105 ) 54. ลดลง 6% 55. เพิ่มขึ้น 20% 56. (2493 J) 57. (498.6 J) 58. (207 จูล) 59. ระบบทํางาน 2000 จูล 60. (4 x 10–4 J) 61. (16.04 k) 62. (2500 )