SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
ปฏิกิริยานิวเคลียร์           (Nuclear Reaction) คือ กระบวนการที่นิวเคลียสเกิดการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบ
ซึ่งเกิดจากการยิงด้วยนิวคลีออน หรือกลุ่มนิวคลีออน หรือรังสีแกมมา แล้วทำาให้มีนิวคลีออนเพิ่มเข้าไปในนิวเคลียส
หรือออกไปจากนิวเคลียสหรือเกิดการเปลี่ยนแปลงจัดตัวใหม่ภายในนิวเคลียส สามารถเขียนสมการของปฏิกิริยาได้
ดังนี้


                                                                      หรือ

        โดยที่ X เป็นนิวเคลียสที่เป็นเป้า , a คืออนุภาคที่วิ่งเข้าชนเป้า , b คืออนุภาคที่เกิดขึ้นใหม่หลังจากการชน
และ Y คือนิวเคลียสของธาตุใหม่หลังจากการชน


            เช่น                แสดงถึงว่า        เป็นนิวเคลียสเป้าหมายที่ถูกยิง           เป็นนิวเคลียสของธาตุใหม่
ที่เกิดขึ้น n คือนิวตรอนเป็นอนุภาคที่ใช้ในการยิง และ เป็นรังสีที่เกิดขึ้นใหม่ เป็นต้น

        ปฏิกิริยานิวเคลียร์ ส่วนมากเกิดจากการยิงอนุภาคแอลฟา โปรตอนและนิวตรอนเข้าไปในชน Nucleus
ทำาให้ Nucleus แตกออก ปฏิกริยานิวเคลียร์ มีส่วนสำาคัญคือ
                                ิ
 1. ปฏิกิริยา Nuclear เกิดในนิวเคลียส ต่างจากปฏิกิริยาเคมี ซึ่งเกิดกับอิเลกตรอนภายในอะตอม
 2. ปฏิกิริยา Nuclear ต้องใช้พลังงานเป็นจำานวนมากเพื่อจะทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนิวเคลียส
 3. แรงจากปฏิกริยา Nuclear เป็นแรงแบบใหม่ เรียก แรงนิวเคลียร์ ซึ่งมีอันตรกริยาสูง และอาณาเขตกระทำาสั้น
                 ิ
มากและแรงนี้เกิดระหว่างองค์ประกอบของนิวเคลียสเท่านั้น
 4. ในปฏิกริยานิวเคลียส เราสามารถนำากฎต่างๆ มาใช้ได้เป็นอย่างดี คือ กฎการคงที่ของพลังงาน กฎทรงมวล
            ิ
และการคงที่ของประจุไฟฟ้า


ข้อควรจำา
1. ในสมการของปฏิกิริยานิวเคลียร์ทั้งหลายที่เกิดขึ้น ผลรวมของเลขอะตอมก่อนเกิดปฏิกิริยาและภายหลังปฏิกิริยา
ย่อมเท่ากัน และผลรวมของมวลอะตอมก่อนเกิดปฏิกริยาและภายหลังปฏิกิริยาย่อมเท่ากัน เช่น
                                                   ิ

ปฏิกิริยา


            เขียนได้เป็น

            เลขอะตอมคือ                 7 + 2                     =                 8 + 1

            มวลอะตอมคือ                14 + 4                     =                 17 + 1




2. ในปฏิกริยานิวเคลียร์นั้นพลังงาน หรือ มวล-พลังงาน (mass – energy) ก่อนปฏิกริยาและหลังปฏิกิริยาจะต้องเท่า
         ิ                                                                  ิ
กันเสมอ ซึ่งเป็นไปตามกฎทรงพลังงาน ดังเช่น ในการยิงอนุภาคโปรตอนไปยังนิวเคลียสของลิเทียมแล้วทำาให้เกิด
นิวเคลียสของฮีเลียม 2 นิวเคลียส ดังสมการ




                  โดยที่         มีมวล 7.0160 u                   มีมวล 4.0026 u


                               มีมวล 4.0026 u


มวลก่อนเกิดปฏิกริยา
               ิ                           =        7.0160 u + 1.0078 u         =       8.0238 u


มวลหลังเกิดปฏิกิริยา                       =        4.0026 u + 4.0026 u         =       8.0052 u
มวลรวมก่อนเกิดปฏิกิริยามากกว่ามวลรวมหลังปฏิกิริยา            =    8.0238 u - 8.0052 u         =       0.0186 u

แต่มวลสามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานได้โดย           E    =       0.0186 u × 931 MeV          =     17.32 MeV

โดยพลังงานที่ให้ออกมาอยู่ในรูปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ออกมาจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ จึงเรียก ว่าพลังงานนิวเคลียร์ ดัง
นั้นเขียนสมการข้างต้นใหม่ได้ว่า




ปฏิกิริยานิวเคลียร์บางปฏิกิริยาต้องดูดพลังงานเข้าไปจึงจะเกิดปฏิกิริยาขึ้นได้ เช่น ปฏิกิริยา                      เขียน
เป็นสมการได้




                โดยที่            มีมวล = 14.003074 u                  มีมวล =      4.002603 u


                               มีมวล = 18.005677 u                    มีมวล   = 1.007825 u


มวลก่อนเกิดปฏิกริยา
               ิ                          = 14.003074 u + 4.002603 u           =    18.005677 u


มวลหลังเกิดปฏิกิริยา                      = 18.005677 u + 1.007825 u           =    18.006958 u

ผลต่างของพลังงานก่อนเกิดปฏิกิริยากับหลังเกิดปฏิกริยามีค่าดังนี้
                                                ิ

                              E       =       (18.005677 u – 18.006958 u) × 931MeV                =   -1.193 MeV


ดังนั้น เพื่อทำาให้เกิดปฏิกริยานิวเคลียร์นี้ขึ้นจะต้องให้พลังงานแก่
                           ิ                                                    โดยเขียนเป็นสมการได้




สรุปปฏิกิริยานิวเคลียร์

1. การหานิวเคลียสของธาตุจากปฏิกิริยา ใช้หลักดังนี้
         ผลรวมของประจุทางซ้ายมือและขวามือของสมการมีค่าเท่ากัน
        จำานวนนิวคลีออนทางซ้ายมือและขวามือของสมการมีค่าเท่ากัน
2. การคำานวณพลังงานจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ มีหลักดังนี้
         ถ้ามวลรวมก่อนเกิดปฏิกิริยา > มวลรวมหลักเกิดปฏิกิริยา ; ปฏิกิริยานี้จะคายพลังงาน
    ถ้ามวลรวมก่อนเกิดปฏิกิริยา < มวลรวมหลังเกิดปฏิกริยา ; ปฏิกิริยานี้จะดูดพลังงาน
                                                   ิ
      พลังงานที่คายหรือดูดจะหาได้จาก ผลต่างของมวลรวมก่อนทำาปฏิกริยากับหลังทำาปฏิกิริยาคูณด้วย 931
                                                               ิ
โดยมวลอยู่ในหน่วย amu และพลังงานอยู่ในหน่วย MeV
          มวลที่ใช้อาจเป็นมวลนิวเคลียสโดยตรง หรือ มวลอะตอมก็ต้องเป็นมวลอะตอมหมดจะปนกันไม่ได้
       นิวเคลียสก็ต้องเป็นนิวเคลียสหมด หรือมวลอะตอมก็ต้องเป็นมวลอะตอมหมดจะปนกันไม่ได้
ท่านอธิบายเป็นภาษาอังกฤษ สรุปได้วา จากทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ มวลและพลังงานเป็นหนึ่งเดียวกัน ไม่อาจ
                                   ่
แยกจากกันได้ ตามสมการที่ว่า พลังงานเท่ากับมวลคูณด้วยความเร็วแสงยกกำาลังสอง ซึ่งคอคโรส กับวอลตัน
ได้เคยทำาการทดลองเร่งอนุภาคไว้เมื่อปี 1932

เครื่องเร่งอนุภาคของคอคโรสกับวอลตัน

        คอคโรสกับวอลตันได้สร้างแบบจำาลองของเครื่องเร่งอนุภาคไว้เมื่อปี ค.ศ. 1932 เพื่อศึกษาปฎิกริยา
                                                                                               ิ
นิวเคลียร์เบื้องต้น เครื่องเร่งอนุภาคของทั้งสองประกอบด้วย หม้อแปลงไฟฟ้าแรงสูง และวงจรเพิ่มแรงดัน

       แหล่งกำาเนิดอิออนจะให้อิออนผ่านเข้าทางเครื่องเร่ง และจะถูกเร่งผ่านท่อ ออกมาเป็นลำาอิออนดังรูป




 พลังงาน (Energy) หมายถึง “ความสามารถในการทำางาน” พลังงานที่
เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ของสารเรียกว่า พลังงานจลน์       (Kinetic
energy) พลังงานที่มีอยู่ในตัวของสารขณะอยู่นิ่งเรียกว่า พลังงานศักย์
(Potential energy)

      ประเภทของพลังงาน พลังงานมีใต้ปลายรูปแบบ เช่น พลังงาน
ความร้อน พลังงานแสง พลังงานเสียง พลังงานไฟฟ้า และพลังงานเคมี
เป็นต้น

      กฎทรงพลังงาน หรือกฎการคงที่ชองพลังงาน (Conservation
of energy) กล่าวว่า “ พลังงานไม่มีการสูญหายหรือสร้างขึ้นใหม่ แต่
สามารถเปลี่ยนจากรูปหนึ่งไปเป็นอีกรูปหนึ่งได้” เช่น เปลี่ยนพลังงานเคมี
ให้เป็นพลังงานไฟฟ้า เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้เป็นพลังงานกลและเปลี่ยน
     พลังงงานไฟฟ้าให้เป็นพลังงานความร้อน เป็นต้น

ความสัมพันธ์ระหว่างสารกับพลังงาน
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงสมบัติของสาร จะมีพลังงานเข้ามาเกี่ยวข้อง
ด้วยเสมอ เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนแปลง มวล ปริมาตร หรือความดันของสาร
   จะมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานควบคู่กันไป

         ไอน์สไตน์ได้เสนอความสัมพันธ์ระหว่างมวลของสารกับพลังงานไว้
ดังนี้

                                E = mc2

เมื่อ E = พลังงาน

         m = มวลของสาร

         c = ความเร็วของแสงในสูญญากาศ

            จากสมการจะเห็นได้ว่ามวลของสารและพลังงานมีส่วนสมพันธ์
กัน เมื่อมวลของสารเปลี่ยนแปลงไปเพียงเล็กน้อย จะทำาให้พลังงาน
          เปลี่ยนแปลงไปเป็นจำานวนมาก

          1. ระบบกับการเปลี่ยนแปลง
ระบบ (System) หมายถึง สิ่งต่างๆ ที่อยู่ภายในขอบเขตที่ต้องการศึกษา

เช่น สารที่นำามาใช้

สิ่งแวดล้อม (Surrounding)       หมายถึง สิ่งต่างๆ ที่อยู่นอกขอบเขตที่จะ
ศึกษา เช่น อุปกรณ์อากาศ

     ภาวะของระบบ หมายถึง สมบัติต่างๆของสารกับปัจจัยที่มีผลต่อ
สมบัติของระบบ

ประเภทของระบบ แบ่งเป็น 3 ประเภท โดยอาศัยการเปลี่ยนแปลงมวลกับ
พลังงานระหว่างระบบกับสิ่งแวดล้อม

      ก. ระบบเปิด ( Open System ) หมายถึง ระบบที่มวลของสาร
และพลังงานสามารถถ่ายเทไปมาได้ระหว่างระบบกับสิ่งแวดล้อม      กล่าว
ได้ว่าในระบบเปิดทั้งมวลและพลังงานของระบบจะไม่คงที่ เช่น การต้มนำ้า
ในกาอุณหภูมิองนำ้าและมวลของนำ้าในกาจะเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา จึงจัด
ว่าเป็นระบบเปิด

      ข. ระบบปิด ( Closed system ) หมายถึง ระบบที่พลังงานสามารถ
ถ่ายเทไปมาระหว่างระบบกับสิ่งแวดล้อมได้ แต่ไม่มีการถ่ายเทมวล กล่าว
ได้ว่าระบบปิด มวลของสารในระบบจะคงที่ แต่พลังงานในระบบจะ
เปลี่ยนแปลง เช่น นำ้าในขวดที่ปิดฝาสนิท นำ้าบางส่วนกลายเป็นไอ
เพราะได้รับพลังงานจากสิ่งแวดล้อม แต่ไอนำ้ายังคงอยู่ในขวดทำาให้มวล
ของระบบคงที่ จึงจัดว่าเป็นระบบปิด

      ค. ระบบอิสระ ( Isolated system ) หมายถึง ระบบที่ไม่มีการ
ถ่ายเทมวลและพลังงานระหว่างระบบกับสิ่งแวดล้อม กล่าวได้ว่าในระบบ
 อิสระทั้งมวลและพลังงานของระบบจะมีค่าคงที่ เช่น นำ้าที่บรรจุอยู่ใน
กระติกนำ้าอย่างดีที่มีฉนวนหุ้ม จะไม่มีการถ่ายเทพลังงานและไม่มีการ
เปลี่ยนแปลง มวล ของนำ้า จึงจัดว่าเป็นระบบอิสระ

            2. การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับระบบ
     การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับระบบ หมายถึง การเปลี่ยนแปลง
สมบัติข้อใดข้อหนึ่ง ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงมวล ปริมาตร พลังงานความ
ดัน และชนิดของสารในระบบ

การเปลี่ยนแปลงพลังงานของระบบ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท

     1. การเปลี่ยนแปลงประเภทดูดพลังงาน ( Endothermic change )
คือ การเปลี่ยนแปลงที่ระบบดูดความร้อนจากสิ่งแวดล้อมเข้าสู่ ระบบ
ทำาให้ระบบมีพลังงานเคมีเพิ่มขึ้น ถ้าสัมผัสระบบจะรู้สึกเย็น อุณหภูมิสิ่ง
แวดล้อมตำ่ากว่าเดิม เช่น การระเหยของแอลกอฮอล์บนผิวหนัง

     การเปลี่ยนแปลงประเภทดูดพลังงานสามารถเขียนด้วยสมการ ดังนี้



         สารตังต้น + พลังงาน
              ้                                      =          สาร
                    ผลิตภัณฑ์
              A +     50 kJ                B

     หรือ       A                              B   ; H = +50 kJ

     2. การเปลี่ยนแปลงประเภทคายพลังงาน (Exothermic change) คือ
การเปลี่ยนแปลงที่ระบบคายพลังงานไปสู่สิ่งแวดล้อม ทำาให้ระบบมี
พลังงานตำ่าลง ถ้าสัมผัสจะรู้สึกร้อน อุณหภูมิสิ่งแวดล้อมจะสูงขึ้น เช่น การ
ลุกไหม้ของเทียนไข

     การเปลี่ยนแปลงประเภทคายพลังงานสามารถเขียนด้วยสมการ ดังนี้
X            Y        +       80 kJ

      หรือ            X             Y       ;       H     =    -80 kJ




การเปลี่ยนแปลงของสารในระบบ มี 2 ประเภทคือ

      1. การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ มี 2 ชนิด คือ

                 การเปลี่ยนสถานะ

                  การเกิดสารละลาย

      2. การเปลี่ยนแปลงทางเคมี คือ การเกิดปฏิกิริยาเคมีได้สารใหม

  ตาราง          เปรียบเทียบข้อแตกต่างระหว่างการเปลี่ยนแปลงทาง
                 กายภาพ และการเปลี่ยนแปลงทางเคมี่


             การเปลี่ยนแปลงทาง
                                                           การเปลี่ยนแปลงทางเคมี
              กายภาพ
1. ไม่มีสารใหม่เกิดขึ้น                         1. มีสารใหม่เกิดขึ้น

2. สถานะรูปร่าง ลักษณะภายนอกบาง          2. องค์ประกอบภายในเนื้อสารเปลี่ยนไป ซึ่ง
ประการของสารเปลี่ยนไป แต่ไม่เปลี่ยนองค์ ทำาให้รูปร่าง
ประกอบภายใน
                                         ลักษณะภายนอกเปลี่ยนไปด้วย
3. เปลี่ยนไปแล้ว สามารถทำาให้กลับเป็น
สารเดิมได้ไม่ยาก                         3. เปลี่ยนไปแล้ว ทำาให้กลับคืนมาเป็นสาร
                                         เดิมได้ยากหรือ
4. ไม่เกี่ยวข้องกับความร้อนภายในของสาร
                                         ไม่ได้เลย
5. ตัวอย่าง : การเดือดของนำ้าเป็นไอ นำ้า
                                         4. เกี่ยวข้องกับพลังงานความร้อนภายใน
ของสาร (มีความร้อนเกิดขึ้น หรือลดลงได้)
แข็งหลอมละลาย
                                           5. ตัวอย่าง : การเผาถ่าน การเกิดสนิมเหล็ก
ไส้ไม้เกิดขี้เลื่อย การระเหิดของการบูร การ
                                           ผลไม้สุก
ละลายนำ้าตาลเป็น
                                         การหมักนำ้าตาลด้วยยีสต์เกิดแอลกอฮอล์การ
นำ้าเชื่อม
                                         ย่อยอาหาร

More Related Content

What's hot

เรื่องที่ 10 ความร้อน
เรื่องที่ 10  ความร้อนเรื่องที่ 10  ความร้อน
เรื่องที่ 10 ความร้อนthanakit553
 
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สPhysciences Physciences
 
8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบWijitta DevilTeacher
 
03. ใบงาน 5 ปรับ
03. ใบงาน 5 ปรับ03. ใบงาน 5 ปรับ
03. ใบงาน 5 ปรับWijitta DevilTeacher
 
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซNawamin Wongchai
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊สWijitta DevilTeacher
 
6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊สWijitta DevilTeacher
 
พลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบพลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบChanthawan Suwanhitathorn
 
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2Jiraporn Chaimongkol
 
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solutionแก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and SolutionDr.Woravith Chansuvarn
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันอัครพงษ์ เทเวลา
 
บทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานบทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานThepsatri Rajabhat University
 

What's hot (20)

ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
เรื่องที่ 10 ความร้อน
เรื่องที่ 10  ความร้อนเรื่องที่ 10  ความร้อน
เรื่องที่ 10 ความร้อน
 
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ
 
03. ใบงาน 5 ปรับ
03. ใบงาน 5 ปรับ03. ใบงาน 5 ปรับ
03. ใบงาน 5 ปรับ
 
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
 
วัฏจักรคาร์โนต์
วัฏจักรคาร์โนต์วัฏจักรคาร์โนต์
วัฏจักรคาร์โนต์
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
แก๊ส
แก๊ส แก๊ส
แก๊ส
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
Lesson10
Lesson10Lesson10
Lesson10
 
6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส
 
พลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบพลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบ
 
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
 
Gas genchem
Gas genchemGas genchem
Gas genchem
 
P10
P10P10
P10
 
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solutionแก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
บทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานบทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงาน
 

Similar to ปฏิกิริยานิวเคลียร์

Ch 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistryCh 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistrykruannchem
 
อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมีJirapakorn Buapunna
 
ใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยา
ใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยาใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยา
ใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยาyaowaluk
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52krukrajeab
 
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่Janesita Sinpiang
 
summer 2010 (student preso)
summer 2010 (student preso)summer 2010 (student preso)
summer 2010 (student preso)Roppon Picha
 
กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์Chakkrawut Mueangkhon
 
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)Dr.Woravith Chansuvarn
 
9789740327752
97897403277529789740327752
9789740327752CUPress
 
เทอร์โมเคมี (ThermoChemistry)
เทอร์โมเคมี  (ThermoChemistry)เทอร์โมเคมี  (ThermoChemistry)
เทอร์โมเคมี (ThermoChemistry)Dr.Woravith Chansuvarn
 

Similar to ปฏิกิริยานิวเคลียร์ (20)

Ch 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistryCh 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistry
 
Rate
RateRate
Rate
 
อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
 
ใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยา
ใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยาใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยา
ใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยา
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
 
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
 
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
 
summer 2010 (student preso)
summer 2010 (student preso)summer 2010 (student preso)
summer 2010 (student preso)
 
กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์
 
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
 
9789740327752
97897403277529789740327752
9789740327752
 
Nuclear
NuclearNuclear
Nuclear
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
เทอร์โมเคมี (ThermoChemistry)
เทอร์โมเคมี  (ThermoChemistry)เทอร์โมเคมี  (ThermoChemistry)
เทอร์โมเคมี (ThermoChemistry)
 
พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)
 
Punmanee study 3
Punmanee study 3Punmanee study 3
Punmanee study 3
 
Biology m5
Biology m5Biology m5
Biology m5
 

ปฏิกิริยานิวเคลียร์

  • 1. ปฏิกิริยานิวเคลียร์ (Nuclear Reaction) คือ กระบวนการที่นิวเคลียสเกิดการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบ ซึ่งเกิดจากการยิงด้วยนิวคลีออน หรือกลุ่มนิวคลีออน หรือรังสีแกมมา แล้วทำาให้มีนิวคลีออนเพิ่มเข้าไปในนิวเคลียส หรือออกไปจากนิวเคลียสหรือเกิดการเปลี่ยนแปลงจัดตัวใหม่ภายในนิวเคลียส สามารถเขียนสมการของปฏิกิริยาได้ ดังนี้ หรือ โดยที่ X เป็นนิวเคลียสที่เป็นเป้า , a คืออนุภาคที่วิ่งเข้าชนเป้า , b คืออนุภาคที่เกิดขึ้นใหม่หลังจากการชน และ Y คือนิวเคลียสของธาตุใหม่หลังจากการชน เช่น แสดงถึงว่า เป็นนิวเคลียสเป้าหมายที่ถูกยิง เป็นนิวเคลียสของธาตุใหม่ ที่เกิดขึ้น n คือนิวตรอนเป็นอนุภาคที่ใช้ในการยิง และ เป็นรังสีที่เกิดขึ้นใหม่ เป็นต้น ปฏิกิริยานิวเคลียร์ ส่วนมากเกิดจากการยิงอนุภาคแอลฟา โปรตอนและนิวตรอนเข้าไปในชน Nucleus ทำาให้ Nucleus แตกออก ปฏิกริยานิวเคลียร์ มีส่วนสำาคัญคือ ิ 1. ปฏิกิริยา Nuclear เกิดในนิวเคลียส ต่างจากปฏิกิริยาเคมี ซึ่งเกิดกับอิเลกตรอนภายในอะตอม 2. ปฏิกิริยา Nuclear ต้องใช้พลังงานเป็นจำานวนมากเพื่อจะทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนิวเคลียส 3. แรงจากปฏิกริยา Nuclear เป็นแรงแบบใหม่ เรียก แรงนิวเคลียร์ ซึ่งมีอันตรกริยาสูง และอาณาเขตกระทำาสั้น ิ มากและแรงนี้เกิดระหว่างองค์ประกอบของนิวเคลียสเท่านั้น 4. ในปฏิกริยานิวเคลียส เราสามารถนำากฎต่างๆ มาใช้ได้เป็นอย่างดี คือ กฎการคงที่ของพลังงาน กฎทรงมวล ิ และการคงที่ของประจุไฟฟ้า ข้อควรจำา 1. ในสมการของปฏิกิริยานิวเคลียร์ทั้งหลายที่เกิดขึ้น ผลรวมของเลขอะตอมก่อนเกิดปฏิกิริยาและภายหลังปฏิกิริยา ย่อมเท่ากัน และผลรวมของมวลอะตอมก่อนเกิดปฏิกริยาและภายหลังปฏิกิริยาย่อมเท่ากัน เช่น ิ ปฏิกิริยา เขียนได้เป็น เลขอะตอมคือ 7 + 2 = 8 + 1 มวลอะตอมคือ 14 + 4 = 17 + 1 2. ในปฏิกริยานิวเคลียร์นั้นพลังงาน หรือ มวล-พลังงาน (mass – energy) ก่อนปฏิกริยาและหลังปฏิกิริยาจะต้องเท่า ิ ิ กันเสมอ ซึ่งเป็นไปตามกฎทรงพลังงาน ดังเช่น ในการยิงอนุภาคโปรตอนไปยังนิวเคลียสของลิเทียมแล้วทำาให้เกิด นิวเคลียสของฮีเลียม 2 นิวเคลียส ดังสมการ โดยที่ มีมวล 7.0160 u มีมวล 4.0026 u มีมวล 4.0026 u มวลก่อนเกิดปฏิกริยา ิ = 7.0160 u + 1.0078 u = 8.0238 u มวลหลังเกิดปฏิกิริยา = 4.0026 u + 4.0026 u = 8.0052 u
  • 2. มวลรวมก่อนเกิดปฏิกิริยามากกว่ามวลรวมหลังปฏิกิริยา = 8.0238 u - 8.0052 u = 0.0186 u แต่มวลสามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานได้โดย E = 0.0186 u × 931 MeV = 17.32 MeV โดยพลังงานที่ให้ออกมาอยู่ในรูปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ออกมาจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ จึงเรียก ว่าพลังงานนิวเคลียร์ ดัง นั้นเขียนสมการข้างต้นใหม่ได้ว่า ปฏิกิริยานิวเคลียร์บางปฏิกิริยาต้องดูดพลังงานเข้าไปจึงจะเกิดปฏิกิริยาขึ้นได้ เช่น ปฏิกิริยา เขียน เป็นสมการได้ โดยที่ มีมวล = 14.003074 u มีมวล = 4.002603 u มีมวล = 18.005677 u มีมวล = 1.007825 u มวลก่อนเกิดปฏิกริยา ิ = 14.003074 u + 4.002603 u = 18.005677 u มวลหลังเกิดปฏิกิริยา = 18.005677 u + 1.007825 u = 18.006958 u ผลต่างของพลังงานก่อนเกิดปฏิกิริยากับหลังเกิดปฏิกริยามีค่าดังนี้ ิ E = (18.005677 u – 18.006958 u) × 931MeV = -1.193 MeV ดังนั้น เพื่อทำาให้เกิดปฏิกริยานิวเคลียร์นี้ขึ้นจะต้องให้พลังงานแก่ ิ โดยเขียนเป็นสมการได้ สรุปปฏิกิริยานิวเคลียร์ 1. การหานิวเคลียสของธาตุจากปฏิกิริยา ใช้หลักดังนี้ ผลรวมของประจุทางซ้ายมือและขวามือของสมการมีค่าเท่ากัน จำานวนนิวคลีออนทางซ้ายมือและขวามือของสมการมีค่าเท่ากัน 2. การคำานวณพลังงานจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ มีหลักดังนี้ ถ้ามวลรวมก่อนเกิดปฏิกิริยา > มวลรวมหลักเกิดปฏิกิริยา ; ปฏิกิริยานี้จะคายพลังงาน ถ้ามวลรวมก่อนเกิดปฏิกิริยา < มวลรวมหลังเกิดปฏิกริยา ; ปฏิกิริยานี้จะดูดพลังงาน ิ พลังงานที่คายหรือดูดจะหาได้จาก ผลต่างของมวลรวมก่อนทำาปฏิกริยากับหลังทำาปฏิกิริยาคูณด้วย 931 ิ โดยมวลอยู่ในหน่วย amu และพลังงานอยู่ในหน่วย MeV มวลที่ใช้อาจเป็นมวลนิวเคลียสโดยตรง หรือ มวลอะตอมก็ต้องเป็นมวลอะตอมหมดจะปนกันไม่ได้ นิวเคลียสก็ต้องเป็นนิวเคลียสหมด หรือมวลอะตอมก็ต้องเป็นมวลอะตอมหมดจะปนกันไม่ได้
  • 3. ท่านอธิบายเป็นภาษาอังกฤษ สรุปได้วา จากทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ มวลและพลังงานเป็นหนึ่งเดียวกัน ไม่อาจ ่ แยกจากกันได้ ตามสมการที่ว่า พลังงานเท่ากับมวลคูณด้วยความเร็วแสงยกกำาลังสอง ซึ่งคอคโรส กับวอลตัน ได้เคยทำาการทดลองเร่งอนุภาคไว้เมื่อปี 1932 เครื่องเร่งอนุภาคของคอคโรสกับวอลตัน คอคโรสกับวอลตันได้สร้างแบบจำาลองของเครื่องเร่งอนุภาคไว้เมื่อปี ค.ศ. 1932 เพื่อศึกษาปฎิกริยา ิ นิวเคลียร์เบื้องต้น เครื่องเร่งอนุภาคของทั้งสองประกอบด้วย หม้อแปลงไฟฟ้าแรงสูง และวงจรเพิ่มแรงดัน แหล่งกำาเนิดอิออนจะให้อิออนผ่านเข้าทางเครื่องเร่ง และจะถูกเร่งผ่านท่อ ออกมาเป็นลำาอิออนดังรูป พลังงาน (Energy) หมายถึง “ความสามารถในการทำางาน” พลังงานที่ เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ของสารเรียกว่า พลังงานจลน์ (Kinetic energy) พลังงานที่มีอยู่ในตัวของสารขณะอยู่นิ่งเรียกว่า พลังงานศักย์ (Potential energy) ประเภทของพลังงาน พลังงานมีใต้ปลายรูปแบบ เช่น พลังงาน ความร้อน พลังงานแสง พลังงานเสียง พลังงานไฟฟ้า และพลังงานเคมี เป็นต้น กฎทรงพลังงาน หรือกฎการคงที่ชองพลังงาน (Conservation of energy) กล่าวว่า “ พลังงานไม่มีการสูญหายหรือสร้างขึ้นใหม่ แต่ สามารถเปลี่ยนจากรูปหนึ่งไปเป็นอีกรูปหนึ่งได้” เช่น เปลี่ยนพลังงานเคมี ให้เป็นพลังงานไฟฟ้า เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้เป็นพลังงานกลและเปลี่ยน พลังงงานไฟฟ้าให้เป็นพลังงานความร้อน เป็นต้น ความสัมพันธ์ระหว่างสารกับพลังงาน
  • 4. เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงสมบัติของสาร จะมีพลังงานเข้ามาเกี่ยวข้อง ด้วยเสมอ เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนแปลง มวล ปริมาตร หรือความดันของสาร จะมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานควบคู่กันไป ไอน์สไตน์ได้เสนอความสัมพันธ์ระหว่างมวลของสารกับพลังงานไว้ ดังนี้ E = mc2 เมื่อ E = พลังงาน m = มวลของสาร c = ความเร็วของแสงในสูญญากาศ จากสมการจะเห็นได้ว่ามวลของสารและพลังงานมีส่วนสมพันธ์ กัน เมื่อมวลของสารเปลี่ยนแปลงไปเพียงเล็กน้อย จะทำาให้พลังงาน เปลี่ยนแปลงไปเป็นจำานวนมาก 1. ระบบกับการเปลี่ยนแปลง ระบบ (System) หมายถึง สิ่งต่างๆ ที่อยู่ภายในขอบเขตที่ต้องการศึกษา เช่น สารที่นำามาใช้ สิ่งแวดล้อม (Surrounding) หมายถึง สิ่งต่างๆ ที่อยู่นอกขอบเขตที่จะ ศึกษา เช่น อุปกรณ์อากาศ ภาวะของระบบ หมายถึง สมบัติต่างๆของสารกับปัจจัยที่มีผลต่อ สมบัติของระบบ ประเภทของระบบ แบ่งเป็น 3 ประเภท โดยอาศัยการเปลี่ยนแปลงมวลกับ พลังงานระหว่างระบบกับสิ่งแวดล้อม ก. ระบบเปิด ( Open System ) หมายถึง ระบบที่มวลของสาร และพลังงานสามารถถ่ายเทไปมาได้ระหว่างระบบกับสิ่งแวดล้อม กล่าว ได้ว่าในระบบเปิดทั้งมวลและพลังงานของระบบจะไม่คงที่ เช่น การต้มนำ้า ในกาอุณหภูมิองนำ้าและมวลของนำ้าในกาจะเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา จึงจัด ว่าเป็นระบบเปิด ข. ระบบปิด ( Closed system ) หมายถึง ระบบที่พลังงานสามารถ ถ่ายเทไปมาระหว่างระบบกับสิ่งแวดล้อมได้ แต่ไม่มีการถ่ายเทมวล กล่าว ได้ว่าระบบปิด มวลของสารในระบบจะคงที่ แต่พลังงานในระบบจะ
  • 5. เปลี่ยนแปลง เช่น นำ้าในขวดที่ปิดฝาสนิท นำ้าบางส่วนกลายเป็นไอ เพราะได้รับพลังงานจากสิ่งแวดล้อม แต่ไอนำ้ายังคงอยู่ในขวดทำาให้มวล ของระบบคงที่ จึงจัดว่าเป็นระบบปิด ค. ระบบอิสระ ( Isolated system ) หมายถึง ระบบที่ไม่มีการ ถ่ายเทมวลและพลังงานระหว่างระบบกับสิ่งแวดล้อม กล่าวได้ว่าในระบบ อิสระทั้งมวลและพลังงานของระบบจะมีค่าคงที่ เช่น นำ้าที่บรรจุอยู่ใน กระติกนำ้าอย่างดีที่มีฉนวนหุ้ม จะไม่มีการถ่ายเทพลังงานและไม่มีการ เปลี่ยนแปลง มวล ของนำ้า จึงจัดว่าเป็นระบบอิสระ 2. การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับระบบ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับระบบ หมายถึง การเปลี่ยนแปลง สมบัติข้อใดข้อหนึ่ง ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงมวล ปริมาตร พลังงานความ ดัน และชนิดของสารในระบบ การเปลี่ยนแปลงพลังงานของระบบ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท 1. การเปลี่ยนแปลงประเภทดูดพลังงาน ( Endothermic change ) คือ การเปลี่ยนแปลงที่ระบบดูดความร้อนจากสิ่งแวดล้อมเข้าสู่ ระบบ ทำาให้ระบบมีพลังงานเคมีเพิ่มขึ้น ถ้าสัมผัสระบบจะรู้สึกเย็น อุณหภูมิสิ่ง แวดล้อมตำ่ากว่าเดิม เช่น การระเหยของแอลกอฮอล์บนผิวหนัง การเปลี่ยนแปลงประเภทดูดพลังงานสามารถเขียนด้วยสมการ ดังนี้ สารตังต้น + พลังงาน ้ = สาร ผลิตภัณฑ์ A + 50 kJ B หรือ A B ; H = +50 kJ 2. การเปลี่ยนแปลงประเภทคายพลังงาน (Exothermic change) คือ การเปลี่ยนแปลงที่ระบบคายพลังงานไปสู่สิ่งแวดล้อม ทำาให้ระบบมี พลังงานตำ่าลง ถ้าสัมผัสจะรู้สึกร้อน อุณหภูมิสิ่งแวดล้อมจะสูงขึ้น เช่น การ ลุกไหม้ของเทียนไข การเปลี่ยนแปลงประเภทคายพลังงานสามารถเขียนด้วยสมการ ดังนี้
  • 6. X Y + 80 kJ หรือ X Y ; H = -80 kJ การเปลี่ยนแปลงของสารในระบบ มี 2 ประเภทคือ 1. การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ มี 2 ชนิด คือ การเปลี่ยนสถานะ การเกิดสารละลาย 2. การเปลี่ยนแปลงทางเคมี คือ การเกิดปฏิกิริยาเคมีได้สารใหม ตาราง เปรียบเทียบข้อแตกต่างระหว่างการเปลี่ยนแปลงทาง กายภาพ และการเปลี่ยนแปลงทางเคมี่ การเปลี่ยนแปลงทาง การเปลี่ยนแปลงทางเคมี กายภาพ 1. ไม่มีสารใหม่เกิดขึ้น 1. มีสารใหม่เกิดขึ้น 2. สถานะรูปร่าง ลักษณะภายนอกบาง 2. องค์ประกอบภายในเนื้อสารเปลี่ยนไป ซึ่ง ประการของสารเปลี่ยนไป แต่ไม่เปลี่ยนองค์ ทำาให้รูปร่าง ประกอบภายใน ลักษณะภายนอกเปลี่ยนไปด้วย 3. เปลี่ยนไปแล้ว สามารถทำาให้กลับเป็น สารเดิมได้ไม่ยาก 3. เปลี่ยนไปแล้ว ทำาให้กลับคืนมาเป็นสาร เดิมได้ยากหรือ 4. ไม่เกี่ยวข้องกับความร้อนภายในของสาร ไม่ได้เลย 5. ตัวอย่าง : การเดือดของนำ้าเป็นไอ นำ้า 4. เกี่ยวข้องกับพลังงานความร้อนภายใน
  • 7. ของสาร (มีความร้อนเกิดขึ้น หรือลดลงได้) แข็งหลอมละลาย 5. ตัวอย่าง : การเผาถ่าน การเกิดสนิมเหล็ก ไส้ไม้เกิดขี้เลื่อย การระเหิดของการบูร การ ผลไม้สุก ละลายนำ้าตาลเป็น การหมักนำ้าตาลด้วยยีสต์เกิดแอลกอฮอล์การ นำ้าเชื่อม ย่อยอาหาร