SlideShare a Scribd company logo
1 of 52
Download to read offline
ภาพพื้นหลัง https://wellesley.instructure.com/courses/19236/assignments/syllabus
Joy Preeyapat Lengrabam Joy Preeya
0854966848
การทดลองศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรและอุณหภูมิของอากาศ
https://www.youtube.com/watch?v=k0dV84nPDns
การทดลองศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรและอุณหภูมิของ
อากาศ
อภิปรายผลการทดลอง
เมื่อผสม NaHCO3 กับ HCl มีแก๊ส CO2 เกิดขึ้น ดังสมการเคมี
HCl(aq) + NaHCO3(s)→ NaCl(aq) + H2O(l) + CO2(g)
เนื่องจากมวลของ NaHCO3 ซึ่งเป็นสารกาหนดปริมาณของปฏิกิริยานี้ ใช้ในปริมาณที่
แตกต่างกัน โดยลูกโป่งหมายเลข 3 ใช้มวลมากกว่าหมายเลข 2 และ 1 ตามลาดับ ดังนั้น
จานวนโมลของ CO2ที่เกิดขึ้นในลูกโป่งหมายเลข 3 จึงมากกว่าหมายเลข 2 และ 1
ตามลาดับ และจากผลการทดลองที่พบว่า ลูกโป่งหมายเลข 3 มีปริมาตรสุดท้าย
มากกว่าหมายเลข 2 และ 1 ตามลาดับ แสดงว่า ปริมาตรแก๊ส CO2ที่เกิดขึ้นในลูกโป่ง
หมายเลข 3 มากกว่าหมายเลข 2 และ 1 ตามลาดับ ดังนั้นปริมาตรแก๊สเพิ่มขึ้นตาม
จานวนโมลของแก๊ส
สรุปผลการทดลอง
ที่อุณหภูมิและความดันคงที่ ปริมาตรของแก๊สขึ้นอยู่กับ
จานวนโมลของแก๊ส โดยแก๊สที่มีจานวนโมลมากกว่าจะมีปริมาตร
มากกว่า
จ๊าค อเล็กซองดร์ เซซา ชาร์ล (Jacques
Alexandre César Charles, ค.ศ.1746 - 1823)
นักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศส
ที่มา:http://www.rmutphysics.com/charud/oldnews/0/285/22/gas1/charlelaw.htm
ที่มา: https://www.youtube.com/watch?v=QsmJcRD7N5U
กฎของชาร์ล(Charle’s law)
เมื่อเขียนกราฟความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรกับอุณหภูมิในหน่วยเคลวินจะ
ได้จุดตัดแกน X ของกราฟที่ 0 เคลวิน และเมื่อหาอัตราส่วนระหว่างปริมาตรและ
อุณหภูมิของแก๊สในหน่วยเคลวินพบว่าได้ค่าคงที่ ดังนั้น ปริมาตร(V) แปรผันตรง
กับอุณหภูมิ(T) ในหน่วยเคลวิน เขียนแทนด้วยสมการได้ดังนี้
V 𝛼 T
V = ค่าคงที่ x T
𝑉
𝑇
= ค่าคงที่
กฎของชาร์ล(Charle’s law)
ความสัมพันธ์ตามกฎของชาร์ล อาจเขียนอยู่ในรูปที่สามารถใช้
คานวณปริมาตรหรืออุณหภูมิของแก๊สที่สองสภาวะได้ดังนี้
𝑉1
𝑇1
=
𝑉2
𝑇2
เมื่อ V1 และ V2 คือ ปริมาตรของแก๊สที่มีอุณหภูมิ T1 และ T2 ตามลาดับ
ที่ความดันและจานวนโมลคงที่
การคานวณเกี่ยวกับกฎของชาร์ล(Charle’s law)
ตัวอย่างที่ 1 แก๊สไนโตรเจน(N2)ในกระบอกสูบปิด ปริมาตร 250 มิลลิลิตร ที่อุณหภูมิ
373 เคลวิน เมื่อทาให้อุณหภูมิลดลงเป็น 273 เคลวิน โดยความดันของแก๊สไม่
เปลี่ยนแปลง ปริมาตรสุดท้ายของแก๊สเป็นเท่าใด
การคานวณเกี่ยวกับกฎของชาร์ล(Charle’s law)
ตัวอย่างที่ 1 แก๊สไนโตรเจน(N2)ในกระบอกสูบปิด ปริมาตร 250 มิลลิลิตร ที่อุณหภูมิ
373 เคลวิน เมื่อทาให้อุณหภูมิลดลงเป็น 273 เคลวิน โดยความดันของแก๊สไม่
เปลี่ยนแปลง ปริมาตรสุดท้ายของแก๊สเป็นเท่าใด
วิธีทา จาก
𝑉1
𝑇1
=
𝑉2
𝑇2
การคานวณเกี่ยวกับกฎของชาร์ล(Charle’s law)
ตัวอย่างที่ 1 แก๊สไนโตรเจน(N2)ในกระบอกสูบปิด ปริมาตร 250 มิลลิลิตร ที่อุณหภูมิ
373 เคลวิน เมื่อทาให้อุณหภูมิลดลงเป็น 273 เคลวิน โดยความดันของแก๊สไม่
เปลี่ยนแปลง ปริมาตรสุดท้ายของแก๊สเป็นเท่าใด
วิธีทา จาก
𝑉1
𝑇1
=
𝑉2
𝑇2
แทนค่าจะได้ 250 mL = V2
373 K 273 K
การคานวณเกี่ยวกับกฎของชาร์ล(Charle’s law)
ตัวอย่างที่ 1 แก๊สไนโตรเจน(N2)ในกระบอกสูบปิด ปริมาตร 250 มิลลิลิตร ที่อุณหภูมิ
373 เคลวิน เมื่อทาให้อุณหภูมิลดลงเป็น 273 เคลวิน โดยความดันของแก๊สไม่
เปลี่ยนแปลง ปริมาตรสุดท้ายของแก๊สเป็นเท่าใด
วิธีทา จาก
𝑉1
𝑇1
=
𝑉2
𝑇2
แทนค่าจะได้ 250 mL = V2
373 K 273 K
V2 = (250 mL)(273 K)
(373 K)
การคานวณเกี่ยวกับกฎของชาร์ล(Charle’s law)
ตัวอย่างที่ 1 แก๊สไนโตรเจน(N2)ในกระบอกสูบปิด ปริมาตร 250 มิลลิลิตร ที่อุณหภูมิ
373 เคลวิน เมื่อทาให้อุณหภูมิลดลงเป็น 273 เคลวิน โดยความดันของแก๊สไม่
เปลี่ยนแปลง ปริมาตรสุดท้ายของแก๊สเป็นเท่าใด
วิธีทา จาก
𝑉1
𝑇1
=
𝑉2
𝑇2
แทนค่าจะได้ 250 mL = V2
373 K 273 K
V2 = (250 mL)(273 K)
(373 K)
การคานวณเกี่ยวกับกฎของชาร์ล(Charle’s law)
ตัวอย่างที่ 1 แก๊สไนโตรเจน(N2)ในกระบอกสูบปิด ปริมาตร 250 มิลลิลิตร ที่อุณหภูมิ
373 เคลวิน เมื่อทาให้อุณหภูมิลดลงเป็น 273 เคลวิน โดยความดันของแก๊สไม่
เปลี่ยนแปลง ปริมาตรสุดท้ายของแก๊สเป็นเท่าใด
วิธีทา จาก
𝑉1
𝑇1
=
𝑉2
𝑇2
แทนค่าจะได้ 250 mL = V2
373 K 273 K
V2 = (250 mL)(273 K)
(373 K)
การคานวณเกี่ยวกับกฎของชาร์ล(Charle’s law)
V2 = (250 mL)(273 K)
(373 K)
V2 = 68250 mL
373
V2 = 182.98
ดังนั้น แก๊สมีปริมาตร 183 มิลลิลิตร
การคานวณเกี่ยวกับกฎของชาร์ล(Charle’s law)
ตัวอย่างที่ 2 แก๊สชนิดหนึ่งมีความดัน 1 บรรยากาศ อุณหภูมิ 2 องศาเซลเซียส บรรจุไว้ในภาชนะ
ที่ยืดหยุ่นได้ เมื่อนาภาชนะบรรจุแก๊สนี้ไปจุ่มลงในของเหลวที่กาลังเดือด ที่ความดันคงที่ ปริมาตร
ของแก๊สจะขยายตัวจาก 70.0 มิลลิลิตร เป็น 90.0 มิลลิลิตร ที่อุณหภูมิกี่องศาเซลเซียส
การคานวณเกี่ยวกับกฎของชาร์ล(Charle’s law)
ตัวอย่างที่ 2 แก๊สชนิดหนึ่งมีความดัน 1 บรรยากาศ อุณหภูมิ 2 องศาเซลเซียส บรรจุไว้ในภาชนะ
ที่ยืดหยุ่นได้ เมื่อนาภาชนะบรรจุแก๊สนี้ไปจุ่มลงในของเหลวที่กาลังเดือด ที่ความดันคงที่ ปริมาตร
ของแก๊สจะขยายตัวจาก 70.0 มิลลิลิตร เป็น 90.0 มิลลิลิตร ที่อุณหภูมิกี่องศาเซลเซียส
วิธีทา จาก
𝑉1
𝑇1
=
𝑉2
𝑇2
การคานวณเกี่ยวกับกฎของชาร์ล(Charle’s law)
ตัวอย่างที่ 2 แก๊สชนิดหนึ่งมีความดัน 1 บรรยากาศ อุณหภูมิ 2 องศาเซลเซียส บรรจุไว้ในภาชนะ
ที่ยืดหยุ่นได้ เมื่อนาภาชนะบรรจุแก๊สนี้ไปจุ่มลงในของเหลวที่กาลังเดือด ที่ความดันคงที่ ปริมาตร
ของแก๊สจะขยายตัวจาก 70.0 มิลลิลิตร เป็น 90.0 มิลลิลิตร ที่อุณหภูมิกี่องศาเซลเซียส
วิธีทา จาก
𝑉1
𝑇1
=
𝑉2
𝑇2
แทนค่าจะได้ 70.0 mL = 90.0 mL
(2+273 K) T2
การคานวณเกี่ยวกับกฎของชาร์ล(Charle’s law)
ตัวอย่างที่ 2 แก๊สชนิดหนึ่งมีความดัน 1 บรรยากาศ อุณหภูมิ 2 องศาเซลเซียส บรรจุไว้ในภาชนะ
ที่ยืดหยุ่นได้ เมื่อนาภาชนะบรรจุแก๊สนี้ไปจุ่มลงในของเหลวที่กาลังเดือด ที่ความดันคงที่ ปริมาตร
ของแก๊สจะขยายตัวจาก 70.0 มิลลิลิตร เป็น 90.0 มิลลิลิตร ที่อุณหภูมิกี่องศาเซลเซียส
วิธีทา จาก
𝑉1
𝑇1
=
𝑉2
𝑇2
แทนค่าจะได้ 70.0 mL = 90.0 mL
(2+273 K) T2
T2 = (90.0 mL)(275 K)
(70.0 mL)
การคานวณเกี่ยวกับกฎของชาร์ล(Charle’s law)
ตัวอย่างที่ 2 แก๊สชนิดหนึ่งมีความดัน 1 บรรยากาศ อุณหภูมิ 2 องศาเซลเซียส บรรจุไว้ในภาชนะ
ที่ยืดหยุ่นได้ เมื่อนาภาชนะบรรจุแก๊สนี้ไปจุ่มลงในของเหลวที่กาลังเดือด ที่ความดันคงที่ ปริมาตร
ของแก๊สจะขยายตัวจาก 70.0 มิลลิลิตร เป็น 90.0 มิลลิลิตร ที่อุณหภูมิกี่องศาเซลเซียส
วิธีทา จาก
𝑉1
𝑇1
=
𝑉2
𝑇2
แทนค่าจะได้ 70.0 mL = 90.0 mL
(2+273 K) T2
T2 = (90.0 mL)(275 K)
(70.0 mL)
การคานวณเกี่ยวกับกฎของชาร์ล(Charle’s law)
ตัวอย่างที่ 2 แก๊สชนิดหนึ่งมีความดัน 1 บรรยากาศ อุณหภูมิ 2 องศาเซลเซียส บรรจุไว้ในภาชนะ
ที่ยืดหยุ่นได้ เมื่อนาภาชนะบรรจุแก๊สนี้ไปจุ่มลงในของเหลวที่กาลังเดือด ที่ความดันคงที่ ปริมาตร
ของแก๊สจะขยายตัวจาก 70.0 มิลลิลิตร เป็น 90.0 มิลลิลิตร ที่อุณหภูมิกี่องศาเซลเซียส
วิธีทา จาก
𝑉1
𝑇1
=
𝑉2
𝑇2
แทนค่าจะได้ 70.0 mL = 90.0 mL
(2+273 K) T2
T2 = (90.0 mL)(275 K)
(70.0 mL)
T2 = 24,750 K
70
การคานวณเกี่ยวกับกฎของชาร์ล(Charle’s law)
ตัวอย่างที่ 2 แก๊สชนิดหนึ่งมีความดัน 1 บรรยากาศ อุณหภูมิ 2 องศาเซลเซียส บรรจุไว้ในภาชนะ
ที่ยืดหยุ่นได้ เมื่อนาภาชนะบรรจุแก๊สนี้ไปจุ่มลงในของเหลวที่กาลังเดือด ที่ความดันคงที่ ปริมาตร
ของแก๊สจะขยายตัวจาก 70.0 มิลลิลิตร เป็น 90.0 มิลลิลิตร ที่อุณหภูมิกี่องศาเซลเซียส
T2 = 24,750 K
70
T2 = 354 K
การคานวณเกี่ยวกับกฎของชาร์ล(Charle’s law)
ตัวอย่างที่ 2 แก๊สชนิดหนึ่งมีความดัน 1 บรรยากาศ อุณหภูมิ 2 องศาเซลเซียส บรรจุไว้ในภาชนะ
ที่ยืดหยุ่นได้ เมื่อนาภาชนะบรรจุแก๊สนี้ไปจุ่มลงในของเหลวที่กาลังเดือด ที่ความดันคงที่ ปริมาตร
ของแก๊สจะขยายตัวจาก 70.0 มิลลิลิตร เป็น 90.0 มิลลิลิตร ที่อุณหภูมิกี่องศาเซลเซียส
T2 = 24,750 K
70
T2 = 354 K
การคานวณเกี่ยวกับกฎของชาร์ล(Charle’s law)
ตัวอย่างที่ 2 แก๊สชนิดหนึ่งมีความดัน 1 บรรยากาศ อุณหภูมิ 2 องศาเซลเซียส บรรจุไว้ในภาชนะ
ที่ยืดหยุ่นได้ เมื่อนาภาชนะบรรจุแก๊สนี้ไปจุ่มลงในของเหลวที่กาลังเดือด ที่ความดันคงที่ ปริมาตร
ของแก๊สจะขยายตัวจาก 70.0 มิลลิลิตร เป็น 90.0 มิลลิลิตร ที่อุณหภูมิกี่องศาเซลเซียส
T2 = 24,750 K
70
T2 = 354 K
จากความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิในหน่วยองศาเซลเซียสและเคลวิน
T(K) = 273.15 + T(℃)
เพื่อสะดวกในการคานวณจะอุณหภูมิศูนย์สัมบูรณ์เท่ากับ – 273 องศาเซลเซียส
การคานวณเกี่ยวกับกฎของชาร์ล(Charle’s law)
ตัวอย่างที่ 2 แก๊สชนิดหนึ่งมีความดัน 1 บรรยากาศ อุณหภูมิ 2 องศาเซลเซียส บรรจุไว้ในภาชนะ
ที่ยืดหยุ่นได้ เมื่อนาภาชนะบรรจุแก๊สนี้ไปจุ่มลงในของเหลวที่กาลังเดือด ที่ความดันคงที่ ปริมาตร
ของแก๊สจะขยายตัวจาก 70.0 มิลลิลิตร เป็น 90.0 มิลลิลิตร ที่อุณหภูมิกี่องศาเซลเซียส
T2 = 24,750 K
70
T2 = 354 K
เปลี่ยนหน่วยอุณหภูมิให้เป็นองศาเซลเซียสจะได้
T(℃) = 354 – 273 ℃
= 81 ℃
ดังนั้น แก๊สมีอุณหภูมิ 81 องศาเซลเซียส
ที่มา: https://www.youtube.com/watch?v=cNn7trEUmlE
โฌแซ็ฟ หลุยส์ แก-ลูว์ซัก (ฝรั่งเศส: Joseph Louis
Gay-Lussac; 6 ธันวาคม 1778 - 9 พ.ค. 1850)
เป็นนักเคมีและนักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศส
ที่มา:https://th.wikipedia.org/wiki/โฌแซ็ฟ_หลุยส์_แก-ลูว์ซัก
กฎของเกย์-ลูสแซก(Guy-Lussac’s law)
จากตารางแสดง ความดัน อุณหภูมิ และอัตราส่วนความดันต่อ
อุณหภูมิ เมื่อปริมาตรและจานวนโมลของแก๊สคงที่
ความดัน(P)
mmHg
อุณหภูมิ(T) 𝑷
𝑻
(℃) K mmHg/℃ mmHg/K
703 0 273 - 2.57
753 20 293 38 2.57
805 40 313 20 2.57
856 60 333 14 2.57
908 80 353 11 2.57
959 100 373 9.6 2.57
กฎของเกย์-ลูสแซก(Guy-Lussac’s law)
เมื่อปริมาตรและจานวนโมลของแก๊สคงที่ อัตราส่วนควมดันต่ออุณหภูมิใน
หน่วยเคลวินเป็นค่าคงที่ ดังนั้น ความดัน(P)แปรผันตรงกับอุณหภูมิ(T)ในหน่วย
เคลวิน เขียนแทนด้วยสมการได้ดังนี้
P 𝛼 T
P = ค่าคงที่ x T
𝑃
𝑇
= ค่าคงที่
ความสัมพันธ์ตามกฎของเกย์-ลูสแซก อาจเขียนอยู่ในรูปที่สามารถ
ใช้คานวณความดันหรืออุณหภูมิของแก๊สที่สองสภาวะได้ดังนี้
𝑃1
𝑇1
=
𝑃2
𝑇2
เมื่อ P1 และ P2 คือ ปริมาตรของแก๊สที่มีอุณหภูมิ T1 และ T2 ตามลาดับ
ที่ความดันและจานวนโมลคงที่
กฎของเกย์-ลูสแซก(Guy-Lussac’s law)
ที่มา: https://www.youtube.com/watch?v=N6DZRiSIK3s
การคานวณเกี่ยวกับกฎของเกย์-ลูสแซก(Guy-Lussac’s law)
ตัวอย่างที่ 1 กระป๋องสเปรย์ปรับอากาศซึ่งมีความดัน 103 กิโลปาสคาล ที่อุณหภูมิ 25 องศา
เซลเซียส ถูกโยนใส่กองไฟจนมีอุณหภูมิ 928 องศาเซลเซียส ภายในกระป๋องจะมีความดันกี่กิโล
ปาสคาล
การคานวณเกี่ยวกับกฎของเกย์-ลูสแซก(Guy-Lussac’s law)
ตัวอย่างที่ 1 กระป๋องสเปรย์ปรับอากาศซึ่งมีความดัน 103 กิโลปาสคาล ที่อุณหภูมิ 25 องศา
เซลเซียส ถูกโยนใส่กองไฟจนมีอุณหภูมิ 928 องศาเซลเซียส ภายในกระป๋องจะมีความดันกี่กิโล
ปาสคาล
วิธีทา จาก
𝑃1
𝑇1
=
𝑃2
𝑇2
การคานวณเกี่ยวกับกฎของเกย์-ลูสแซก(Guy-Lussac’s law)
ตัวอย่างที่ 1 กระป๋องสเปรย์ปรับอากาศซึ่งมีความดัน 103 กิโลปาสคาล ที่อุณหภูมิ 25 องศา
เซลเซียส ถูกโยนใส่กองไฟจนมีอุณหภูมิ 928 องศาเซลเซียส ภายในกระป๋องจะมีความดันกี่กิโล
ปาสคาล
วิธีทา จาก
𝑃1
𝑇1
=
𝑃2
𝑇2
แทนค่าจะได้ 103 kPa = P2
(25+273) K (928+273) K
การคานวณเกี่ยวกับกฎของเกย์-ลูสแซก(Guy-Lussac’s law)
ตัวอย่างที่ 1 กระป๋องสเปรย์ปรับอากาศซึ่งมีความดัน 103 กิโลปาสคาล ที่อุณหภูมิ 25 องศา
เซลเซียส ถูกโยนใส่กองไฟจนมีอุณหภูมิ 928 องศาเซลเซียส ภายในกระป๋องจะมีความดันกี่กิโล
ปาสคาล
วิธีทา จาก
𝑃1
𝑇1
=
𝑃2
𝑇2
แทนค่าจะได้ 103 kPa = P2
(25+273) K (928+273) K
P2 = ( 103 kPa)(1,201 K)
(298 K)
การคานวณเกี่ยวกับกฎของเกย์-ลูสแซก(Guy-Lussac’s law)
ตัวอย่างที่ 1 กระป๋องสเปรย์ปรับอากาศซึ่งมีความดัน 103 กิโลปาสคาล ที่อุณหภูมิ 25 องศา
เซลเซียส ถูกโยนใส่กองไฟจนมีอุณหภูมิ 928 องศาเซลเซียส ภายในกระป๋องจะมีความดันกี่กิโล
ปาสคาล
วิธีทา จาก
𝑃1
𝑇1
=
𝑃2
𝑇2
แทนค่าจะได้ 103 kPa = P2
(25+273) K (928+273) K
P2 = ( 103 kPa)(1,201 K)
(298 K)
การคานวณเกี่ยวกับกฎของเกย์-ลูสแซก(Guy-Lussac’s law)
ตัวอย่างที่ 1 กระป๋องสเปรย์ปรับอากาศซึ่งมีความดัน 103 กิโลปาสคาล ที่อุณหภูมิ 25 องศา
เซลเซียส ถูกโยนใส่กองไฟจนมีอุณหภูมิ 928 องศาเซลเซียส ภายในกระป๋องจะมีความดันกี่กิโล
ปาสคาล
วิธีทา จาก
𝑃1
𝑇1
=
𝑃2
𝑇2
แทนค่าจะได้ 103 kPa = P2
(25+273) K (928+273) K
P2 = ( 103 kPa)(1,201 K)
(298 K)
P2 = 123,703 kPa
298
การคานวณเกี่ยวกับกฎของเกย์-ลูสแซก(Guy-Lussac’s law)
ตัวอย่างที่ 1 กระป๋องสเปรย์ปรับอากาศซึ่งมีความดัน 103 กิโลปาสคาล ที่อุณหภูมิ 25 องศา
เซลเซียส ถูกโยนใส่กองไฟจนมีอุณหภูมิ 928 องศาเซลเซียส ภายในกระป๋องจะมีความดันกี่กิโล
ปาสคาล
วิธีทา จาก
𝑃1
𝑇1
=
𝑃2
𝑇2
แทนค่าจะได้ 103 kPa = P2
(25+273) K (928+273) K
P2 = ( 103 kPa)(1,201 K)
(298 K)
P2 = 123,703 kPa = 415.11 kPa
298
การคานวณเกี่ยวกับกฎของเกย์-ลูสแซก(Guy-Lussac’s law)
ตัวอย่างที่ 1 กระป๋องสเปรย์ปรับอากาศซึ่งมีความดัน 103 กิโลปาสคาล ที่อุณหภูมิ 25 องศา
เซลเซียส ถูกโยนใส่กองไฟจนมีอุณหภูมิ 928 องศาเซลเซียส ภายในกระป๋องจะมีความดันกี่กิโล
ปาสคาล
วิธีทา จาก
𝑃1
𝑇1
=
𝑃2
𝑇2
แทนค่าจะได้ 103 kPa = P2
(25+273) K (928+273) K
P2 = ( 103 kPa)(1,201 K)
(298 K)
P2 = 123,703 kPa = 415.11 kPa
298
ดังนั้น ภายในกระป๋องจะมีความดัน 415 กิโลปาสคาล
การคานวณเกี่ยวกับกฎของเกย์-ลูสแซก(Guy-Lussac’s law)
ตัวอย่างที่ 2 แก๊สชนิดหนึ่งบรรจุอยู่ในภาชนะเหล็กหนาทรงกระบอกขนาด 2.0 ลิตร ที่ความดัน
760 มิลลิเมตรปรอท อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส เมื่อเพิ่มอุณหภูมิจนได้ความดันเป็น 1,500
มิลลิเมตรปรอท อุณหภูมิสุดท้ายของแก๊สนี้เป็นกี่องศาเซลเซียส
การคานวณเกี่ยวกับกฎของเกย์-ลูสแซก(Guy-Lussac’s law)
ตัวอย่างที่ 2 แก๊สชนิดหนึ่งบรรจุอยู่ในภาชนะเหล็กหนาทรงกระบอกขนาด 2.0 ลิตร ที่ความดัน
760 มิลลิเมตรปรอท อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส เมื่อเพิ่มอุณหภูมิจนได้ความดันเป็น 1,500
มิลลิเมตรปรอท อุณหภูมิสุดท้ายของแก๊สนี้เป็นกี่องศาเซลเซียส
วิธีทา จาก
𝑃1
𝑇1
=
𝑃2
𝑇2
การคานวณเกี่ยวกับกฎของเกย์-ลูสแซก(Guy-Lussac’s law)
ตัวอย่างที่ 2 แก๊สชนิดหนึ่งบรรจุอยู่ในภาชนะเหล็กหนาทรงกระบอกขนาด 2.0 ลิตร ที่ความดัน
760 มิลลิเมตรปรอท อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส เมื่อเพิ่มอุณหภูมิจนได้ความดันเป็น 1,500
มิลลิเมตรปรอท อุณหภูมิสุดท้ายของแก๊สนี้เป็นกี่องศาเซลเซียส
วิธีทา จาก
𝑃1
𝑇1
=
𝑃2
𝑇2
แทนค่าจะได้ 750 mmHg = 1,500 mmHg
(25+273) K T2
การคานวณเกี่ยวกับกฎของเกย์-ลูสแซก(Guy-Lussac’s law)
ตัวอย่างที่ 2 แก๊สชนิดหนึ่งบรรจุอยู่ในภาชนะเหล็กหนาทรงกระบอกขนาด 2.0 ลิตร ที่ความดัน
760 มิลลิเมตรปรอท อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส เมื่อเพิ่มอุณหภูมิจนได้ความดันเป็น 1,500
มิลลิเมตรปรอท อุณหภูมิสุดท้ายของแก๊สนี้เป็นกี่องศาเซลเซียส
วิธีทา จาก
𝑃1
𝑇1
=
𝑃2
𝑇2
แทนค่าจะได้ 750 mmHg = 1,500 mmHg
(25+273) K T2
T2 = (1,500 mmHg)(298 K)
(760 mmHg)
การคานวณเกี่ยวกับกฎของเกย์-ลูสแซก(Guy-Lussac’s law)
ตัวอย่างที่ 2 แก๊สชนิดหนึ่งบรรจุอยู่ในภาชนะเหล็กหนาทรงกระบอกขนาด 2.0 ลิตร ที่ความดัน
760 มิลลิเมตรปรอท อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส เมื่อเพิ่มอุณหภูมิจนได้ความดันเป็น 1,500
มิลลิเมตรปรอท อุณหภูมิสุดท้ายของแก๊สนี้เป็นกี่องศาเซลเซียส
วิธีทา จาก
𝑃1
𝑇1
=
𝑃2
𝑇2
แทนค่าจะได้ 750 mmHg = 1,500 mmHg
(25+273) K T2
T2 = (1,500 mmHg)(298 K)
(760 mmHg)
การคานวณเกี่ยวกับกฎของเกย์-ลูสแซก(Guy-Lussac’s law)
ตัวอย่างที่ 2 แก๊สชนิดหนึ่งบรรจุอยู่ในภาชนะเหล็กหนาทรงกระบอกขนาด 2.0 ลิตร ที่ความดัน
760 มิลลิเมตรปรอท อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส เมื่อเพิ่มอุณหภูมิจนได้ความดันเป็น 1,500
มิลลิเมตรปรอท อุณหภูมิสุดท้ายของแก๊สนี้เป็นกี่องศาเซลเซียส
วิธีทา จาก
𝑃1
𝑇1
=
𝑃2
𝑇2
แทนค่าจะได้ 750 mmHg = 1,500 mmHg
(25+273) K T2
T2 = (1,500 mmHg)(298 K)
(760 mmHg)
T2 = 447,000 K
760
การคานวณเกี่ยวกับกฎของเกย์-ลูสแซก(Guy-Lussac’s law)
ตัวอย่างที่ 2 แก๊สชนิดหนึ่งบรรจุอยู่ในภาชนะเหล็กหนาทรงกระบอกขนาด 2.0 ลิตร ที่ความดัน
760 มิลลิเมตรปรอท อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส เมื่อเพิ่มอุณหภูมิจนได้ความดันเป็น 1,500
มิลลิเมตรปรอท อุณหภูมิสุดท้ายของแก๊สนี้เป็นกี่องศาเซลเซียส
วิธีทา จาก
𝑃1
𝑇1
=
𝑃2
𝑇2
แทนค่าจะได้ 750 mmHg = 1,500 mmHg
(25+273) K T2
T2 = (1,500 mmHg)(298 K)
(760 mmHg)
T2 = 447,000 K = 588.16 K
760
การคานวณเกี่ยวกับกฎของเกย์-ลูสแซก(Guy-Lussac’s law)
ตัวอย่างที่ 2 แก๊สชนิดหนึ่งบรรจุอยู่ในภาชนะเหล็กหนาทรงกระบอกขนาด 2.0 ลิตร ที่ความดัน
760 มิลลิเมตรปรอท อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส เมื่อเพิ่มอุณหภูมิจนได้ความดันเป็น 1,500
มิลลิเมตรปรอท อุณหภูมิสุดท้ายของแก๊สนี้เป็นกี่องศาเซลเซียส
วิธีทา จาก
𝑃1
𝑇1
=
𝑃2
𝑇2
แทนค่าจะได้ 750 mmHg = 1,500 mmHg
(25+273) K T2
T2 = (1,500 mmHg)(298 K)
(760 mmHg)
T2 = 447,000 K = 588.16 K
760
อุณหภูมิสุดท้ายของแก๊สนี้ เท่ากับ 588 K
การคานวณเกี่ยวกับกฎของเกย์-ลูสแซก(Guy-Lussac’s law)
ตัวอย่างที่ 2 แก๊สชนิดหนึ่งบรรจุอยู่ในภาชนะเหล็กหนาทรงกระบอกขนาด 2.0 ลิตร ที่ความดัน
760 มิลลิเมตรปรอท อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส เมื่อเพิ่มอุณหภูมิจนได้ความดันเป็น 1,500
มิลลิเมตรปรอท อุณหภูมิสุดท้ายของแก๊สนี้เป็นกี่องศาเซลเซียส
วิธีทา จาก
𝑃1
𝑇1
=
𝑃2
𝑇2
แทนค่าจะได้ 750 mmHg = 1,500 mmHg
(25+273) K T2
T2 = (1,500 mmHg)(298 K)
(760 mmHg)
T2 = 447,000 K = 588.16 K
760
อุณหภูมิสุดท้ายของแก๊สนี้ เท่ากับ 588 K
การคานวณเกี่ยวกับกฎของเกย์-ลูสแซก(Guy-Lussac’s law)
ตัวอย่างที่ 2 แก๊สชนิดหนึ่งบรรจุอยู่ในภาชนะเหล็กหนาทรงกระบอกขนาด 2.0 ลิตร ที่ความดัน
760 มิลลิเมตรปรอท อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส เมื่อเพิ่มอุณหภูมิจนได้ความดันเป็น 1,500
มิลลิเมตรปรอท อุณหภูมิสุดท้ายของแก๊สนี้เป็นกี่องศาเซลเซียส
T2 = 588 K
เปลี่ยนหน่วยอุณหภูมิให้เป็นองศาเซลเซียสจะได้
T(℃) = 588 – 273 ℃
= 315 ℃
ดังนั้น อุณหภูมิสุดท้ายของแก๊สชนิดนี้เท่ากับ 315 องศาเซลเซียส

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfssuser2feafc1
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมKittivut Tantivuttiki
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์Kapom K.S.
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบWijitta DevilTeacher
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้าdnavaroj
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีืkanya pinyo
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีการคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีพัน พัน
 
6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊สWijitta DevilTeacher
 
สอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายสอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายDuduan
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีSircom Smarnbua
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...ssuser858855
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)sudoooooo
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีสWijitta DevilTeacher
 
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมเรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมjariya namwichit
 

What's hot (20)

แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีการคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
 
6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส
 
สอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายสอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลาย
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
 
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมเรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
 

Similar to 3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก

Physical Characteristics Of Gases
Physical Characteristics Of GasesPhysical Characteristics Of Gases
Physical Characteristics Of Gasesshawnschlueter
 
Chemistry: The Gas Laws
Chemistry: The Gas LawsChemistry: The Gas Laws
Chemistry: The Gas LawsLailaniePineda
 
thegaslawscomplete-120227061412-phpapp01.pdf
thegaslawscomplete-120227061412-phpapp01.pdfthegaslawscomplete-120227061412-phpapp01.pdf
thegaslawscomplete-120227061412-phpapp01.pdfnona wayne dela pena
 
Gas_Law_Pt_1.ppt gas laws charles boyles
Gas_Law_Pt_1.ppt gas laws charles boylesGas_Law_Pt_1.ppt gas laws charles boyles
Gas_Law_Pt_1.ppt gas laws charles boylesrenald7
 
Intro-to-Gases-and-Gas-Laws-Gen-Chem-1.pptx
Intro-to-Gases-and-Gas-Laws-Gen-Chem-1.pptxIntro-to-Gases-and-Gas-Laws-Gen-Chem-1.pptx
Intro-to-Gases-and-Gas-Laws-Gen-Chem-1.pptxFrancesLeiOrtiz
 
Experiment 2: Molar Volume of Oxygen
Experiment 2: Molar Volume of OxygenExperiment 2: Molar Volume of Oxygen
Experiment 2: Molar Volume of OxygenJanine Samelo
 
Gay lussac's law handouts
Gay lussac's law handoutsGay lussac's law handouts
Gay lussac's law handoutsAfael
 
Intro to Gases and Gas Laws.ppt
Intro to Gases and Gas Laws.pptIntro to Gases and Gas Laws.ppt
Intro to Gases and Gas Laws.pptAryanMani2
 
Intro to gases and gas laws
Intro to gases and gas lawsIntro to gases and gas laws
Intro to gases and gas lawsSushil_77
 
Intro to Gases and Gas Laws.ppt
Intro to Gases and Gas Laws.pptIntro to Gases and Gas Laws.ppt
Intro to Gases and Gas Laws.pptMooketsiMasilo
 
CSEC PHYSICS - KINETIC THEORY Gas Law.pptx
CSEC PHYSICS - KINETIC THEORY Gas Law.pptxCSEC PHYSICS - KINETIC THEORY Gas Law.pptx
CSEC PHYSICS - KINETIC THEORY Gas Law.pptxCarl Davis
 
Chemunit12presentation 120409192209-phpapp02
Chemunit12presentation 120409192209-phpapp02Chemunit12presentation 120409192209-phpapp02
Chemunit12presentation 120409192209-phpapp02Cleophas Rwemera
 
Chemistry - Chp 14 - The Behavior of Gases - Study Guide
Chemistry - Chp 14 - The Behavior of Gases - Study GuideChemistry - Chp 14 - The Behavior of Gases - Study Guide
Chemistry - Chp 14 - The Behavior of Gases - Study GuideMr. Walajtys
 

Similar to 3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก (20)

GASES: BEHAVIOR AND CALCULATIONS
GASES: BEHAVIOR AND CALCULATIONSGASES: BEHAVIOR AND CALCULATIONS
GASES: BEHAVIOR AND CALCULATIONS
 
Physical Characteristics Of Gases
Physical Characteristics Of GasesPhysical Characteristics Of Gases
Physical Characteristics Of Gases
 
Chemistry: The Gas Laws
Chemistry: The Gas LawsChemistry: The Gas Laws
Chemistry: The Gas Laws
 
thegaslawscomplete-120227061412-phpapp01.pdf
thegaslawscomplete-120227061412-phpapp01.pdfthegaslawscomplete-120227061412-phpapp01.pdf
thegaslawscomplete-120227061412-phpapp01.pdf
 
Gas_Law_Pt_1.ppt gas laws charles boyles
Gas_Law_Pt_1.ppt gas laws charles boylesGas_Law_Pt_1.ppt gas laws charles boyles
Gas_Law_Pt_1.ppt gas laws charles boyles
 
Intro-to-Gases-and-Gas-Laws-Gen-Chem-1.pptx
Intro-to-Gases-and-Gas-Laws-Gen-Chem-1.pptxIntro-to-Gases-and-Gas-Laws-Gen-Chem-1.pptx
Intro-to-Gases-and-Gas-Laws-Gen-Chem-1.pptx
 
Ideal gas law firs tthis one
Ideal gas law firs tthis oneIdeal gas law firs tthis one
Ideal gas law firs tthis one
 
Experiment 2: Molar Volume of Oxygen
Experiment 2: Molar Volume of OxygenExperiment 2: Molar Volume of Oxygen
Experiment 2: Molar Volume of Oxygen
 
Liyue.pptx
Liyue.pptxLiyue.pptx
Liyue.pptx
 
Gay lussac's law handouts
Gay lussac's law handoutsGay lussac's law handouts
Gay lussac's law handouts
 
Unit 5 - Gases.pptx
Unit 5 - Gases.pptxUnit 5 - Gases.pptx
Unit 5 - Gases.pptx
 
Intro to Gases and Gas Laws.ppt
Intro to Gases and Gas Laws.pptIntro to Gases and Gas Laws.ppt
Intro to Gases and Gas Laws.ppt
 
Intro to gases and gas laws
Intro to gases and gas lawsIntro to gases and gas laws
Intro to gases and gas laws
 
Intro to Gases and Gas Laws.ppt
Intro to Gases and Gas Laws.pptIntro to Gases and Gas Laws.ppt
Intro to Gases and Gas Laws.ppt
 
CSEC PHYSICS - KINETIC THEORY Gas Law.pptx
CSEC PHYSICS - KINETIC THEORY Gas Law.pptxCSEC PHYSICS - KINETIC THEORY Gas Law.pptx
CSEC PHYSICS - KINETIC THEORY Gas Law.pptx
 
Chemunit12presentation 120409192209-phpapp02
Chemunit12presentation 120409192209-phpapp02Chemunit12presentation 120409192209-phpapp02
Chemunit12presentation 120409192209-phpapp02
 
the gaseous state of matter
the gaseous state of matterthe gaseous state of matter
the gaseous state of matter
 
Chemistry - Chp 14 - The Behavior of Gases - Study Guide
Chemistry - Chp 14 - The Behavior of Gases - Study GuideChemistry - Chp 14 - The Behavior of Gases - Study Guide
Chemistry - Chp 14 - The Behavior of Gases - Study Guide
 
Gas Laws
Gas LawsGas Laws
Gas Laws
 
Gas laws
Gas lawsGas laws
Gas laws
 

More from Preeyapat Lengrabam

7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊สPreeyapat Lengrabam
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...Preeyapat Lengrabam
 
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัยเล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัยPreeyapat Lengrabam
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันPreeyapat Lengrabam
 
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมีPreeyapat Lengrabam
 
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีPreeyapat Lengrabam
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีPreeyapat Lengrabam
 
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมีPreeyapat Lengrabam
 

More from Preeyapat Lengrabam (8)

7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...
 
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัยเล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
 
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมี
 
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
 

Recently uploaded

Field Attribute Index Feature in Odoo 17
Field Attribute Index Feature in Odoo 17Field Attribute Index Feature in Odoo 17
Field Attribute Index Feature in Odoo 17Celine George
 
Computed Fields and api Depends in the Odoo 17
Computed Fields and api Depends in the Odoo 17Computed Fields and api Depends in the Odoo 17
Computed Fields and api Depends in the Odoo 17Celine George
 
Gas measurement O2,Co2,& ph) 04/2024.pptx
Gas measurement O2,Co2,& ph) 04/2024.pptxGas measurement O2,Co2,& ph) 04/2024.pptx
Gas measurement O2,Co2,& ph) 04/2024.pptxDr.Ibrahim Hassaan
 
EPANDING THE CONTENT OF AN OUTLINE using notes.pptx
EPANDING THE CONTENT OF AN OUTLINE using notes.pptxEPANDING THE CONTENT OF AN OUTLINE using notes.pptx
EPANDING THE CONTENT OF AN OUTLINE using notes.pptxRaymartEstabillo3
 
AmericanHighSchoolsprezentacijaoskolama.
AmericanHighSchoolsprezentacijaoskolama.AmericanHighSchoolsprezentacijaoskolama.
AmericanHighSchoolsprezentacijaoskolama.arsicmarija21
 
Alper Gobel In Media Res Media Component
Alper Gobel In Media Res Media ComponentAlper Gobel In Media Res Media Component
Alper Gobel In Media Res Media ComponentInMediaRes1
 
Employee wellbeing at the workplace.pptx
Employee wellbeing at the workplace.pptxEmployee wellbeing at the workplace.pptx
Employee wellbeing at the workplace.pptxNirmalaLoungPoorunde1
 
ECONOMIC CONTEXT - PAPER 1 Q3: NEWSPAPERS.pptx
ECONOMIC CONTEXT - PAPER 1 Q3: NEWSPAPERS.pptxECONOMIC CONTEXT - PAPER 1 Q3: NEWSPAPERS.pptx
ECONOMIC CONTEXT - PAPER 1 Q3: NEWSPAPERS.pptxiammrhaywood
 
ROOT CAUSE ANALYSIS PowerPoint Presentation
ROOT CAUSE ANALYSIS PowerPoint PresentationROOT CAUSE ANALYSIS PowerPoint Presentation
ROOT CAUSE ANALYSIS PowerPoint PresentationAadityaSharma884161
 
Atmosphere science 7 quarter 4 .........
Atmosphere science 7 quarter 4 .........Atmosphere science 7 quarter 4 .........
Atmosphere science 7 quarter 4 .........LeaCamillePacle
 
Full Stack Web Development Course for Beginners
Full Stack Web Development Course  for BeginnersFull Stack Web Development Course  for Beginners
Full Stack Web Development Course for BeginnersSabitha Banu
 
Quarter 4 Peace-education.pptx Catch Up Friday
Quarter 4 Peace-education.pptx Catch Up FridayQuarter 4 Peace-education.pptx Catch Up Friday
Quarter 4 Peace-education.pptx Catch Up FridayMakMakNepo
 
Roles & Responsibilities in Pharmacovigilance
Roles & Responsibilities in PharmacovigilanceRoles & Responsibilities in Pharmacovigilance
Roles & Responsibilities in PharmacovigilanceSamikshaHamane
 
Influencing policy (training slides from Fast Track Impact)
Influencing policy (training slides from Fast Track Impact)Influencing policy (training slides from Fast Track Impact)
Influencing policy (training slides from Fast Track Impact)Mark Reed
 
ENGLISH6-Q4-W3.pptxqurter our high choom
ENGLISH6-Q4-W3.pptxqurter our high choomENGLISH6-Q4-W3.pptxqurter our high choom
ENGLISH6-Q4-W3.pptxqurter our high choomnelietumpap1
 
ECONOMIC CONTEXT - LONG FORM TV DRAMA - PPT
ECONOMIC CONTEXT - LONG FORM TV DRAMA - PPTECONOMIC CONTEXT - LONG FORM TV DRAMA - PPT
ECONOMIC CONTEXT - LONG FORM TV DRAMA - PPTiammrhaywood
 

Recently uploaded (20)

Field Attribute Index Feature in Odoo 17
Field Attribute Index Feature in Odoo 17Field Attribute Index Feature in Odoo 17
Field Attribute Index Feature in Odoo 17
 
Computed Fields and api Depends in the Odoo 17
Computed Fields and api Depends in the Odoo 17Computed Fields and api Depends in the Odoo 17
Computed Fields and api Depends in the Odoo 17
 
Gas measurement O2,Co2,& ph) 04/2024.pptx
Gas measurement O2,Co2,& ph) 04/2024.pptxGas measurement O2,Co2,& ph) 04/2024.pptx
Gas measurement O2,Co2,& ph) 04/2024.pptx
 
EPANDING THE CONTENT OF AN OUTLINE using notes.pptx
EPANDING THE CONTENT OF AN OUTLINE using notes.pptxEPANDING THE CONTENT OF AN OUTLINE using notes.pptx
EPANDING THE CONTENT OF AN OUTLINE using notes.pptx
 
AmericanHighSchoolsprezentacijaoskolama.
AmericanHighSchoolsprezentacijaoskolama.AmericanHighSchoolsprezentacijaoskolama.
AmericanHighSchoolsprezentacijaoskolama.
 
Alper Gobel In Media Res Media Component
Alper Gobel In Media Res Media ComponentAlper Gobel In Media Res Media Component
Alper Gobel In Media Res Media Component
 
Employee wellbeing at the workplace.pptx
Employee wellbeing at the workplace.pptxEmployee wellbeing at the workplace.pptx
Employee wellbeing at the workplace.pptx
 
ECONOMIC CONTEXT - PAPER 1 Q3: NEWSPAPERS.pptx
ECONOMIC CONTEXT - PAPER 1 Q3: NEWSPAPERS.pptxECONOMIC CONTEXT - PAPER 1 Q3: NEWSPAPERS.pptx
ECONOMIC CONTEXT - PAPER 1 Q3: NEWSPAPERS.pptx
 
ROOT CAUSE ANALYSIS PowerPoint Presentation
ROOT CAUSE ANALYSIS PowerPoint PresentationROOT CAUSE ANALYSIS PowerPoint Presentation
ROOT CAUSE ANALYSIS PowerPoint Presentation
 
Atmosphere science 7 quarter 4 .........
Atmosphere science 7 quarter 4 .........Atmosphere science 7 quarter 4 .........
Atmosphere science 7 quarter 4 .........
 
Full Stack Web Development Course for Beginners
Full Stack Web Development Course  for BeginnersFull Stack Web Development Course  for Beginners
Full Stack Web Development Course for Beginners
 
Quarter 4 Peace-education.pptx Catch Up Friday
Quarter 4 Peace-education.pptx Catch Up FridayQuarter 4 Peace-education.pptx Catch Up Friday
Quarter 4 Peace-education.pptx Catch Up Friday
 
Model Call Girl in Bikash Puri Delhi reach out to us at 🔝9953056974🔝
Model Call Girl in Bikash Puri  Delhi reach out to us at 🔝9953056974🔝Model Call Girl in Bikash Puri  Delhi reach out to us at 🔝9953056974🔝
Model Call Girl in Bikash Puri Delhi reach out to us at 🔝9953056974🔝
 
Rapple "Scholarly Communications and the Sustainable Development Goals"
Rapple "Scholarly Communications and the Sustainable Development Goals"Rapple "Scholarly Communications and the Sustainable Development Goals"
Rapple "Scholarly Communications and the Sustainable Development Goals"
 
Roles & Responsibilities in Pharmacovigilance
Roles & Responsibilities in PharmacovigilanceRoles & Responsibilities in Pharmacovigilance
Roles & Responsibilities in Pharmacovigilance
 
Influencing policy (training slides from Fast Track Impact)
Influencing policy (training slides from Fast Track Impact)Influencing policy (training slides from Fast Track Impact)
Influencing policy (training slides from Fast Track Impact)
 
ENGLISH6-Q4-W3.pptxqurter our high choom
ENGLISH6-Q4-W3.pptxqurter our high choomENGLISH6-Q4-W3.pptxqurter our high choom
ENGLISH6-Q4-W3.pptxqurter our high choom
 
Raw materials used in Herbal Cosmetics.pptx
Raw materials used in Herbal Cosmetics.pptxRaw materials used in Herbal Cosmetics.pptx
Raw materials used in Herbal Cosmetics.pptx
 
ECONOMIC CONTEXT - LONG FORM TV DRAMA - PPT
ECONOMIC CONTEXT - LONG FORM TV DRAMA - PPTECONOMIC CONTEXT - LONG FORM TV DRAMA - PPT
ECONOMIC CONTEXT - LONG FORM TV DRAMA - PPT
 
Model Call Girl in Tilak Nagar Delhi reach out to us at 🔝9953056974🔝
Model Call Girl in Tilak Nagar Delhi reach out to us at 🔝9953056974🔝Model Call Girl in Tilak Nagar Delhi reach out to us at 🔝9953056974🔝
Model Call Girl in Tilak Nagar Delhi reach out to us at 🔝9953056974🔝
 

3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก