SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
Download to read offline
เฉลย ฟิสิกส์ Ent 48
เฉลยเฉลยเฉลยตอนที่ 1ตอนที่ 1ตอนที่ 1
1. ตอบ 4
วิธีทำ
8 วินำทีแรก จากสมการ v2
= 42
– (t-4)2
หรือ v2
+ (t-4)2
= 42
เมื่อนาไปเขียนกราฟระหว่าง v กับ t จะได้เป็นกราฟวงกลมดังรูป
8 วินำทีหลัง วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง เมื่อนาไปเขียนกราฟ v กับ t
จะได้เป็นกราฟเส้นตรงเอียงขวา ดังรูป
หาระยะทาง จาก s = พื้นที่ใต้กราฟระหว่าง vกับ t
แทนค่า s = 2
)4(
2
1
 + )10)(8(
2
1

= 48 เมตร
ดังนั้น ระยะทางทั้งหมดที่เคลื่อนที่เป็น 48 เมตร ตอบ
2. ตอบ 2
วิธีทำ หาแรง F
จาก

F

= ma

F - mg = ma
แทนค่า F – (0.25)(200) = 20(5)
จะได้ F = 150 N
เนื่องจากมีความเร่ง ตอนคิดโมเมนต์จึงใช้จุด cm. เป็นจุดหมุน
จาก Mตาม = Mทวน
N(0.25) + mg(1) = F(1-H)
200(0.25) + 0.25(200)(1) = 150(1-H)
จะได้ H = 0.33 m
ดังนั้น ค่า H ที่น้อยที่สุดที่กล่องไม่ล้ม คือ 0.33 เมตร ตอบ
3. ตอบ 1
วิธีทำ พิจารณาการเคลื่อนที่โพรเจ็กไทล์
แนวดิ่ง sy = uyt +
2
1
gt2
เนื่องจาก uy=0 และ มี sy เท่ากัน
ดังนั้น ทั้ง 2 ก้อน จะใช้เวลาเคลื่อนที่เท่ากัน
แนวราบ Sx = vxt
u=0 a=+
t=8 s t=8 s
v=10
t
v
168
10
(4,0)
0.5 m
F
H
1 m
1 m
mgN
f=N=mg
a
cm.
h
2m
20 cm
s
vx1
vx2
Sx1
Sx2
Sx  vx
จะได้
2
1
x
x
S
S
=
2
1
x
x
v
v
……….(1)
เมื่อกดสปริงเข้าไปแล้วปล่อย สปริงจะออกแรงดีดลูกปืนออกมา
หาความเร็วของลูกปืนที่ถูกสปริงดีดออกมาถึงปากกระบอกปืน
จาก Ek2 = Ek1 + 21W
2
1
mv2
= 0 +
2
1
kS2
หรือ v  s
จะได้
2
1
x
x
v
v
=
2
1
s
s
………. (2)
จาก (1) และ (2) จะได้
2
1
x
x
S
S
=
2
1
s
s
แทนค่า
2.2
2
=
2
1
s
s2 = 1.1 cm
ดังนั้น เด็กคนที่สองต้องกดสปริงเข้าไป 1.1 เซนติเมตร ตอบ
4. ตอบ 2
วิธีทำ
ตอนแรก เมื่อกระสุนพุ่งเข้าชนเนื้อไม้ จะมีแรงจากเนื้อไม้ต้านกระสุนให้ช้าลง สมมติทะลุเข้าไปได้เป็นระยะ s1
จาก W = EK
-f.s1 = 0 -
2
1
mv2
จะได้ f =
1
2
2
1
s
mv
…………… (1)
ตอนหลัง เมื่อกระสุนพุ่งเข้าชนเนื้อไม้ จะมีแรงจากเนื้อไม้ต้านกระสุนให้ช้าลง และแรงจากกระสุนจะไปทาให้
ไม้มีความเร็วเพิ่มขึ้น เมื่อกระสุนและท่อนไม้มีความเร็วเท่ากัน จะเคลื่อนที่ติดกันไปโดยมีความเร็วเท่ากัน
(กระสุนหยุดนิ่งเทียบกับท่อนไม้) สมมติขณะนั้นกระสุนทะลุเข้าไปได้เป็นระยะ s2
จาก  iP

=  fP

mv = (M+m)V
จะได้ V =
mM
mv

…………… (2)
พลังงานจลน์ที่หายไป จะเปลี่ยนไปเป็นงานของแรงต้าน
f
หยุด
v
f
v
V
ตอนแรก ตอนหลัง
จาก W = EK
-f.s2 =
2
1
(M+m)V2
-
2
1
mv2
แทนค่า f จาก (1) และ V จาก (2)
1
2
2
1
s
mv
s2 =
2
1
mv2
-
2
1
(M+m)
2






 mM
mv
=
2
1
mv2
(1-
mM
m

)
1
2
s
s
=
mM
M

s2 = s1(
mM
M

)
= 8(
2501000
1000

) = 6.4 cm
ดังนั้น กระสุนจะเคลื่อนที่เข้าไปในเนื้อไม้ได้ 6.4 เซนติเมตร ตอบ
5. ตอบ 4
วิธีทำ
พิจารณาที่ลูกบอล หลังชนเคลื่อนที่ไปกระทบพื้น
แนวดิ่ง ; s = ut +
2
1
gt2
5 = 0 +
2
1
(10)t2
t = 1 s
แนวราบ ; sx = uxt
20 = V(1)
V = 20 m/s
ตอนชน  iP

=  fP

(0.01)(500) = 0.01(v) + 0.2(20)
v = 100 m/s
พิจารณาที่ลูกปืน หลังชนเคลื่อนที่ไปกระทบพื้น
แนวดิ่ง ; s = ut +
2
1
gt2
5 = 0 +
2
1
(10)t2
vV
5 m
uy=0
20 m
x
t = 1 s
แนวราบ ; sx = uxt
X = (100)(1) = 100 m
ดังนั้น ลูกปืนจะกระทบพื้นห่างโคนเสาเป็นระยะทาง 100 เมตร ตอบ
6. ตอบ 3
วิธีทำ
ก่อนชน กาหนด PA = PB
(1.2m)uA = m(10)
uA =
3
25
m/s
แกน y ;  iP

=  fP

0 = m(vBsin30) + 1.2m(-vAsin30)
vB = 1.2vA ………… (1)
กาหนด
2
1
Eki = Ekf
2
1
[
2
1
m(10)2
+
2
1
(1.2m)(
3
25
)2
] =
2
1
m 2
Bv +
2
1
(1.2m) 2
Av
50 + 41.67 = (1.2vA)2
+ 1.2 2
Av
vA = 5.9 m/s
ดังนั้น ความเร็วหลังชนของลูกยาง A เท่ากับ 5.9 เมตร/วินาที ตอบ
7. ตอบ 1
วิธีทำ B มีมวลมากกว่า จะถูกเหวี่ยงให้เคลื่อนที่ออกจากจุดศูนย์กลาง และเชือกที่โยงกันจะดึง A ให้เข้าสู่จุด
ศูนย์กลาง
B A
uB=10
uA
m 1.2
m B A
B
A
30
30
m 1.2
m
ก่อนชน หลังชน
vA
vB
30
30
vAsin30
vAcos30
vBsin30
vBcos30
+ +
A
B
13 cm
รูปด้านบน รูปด้านข้าง
A
T
f1=mAg
B
f1=mAg
f2=(mA+mB)g
T
จาก Fc = m2
R
วัตถุ A ; T - mAg = mA2
R …………… (1)
วัตถุ B ; T + mAg + (mA+mB)g = mB2
R …………… (2)
(2) - (1) ; 2mAg + (mA+mB)g = (mB - mA)2
R
แทนค่า 2(0.1)(0.9)(10) + (0.1)(0.9+1.7)(10) = (1.7 – 0.9) 2
(0.13)
 = 6.5 rad/s
ดังนั้น อัตราเร็วเชิงมุมของการหมุนมีค่า 6.5 เรเดียน/วินาที ตอบ
8. ตอบ 2
วิธีทำ
ที่จุด B Fc =
R
mv2
mg =
R
mv2
v2
= gR …………… (1)
จาก EA = EB
mg(h-2R) =
2
1
mv2
+
2
1
I2
mg(h-2R) =
2
1
mv2
+
2
1
( 2
5
2
mr )
2






r
v
g(h-2R) =
10
7
v2
แทนจาก (1) g(h-2R) =
10
7
(gR)
h = 2.7R
ดังนั้น ระยะ h น้อยที่สุดมีค่าเป็น 2.7R ตอบ
9. ตอบ 1
วิธีทำ  = 2f = 2(0.25) =
2

rad/s
ที่ t = 0 มี v = 0 และมี s = 0.7 ซม. แสดงว่าวัตถุเริ่มเคลื่อนที่จากจุดไกลสุด โดยมีแอมพลิจูด 0.7 ซม.
ดังนั้น s = Acost
หรือ v = -Asint
แทนค่า v = -
2

(0.7)sin(
2

1)
h จะมีค่าน้อยที่สุด เมื่อวัตถุกลิ้ง
ผ่านจุด B ด้วยความเร็วน้อยที่สุด ซึ่งจะ
ทาให้แรง N น้อยมาก (N  0)
= -
27
22

(0.7)(1) = - 1.1 cm/s
ดังนั้น ที่ t = 1 s วัตถุจะมีความเร็ว 1.1 เซนติเมตร/วินาที ตอบ
10. ตอบ 3
วิธีทำ เขียนแรงที่กระทาต่อลูกตุ้ม จะมีแรง mg ฉุดลง , แรงลอยตัว B จากของเหลวยกขึ้น , แรงตึงในเส้นลวด F
ดึงขึ้น (ซึ่งแรงนี้จะเท่ากับแรงเค้นที่เกิดในเส้นลวด)
เนื่องจากลูกตุ้มอยู่นิ่ง  yF = 0
F + B = mg
F + เหลวgVจม = mg
F + 103
(10)(210-3
) = (10)(10)
จะได้ F = 80 N
พิจารณาที่ลวดเหล็ก มอดุลัสของยัง Y =
ความเครียด
ความเค้น
=

A
F
จะได้  =
YA
F
แทนค่า  =
)105)(102(
80
610 

= 810-4
ดังนั้น จะเกิดความเครียดในเส้นลวด 810-4
ตอบ
11. ตอบ 2
วิธีทำ หาความดันของแก๊สในกระบอก  yF = 0
Fgas = mg + Fอากาศ
PgasA = mg + PaA
Pgas =
A
mg
+ Pa
= 4
1060
)10(8


+ 1105
= 1.13105
N/m2
ขณะทาให้ gas ร้อนขึ้น Q = U + W
Q1 = U1 + P V
= U1 + (1.13105
)(6010-4
)(2010-2
)
จะได้ Q1 = U1 + 135.6 J ………….. (1)
ขณะ gas เย็นลง เนื่องจากมีปริมาตรคงที่ ดังนั้น W = 0
จาก Q = U + W
เนื่องจาก gas เย็นลงจะคายความร้อนออกจะได้ Q2 = - และอุณหภูมิลดลง จะได้ U2 = -
จะได้ -Q2 = -U2 …………… (2)
10
F
B
mg
gas
Fอากาศ
mg
Fgas
เมื่อ gas ลดอุณหภูมิกลับสู่อุณหภูมิเดิม T ตอนแรกและตอนหลังจะเท่ากัน จึงทาให้ U1 = U2
(1) + (2) จะได้ Q1 - Q2 = +135.6 J
ดังนั้น ผลต่างระหว่าง Q1 และ Q2 มีค่าเท่ากับ 135.6 จูล ตอบ
12. ตอบ 1
วิธีทำ กาหนด 70% Wไฟฟ้า = Qน้า
70%(IVt) = mct
100
70
(15)(220)t = (0.5)(4.2103
)(100-23)
t = 70 s
จานวนยูนิต =
1000
watt
 จานวนชั่วโมง
=
1000
IV
จานวนชั่วโมง
=
1000
)220(15
(
3600
70
) = 0.064 ยูนิต
เสียค่าไฟ = 0.0643 = 0.2 บาท
ดังนั้น จะเสียเงินค่าไฟเท่ากับ 0.2 บาท ตอบ
13. ตอบ 2
วิธีทำ
จากรูป จะได้  = 6 m
หาความถี่คลื่น จาก v = f
1 = f(6)
จะได้ f =
6
1
Hz
หาระยะทางที่คลื่นเคลื่อนที่ไปได้ s = vt = (1)(0.5) = 0.5 m
คลื่นจะเคลื่อนที่ไปทางขวาได้ 0.5 เมตร (ดังเส้นประ) ทาให้จุด P เคลื่อนที่ลงมาผ่านแนว
สมดุลเดิมพอดี ขณะนั้นจุด P จะเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วมากที่สุด (การสั่นของอนุภาค
ตัวกลางจะสั่นเป็นซิมเปิลฮาร์มอนิก ที่จุดสมดุลจะมีอัตราเร็วมากที่สุด)
หาอัตราเร็วมากสุด จาก vmax = A = (2f)A
แทนค่า = )1(
6
1
7
22
2  = 1.05 m/s
ดังนั้น จุด P จะมีอัตราเร็ว 1.05 เมตร/วินาที ตอบ
เมตร
การกระจัด(m)
1
0.5 1.5 3 6
P
14. ตอบ 4
วิธีทำ การสั่นพ้องครั้งที่ติดกันจะเกิดขึ้นเมื่อระดับน้าในท่อต้องเลื่อนขึ้นจากเดิม
2

ดังนั้น การสั่นพ้องแต่ละครั้งที่ติดกันต้องทาให้ปริมาตรน้าที่สูงขึ้น คือ
ปริมาตรน้าที่สูงขึ้น V = Ah
= r2
(
2

)
= r2
f
v
2
1
แต่ อัตราการไหล Q =
t
V
ดังนั้น t =
Q
V
แทนค่า t =
Q
r2

f
v
2
1
=
Qf
vr
2
2

ดังนั้น การสั่นพ้องแต่ละครั้งจะห่างกันเป็นเวลา
Qf
vr
2
2

ตอบ
15. ตอบ 3
วิธีทำ หา Iที่วัดได้ จาก  =
0
log10
I
I
dB
80 = 12
10
log10 
I
12
10
log 
I
= 8
12
10
I
= 108
Iวัดได้ = 10-4
W/m2
หา I จริงที่จุดนั้น จาก I =
A
P
= 2
4 R
P

= 2
)100(4
12


= 310-4
W/m2
ดังนั้น I ที่ลดลง (I ) = 310-4
- 110-4
= 210-4
W/m2
% I ที่ลดลง = 100

จริงI
I
%
= 100
103
102
4
4





= 67.67 %
ดังนั้น ความเข้มเสียงถูกดูดกลืนไปประมาณ 68% ตอบ
Q m3
/s
h=
2

16. ตอบ 3
วิธีทำ
คิดการหักเหจาก n1 ไป n2 n1sin30 = n2sin
n1(
2
1
) = (2n1)sin
sin =
4
1
จาก n1v1 = n2v2
= (2n1)v2
v1 = 2v2 ……………. (1)
จากรูป
ABS
d1
= cos30 =
2
3
 SAB =
3
2 1d
จากรูป
BCS
d2
= cos =
4
15
 SBC =
15
4 1d
กาหนด tAB = tBC
1v
SAB
=
2v
SBC
แทนค่า
)2(3
2
2
1
v
d
=
)(15
4
2
1
v
d
2
1
d
d
=
5
4
ดังนั้น ค่าของ
2
1
d
d
=
5
4
ตอบ
17. ตอบ 4
วิธีทำ
30
B
A
C
d1
d2
d1
d2
n2
n1
SAB
SBC

14
15
OI
ฉาก
6
A
B
C
D
S’=5 S=10
100 cm
หาระยะภาพ จาก
f
1
=
S
1
+
S
1
แทนค่า
10
1

=
10
1
+
S
1
จะได้ S’ = -5 cm
ระยะภาพ (S’) เป็นลบ จะเกิดเป็นภาพเสมือนอยู่หลังกระจก เมื่อวาดรังสีสะท้อนจะแสดงดังรูป
จาก  IAB คล้ายกับ  ICD จะได้
CD
AB
=
1005
5

CD
6
=
1005
5

จะได้ CD = 126 cm
ดังนั้น เส้นผ่านศูนย์กลางของแสงสะท้อนบนฉากจะมีค่าเป็น 126 เซนติเมตร ตอบ
18. ตอบ 1
วิธีทำ
สมมติ เกรตติงมีขนาด = N เส้น/เซนติเมตร = 100N เส้น/เมตร
สมการสเปกตรัมลาดับที่ 1 dsin = n = 1
พิจารณาสีม่วง dsin = 38010-9
…………… (1)
พิจารณาสีแดง dsin(+37) = 76010-9
…………… (2)
(2)/(1)


sin
)37sin( 
= 2
sin(+37) = 2sin
sincos37 + cossin37 = 2sin
sin(
5
4
) + cos(
5
3
) = 2in
จะได้ tan =
2
1
แทนค่า tan ใน (1) d(
5
1
) = 38010-9
จะได้ d = 380 5 10-9
m
แต่ d =
N100
1
ม่วง
แดง
37
A1
A0

สีรุ้งที่ตาเห็นมีความยาวคลื่น 380 – 760 nm
แสดงว่า สีม่วงมีความยาวคลื่น 380 nm
สีแดงมีความยาวคลื่น 760 nm

1
2
5
380 5 10-9
=
N100
1
จะได้ N = 11,769 เส้น/เซนติเมตร
ดังนั้น เกรตติงเป็นชนิดประมาณ 11,800 เส้นต่อเซนติเมตรตอบ
19. ตอบ 2
วิธีทา
เนื่องจาก แรง F = qE มีทิศเดียวกับสนามไฟฟ้า E ดังนั้น q จะเป็นประจุบวก (+)
แนวราบ xF

 = 0
Tsin37 = qEx …………… (1)
แนวดิ่ง yF

 = 0
Tcos37 + qEy = mg
Tcos37 = mg - qEy …………… (2)
(1)/(2) tan37 =
y
x
qEmg
qE

แทนค่า
4
3
=
)103()10)(101(
)103(
53
5



q
q
จะได้ q = 1.1110-8
C
ดังนั้น ประจุบนลูกบอลจะมีค่าเป็น + 1.1110-8
C ตอบ
20. ตอบ 2
วิธีทำ เมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านเส้นลวด จะมีพลังงานไฟฟ้าสูญเสียในเส้นลวดและจะเปลี่ยนเป็นความร้อน
โดยคานวณหาได้จาก
P = I2
R
=
2






ส่งV
P
R
แทนค่า P =
23
20000
10400





 
(0.25)
= 100 W
ดังนั้น กาลังที่สูญเสียไปในรูปความร้อนในสายไฟมีค่า 100 วัตต์ ตอบ
37
T
Ex
Ey
37
Tsin37
Tcos37
mg
qEx
qEy
21. ตอบ 4
วิธีทำ
จาก R =
A
L
=
4
2
d
L


จะได้ R  2
d
L
หรือ
2
1
R
R
=
2
1
2
2
1






d
d
L
L
แทนค่า =
2
1
2
4
3






= 3
จะได้ R1 = 3R2 …………… (1)
พิจารณาระหว่าง AB Vบน = Vล่าง
แทนค่าด้วย V = IR (1)(3R2) = I2(R2)
I2 = 3 A
จะได้ I = I1 + I2 = 1 + 3 = 4 A
จาก I =
R
E


แทนค่า 4 =
24
30
 R
จะได้ R = 1.5 โอห์ม
ดังนั้น ความต้านทาน R มีค่า 1.5 โอห์ม ตอบ
22. ตอบ 1
วิธีทำ หารัศมีความโค้งในสนามแม่เหล็ก จาก R =
qB
mv
คูณด้วย R ตลอด R2
=
qB
mvR
=
qB
L
จะได้ R =
qB
L
แทนค่า R =
)101)(106.1(
104
319
25




= 0.05 m
ดังนั้น รัศมีของวงโคจรมีค่าเป็น 0.05 เมตร ตอบ
R
30V, 2
A B
R1
R

I2
I1
I
1
23. ตอบ 3
วิธีทำ
แนวตั้งฉากพื้นเอียง F

 = 0
จะได้ N = ILBsin37 + mgcos37 …………… (1)
แนวขนานพื้นเอียง F

 = 0
จะได้ ILBcos37 + N = mgsin37 แล้วแทน N จาก (1) จะได้
ILBcos37 + (ILBsin37 + mgcos37) = mgsin37
ILBcos37 + ILBsin37 + mgcos37= mgsin37
ILB(cos37 + sin37) = mg(sin37 - cos37)
จะได้ I =
)37sin37(cos
)37cos37(sin




LB
mg
เมื่อแทนค่าลงไปจะได้ I = 3.8 A
ดังนั้น กระแสที่ไหลผ่านจะมีค่า 3.8 แอมแปร์ ตอบ
24. ตอบ 2
วิธีทำ
เมื่อต่ออนุกรม ขณะเกิดการสั่นพ้อง XL = XC
L =
C
1
 =
LC
1
2f =
LC
1
แทนค่า 2
7
22
 f =
)10100)(1010(
1
63 

จะได้ fสั่นพ้อง =
44
7000
Hz
กำรหำทิศของแรง F=ILB ที่กระทำ
ใช้มือขวา โดยชี้สี่นิ้วมือขวาพุ่งเข้าไปใน
กระดาษตามทิศของ I แล้วกานิ้วทั้งสี่ขึ้นด้านบน
ไปตามทิศของสนามแม่เหล็ก B นิ้วหัวแม่มือจะชี้
เป็นทิศของแรง F=ILB ที่กระทา
37
B
37
mg mgcos37
mgsin37 ILB
ILBsin37
37
ILBcos37
N
A
f=N
10 L=10mH C=100F
ดังนั้น fขณะนั้น =
44
7000
2 =
22
7000
Hz
T =
f
1
=
7000
22
s
XL = L = (2f)L
แทนค่า = )1010(
22
7000
7
22
2 3
 = 20 
XC =
C
1
=
fC2
1
แทนค่า =
)10100(
22
7000
7
22
2
1
6

= 5 
เมื่อต่ออนุกรม ความต้านทานรวม Z = 22
)( CL XXR 
= 22
)520(10  = 325 
หากระแสที่ไหลในวงจร I =
Z
V
=
325
50
A
เนื่องจากกาลังของวงจรกระแสสลับจะเกิดบนความต้านทาน R เท่านั้น
W = I2
Rt
แทนค่า =
2
325
50






(10)(
7000
22
) = 0.24 J
ดังนั้น พลังงานที่ส่งให้วงจรใน 1 คาบ มีค่า 0.24 จูล ตอบ
25. ตอบ 4
วิธีทำ จาก L = mvr
จะได้ v =
mr
L
…………… (1)
จาก EK = 2
2
1
mv
แทน v จาก (1) =
2
2
1






mr
L
m = 2
2
2mr
L
…………… (2)
แต่ EP = - และ EP = 2EK
จะได้ EP = -2 2
2
2mr
L
= - 2
2
mr
L
ดังนั้น พลังงานศักย์ของอิเล็กตรอนมีค่าเป็น - 2
2
mr
L
ตอบ
26. ตอบ 4
วิธีทำ จาก EK = hf - W
= c
h

- W
แต่ P =

h
จะได้ EK = Pc - W
ตอนแรก 1 = (1P)c - W
จะได้ W = Pc - 1 โดย Pc > 1 ………….. (1)
ตอนหลัง EK = (2P)c - W
แทนจาก (1) = 2Pc - (Pc - 1)
= Pc + 1
แต่เนื่องจาก Pc > 1 จะได้ EK > 2 หน่วย
ดังนั้น จะทาให้เกิดโฟโตอิเล็กตรอนมีพลังงานจลน์มากกว่า 2 หน่วย ตอบ
27. ตอบ 1
วิธีทำ หากัมมันตภาพที่เหลือ จาก A = A0
t
e 
ที่ t = 5 7080 = 10050 )5(
e …………… (1)
ที่ t = 20 2510 = 10050 )20(
e …………… (2)
ที่ t = 45 A = 10050 )45(
e …………… (3)
(3)/(1)
7080
A
= 40
e …………… (4)
จาก (2)
10050
2510
= 20
e
ยกกาลังสอง ( 20
e )2
=
2
10050
2510






…………… (5)
(4) = (5)
7080
A
=
2
10050
2510






จะได้ A = 441.6 ต่อนาที
ดังนั้น ที่เวลาหลังจากเริ่มต้น 45 ชั่วโมง กัมมันตภาพที่นับมีค่าประมาณ 440 ต่อนาที ตอบ
28. ตอบ 4
วิธีทำ EeHeH  
0
1
4
2
1
1 24
มวลก่อนปฏิกิริยา mi = 4 H1
1 = 4(1.00782) = 4.03128 u
มวลหลังปฏิกิริยา mf = eHe 0
1
4
2 2
= 4.00260 + 2(0.00055) = 4.0037 u
มวลพร่อง m = mi - mf
= 4.03128 - 4.0037 = 0.02758 u
หาพลังงาน จาก E = m900 MeV
= (0.02758)900 = 24.822 MeV
แสดงว่าใช้ H ไป 4 อะตอม จะให้พลังงานออกมา 24.822 MeV
จากนิยาม H 1 g มีอะตอม = 61023
อะตอม
ดังนั้น H 1 kg มีอะตอม = 61023
(1000) = 61026
อะตอม
เนื่องจาก H 4 อะตอม ให้พลังงาน = 24.822 MeV
ดังนั้น H 61026
อะตอม ให้พลังงาน =
4
106822.24 26

= 3.71027
MeV
ดังนั้น พลังงานที่ได้จากไฮโดรเจนมวล 1 กิโลกรัม มีค่า 3.71027
MeV ตอบ
เฉลยตอนที่2เฉลยตอนที่2เฉลยตอนที่2
1. ตอบ 2.45 เมตร
วิธีทำ พิจารณาตอนที่ตาชั่งกาลังดึงถุงทรายขึ้นไป
จาก  +F

= ma

T – mg = ma
8 - 5 = 0.5a
a = 6 m/s2
หาความเร็วขณะที่ขึ้นไป 4 วินาที
จาก v = u + at
= 0 + (6)(4)
= 24 m/s
เมื่อถุงทรายหลุดออกมาจากตาชั่ง ถุงทรายจะเคลื่อนที่ขึ้นด้วย
ความเร็วต้น 24 เมตร/วินาที ด้วย
พิจารณาที่ถุงทราย
จาก v2
= u2
+ 2gs
แทนค่า (-25)2
= (24)2
+ 2(-10)s
S = 2.45 m
ดังนั้น ถุงทรายหลุดขณะอยู่สูงจากพื้น 2.45 เมตร ตอบ
2. ตอบ 18.80 เซนติเมตร
วิธีทำ
หาความเร็วหลังชนของ 5 kg iP

 = fP


แทนค่า 2(4) + 5(-2) = 2(3) + 5v
จะได้ v =
3
8
 m/s (ไปทางซ้าย)
จาก EPS = EKหาย
2
2
1
ks = EKi - EKf
แทนค่า 2
)600(
2
1
s = [
2
1
(2)(4)2
+
2
1
(5)(2)2
]-
2
1
(2)(3)2
+
2
1
(5)(
3
8
)2
]
s = 0.188 m = 18.80 cm
ดังนั้น ขณะนั้นสปริงถูกกดให้หดเข้าไปเป็นระยะ 18.80 เซนติเมตร ตอบ
a
T
mg
t=4
a
u
v=25
s
v
2 5
4 m/s 2 m/s
2 5
3 m/s v
+
ก่อนชน หลังชน
3. ตอบ 600 ลูกบาศก์เซนติเมตร
วิธีทำ จาก Vไม้ =

m
=
6.0
1200
= 2000 cm3
ปริมาตรเจาะออก = 160 + 840 = 1000 cm3
m ไม้ที่เจาะออก = V = 0.6(1000) = 600 g
m ไม้ที่เหลือ = 1200 - 600 = 600 g
m โลหะ = V = 5(160) = 800 g
ขณะสมดุลตอนหลัง yF

 = 0
mgไม้+mgโลหะ = B
= น้าgVจม
600 + 800 = 1Vจม
Vจม = 1400 cm3
Vลอยพ้นน้า = 2000 - 1400 = 600 cm3
ดังนั้น ถ้าเอาไปลอยน้าจะมีปริมาตรส่วนที่ลอยพ้นระดับน้า 600 ลูกบาศก์เซนติเมตร ตอบ
4. ตอบ 10
วิธีทำ
ตอนแรก หักเหจาก x ไป y
y
x
v
v
=


43sin
20sin
y
x
v
v
=
68.0
34.0
=
2
1
………… (1)
ตอนหลัง ไม่มีคลื่นหักเหเข้าไปในตัวกลาง y แสดงว่ามุมหักเหจะเป็น 90 สมมติมุมตกกระทบ
ขณะนั้นเป็น 
หักเหจาก x ไป y
y
x
v
v
=
90sin
sin
= sin…………… (2)
(1) = (2) จะได้ sin =
2
1
ดังนั้น  = 30
ดังนั้น จากรูป ต้องหมุนแนว AB ไปจากเดิม = 30 - 20 = 10 ตอบ
B
mgไม้+mgโลหะ
source
x
20
43
A
B
y
C
source
x

A
B
y
C
5. ตอบ 4 เท่า
วิธีทำ
เมื่อมีการถ่ายเทประจุ แต่ประจุรวมของระบบยังคงเดิมเสมอ
หาพลังงานที่สะสม จาก U =
C
Q2
2
1
ก่อนสับสวิทซ์ U1 =
C
q2
0
2
1
หลังสับสวิทซ์ U2 =
CC
q


2
0
2
1
แต่โจทย์กาหนด U2 = 20%U1
แทนค่า
CC
q


2
0
2
1
=
100
20

C
q2
0
2
1
C + C’ = 5C
C’ = 4C
ดังนั้น C’ จะต้องมีค่าเป็น 4 เท่าของ C ตอบ
6. ตอบ 0.33 แอมแปร์
วิธีทำ
หาความต่างศักย์ที่แปลงออก
2
1
V
V
=
2
1
N
N
แทนค่า
2
220
V
=
32
440
จะได้ V2 = 16 V
แทนค่า
3
220
V
=
16
440
จะได้ V3 = 8 V
จาก Pin = Pout
I1V1 =
2
2
2
R
V
+
3
2
3
R
V
แทนค่า I1(220) =
4
)16( 2
+
8
)8( 2
จะได้ I1 = 0.33 A
ดังนั้น กระแสในขดปฐมภูมิจะมีค่า 0.33 แอมแปร์ ตอบ
C C’+q0
-q0
สวิทซ์
C C’
สวิทซ์
Cรวม = C+C’
V2
V3 8
4
220
V50 Hz
440
รอบ
32 รอบ
16 รอบ
เฉลย ฟิสิกส์ Ent 48

More Related Content

What's hot

เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนWijitta DevilTeacher
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณAui Ounjai
 
แรง แรงลัพธ์2560
แรง แรงลัพธ์2560แรง แรงลัพธ์2560
แรง แรงลัพธ์2560krulef1805
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Dew Thamita
 
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานjirupi
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊สWijitta DevilTeacher
 
เรื่องที่ 6 โมเมนตัม
เรื่องที่ 6 โมเมนตัมเรื่องที่ 6 โมเมนตัม
เรื่องที่ 6 โมเมนตัมthanakit553
 
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายSunanthaIamprasert
 
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์thanakit553
 
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4krusarawut
 
สมดุลกล
สมดุลกลสมดุลกล
สมดุลกลaoffiz
 
เรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงานเรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงานthanakit553
 

What's hot (20)

เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
 
บทที่ 5 โมเมนตัม
บทที่ 5 โมเมนตัมบทที่ 5 โมเมนตัม
บทที่ 5 โมเมนตัม
 
แรง แรงลัพธ์2560
แรง แรงลัพธ์2560แรง แรงลัพธ์2560
แรง แรงลัพธ์2560
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
07สมดุลกล
07สมดุลกล07สมดุลกล
07สมดุลกล
 
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
เรื่องที่ 6 โมเมนตัม
เรื่องที่ 6 โมเมนตัมเรื่องที่ 6 โมเมนตัม
เรื่องที่ 6 โมเมนตัม
 
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
 
172 130909011745-
172 130909011745-172 130909011745-
172 130909011745-
 
งานพลังงาน
งานพลังงานงานพลังงาน
งานพลังงาน
 
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
12การชนและโมเมนตัม
12การชนและโมเมนตัม12การชนและโมเมนตัม
12การชนและโมเมนตัม
 
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
 
สมดุลกล
สมดุลกลสมดุลกล
สมดุลกล
 
เรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงานเรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
 
เฉลย08งานพลังงาน
เฉลย08งานพลังงานเฉลย08งานพลังงาน
เฉลย08งานพลังงาน
 
แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์
แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์
แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์
 

Similar to เฉลย ฟิสิกส์ Ent 48 (14)

เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
 
สนามไฟฟ้า (Electric filed)
สนามไฟฟ้า (Electric filed)สนามไฟฟ้า (Electric filed)
สนามไฟฟ้า (Electric filed)
 
7 วิชาสามัญ คณิต 57+เฉลย
7 วิชาสามัญ  คณิต 57+เฉลย7 วิชาสามัญ  คณิต 57+เฉลย
7 วิชาสามัญ คณิต 57+เฉลย
 
Gas genchem
Gas genchemGas genchem
Gas genchem
 
สมดุลกล2
สมดุลกล2สมดุลกล2
สมดุลกล2
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรต
 
trigo1.pdf
trigo1.pdftrigo1.pdf
trigo1.pdf
 
Elect01
Elect01Elect01
Elect01
 
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2558
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2558เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2558
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2558
 
ใบงาน แผน 05
ใบงาน แผน 05ใบงาน แผน 05
ใบงาน แผน 05
 
บทที่ 7 E D M Total Station
บทที่ 7  E D M  Total  Stationบทที่ 7  E D M  Total  Station
บทที่ 7 E D M Total Station
 
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2557
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2557เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2557
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2557
 
At2
At2At2
At2
 
เฉลย Ac (2 2551)
เฉลย Ac (2 2551)เฉลย Ac (2 2551)
เฉลย Ac (2 2551)
 

More from Unity' Aing

โครงงาน Smart ruller
โครงงาน Smart rullerโครงงาน Smart ruller
โครงงาน Smart rullerUnity' Aing
 
ใบงานที่ 2-16 _น.ส.อังคณา นันตาดี ม6/9 เลขที่17
ใบงานที่ 2-16 _น.ส.อังคณา  นันตาดี  ม6/9 เลขที่17ใบงานที่ 2-16 _น.ส.อังคณา  นันตาดี  ม6/9 เลขที่17
ใบงานที่ 2-16 _น.ส.อังคณา นันตาดี ม6/9 เลขที่17Unity' Aing
 
สัสังคม Ent 48
สัสังคม Ent 48สัสังคม Ent 48
สัสังคม Ent 48Unity' Aing
 
ฟิสิกส์ Ent 48
ฟิสิกส์ Ent 48ฟิสิกส์ Ent 48
ฟิสิกส์ Ent 48Unity' Aing
 
ชีวะ Ent48
ชีวะ Ent48ชีวะ Ent48
ชีวะ Ent48Unity' Aing
 
เฉลยภาษาไทย Ent 48f
เฉลยภาษาไทย Ent 48fเฉลยภาษาไทย Ent 48f
เฉลยภาษาไทย Ent 48fUnity' Aing
 
เฉลย สังคม Ent 48
เฉลย สังคม Ent 48เฉลย สังคม Ent 48
เฉลย สังคม Ent 48Unity' Aing
 
เฉลย ชีวะ Ent48
เฉลย ชีวะ Ent48เฉลย ชีวะ Ent48
เฉลย ชีวะ Ent48Unity' Aing
 
เฉลย เคมี Ent 48
เฉลย เคมี Ent 48เฉลย เคมี Ent 48
เฉลย เคมี Ent 48Unity' Aing
 
เคมี Ent48
เคมี Ent48เคมี Ent48
เคมี Ent48Unity' Aing
 
ภาษาไทย Ent 48
ภาษาไทย Ent 48ภาษาไทย Ent 48
ภาษาไทย Ent 48Unity' Aing
 

More from Unity' Aing (17)

โครงงาน Smart ruller
โครงงาน Smart rullerโครงงาน Smart ruller
โครงงาน Smart ruller
 
Onet53
Onet53Onet53
Onet53
 
Onet52
Onet52Onet52
Onet52
 
Onet51
Onet51Onet51
Onet51
 
Onet50
Onet50Onet50
Onet50
 
ใบงานที่ 2-16 _น.ส.อังคณา นันตาดี ม6/9 เลขที่17
ใบงานที่ 2-16 _น.ส.อังคณา  นันตาดี  ม6/9 เลขที่17ใบงานที่ 2-16 _น.ส.อังคณา  นันตาดี  ม6/9 เลขที่17
ใบงานที่ 2-16 _น.ส.อังคณา นันตาดี ม6/9 เลขที่17
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
สัสังคม Ent 48
สัสังคม Ent 48สัสังคม Ent 48
สัสังคม Ent 48
 
ฟิสิกส์ Ent 48
ฟิสิกส์ Ent 48ฟิสิกส์ Ent 48
ฟิสิกส์ Ent 48
 
ชีวะ Ent48
ชีวะ Ent48ชีวะ Ent48
ชีวะ Ent48
 
เฉลยภาษาไทย Ent 48f
เฉลยภาษาไทย Ent 48fเฉลยภาษาไทย Ent 48f
เฉลยภาษาไทย Ent 48f
 
เฉลย สังคม Ent 48
เฉลย สังคม Ent 48เฉลย สังคม Ent 48
เฉลย สังคม Ent 48
 
เฉลย ชีวะ Ent48
เฉลย ชีวะ Ent48เฉลย ชีวะ Ent48
เฉลย ชีวะ Ent48
 
เฉลย เคมี Ent 48
เฉลย เคมี Ent 48เฉลย เคมี Ent 48
เฉลย เคมี Ent 48
 
เคมี Ent48
เคมี Ent48เคมี Ent48
เคมี Ent48
 
002 eng
002 eng002 eng
002 eng
 
ภาษาไทย Ent 48
ภาษาไทย Ent 48ภาษาไทย Ent 48
ภาษาไทย Ent 48
 

เฉลย ฟิสิกส์ Ent 48

  • 1. เฉลย ฟิสิกส์ Ent 48 เฉลยเฉลยเฉลยตอนที่ 1ตอนที่ 1ตอนที่ 1 1. ตอบ 4 วิธีทำ 8 วินำทีแรก จากสมการ v2 = 42 – (t-4)2 หรือ v2 + (t-4)2 = 42 เมื่อนาไปเขียนกราฟระหว่าง v กับ t จะได้เป็นกราฟวงกลมดังรูป 8 วินำทีหลัง วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง เมื่อนาไปเขียนกราฟ v กับ t จะได้เป็นกราฟเส้นตรงเอียงขวา ดังรูป หาระยะทาง จาก s = พื้นที่ใต้กราฟระหว่าง vกับ t แทนค่า s = 2 )4( 2 1  + )10)(8( 2 1  = 48 เมตร ดังนั้น ระยะทางทั้งหมดที่เคลื่อนที่เป็น 48 เมตร ตอบ 2. ตอบ 2 วิธีทำ หาแรง F จาก  F  = ma  F - mg = ma แทนค่า F – (0.25)(200) = 20(5) จะได้ F = 150 N เนื่องจากมีความเร่ง ตอนคิดโมเมนต์จึงใช้จุด cm. เป็นจุดหมุน จาก Mตาม = Mทวน N(0.25) + mg(1) = F(1-H) 200(0.25) + 0.25(200)(1) = 150(1-H) จะได้ H = 0.33 m ดังนั้น ค่า H ที่น้อยที่สุดที่กล่องไม่ล้ม คือ 0.33 เมตร ตอบ 3. ตอบ 1 วิธีทำ พิจารณาการเคลื่อนที่โพรเจ็กไทล์ แนวดิ่ง sy = uyt + 2 1 gt2 เนื่องจาก uy=0 และ มี sy เท่ากัน ดังนั้น ทั้ง 2 ก้อน จะใช้เวลาเคลื่อนที่เท่ากัน แนวราบ Sx = vxt u=0 a=+ t=8 s t=8 s v=10 t v 168 10 (4,0) 0.5 m F H 1 m 1 m mgN f=N=mg a cm. h 2m 20 cm s vx1 vx2 Sx1 Sx2
  • 2. Sx  vx จะได้ 2 1 x x S S = 2 1 x x v v ……….(1) เมื่อกดสปริงเข้าไปแล้วปล่อย สปริงจะออกแรงดีดลูกปืนออกมา หาความเร็วของลูกปืนที่ถูกสปริงดีดออกมาถึงปากกระบอกปืน จาก Ek2 = Ek1 + 21W 2 1 mv2 = 0 + 2 1 kS2 หรือ v  s จะได้ 2 1 x x v v = 2 1 s s ………. (2) จาก (1) และ (2) จะได้ 2 1 x x S S = 2 1 s s แทนค่า 2.2 2 = 2 1 s s2 = 1.1 cm ดังนั้น เด็กคนที่สองต้องกดสปริงเข้าไป 1.1 เซนติเมตร ตอบ 4. ตอบ 2 วิธีทำ ตอนแรก เมื่อกระสุนพุ่งเข้าชนเนื้อไม้ จะมีแรงจากเนื้อไม้ต้านกระสุนให้ช้าลง สมมติทะลุเข้าไปได้เป็นระยะ s1 จาก W = EK -f.s1 = 0 - 2 1 mv2 จะได้ f = 1 2 2 1 s mv …………… (1) ตอนหลัง เมื่อกระสุนพุ่งเข้าชนเนื้อไม้ จะมีแรงจากเนื้อไม้ต้านกระสุนให้ช้าลง และแรงจากกระสุนจะไปทาให้ ไม้มีความเร็วเพิ่มขึ้น เมื่อกระสุนและท่อนไม้มีความเร็วเท่ากัน จะเคลื่อนที่ติดกันไปโดยมีความเร็วเท่ากัน (กระสุนหยุดนิ่งเทียบกับท่อนไม้) สมมติขณะนั้นกระสุนทะลุเข้าไปได้เป็นระยะ s2 จาก  iP  =  fP  mv = (M+m)V จะได้ V = mM mv  …………… (2) พลังงานจลน์ที่หายไป จะเปลี่ยนไปเป็นงานของแรงต้าน f หยุด v f v V ตอนแรก ตอนหลัง
  • 3. จาก W = EK -f.s2 = 2 1 (M+m)V2 - 2 1 mv2 แทนค่า f จาก (1) และ V จาก (2) 1 2 2 1 s mv s2 = 2 1 mv2 - 2 1 (M+m) 2        mM mv = 2 1 mv2 (1- mM m  ) 1 2 s s = mM M  s2 = s1( mM M  ) = 8( 2501000 1000  ) = 6.4 cm ดังนั้น กระสุนจะเคลื่อนที่เข้าไปในเนื้อไม้ได้ 6.4 เซนติเมตร ตอบ 5. ตอบ 4 วิธีทำ พิจารณาที่ลูกบอล หลังชนเคลื่อนที่ไปกระทบพื้น แนวดิ่ง ; s = ut + 2 1 gt2 5 = 0 + 2 1 (10)t2 t = 1 s แนวราบ ; sx = uxt 20 = V(1) V = 20 m/s ตอนชน  iP  =  fP  (0.01)(500) = 0.01(v) + 0.2(20) v = 100 m/s พิจารณาที่ลูกปืน หลังชนเคลื่อนที่ไปกระทบพื้น แนวดิ่ง ; s = ut + 2 1 gt2 5 = 0 + 2 1 (10)t2 vV 5 m uy=0 20 m x
  • 4. t = 1 s แนวราบ ; sx = uxt X = (100)(1) = 100 m ดังนั้น ลูกปืนจะกระทบพื้นห่างโคนเสาเป็นระยะทาง 100 เมตร ตอบ 6. ตอบ 3 วิธีทำ ก่อนชน กาหนด PA = PB (1.2m)uA = m(10) uA = 3 25 m/s แกน y ;  iP  =  fP  0 = m(vBsin30) + 1.2m(-vAsin30) vB = 1.2vA ………… (1) กาหนด 2 1 Eki = Ekf 2 1 [ 2 1 m(10)2 + 2 1 (1.2m)( 3 25 )2 ] = 2 1 m 2 Bv + 2 1 (1.2m) 2 Av 50 + 41.67 = (1.2vA)2 + 1.2 2 Av vA = 5.9 m/s ดังนั้น ความเร็วหลังชนของลูกยาง A เท่ากับ 5.9 เมตร/วินาที ตอบ 7. ตอบ 1 วิธีทำ B มีมวลมากกว่า จะถูกเหวี่ยงให้เคลื่อนที่ออกจากจุดศูนย์กลาง และเชือกที่โยงกันจะดึง A ให้เข้าสู่จุด ศูนย์กลาง B A uB=10 uA m 1.2 m B A B A 30 30 m 1.2 m ก่อนชน หลังชน vA vB 30 30 vAsin30 vAcos30 vBsin30 vBcos30 + + A B 13 cm รูปด้านบน รูปด้านข้าง A T f1=mAg B f1=mAg f2=(mA+mB)g T
  • 5. จาก Fc = m2 R วัตถุ A ; T - mAg = mA2 R …………… (1) วัตถุ B ; T + mAg + (mA+mB)g = mB2 R …………… (2) (2) - (1) ; 2mAg + (mA+mB)g = (mB - mA)2 R แทนค่า 2(0.1)(0.9)(10) + (0.1)(0.9+1.7)(10) = (1.7 – 0.9) 2 (0.13)  = 6.5 rad/s ดังนั้น อัตราเร็วเชิงมุมของการหมุนมีค่า 6.5 เรเดียน/วินาที ตอบ 8. ตอบ 2 วิธีทำ ที่จุด B Fc = R mv2 mg = R mv2 v2 = gR …………… (1) จาก EA = EB mg(h-2R) = 2 1 mv2 + 2 1 I2 mg(h-2R) = 2 1 mv2 + 2 1 ( 2 5 2 mr ) 2       r v g(h-2R) = 10 7 v2 แทนจาก (1) g(h-2R) = 10 7 (gR) h = 2.7R ดังนั้น ระยะ h น้อยที่สุดมีค่าเป็น 2.7R ตอบ 9. ตอบ 1 วิธีทำ  = 2f = 2(0.25) = 2  rad/s ที่ t = 0 มี v = 0 และมี s = 0.7 ซม. แสดงว่าวัตถุเริ่มเคลื่อนที่จากจุดไกลสุด โดยมีแอมพลิจูด 0.7 ซม. ดังนั้น s = Acost หรือ v = -Asint แทนค่า v = - 2  (0.7)sin( 2  1) h จะมีค่าน้อยที่สุด เมื่อวัตถุกลิ้ง ผ่านจุด B ด้วยความเร็วน้อยที่สุด ซึ่งจะ ทาให้แรง N น้อยมาก (N  0)
  • 6. = - 27 22  (0.7)(1) = - 1.1 cm/s ดังนั้น ที่ t = 1 s วัตถุจะมีความเร็ว 1.1 เซนติเมตร/วินาที ตอบ 10. ตอบ 3 วิธีทำ เขียนแรงที่กระทาต่อลูกตุ้ม จะมีแรง mg ฉุดลง , แรงลอยตัว B จากของเหลวยกขึ้น , แรงตึงในเส้นลวด F ดึงขึ้น (ซึ่งแรงนี้จะเท่ากับแรงเค้นที่เกิดในเส้นลวด) เนื่องจากลูกตุ้มอยู่นิ่ง  yF = 0 F + B = mg F + เหลวgVจม = mg F + 103 (10)(210-3 ) = (10)(10) จะได้ F = 80 N พิจารณาที่ลวดเหล็ก มอดุลัสของยัง Y = ความเครียด ความเค้น =  A F จะได้  = YA F แทนค่า  = )105)(102( 80 610   = 810-4 ดังนั้น จะเกิดความเครียดในเส้นลวด 810-4 ตอบ 11. ตอบ 2 วิธีทำ หาความดันของแก๊สในกระบอก  yF = 0 Fgas = mg + Fอากาศ PgasA = mg + PaA Pgas = A mg + Pa = 4 1060 )10(8   + 1105 = 1.13105 N/m2 ขณะทาให้ gas ร้อนขึ้น Q = U + W Q1 = U1 + P V = U1 + (1.13105 )(6010-4 )(2010-2 ) จะได้ Q1 = U1 + 135.6 J ………….. (1) ขณะ gas เย็นลง เนื่องจากมีปริมาตรคงที่ ดังนั้น W = 0 จาก Q = U + W เนื่องจาก gas เย็นลงจะคายความร้อนออกจะได้ Q2 = - และอุณหภูมิลดลง จะได้ U2 = - จะได้ -Q2 = -U2 …………… (2) 10 F B mg gas Fอากาศ mg Fgas
  • 7. เมื่อ gas ลดอุณหภูมิกลับสู่อุณหภูมิเดิม T ตอนแรกและตอนหลังจะเท่ากัน จึงทาให้ U1 = U2 (1) + (2) จะได้ Q1 - Q2 = +135.6 J ดังนั้น ผลต่างระหว่าง Q1 และ Q2 มีค่าเท่ากับ 135.6 จูล ตอบ 12. ตอบ 1 วิธีทำ กาหนด 70% Wไฟฟ้า = Qน้า 70%(IVt) = mct 100 70 (15)(220)t = (0.5)(4.2103 )(100-23) t = 70 s จานวนยูนิต = 1000 watt  จานวนชั่วโมง = 1000 IV จานวนชั่วโมง = 1000 )220(15 ( 3600 70 ) = 0.064 ยูนิต เสียค่าไฟ = 0.0643 = 0.2 บาท ดังนั้น จะเสียเงินค่าไฟเท่ากับ 0.2 บาท ตอบ 13. ตอบ 2 วิธีทำ จากรูป จะได้  = 6 m หาความถี่คลื่น จาก v = f 1 = f(6) จะได้ f = 6 1 Hz หาระยะทางที่คลื่นเคลื่อนที่ไปได้ s = vt = (1)(0.5) = 0.5 m คลื่นจะเคลื่อนที่ไปทางขวาได้ 0.5 เมตร (ดังเส้นประ) ทาให้จุด P เคลื่อนที่ลงมาผ่านแนว สมดุลเดิมพอดี ขณะนั้นจุด P จะเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วมากที่สุด (การสั่นของอนุภาค ตัวกลางจะสั่นเป็นซิมเปิลฮาร์มอนิก ที่จุดสมดุลจะมีอัตราเร็วมากที่สุด) หาอัตราเร็วมากสุด จาก vmax = A = (2f)A แทนค่า = )1( 6 1 7 22 2  = 1.05 m/s ดังนั้น จุด P จะมีอัตราเร็ว 1.05 เมตร/วินาที ตอบ เมตร การกระจัด(m) 1 0.5 1.5 3 6 P
  • 8. 14. ตอบ 4 วิธีทำ การสั่นพ้องครั้งที่ติดกันจะเกิดขึ้นเมื่อระดับน้าในท่อต้องเลื่อนขึ้นจากเดิม 2  ดังนั้น การสั่นพ้องแต่ละครั้งที่ติดกันต้องทาให้ปริมาตรน้าที่สูงขึ้น คือ ปริมาตรน้าที่สูงขึ้น V = Ah = r2 ( 2  ) = r2 f v 2 1 แต่ อัตราการไหล Q = t V ดังนั้น t = Q V แทนค่า t = Q r2  f v 2 1 = Qf vr 2 2  ดังนั้น การสั่นพ้องแต่ละครั้งจะห่างกันเป็นเวลา Qf vr 2 2  ตอบ 15. ตอบ 3 วิธีทำ หา Iที่วัดได้ จาก  = 0 log10 I I dB 80 = 12 10 log10  I 12 10 log  I = 8 12 10 I = 108 Iวัดได้ = 10-4 W/m2 หา I จริงที่จุดนั้น จาก I = A P = 2 4 R P  = 2 )100(4 12   = 310-4 W/m2 ดังนั้น I ที่ลดลง (I ) = 310-4 - 110-4 = 210-4 W/m2 % I ที่ลดลง = 100  จริงI I % = 100 103 102 4 4      = 67.67 % ดังนั้น ความเข้มเสียงถูกดูดกลืนไปประมาณ 68% ตอบ Q m3 /s h= 2 
  • 9. 16. ตอบ 3 วิธีทำ คิดการหักเหจาก n1 ไป n2 n1sin30 = n2sin n1( 2 1 ) = (2n1)sin sin = 4 1 จาก n1v1 = n2v2 = (2n1)v2 v1 = 2v2 ……………. (1) จากรูป ABS d1 = cos30 = 2 3  SAB = 3 2 1d จากรูป BCS d2 = cos = 4 15  SBC = 15 4 1d กาหนด tAB = tBC 1v SAB = 2v SBC แทนค่า )2(3 2 2 1 v d = )(15 4 2 1 v d 2 1 d d = 5 4 ดังนั้น ค่าของ 2 1 d d = 5 4 ตอบ 17. ตอบ 4 วิธีทำ 30 B A C d1 d2 d1 d2 n2 n1 SAB SBC  14 15 OI ฉาก 6 A B C D S’=5 S=10 100 cm
  • 10. หาระยะภาพ จาก f 1 = S 1 + S 1 แทนค่า 10 1  = 10 1 + S 1 จะได้ S’ = -5 cm ระยะภาพ (S’) เป็นลบ จะเกิดเป็นภาพเสมือนอยู่หลังกระจก เมื่อวาดรังสีสะท้อนจะแสดงดังรูป จาก  IAB คล้ายกับ  ICD จะได้ CD AB = 1005 5  CD 6 = 1005 5  จะได้ CD = 126 cm ดังนั้น เส้นผ่านศูนย์กลางของแสงสะท้อนบนฉากจะมีค่าเป็น 126 เซนติเมตร ตอบ 18. ตอบ 1 วิธีทำ สมมติ เกรตติงมีขนาด = N เส้น/เซนติเมตร = 100N เส้น/เมตร สมการสเปกตรัมลาดับที่ 1 dsin = n = 1 พิจารณาสีม่วง dsin = 38010-9 …………… (1) พิจารณาสีแดง dsin(+37) = 76010-9 …………… (2) (2)/(1)   sin )37sin(  = 2 sin(+37) = 2sin sincos37 + cossin37 = 2sin sin( 5 4 ) + cos( 5 3 ) = 2in จะได้ tan = 2 1 แทนค่า tan ใน (1) d( 5 1 ) = 38010-9 จะได้ d = 380 5 10-9 m แต่ d = N100 1 ม่วง แดง 37 A1 A0  สีรุ้งที่ตาเห็นมีความยาวคลื่น 380 – 760 nm แสดงว่า สีม่วงมีความยาวคลื่น 380 nm สีแดงมีความยาวคลื่น 760 nm  1 2 5
  • 11. 380 5 10-9 = N100 1 จะได้ N = 11,769 เส้น/เซนติเมตร ดังนั้น เกรตติงเป็นชนิดประมาณ 11,800 เส้นต่อเซนติเมตรตอบ 19. ตอบ 2 วิธีทา เนื่องจาก แรง F = qE มีทิศเดียวกับสนามไฟฟ้า E ดังนั้น q จะเป็นประจุบวก (+) แนวราบ xF   = 0 Tsin37 = qEx …………… (1) แนวดิ่ง yF   = 0 Tcos37 + qEy = mg Tcos37 = mg - qEy …………… (2) (1)/(2) tan37 = y x qEmg qE  แทนค่า 4 3 = )103()10)(101( )103( 53 5    q q จะได้ q = 1.1110-8 C ดังนั้น ประจุบนลูกบอลจะมีค่าเป็น + 1.1110-8 C ตอบ 20. ตอบ 2 วิธีทำ เมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านเส้นลวด จะมีพลังงานไฟฟ้าสูญเสียในเส้นลวดและจะเปลี่ยนเป็นความร้อน โดยคานวณหาได้จาก P = I2 R = 2       ส่งV P R แทนค่า P = 23 20000 10400        (0.25) = 100 W ดังนั้น กาลังที่สูญเสียไปในรูปความร้อนในสายไฟมีค่า 100 วัตต์ ตอบ 37 T Ex Ey 37 Tsin37 Tcos37 mg qEx qEy
  • 12. 21. ตอบ 4 วิธีทำ จาก R = A L = 4 2 d L   จะได้ R  2 d L หรือ 2 1 R R = 2 1 2 2 1       d d L L แทนค่า = 2 1 2 4 3       = 3 จะได้ R1 = 3R2 …………… (1) พิจารณาระหว่าง AB Vบน = Vล่าง แทนค่าด้วย V = IR (1)(3R2) = I2(R2) I2 = 3 A จะได้ I = I1 + I2 = 1 + 3 = 4 A จาก I = R E   แทนค่า 4 = 24 30  R จะได้ R = 1.5 โอห์ม ดังนั้น ความต้านทาน R มีค่า 1.5 โอห์ม ตอบ 22. ตอบ 1 วิธีทำ หารัศมีความโค้งในสนามแม่เหล็ก จาก R = qB mv คูณด้วย R ตลอด R2 = qB mvR = qB L จะได้ R = qB L แทนค่า R = )101)(106.1( 104 319 25     = 0.05 m ดังนั้น รัศมีของวงโคจรมีค่าเป็น 0.05 เมตร ตอบ R 30V, 2 A B R1 R  I2 I1 I 1
  • 13. 23. ตอบ 3 วิธีทำ แนวตั้งฉากพื้นเอียง F   = 0 จะได้ N = ILBsin37 + mgcos37 …………… (1) แนวขนานพื้นเอียง F   = 0 จะได้ ILBcos37 + N = mgsin37 แล้วแทน N จาก (1) จะได้ ILBcos37 + (ILBsin37 + mgcos37) = mgsin37 ILBcos37 + ILBsin37 + mgcos37= mgsin37 ILB(cos37 + sin37) = mg(sin37 - cos37) จะได้ I = )37sin37(cos )37cos37(sin     LB mg เมื่อแทนค่าลงไปจะได้ I = 3.8 A ดังนั้น กระแสที่ไหลผ่านจะมีค่า 3.8 แอมแปร์ ตอบ 24. ตอบ 2 วิธีทำ เมื่อต่ออนุกรม ขณะเกิดการสั่นพ้อง XL = XC L = C 1  = LC 1 2f = LC 1 แทนค่า 2 7 22  f = )10100)(1010( 1 63   จะได้ fสั่นพ้อง = 44 7000 Hz กำรหำทิศของแรง F=ILB ที่กระทำ ใช้มือขวา โดยชี้สี่นิ้วมือขวาพุ่งเข้าไปใน กระดาษตามทิศของ I แล้วกานิ้วทั้งสี่ขึ้นด้านบน ไปตามทิศของสนามแม่เหล็ก B นิ้วหัวแม่มือจะชี้ เป็นทิศของแรง F=ILB ที่กระทา 37 B 37 mg mgcos37 mgsin37 ILB ILBsin37 37 ILBcos37 N A f=N 10 L=10mH C=100F
  • 14. ดังนั้น fขณะนั้น = 44 7000 2 = 22 7000 Hz T = f 1 = 7000 22 s XL = L = (2f)L แทนค่า = )1010( 22 7000 7 22 2 3  = 20  XC = C 1 = fC2 1 แทนค่า = )10100( 22 7000 7 22 2 1 6  = 5  เมื่อต่ออนุกรม ความต้านทานรวม Z = 22 )( CL XXR  = 22 )520(10  = 325  หากระแสที่ไหลในวงจร I = Z V = 325 50 A เนื่องจากกาลังของวงจรกระแสสลับจะเกิดบนความต้านทาน R เท่านั้น W = I2 Rt แทนค่า = 2 325 50       (10)( 7000 22 ) = 0.24 J ดังนั้น พลังงานที่ส่งให้วงจรใน 1 คาบ มีค่า 0.24 จูล ตอบ 25. ตอบ 4 วิธีทำ จาก L = mvr จะได้ v = mr L …………… (1) จาก EK = 2 2 1 mv แทน v จาก (1) = 2 2 1       mr L m = 2 2 2mr L …………… (2) แต่ EP = - และ EP = 2EK จะได้ EP = -2 2 2 2mr L = - 2 2 mr L ดังนั้น พลังงานศักย์ของอิเล็กตรอนมีค่าเป็น - 2 2 mr L ตอบ 26. ตอบ 4 วิธีทำ จาก EK = hf - W = c h  - W
  • 15. แต่ P =  h จะได้ EK = Pc - W ตอนแรก 1 = (1P)c - W จะได้ W = Pc - 1 โดย Pc > 1 ………….. (1) ตอนหลัง EK = (2P)c - W แทนจาก (1) = 2Pc - (Pc - 1) = Pc + 1 แต่เนื่องจาก Pc > 1 จะได้ EK > 2 หน่วย ดังนั้น จะทาให้เกิดโฟโตอิเล็กตรอนมีพลังงานจลน์มากกว่า 2 หน่วย ตอบ 27. ตอบ 1 วิธีทำ หากัมมันตภาพที่เหลือ จาก A = A0 t e  ที่ t = 5 7080 = 10050 )5( e …………… (1) ที่ t = 20 2510 = 10050 )20( e …………… (2) ที่ t = 45 A = 10050 )45( e …………… (3) (3)/(1) 7080 A = 40 e …………… (4) จาก (2) 10050 2510 = 20 e ยกกาลังสอง ( 20 e )2 = 2 10050 2510       …………… (5) (4) = (5) 7080 A = 2 10050 2510       จะได้ A = 441.6 ต่อนาที ดังนั้น ที่เวลาหลังจากเริ่มต้น 45 ชั่วโมง กัมมันตภาพที่นับมีค่าประมาณ 440 ต่อนาที ตอบ 28. ตอบ 4 วิธีทำ EeHeH   0 1 4 2 1 1 24 มวลก่อนปฏิกิริยา mi = 4 H1 1 = 4(1.00782) = 4.03128 u มวลหลังปฏิกิริยา mf = eHe 0 1 4 2 2 = 4.00260 + 2(0.00055) = 4.0037 u มวลพร่อง m = mi - mf = 4.03128 - 4.0037 = 0.02758 u หาพลังงาน จาก E = m900 MeV = (0.02758)900 = 24.822 MeV แสดงว่าใช้ H ไป 4 อะตอม จะให้พลังงานออกมา 24.822 MeV จากนิยาม H 1 g มีอะตอม = 61023 อะตอม ดังนั้น H 1 kg มีอะตอม = 61023 (1000) = 61026 อะตอม เนื่องจาก H 4 อะตอม ให้พลังงาน = 24.822 MeV
  • 16. ดังนั้น H 61026 อะตอม ให้พลังงาน = 4 106822.24 26  = 3.71027 MeV ดังนั้น พลังงานที่ได้จากไฮโดรเจนมวล 1 กิโลกรัม มีค่า 3.71027 MeV ตอบ เฉลยตอนที่2เฉลยตอนที่2เฉลยตอนที่2 1. ตอบ 2.45 เมตร วิธีทำ พิจารณาตอนที่ตาชั่งกาลังดึงถุงทรายขึ้นไป จาก  +F  = ma  T – mg = ma 8 - 5 = 0.5a a = 6 m/s2 หาความเร็วขณะที่ขึ้นไป 4 วินาที จาก v = u + at = 0 + (6)(4) = 24 m/s เมื่อถุงทรายหลุดออกมาจากตาชั่ง ถุงทรายจะเคลื่อนที่ขึ้นด้วย ความเร็วต้น 24 เมตร/วินาที ด้วย พิจารณาที่ถุงทราย จาก v2 = u2 + 2gs แทนค่า (-25)2 = (24)2 + 2(-10)s S = 2.45 m ดังนั้น ถุงทรายหลุดขณะอยู่สูงจากพื้น 2.45 เมตร ตอบ 2. ตอบ 18.80 เซนติเมตร วิธีทำ หาความเร็วหลังชนของ 5 kg iP   = fP   แทนค่า 2(4) + 5(-2) = 2(3) + 5v จะได้ v = 3 8  m/s (ไปทางซ้าย) จาก EPS = EKหาย 2 2 1 ks = EKi - EKf แทนค่า 2 )600( 2 1 s = [ 2 1 (2)(4)2 + 2 1 (5)(2)2 ]- 2 1 (2)(3)2 + 2 1 (5)( 3 8 )2 ] s = 0.188 m = 18.80 cm ดังนั้น ขณะนั้นสปริงถูกกดให้หดเข้าไปเป็นระยะ 18.80 เซนติเมตร ตอบ a T mg t=4 a u v=25 s v 2 5 4 m/s 2 m/s 2 5 3 m/s v + ก่อนชน หลังชน
  • 17. 3. ตอบ 600 ลูกบาศก์เซนติเมตร วิธีทำ จาก Vไม้ =  m = 6.0 1200 = 2000 cm3 ปริมาตรเจาะออก = 160 + 840 = 1000 cm3 m ไม้ที่เจาะออก = V = 0.6(1000) = 600 g m ไม้ที่เหลือ = 1200 - 600 = 600 g m โลหะ = V = 5(160) = 800 g ขณะสมดุลตอนหลัง yF   = 0 mgไม้+mgโลหะ = B = น้าgVจม 600 + 800 = 1Vจม Vจม = 1400 cm3 Vลอยพ้นน้า = 2000 - 1400 = 600 cm3 ดังนั้น ถ้าเอาไปลอยน้าจะมีปริมาตรส่วนที่ลอยพ้นระดับน้า 600 ลูกบาศก์เซนติเมตร ตอบ 4. ตอบ 10 วิธีทำ ตอนแรก หักเหจาก x ไป y y x v v =   43sin 20sin y x v v = 68.0 34.0 = 2 1 ………… (1) ตอนหลัง ไม่มีคลื่นหักเหเข้าไปในตัวกลาง y แสดงว่ามุมหักเหจะเป็น 90 สมมติมุมตกกระทบ ขณะนั้นเป็น  หักเหจาก x ไป y y x v v = 90sin sin = sin…………… (2) (1) = (2) จะได้ sin = 2 1 ดังนั้น  = 30 ดังนั้น จากรูป ต้องหมุนแนว AB ไปจากเดิม = 30 - 20 = 10 ตอบ B mgไม้+mgโลหะ source x 20 43 A B y C source x  A B y C
  • 18. 5. ตอบ 4 เท่า วิธีทำ เมื่อมีการถ่ายเทประจุ แต่ประจุรวมของระบบยังคงเดิมเสมอ หาพลังงานที่สะสม จาก U = C Q2 2 1 ก่อนสับสวิทซ์ U1 = C q2 0 2 1 หลังสับสวิทซ์ U2 = CC q   2 0 2 1 แต่โจทย์กาหนด U2 = 20%U1 แทนค่า CC q   2 0 2 1 = 100 20  C q2 0 2 1 C + C’ = 5C C’ = 4C ดังนั้น C’ จะต้องมีค่าเป็น 4 เท่าของ C ตอบ 6. ตอบ 0.33 แอมแปร์ วิธีทำ หาความต่างศักย์ที่แปลงออก 2 1 V V = 2 1 N N แทนค่า 2 220 V = 32 440 จะได้ V2 = 16 V แทนค่า 3 220 V = 16 440 จะได้ V3 = 8 V จาก Pin = Pout I1V1 = 2 2 2 R V + 3 2 3 R V แทนค่า I1(220) = 4 )16( 2 + 8 )8( 2 จะได้ I1 = 0.33 A ดังนั้น กระแสในขดปฐมภูมิจะมีค่า 0.33 แอมแปร์ ตอบ C C’+q0 -q0 สวิทซ์ C C’ สวิทซ์ Cรวม = C+C’ V2 V3 8 4 220 V50 Hz 440 รอบ 32 รอบ 16 รอบ