SlideShare a Scribd company logo
1 of 80
Download to read offline
สมดุลเคมี

(Chemical Equilibrium)

N2O4 (g)

2NO2 (g)

ไม่ มีสี

สีนำตำล
้

N2 + 3H2

2NH3
สมดุลเคมี
1. บทนา
2. ความหมายสมดุลเคมี
3. การหาค่าคงที่สมดุล
4. ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี
5. หลักของเลอชาเตอลิเอ
บทนำ
คำศัพท์ ทควรรู้
ี่
ปฏิกริยำทีไม่ ผนกลับ (Irreversible reaction)
ิ ่ ั
ปฏิกิริยาที่สารตั้งต้นทาปฏิกิริยากันจนหมด เกิดผลิตภัณฑ์อย่าง
สมบูรณ์ ปฏิกิริยาจะยุติเมื่อสารตั้งต้นสารใดสารหนึ่งหมด

ปฏิกริยำผันกลับได้ (Reversible reaction)
ิ
ปฏิกิริยาที่สารตั้งต้นทาปฏิกิริยากัน ได้ผลิตภัณฑ์ และในขณะเดียวกัน
่
ผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นทาปฏิกิริยากันกลับเป็ นสารตั้งต้นใหม่ ไม่วาจะใช้
เวลานานเท่าใด ภายในระบบยังมีท้ งสารตั้งต้นทุกชนิดเหลือ และ
ั
ผลิตภัณฑ์เกิดขึ้นทุกชนิด
บทนำ
ตัวอย่ ำงปฏิกริยำเคมีที่ผนกลับได้
ิ
ั

N2O4(g)

(ไม่มีสี)

2 NO2(g)

(สี น้ าตาล)

1.

N2O4 (g)

2NO2 (g)

ปฏิกรยาไปข ้างหน ้า
ิ ิ

2.

2NO2 (g)

N2O4 (g)

ปฏิกรยาย ้อนกลับ
ิ ิ

4
บทนำ
ตัวอย่ ำงปฏิกริยำเคมีที่ผนกลับได้
ิ
ั

[Co(H2O)6]2+ + 4Cl(สีชมพู)

[CoCl4]2- + 6H2O
(สีนำเงิน)
้
บทนำ
คำศัพท์ ทควรรู้
ี่

ระบบและสิ่ งแวดล้อม
ระบบ คือ สิ่ งที่เราศึกษาหรื อทดลอง
่
สิ่ งแวดล้อม คือ สิ่ งที่อยูนอกระบบ
ชนิดของระบบ แบ่ งออกเป็ น 3 ชนิด

1) ระบบเปิ ด (Open system) คือระบบที่มีการถ่ายเทได้ท้ งมวลสารและพลังงานกับ
ั
สิ่ งแวดล้อม
2) ระบบปิ ด (Closed system) คือ ระบบที่มีการถ่ายเทเฉพาะพลังงานอย่างเดียว
แต่มวลสารไม่ถ่ายเท
3) ระบบแยกตัว (Isolated system) คือระบบที่ไม่มีการถ่ายเททั้งมวลสารและพลังงานกับ
สิ่ งแวดล้อม เช่น แคลอริ มิเตอร์
บทนำ
คำศัพท์ ทควรรู้
ี่
กำรเปลียนแปลงทีเ่ กิดในระบบ มี 3 อย่ ำง
่
1. การเปลี่ยนแปลงสถานะ (Solid, liquid, gas)
2. การละลาย (Solute + Solvent = Solution)
3. การเกิดปฏิกิริยาเคมี (Reactants
Product)
่
(การเปลี่ยนแปลงทั้งสามอย่างนี้ จะอยูในสมดุลหรื อไม่สมดุลก็ได้)
บทนำ
คำศัพท์ ทควรรู้
ี่
สมดุลไดนำมิก (dynamic equilibrium)
่
หมายถึง สมดุลที่มีการเคลื่อนที่ของอนุภาคอยูตลอดเวลา ระบบ
ไม่หยุดนิ่ง อัตราการเปลี่ยนแปลงไปข้างหน้าเท่ากับอัตราการเปลี่ยนแปลง
ผันกลับ (สมดุลเคมีเป็ นสมดุลไดนามิก)

N2O4 (g)

2NO2 (g)

ไม่ มีสี

สีนำตำล
้
ควำมหมำย
ภาวะสมดุล หมายถึง ภาวะที่ระบบมีสมบัติคงที่ ซึ่งระบบยังคงมีการ
เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา โดยมีอตราการเปลี่ยนแปลงไปข้างหน้าเท่ากับอัตรา
ั
การเปลี่ยนแปลงย้อนกลับ
ลักษณะทัวไปของภำวะสมดุล
่
1. เกิดในระบบปิ ดเท่านั้น
2. ต้องเป็ นปฏิกิริยาที่ผนกลับได้
ั
3. อัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าจะเท่ากับอัตราการเกิดปฏิกิริยาผันกลับ
At equilibrium: Rateforward = Raterev

4. ระบบจะไม่หยุดนิ่งแต่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเรี ยกว่า
สมดุลพลวัติ (dynamic equilibrium)
5. สมบัติต่างๆ จะคงที่ เช่น สี ความเข้มข้น ความหนาแน่น ความดัน
ควำมหมำย
่
6. เมื่อระบบอยูในสมดุล หากมีสิ่งอื่นมารบกวนระบบ เช่น การเปลี่ยน
อุณหภูมิ ความดัน สมดุลของระบบจะเสี ยไป เมื่อหยุดรบกวน ระบบจะ
เข้าสู่สมดุลใหม่ได้เอง (เลอชาเตอลิเยร์)
7. การเข้าสู่สมดุลของระบบอาจเริ่ มจากทิศใดก็ได้

N2 + 3H2

2NH3

2NH3

N2 + 3H2
ควำมหมำย
N2O4(g)

2NO2(g)

2NO2(g)

N2O4(g)

N2O4(g)

2NO2(g)
ค่ำคงที่สมดุล
คือค่าคงที่ค่าหนึ่งซึ่งบอกให้ทราบถึงความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้น
ของสารต่างๆ ที่ภาวะสมดุล
่ ั
่ ั
มีค่ามากหรื อน้อยขึ้นอยูกบแต่ละปฏิกิริยา และขึ้นอยูกบอุณหภูมิ
หากทราบค่าคงที่สมดุล (K) จะหาความเข้มข้นของสาร ณ ภาวะสมดุลได้
มี 2 แบบ คือ Kc และ Kp ( Kc  Kp )
“ค่าคงที่สมดุล มีค่าเท่ากับผลคูณของความเข้มข้นที่ภาวะสมดุลของ
ผลิตภัณฑ์ หารด้วยผลคูณของความเข้มข้นที่ภาวะสมดุลของสารตั้ง
ต้น ความเข้มข้นแต่ละค่ายกกาลังเท่ากับตัวเลขนาหน้าสารนั้น” (Kc)
ค่ำคงที่สมดุล
ดังสมการ

Kc =

aA + bB
c[D]d
[C]

[A]a[B]b

่
[ ] เป็ นความเข้มข้นเมื่อสารอยูในสมดุล
มีหน่วยเป็ น mol/dm3

cC + dD
(PC)c (PD)d
Kp =
(PA)a (PB)b
่
P เป็ นความดันย่อยเมื่อสารอยูในสมดุล
มีหน่วยเป็ น atm

เมื่อ a, b, c และ d เป็ นสัมประสิ ทธิ์ปริ มาณ
สัมพันธ์ของสาร A, B, C และ D ตามลาดับ
ค่ำคงที่สมดุล
ตัวอย่างการหาค่าคงที่สมดุล

N2O4(g)

Kc =

c[D]d
[C]

[A]a[B]b
2
]

[NO2
Kc =
[N2O4]

2NO2(g)

(PC)c (PD)d
Kp =
(PA)a (PB)b
2
P

NO2

Kp= P
NO

2 4
ค่ำคงที่สมดุล
ตัวอย่างการหาค่าคงที่สมดุล

N2O4(g)

Forward reaction:
N2O4 (g)
2 NO2 (g)

Rate law:
Rate = kf [N2O4]

At equilibrium:

2NO2(g)

Reverse reaction:
2 NO2 (g)
N2O4 (g)

Rate law:
Rate = kr [NO2]2

Ratef = Rater

kf [N2O4] = kr [NO2]2
ค่ำคงที่สมดุล
ตัวอย่างการหาค่าคงที่สมดุล

at equilibrium

N2O4(g)

2NO2(g)

kf [N2O4] = kr [NO2]2
kf
[NO2]2
=
kr
[N2O4]

kf
=
Kc =
kr

2
]

[NO2
[N2O4]
ค่ำคงที่สมดุล
สมดุลเอกพันธุ์ (homogeneous equilibrium)
่
: สมดุลของปฏิกิริยาที่สารทั้งหมดในปฏิกิริยาอยูในวัฏภำคเดียวกัน
เช่น ในปฏิกิริยาการสลายตัวของ N2O4(g)
2 NO2(g)

[NO 2 ]
- ในรู ป KC เป็ นค่าคงที่ในรู ปความเข้มข้น (M, mol/L) Kc =
[N 2 O 4 ]
2

- ในรู ป Kp เป็ นค่าคงที่ในรู ปของความดัน (atm)

Kp =

PNO2
2

P N 2 O4
ค่ำคงที่สมดุล
สมดุลเอกพันธุ์ (homogeneous equilibrium)
โดยทัวไป KC  Kp แต่เราสามารถหาความสัมพันธ์ระหว่าง KC กับ Kp
่
ได้ดงสมการนี้
ั
aA(g)
bB(g)

[B]
KC =
[A]a
b

P
Kp =
P

b
B
a
A

เมื่อ PA และ PB เป็ นความดันย่อยของ A และ B
PAV = nART
PBV = nBRT

n A RT
PA = V

n B RT
PB = V
ค่ำคงที่สมดุล
สมดุลเอกพันธุ์ (homogeneous equilibrium)
แทนค่า PA และ PB นี้ลงในสมการของ Kp จะได้
b

 n B RT 
 V 

Kp = 
a
 n A RT 
 V 



b

=

[B]
KC =
a
[A]
b

 nB 
V
  (RT) b-a
a
 nA 
V
 

เนื่องจาก nA / V และ nB / V มีหน่วยเป็ น mol/L จึงแทนได้ดวย [A] และ
้
[B] ตามลาดับ จะได้
ค่ำคงที่สมดุล
สมดุลเอกพันธุ์ (homogeneous equilibrium)
b

เมื่อ

[B] (RT) n
n
Kp =
= Kc (RT)
a
[A]

n = b – a

=

จำนวนโมลรวมของก๊ ำซผลิตภัณฑ์ – จำนวนโมลรวมของก๊ำซตั้งต้ น

R = 0.082 L.atm/K.mol

KP = KC (RT)

n
ค่ำคงที่สมดุล
สมดุลเอกพันธุ์ (homogeneous equilibrium)
ตัวอย่ ำง 1

หาค่า K
ตัวอย่ ำง 2

PCl5 (g)

PCl3 (g) + Cl2 (g)

PCl3 Cl2 
K
PCl5 

H2(g) + I2(g)
HI2
K
H 2 I 2 

2HI(g) หาค่า K
ค่ำคงที่สมดุล
สมดุลวิวธพันธุ์ (Heterogeneous Equilibrium)
ิ
: ปฏิกิริยาที่สาร (reactants, products) ไม่เป็ นวัฏภาคเดียวกันคือ มี gas solid
liquid ปนกัน “ควำมเข้ มข้ นของของแข็งและของเหลวบริสุทธิ์ มีค่ำคงทีเ่ สมอ”

เช่น CaCO3(s)
CaO(s) + CO2(g)
[CaO][CO 2 ]
K =
C
[CaCO 3 ]
KC

= [ CO2 ]

KP

=

PCO 2

PCO2 ไม่ข้ ึนกับปริ มาณของ CaCO3 หรื อ CaO
ค่ำคงที่สมดุล
สมดุลวิวธพันธุ์ (Heterogeneous Equilibrium)
ิ

ตัวอย่าง 1 NH4Cl(s)

NH3(g) + HCl(g)

Kc = [NH3][HCl]
ตัวอย่าง 2 CaCO3(s) + H2O(l) + CO2(g)

Ca2+ (aq) + 2 HCO3-(aq)

Kc = [Ca2+][HCO3-]2
[CO2]

ตัวอย่าง 3 H 2O l 

H  aq   OH  aq 

Kc = [H+][OH-]
ค่ำคงที่สมดุล
แบบฝึ กหัด
จงหาค่า K ของสมการต่อไปนี้ ในกรณี ที่เป็ นก๊าซ หาทั้ง Kp และ Kc
1. 2NOCl (g)
2 NO (g) + Cl2 (g)
2. COCl2 (g)
CO (g) + Cl2 (g)
3. NO (g)
½ N2 (g) + ½ O2 (g)
4. Zn (s) + CO2 (g)
ZnO (s) + CO (g)
5. MgSO4 (s)
MgO (s) + SO3 (g)
6. FeO (s) + CO (g)
Fe (s) + CO2 (g)
7. PbCl2 (s)
Pb2+ (aq) + 2 Cl−(aq)
8. NH3(aq) + H2O(l)
NH4+(aq) + OH-(aq)
ค่ำคงที่สมดุล
กำรแปลควำมหมำยของค่ ำคงทีสมดุล
่
กรณี ที่ 1 : ถ้า K >> 1 เช่น ในระบบต่อไปนี้ที่ 2300 oC

2O3(g)

3O2(g)

[O 2 ]
K =
2
[O 3 ]

3

K » 1… products มาก

= 2.54  1012

่ ั
ที่สมดุล ระบบจะมี O2 ปนอยูกบ O3 แต่จะมี O3 << O2
ค่ำคงที่สมดุล
กำรแปลควำมหมำยของค่ ำคงทีสมดุล
่
กรณี ที่ 2 : ถ้า K << 1 เช่น ในระบบต่อไปนี้ที่ 25 oC
Cl2(g)
Cl(g) + Cl(g)

[Cl]
K =
[Cl 2 ]
2

= 1.4  10 - 38

ระบบสมดุลจะมี Cl2 >> Cl
K « 1… reactants มาก
ค่ำคงที่สมดุล
กำรแปลควำมหมำยของค่ ำคงทีสมดุล
่
่
กรณี ที่ 3 : ถ้า K มีคาไม่มากเกินไปหรื อน้อยเกินไปเมื่อเทียบกับ 1
สารตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์ที่สมดุลจะมีปริ มาณพอๆกัน เช่น

CO(g) + H2O(g)

H2(g) + CO2(g)

[H 2 ][CO 2 ]
K=
= 5.10
[CO][H 2 O]

ถ้า [CO] = 0.200 M, [H2O] = 0.400 M และ [H2] = 0.300 M
ที่สมดุล จะได้ [CO2] = 1.36 M
ค่ำคงที่สมดุล

ค่า K น้ อยๆ
ค่า K มากๆ

K ปานกลาง
ค่ำคงที่สมดุล
การคานวณค่าคงที่สมดุล
แบบที่ 1 โจทย์กาหนดค่า [ ] หรื อ P ที่สมดุลมาให้ ให้หาค่า K
ตัวอย่างที่ 1 จากปฏิกิริยาดังแสดงในสมการต่อไปนี้

A(s) + 2B(g) + C(g)

2D(g)

ที่ภาวะสมดุลภายในภาชนะขนาด 2 dm3 มี A 4 mol B 4 mol C 2 mol และ
D 6 mol จงคานวณค่าคงที่สมดุล
ค่ำคงที่สมดุล
การคานวณหาค่าคงที่สมดุล
แบบที่ 1 โจทย์กาหนดค่า [ ] หรื อ P ที่สมดุลมาให้ ถามหาค่า K
วิธีทำ

K

D 2

2
B  C 

[B] = 4/2 = 2
[C] = 2/2 = 1
[D] = 6/2 = 3

(3)2
Kc = 2
= 2.25
(2) (1)
ดังนั้นค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยานี้ = 2.25
ค่ำคงที่สมดุล
การคานวณหาค่าคงที่สมดุล
ตัวอย่ ำง 2 พิจารณาปฏิกิริยาต่อไปนี้ 2H2(g) + S2(g)
2H2S(g)
จากการวิเคราะห์พบว่าที่สมดุลมี H2 1.2 mol , S2 6 mol และ H2S 2.4
mol ในขวดขนาด 12 L จงคานวณค่า Kc
ค่ำคงที่สมดุล
การคานวณหาค่าคงที่สมดุล
แบบที่ 1 โจทย์กาหนดค่า [ ] หรื อ P ที่สมดุลมาให้ ถามหาค่า K

วิธีทา

[H2S]2
K=
[H2]2 [S2]
[0.2]2
K=
[0.1]2 [0.5]
K = 8

[H2S] = 2.4/12 = 0.2
[H2] = 1.2/12 = 0.1
[S2] = 6/12 = 0.5
ค่ำคงที่สมดุล
ตัวอย่างที่ 3 NH4HS(s)
NH3(g) + H2S(g)
จงหา KC , KP ถ้าภาวะสมดุล ความดันย่อยของ gas เท่ากันคือ 0.3 atm
ที่อุณหภูมิ 300 K
ค่ำคงที่สมดุล
การคานวณหาค่าคงที่สมดุล
แบบที่ 1 โจทย์กาหนดค่า [ ] หรื อ P ที่สมดุลมาให้ ถามหาค่า K

วิธีทา

KP

= P NH3 . PH2S
= (0.3 atm)(0.3 atm) = 0.09 atm2
n

จาก

KP = KC (RT)
n = 2 – 0 = 2 mol
T = 300 K

แทนค่า

0.09 = KC (0.082  300)2
KC = 1.49 x 10 – 4
ค่ำคงที่สมดุล
การคานวณหาค่าคงที่สมดุล
ตัวอย่ ำง 4 พิจารณาปฏิกิริยาต่อไปนี้ N2(g) + O2(g)
2NO(g)
ถ้าความดันย่อยที่สมดุลของ N2 , O2 และ NO เท่ากับ 0.15 atm, 0.33 atm
และ 0.50 atm จงหา Kp
ค่ำคงที่สมดุล
การคานวณหาค่าคงที่สมดุล
แบบที่ 2 โจทย์กาหนดค่า K, [ ] หรื อ P ที่สมดุลมาให้ ถามหา [ ]eq บางค่า
ตัวอย่าง 1 ปฏิกิริยา CO(g) + H2O(g)
H2(g) + CO2(g)
มีค่าคงที่สมดุล K = 5.10 กาหนดให้ที่สมดุล [CO] = 0.200 M,
[H2O] = 0.400 M และ [H2] = 0.300 M จงหาความเข้มข้นของ [CO2]
[H 2 ][CO 2 ]
วิธีทำ จาก
K=
= 5.10
[CO][H 2 O]
[CO2] =

(0.200)(0.400)
 5.10 =
(0.300)

1.36 M
ค่ำคงที่สมดุล
การคานวณหาค่าคงที่สมดุล
ตัวอย่ ำง 2 ปฏิกิริยา H2(g) + I2(g)

2HI(g)

มีค่าคงที่สมดุล K = 5 x 10-4 กาหนดให้ที่สมดุล [ H2 ] = 0.10 M,
[I2] = 8 M จงหาความเข้มข้นของ [HI]
ค่ำคงที่สมดุล
การคานวณหาค่าคงที่สมดุล
แบบที่ 2 โจทย์กาหนดค่า [ ] หรื อ P ที่สมดุลมาให้ ถามหาค่า K

วิธีทา

[HI]2
K=
[H2] [I2]
[HI]2
[0.1] [8]
[HI]2
[HI]

= 5 x 10-4
= 5 x 10-4

= 4 x 10-4
= 2 x 10-2
ค่ำคงที่สมดุล
การคานวณหาค่าคงที่สมดุล
แบบที่ 3.1 โจทย์กาหนดค่า K และค่า [ ] เริ่ มต้น ถามหา [ ] ที่สมดุล

ตัวอย่าง 1 ค่า Kc ของปฏิกิริยา H2(g) + I2(g)
2 HI(g)
มีค่าเท่ากับ 55.3 หากเริ่ มต้น H2 และ I2 มีความเข้มข้นอย่างละ 1 M
จงหาความเข้มข้นที่สมดุลของสารทั้ง 3 ชนิด
2

[HI]
Kc =
= 55.3
[H2 ][I2 ]
ค่ำคงที่สมดุล
การคานวณหาค่าคงที่สมดุล
แบบที่ 3.1 โจทย์กาหนดค่า K มาให้ ให้หาค่า [ ] หรื อ P ที่สมดุล
วิธีทำ

H2(g) + I2(g)

2 HI(g), Kc = 55.3

ขั้นที่ 1 เขียนการเปลี่ยนแปลงของสาร
เริ่ มต้น
เปลี่ยนแปลง
สมดุล

[H2]
1.00

+ [I2]
1.00

[HI]
0
ค่ำคงที่สมดุล
การคานวณหาค่าคงที่สมดุล
แบบที่ 3.1 โจทย์กาหนดค่า K มาให้ ให้หาค่า [ ] หรื อ P ที่สมดุล

ขั้นที่ 2 กาหนดให้การเปลี่ยนแปลง
[H2]

เริ่ มต้น
1.00
เปลี่ยนแปลง -x
สมดุล

1.00 - x

+

= x

[I2]

[HI]

1.00
-x

0
+2x

1.00 - x

2x
ค่ำคงที่สมดุล
การคานวณหาค่าคงที่สมดุล
แบบที่ 3.1 โจทย์กาหนดค่า K มาให้ ให้หาค่า [ ] หรื อ P ที่สมดุล
ขั้นที่ 3 แทนค่าในสมการ K เพื่อหา x
Kc =

[HI] 2
= 55.3
[H2 ][I2 ]

[2x]2
Kc =
= 55.3
[1.00 - x][1.00 - x]
7.44

x = 0.79

=

2x
1.00 - x

[H2] = [I2] = 1.00 - x = 0.21 M
ค่ำคงที่สมดุล
การคานวณหาค่าคงที่สมดุล
แบบที่ 3.1 โจทย์กาหนดค่า K มาให้ ให้หาค่า [ ] หรื อ P ที่สมดุล

ตัวอย่าง 2 ปฏิกิริยา I2(g)
2I(g)
ที่ 1000 K มี Kc = 4 ถ้าเริ่ มต้นมี I2 4.6 mol ในขวดขนาด
2.3 L จงหาความเข้มข้นของแก๊สทั้งสองที่สมดุล
ค่ำคงที่สมดุล
การคานวณหาค่าคงที่สมดุล
แบบที่ 3.1 โจทย์กาหนดค่า K มาให้ ให้หาค่า [ ] หรื อ P ที่สมดุล

วิธีทา

K=

เริ่ มต้น
เปลี่ยนแปลง
สมดุล

[I]2
[I2]

I2(g)

= 4

2I(g)

2
-x

0.00
+2x

2–x

+2x

[ I ] = 4.6/2.3
= 0.02 M

[2x]2
[2 - x]

= 4
ค่ำคงที่สมดุล
การคานวณหาค่าคงที่สมดุล
แบบที่ 3.1 โจทย์กาหนดค่า K มาให้ ให้หาค่า [ ] หรื อ P ที่สมดุล

วิธีทา

[2x]2
K=
[2 - x]

= 4

4x2 + 4x -8 = 0
x2 + x - 2 = 0
สมกำรกำลังสอง
ค่ำคงที่สมดุล
การคานวณหาค่าคงที่สมดุล
แบบที่ 3.1 โจทย์กาหนดค่า K มาให้ ให้หาค่า [ ] หรื อ P ที่สมดุล

ตัวอย่าง 3 ปฏิกิริยา A + B
C + D มีค่าคงที่สมดุล
เท่ากับ 9 ถ้าผสม A 2 M และ B 2 M เข้าด้วยกัน จะมี B และ
C อย่างละกี่ M ที่ภาวะสมดุล
่
ตัวอย่าง 4 ถ้าปล่อยให้ A 0.5 โมลสลายตัวจนอยูในสมดุลกับ B
ในภาชนะขนาด1 L ที่ 25 ºC ดังสมการ A(g)
2B(g) ถ้าค่าคงที่สมดุล
เท่ากับ 8 จงหาความเข้มข้นของ A และ B ที่สมดุล และหาร้อยละการ
สลายตัวของ A
ค่ำคงที่สมดุล
การคานวณหาค่าคงที่สมดุล
แบบที่ 3.2 โจทย์กาหนดค่า x (ค่าการเปลี่ยนแปลง) ให้

ตัวอย่าง 1 ปฏิกิริยา 2A
B + 2C ถ้าตั้งต้นปฏิกิริยาจาก
A 4 mol เพียงชนิดเดียวในภาชนะขนาด 4 L เมื่อถึงสมดุลเหลือ
A 1 mol หาความเข้มข้นของสารทุกตัวที่สมดุล และ Kc
ตัวอย่าง 2 ที่ 25 ºC CH3COOH 0.1 M แตกตัวได้ 1.34%
จงคานวณ [H3O+], [CH3COO-] และ ค่าคงที่สมดุล (Ka)
ค่ำคงที่สมดุล
การคานวณหาค่าคงที่สมดุล
แบบที่ 3.2 โจทย์กาหนดค่า x (ค่าการเปลี่ยนแปลง) ให้
ตัวอย่าง 3 ที่อุณหภูมิ 700 K ในภาชนะปิ ดขนาด 2 dm3 บรรจุแก๊ส CO 0.1 mol
เมื่อเติมไฮโดรเจนเกิดปฏิกิริยาดังสมการ CO(g) + 2H2(g)
CH3OH(g)
เมื่อปฏิกิริยาเข้าสู่สมดุลพบว่าเกิด CH3OH เท่ากับ 0.06 mol และมี mol รวม
เท่ากับ 0.24 ค่าคงที่สมดุลเป็ นเท่าใด
ค่ำคงที่สมดุล
การคานวณหาค่าคงที่สมดุล
กำรรบกวนสมดุล
ตัวอย่าง 1 พิจารณาสมดุลของปฏิกิริยา A(aq) + B(aq)
C(aq) นา A 1 mol
และ B 2.5 mol ละลายในน้ าแล้วทาให้ปริ มาตรของสารละลายเป็ น 0.5 dm3
เมื่อปฏิกิริยาเข้าสู่ภาวะสมดุล พบว่าความเข้มข้นของ A เท่ากับ 1 mol.dm-3
ถ้าทดลองใหม่ โดยเริ่ มจากการละลาย C 0.5 โมล ในน้ าแล้วทาให้ปริ มาตร
สารละลายเป็ น 0.25 dm3 เมื่อระบบเข้าสู่สมดุล C มีความเข้มข้นกี่ mol.dm-3
ค่ำคงที่สมดุล
การคานวณหาค่าคงที่สมดุล
กำรรบกวนสมดุล
ตัวอย่าง 2 แก๊สผสม SO2 และ NO2 ในภาชนะขนาด 1 dm3 เกิดปฏิกิริยา
ดังสมการ SO2 + NO2
SO3 + NO เมื่อเข้าสู่ภาวะสมดุลพบว่ามี SO3
NO, NO2 และ SO2 อย่างละ 0.6, 0.4, 0.1 และ 0.8 mol ตามลาดับ ถ้าต้องการ
เพิมปริ มาณ NO2 ให้เป็ น 0.3 mol จะต้องปล่อยแก๊ส NO เข้าสู่ภาชนะกี่โมล
่
ที่อุณหภูมิและความดันคงที่
ค่ำคงที่สมดุล
ข้อสรุ ปในการใช้ค่าคงที่สมดุล
1. ถ้านาเลขใดคูณกับสมการเดิม ค่า K ของสมการใหม่จะเท่ากับค่า K เดิม
ยกกาลังด้วยเลขจานวนนั้น เช่น ถ้าคูณสมการเดิมด้วย n ค่า Kใหม่ = Knเดิม

H2(g) + I2(g)

2 HI(g) …..K

นา 2 คูณสมการเดิม

2H2(g) + 2I2(g)

4 HI(g) …..Kใหม่

Kใหม่ = K2
ค่ำคงที่สมดุล
ข้อสรุ ปในการใช้ค่าคงที่สมดุล
2. ถ้าเขียนสมการกลับกัน ค่า K จะกลับกันด้วย เช่น
H2(g) + I2(g)

2 HI(g) …..K

กลับสมการ
2 HI(g)

H2(g) + I2(g) …..Kใหม่

Kใหม่ = 1/K
หา Kใหม่ ของปฏิกิริยา 4 HI(g)

2H2(g) + 2I2(g)
ค่ำคงที่สมดุล
ข้อสรุ ปในการใช้ค่าคงที่สมดุล
3. ถ้าปฏิกิริยาเกิดหลายขั้นตอน ค่าคงที่สมดุลจะเท่ากับผลคูณของ
ค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยาย่อยทั้งหมด

S(s) + O2(g)
SO2(g) +
ดังนั้น

S(s) +

O2(g)

O2(g)

SO2(g)

K1

SO3(g)

K2

SO3(g) …..K

K = K1. K2
ค่ำคงที่สมดุล
ข้อสรุ ปในการใช้ค่าคงที่สมดุล
กำหนดให้

2SO3

2SO2 + O2 …..K1

จงหาค่าคงที่ของสมดุล( K ) ต่อไปนี้

1) 2SO2 + O2
2) SO3

2SO3

SO2 + O2

3) 4SO2 + 2O2

4SO3
ค่ำคงที่สมดุล
ข้อสรุ ปในการใช้ค่าคงที่สมดุล
กาหนดให้

2A(g)

B2(g) + C2(g) …..K1

A(g) + D2(g)
จงหาค่าคงที่สมดุลของ

AD(g) …..K2

B2(g) + C2(g) + D2(g)

AD(g)
ค่ำคงที่สมดุล
ข้อสรุ ปในการใช้ค่าคงที่สมดุล
ปฏิกิริยา

2HI
HI

H 2 + I2

K = 4 x 10-2

H 2 + I2 K = ?
ค่ำคงที่สมดุล
ข้อสรุ ปในการใช้ค่าคงที่สมดุล
กาหนดให้ NO2 (g)

NO(g) + O(g) K = 6.8 x 10-4

O3 (g) + NO(g)

NO2(g) + O2(g) K = 5.8x10-34

ค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยาต่อไปนี้มีค่าเท่าใด

O2(g) + O(g)

O3(g)
ค่ำคงที่สมดุล
ข้อสรุ ปในการใช้ค่าคงที่สมดุล
A(g) + B(g)

2C(g)

K1

D(g) + E(g)

A(g) + C(g)

K2

E(g) + F(g)

2B(g) + G(g)

K3

ปฏิกิริยา 3A(g) + F(g)

3C(g) + D(g) + G(g) K = ?
ค่ำคงที่สมดุล
ทานายทิศทางของปฏิกิริยา (ไปข้างหน้า หรื อ ย้อนกลับ)
โดยการเปรี ยบเทียบค่า QC กับ KC

QC

= ผลหารปฏิกิริยา (reaction quotient)

[product]
=
** ใช้ความเข้มข้นเริ่ มต้นแทนค่า
[reactant]
KC

=

[C]c [D]d
a
b
[A] [B]
ค่ำคงที่สมดุล
ทานายทิศทางของปฏิกิริยา (ไปข้างหน้า หรื อ ย้อนกลับ)
ถ้า QC = KC
QC > KC
QC < KC

สมดุล
มี product มากเกินสมดุล ปฏิกิริยาต้องย้อนกลับ
มี product น้อยกว่าสมดุล ปฏิกิริยาต้องไปข้างหน้า

ตัวอย่างที่ 1 จากสมดุลของ N2(g) + 3H2(g)
2NH3(g)
จานวนโมลเริ่ มต้น
0.8 mol 0.4 mol
0.1 mol
ในภาชนะ 2 L จงแสดงการเปรี ยบเทียบค่า KC , QC สมดุลหรื อไม่
ถ้าไม่สมดุลทิศทางของปฏิกิริยาไปทางไหน ( เมื่อ KC = 0.65 )
ค่ำคงที่สมดุล
ทานายทิศทางของปฏิกิริยา (ไปข้างหน้า หรื อ ย้อนกลับ)
โจทย์กาหนดจานวนโมลเริ่ มต้นให้เปลี่ยนเป็ นความเข้มข้น (mol/L, M)
[N2]0 = 0.8 mol / 2 L = 0.4 mol/L
[H2]0 = 0.4 mol / 2 L = 0.2 mol/L
[NH3]0 = 0.1 mol / 2 L = 0.05 mol/L

QC



QC

[NH 3 ]2
=
3
[N 2 ][H 2 ]
2
= (0.05)

=

(0.4)(0.2)
0.78

3

เมื่อ KC

= 0.65

ดังนั้น QC > KC ปฏิกิริยาจะมีทิศทางย้อนกลับ (reverse) (ขวาไปซ้าย)
ค่ำคงที่สมดุล
ตัวอย่างที่ 2 ที่อุณหภูมิ 350 oC
N2(g) + 3 H2(g)
2NH3(g) ค่า Kc = 2.37  10 - 3
ที่สมดุล (M) 0.683 8.80
1.05
ถ้าเพิ่ม [ NH3 ] เป็ น 3.65 M จงทานายทิศทางของปฏิกิริยา ( จาก QC , KC )
QC

[NH 3 ]2
=
3
[N 2 ][H 2 ]

(3.65)
=
3
(0.683)(8.80)
2

= 2.86  10-2
 QC > KC ปฏิกิริยาจะมีทิศทางย้อนกลับ (reverse) จนกว่า QC = KC
ค่ำคงที่สมดุล
ตัวอย่างที่ 3 ที่อุณหภูมิ 430 oC
2NO(g) + O2(g)
2NO2(g) ค่า KP = 1.5  105
ความดัน ( atm ) 0.001
0.02
0.50
จงคานวณหา QP และทิศทางของปฏิกิริยา
QP

=

2
NO 2

P
2
NO

P . PO2

(0.50)
=
2
(0.001) (0.02)
2

= 1.8  105

ดังนั้น QP > KP ปฏิกิริยาจะมีทิศทางย้อนกลับ (reverse)
ปั จจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี
ปั จจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี
1. ความเข้มข้น
3. อุณหภูมิ
2. ปริ มาตรและความดัน 4. ตัวเร่ งปฏิกิริยา
เมื่อระบบสมดุลถูกรบกวนด้วยปัจจัยเหล่านี้ ระบบจะปรับตัวเอง
ให้เข้าสู่สมดุลใหม่อีกครั้ง ตามหลักของเลอชาเตอรลิเยร์ ( Le Chatelier’s
Principle)

่
“ เมื่อระบบที่อยูในภาวะสมดุล ถูกรบกวนโดยการเปลี่ยนแปลง
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุล ระบบจะปรับตัวในทิศทางที่จะลดผลของ
การรบกวนนั้น เพื่อให้ระบบเข้าสู่สมดุลอีกครั้ง”
ปั จจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี
ปั จจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี
หลักของเลอชำเตอรลิเยร์ ( Le Chatelier’s Principle)

การเพิมปัจจัย
่

การเข้าสู่ สมดุลใหม่จะมีทิศทาง
เพื่อลดปัจจัย

การลดปัจจัย

การเข้าสู่สมดุลใหม่จะมีทิศทาง
เพื่อเพิ่มปั จจัย
ปั จจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี
ผลของกำรเปลียนควำมเข้ มข้ น
่
สารที่รบกวนจะต้องเหมือนกับสารใดสารหนึ่งในระบบ หรื อ
ทาปฏิกิริยากับสารในระบบที่ภาวะสมดุล ซึ่งจะมีผลให้ปริ มาณของสาร
ในระบบเปลี่ยนแปลงไป

เพิมความเข้มข้นของสารใด
่

ลดความเข้มข้นของสารใด

ระบบจะเกิดปฏิกิริยาในทิศทาง
ที่ลดความเข้มข้นของสารนั้น

ระบบจะเกิดปฏิกิริยาในทิศทาง
ที่เพิมความเข้มข้นของสารนั้น
่
ปั จจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี
ผลของกำรเปลียนควำมเข้ มข้ น
่

FeSCN(aq)

Fe3+ (aq) + SCN-(aq)

เติม NaSCN (แตกตัวให้ Na+ และ SCN- )
สมดุลถูกรบกวนจาก SCN- ที่เพิ่มขึ้น เพื่อให้ระบบเข้าสู่สมดุลอีกครั้ง
ระบบจะลด SCN- โดย Fe3+ จะทาปฏิกิริยากับ SCN- ที่เพิ่มขึ้น เกิด
ปฏิกิริยาย้อนกลับ (ขวาไปซ้าย) มี FeSCN เพิ่มขึ้น ทาให้สารละลายมีสีแดง
เข้มขึ้น

FeSCN(aq)

Fe3+ (aq) + SCN-(aq)
ปั จจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี
ผลของกำรเปลียนควำมเข้ มข้ น
่

FeSCN(aq)

3+
Fe

(aq)

+

SCN

(aq)

เติม Fe(NO3)3 (แตกตัวให้ Fe3+ และ NO3- )
สมดุลถูกรบกวนจาก Fe3+ ที่เพิ่มขึ้น เพื่อให้ระบบเข้าสู่สมดุลอีกครั้ง
ระบบจะลด Fe3+ โดย SCN- จะทาปฏิกิริยากับ Fe3+ ที่เพิ่มขึ้น เกิดปฏิกิริยา
ย้อนกลับ (ซ้ายไปขวา) มี FeSCN เพิมขึ้น ทาให้สารละลายมีสีแดงเข้มขึ้น
่

FeSCN(aq)

Fe3+ (aq) + SCN-(aq)
ปั จจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี
ผลของกำรเปลียนควำมเข้ มข้ น
่

FeSCN(aq)

Fe3+ (aq) + SCN-(aq)

เติมกรดออกซำลิก (H2C2O4) ( แตกตัวให้ C2O42- ทาปฏิกิริยากับ Fe3+)
สมดุลถูกรบกวนจาก Fe3+ ที่ลดลง เพื่อให้ระบบเข้าสู่สมดุลอีกครั้ง
ระบบจะเพิ่ม Fe3+ โดย FeSCN จะแตกตัวให้ Fe3+ เพิ่มขึ้น เกิดปฏิกิริยา
ไปข้างหน้า (ขวาไปซ้าย) มี Fe3+ เพิมขึ้น ทาให้สารละลายเปลี่ยนจาก
่
สี แดงเป็ นสี เหลือง

FeSCN(aq)

Fe3+ (aq) + SCN-(aq)
ปั จจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี
ผลของกำรเปลียนควำมเข้ มข้ น
่
N2(g) + 3 H2(g)

2NH3(g)

ใช้หลักการของเลอชาเตอรลิเยร์ ทานายทิศทางสมดุล เมื่อ
- เติม NH3 ลงไป
- เติม H2 ลงไป
- ดึง N2 ออก
ปั จจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี
ผลของกำรเปลียนปริมำตรและควำมดัน
่
มีผลเฉพาะสมดุลของแก๊สเท่านั้น

ลดปริ มาตร = เพิ่มความดัน ( P = k/V)
ปั จจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี
ผลของกำรเปลียนปริมำตรและควำมดัน
่
เพิมความดัน (ลดปริ มาตร)
่

ไปทางโมลน้อย

ลดความดัน (เพิมปริ มาตร)
่

ไปทางโมลมาก

Example:

N2O4(g)

2NO2(g)

PV = nRT

**กรณี ที่โมลของแก๊สตั้งต้นเท่ากับของแก๊สผลิตภัณฑ์ การเปลี่ยนแปลงความดัน
จะไม่มีผลต่อสมดุล
ปั จจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี
ผลของกำรเปลียนปริมำตรและควำมดัน
่
ตัวอย่าง จงทานายทิศทางของปฏิกิริยาต่อไปนี้เมื่อมีการเพิ่มความดัน
(ลดปริ มาตร)

1. 2PbS(s) + 3O2(g)

2PbO(s) + 2SO2(g)

2. PCl5(g)
PCl3(g) + Cl2(g)
3. H2(g) + CO2(g)
H2O(g) + CO(g)
ปั จจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี
ผลของกำรเปลียนอุณหภูมิ
่

การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิทาให้ค่าคงที่สมดุล (K) เปลี่ยน

ปฏิกิริยาดูดความร้อนเกิดได้ดี

เพิ่มอุณหภูมิ

ปฏิกิริยาคายความร้อนเกิดได้ดี

ลดอุณหภูมิ

ตัวอย่าง N2O4(g) + heat

2NO2(g) ∆E = 58 kJ/mol
ปั จจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี
ผลของกำรเปลียนอุณหภูมิ
่
ความสัมพันธ์ระหว่างค่าคงที่สมดุลกับอุณหภูมิของปฏิกิริยาดูด
และคายความร้อน

ดูดควำมร้ อน
เมื่อเพิ่มอุณหภูมิ ค่าคงที่สมดุลจะเพิ่ม
เมื่อลดอุณหภูมิ ค่าคงที่สมดุลจะลด
คำยควำมร้ อน
เมื่อเพิ่มอุณหภูมิ ค่าคงที่สมดุลลด
เมื่อลดอุณหภูมิ ค่าคงที่สมดุลเพิ่ม
ปั จจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี
ผลของตัวเร่ งปฏิกริยำ
ิ
ตัวเร่ งปฏิกิริยาไม่เกี่ยวข้องกับค่าคงที่สมดุล และไม่มีผลต่อทิศทาง
ของสมดุล แต่การเติมตัวเร่ งปฏิกิริยาจะช่วยเพิ่มอัตราการเกิดให้เข้าสู่
สมดุลได้เร็ วขึ้น
ตัวอย่าง ปฏิกิริยาการเผาผงโซเดียมไบคาร์บอเนตในภาชนะปิ ด

2NaHCO3(s)

Na2CO3(s) + H2O(g) + CO2(g)

จงทานายทิศทางของสมดุล เมื่อ
1. มี CO2 บางส่ วน ออกจากระบบ
3. ลดความดัน 4. เพิ่ม CO2

2. เติมผง Na2CO3 เข้าไป
ปั จจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี
ตัวอย่าง จากสมดุล
4NH3(g) + 5O2(g)

4NO(g) + 6H2O(l) E = - 248 kJ

จงทานายทิศทางการดาเนินไปของปฏิกิริยาเมื่อ
a. เพิ่ม NH3 (g)
b. ลด O2 (g)
c. ลด NO (g)
d. เพิ่มปริ มาตรของภาชนะบรรจุ 2 เท่า
e. เพิมอุณหภูมิ
่
f. เพิ่มความดัน
ปั จจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี
ตัวอย่างกราฟ

N2 + 3H2

2NH3

N2O4(g)

2NO2(g)
ปั จจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี

2HI

H2 + I2
ปั จจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี
ตัวอย่าง ณ วินาทีที่ 4, 10 และ 14 มีการรบกวนสมดุลอย่างไร

More Related Content

What's hot

ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
Phakawat Owat
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
พัน พัน
 
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลายแบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลาย
yaowaluk
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์
Jariya Jaiyot
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
Jariya Jaiyot
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
Wijitta DevilTeacher
 

What's hot (20)

บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
 
Acid and base
Acid and baseAcid and base
Acid and base
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลง
 
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลายแบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลาย
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส
 
ไอโซเมอร์
ไอโซเมอร์ไอโซเมอร์
ไอโซเมอร์
 
Esterification
Esterification Esterification
Esterification
 
บทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสบทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบส
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมี
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมี
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
 
เคมีอินทรีย์เบื้องต้น
เคมีอินทรีย์เบื้องต้นเคมีอินทรีย์เบื้องต้น
เคมีอินทรีย์เบื้องต้น
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 

Similar to สื่อการสอน Chemical equilibrium

Similar to สื่อการสอน Chemical equilibrium (20)

Bk
BkBk
Bk
 
Bk
BkBk
Bk
 
Bk
BkBk
Bk
 
Bk
BkBk
Bk
 
Bk
BkBk
Bk
 
Bk
BkBk
Bk
 
ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)
 
บทที่ 7 สมดุลเคมี
บทที่ 7 สมดุลเคมีบทที่ 7 สมดุลเคมี
บทที่ 7 สมดุลเคมี
 
chemical equilibrium
chemical equilibriumchemical equilibrium
chemical equilibrium
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
ประภา
ประภาประภา
ประภา
 
สมดุล
สมดุลสมดุล
สมดุล
 
เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์
 
ทบทวนเรื่องสมดุลเคมี
ทบทวนเรื่องสมดุลเคมีทบทวนเรื่องสมดุลเคมี
ทบทวนเรื่องสมดุลเคมี
 
9 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 569 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 56
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 

More from พัน พัน

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

สื่อการสอน Chemical equilibrium