SlideShare a Scribd company logo
1 of 47
บทเรียนไฟฟ้าเคมี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ประโยชน์ของเซลล์กัลวานิก ประโลม  สุขเกษม ครู คศ. 2  โรงเรียนอุดมดรุณี อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย
ประโยชน์ของเซลล์กัลวานิก คำถามเตรียมความพร้อมก่อนลุยเข้าสู่บทเรียน 1. จากภาพที่กำหนดให้ต่อไปนี้ นักเรียนคิดว่าเป็นเซลล์ชนิดใด ? ก)  เซลล์ปฐมภูมิ ข)  เซลล์ทุติยภูมิ ค)  เซลล์ตติยภูมิ
ประโยชน์ของเซลล์กัลวานิก คำถามเตรียมความพร้อมก่อนลุยเข้าสู่บทเรียน 2. เซลล์เลอคังเช เป็นเซลล์ไฟฟ้าเคมีในข้อใด  ? ก)  เซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่ว ข)  เซลล์ถ่านไฟฉาย
ประโยชน์ของเซลล์กัลวานิก คำถามเตรียมความพร้อมก่อนลุยเข้าสู่บทเรียน 3. เซลล์ไฟฟ้าเคมี ชนิดใดมีลักษณะคล้ายกับเซลล์แอลคาไลน์   เปลี่ยนเฉพาะสารอิเล็กโทรไลต์จาก  MnO2เป็น  HgO เมอคิวรี (II) ออกไซด์ ? ก)  เซลล์ปรอท ข)  เซลล์เงิน ค)  เซลล์แอลคาไลน์
ประโยชน์ของเซลล์กัลวานิก คำถามเตรียมความพร้อมก่อนลุยเข้าสู่บทเรียน 4. เซลล์กัลวานิกชนิดหนึ่งที่สารตั้งต้นที่ถูกใช้ไปแล้วสามารถทำให้กลับคืนมาใหม่ได้    โดยการผ่านไฟฟ้ากระแสตรงลงไปในเซลล์ด้วยปริมาณที่พอเหมาะ ? ก)  เซลล์แอลคาไลน์ ข)  เซลล์นิเกิล-แคดเมียม ค)  เซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่ว
ประโยชน์ของเซลล์กัลวานิก คำถามเตรียมความพร้อมก่อนลุยเข้าสู่บทเรียน 5. ข้อความต่อไปนี้ถูกต้องหรือไม่ “เซลล์ถ่านไฟฉาย ภาชนะ ทำด้วยสังกะสี (Zn) เป็นขั้วแคโทด  และใช้แกรไฟต์ (คาร์บอน) เป็นขั้วแอโนด” ? ก)  ถูกต้องแล้ว ข)  ไม่ถูกต้อง ค)  ไม่แน่ใจ อาจเป็นได้ทั้ง 2 ข้อ
ประโยชน์ของเซลล์กัลวานิก คำถามเตรียมความพร้อมก่อนลุยเข้าสู่บทเรียน 6. ปฏิกิริยารวมสุทธิต่อไปนี้ เป็นของเซลล์ในข้อใด ? Zn (s)  + HgO (s)  -----> ZnO (s)  +   Hg (l) Eocell= 1.35 V ก)  เซลล์เงิน ข)  เซลล์ปรอท ค)  เซลล์แอลคาไลน์
ประโยชน์ของเซลล์กัลวานิก คำถามเตรียมความพร้อมก่อนลุยเข้าสู่บทเรียน 7. ข้อความใดกล่าว ไม่ถูกต้อง เกี่ยวกับเซลล์ถ่านไฟฉาย ? ก) แอโนด(ขั้วลบ) หรือ  ขั้วแกรไฟต์  ; ข) แคโทด (ขั้วบวก) หรือ ขั้ว Zn; ค) ศักย์ไฟฟ้าของเซลล์ในถ่านไฟฉายมีค่า 1.5 V
ประโยชน์ของเซลล์กัลวานิก คำถามเตรียมความพร้อมก่อนลุยเข้าสู่บทเรียน 8. เซลล์ในข้อใด ปัจจุบันพบว่าใช้ประโยชน์เป็นแหล่งให้พลังงานไฟฟ้ามีอายุการใช้งานยาวนาน  ในนาฬิกาข้อมือ เครื่องคิดเลขไฟฟ้า และกล้องถ่ายรูปอัตโนมัติ ? ก) เซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่ว ข) เซลล์ปรอท ค) เซลล์เงิน
ประโยชน์ของเซลล์กัลวานิก คำถามเตรียมความพร้อมก่อนลุยเข้าสู่บทเรียน 9. เซลล์ในข้อใดที่มีค่า E0cell  = +2.041 V  เมื่อนำมาต่อกัน  6  เซลล์แบบอนุกรมจะมีศักย์ไฟฟ้าของเซลล์ประมาณ  12  V ? ก) เซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่ว ข) เซลล์นิเกิล - แคดเมียม ค) เซลล์แอลคาไลน์
ประโยชน์ของเซลล์กัลวานิก คำถามเตรียมความพร้อมก่อนลุยเข้าสู่บทเรียน 10. เซลล์ที่มี แอโนดเป็นโลหะแคตเมียมและแคโทดเป็นนิกเกิล (IV) ออกไซด์ ใช้เบสเป็นสารละลายอิเล็กโตรไลต์ คือเซลล์ในข้อใด ? ปฏิกิริยารวม;  Cd(s)+ NiO2(s)+  2H2O(l)Cd(OH)2(s)  +  Ni(OH)2(s) ก) เซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่ว ข) เซลล์นิเกิล - แคดเมียม ค) เซลล์แอลคาไลน์
บทเรียนไฟฟ้าเคมี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 นักเรียนพร้อมหรือยังครับ !!! ลุยเลยพวกเรา go…
ประโยชน์ของเซลล์กัลวานิก ประเภทของเซลล์กัลวานิกที่ผลิตขึ้นมาจำแนกออกเป็น  2  ประเภทดังนี้ 1.  เซลล์ปฐมภูมิ  (Primary  cell)
ประโยชน์ของเซลล์กัลวานิก ประเภทของเซลล์กัลวานิกที่ผลิตขึ้นมาจำแนกออกเป็น  2  ประเภทดังนี้ 2.  เซลล์ทุติยภูมิ  (Secondary cell)
ประโยชน์ของเซลล์กัลวานิก ประเภทของเซลล์กัลวานิก เซลล์แห้ง  (Dry cell)       คือ  เซลล์กัลวานิกซึ่งประกอบด้วยสารที่ไม่ไหลหกออกนอกเซลล์ได้  สารเหล่านี้จะอยู่ในรูปของของแข็ง หรือกึ่ง-ของเหลวที่ไม่สามารถไหลได้อย่างรวดเร็ว        เซลล์แห้งสามารถอยู่ในรูปกรด  หรือเบส ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิดของสารอิเล็กโทรไลต์
ประโยชน์ของเซลล์กัลวานิก เซลล์ปฐมภูมิ (Primary cell) ก.  ถ่านไฟฉาย         ถ่ายไฟฉาย เป็นเซลล์ปฐมภูมิชนิดเซลล์แห้ง ชนิดกรด  นิยมใช้เป็นแหล่งกำเนิดไฟฟ้าในวิทยุ  ของเล่นเด็ก  และหลอดไฟ flash  สำหรับถ่ายรูป  ถ่านไฟฉาย  อาจจะเรียกชื่อหนึ่งว่า “เซลล์เลอคังเช”  (Leclanche  cell) Georges Leclanché (1839-1882)
ประโยชน์ของเซลล์กัลวานิก เซลล์ปฐมภูมิ (Primary cell) ส่วนประกอบของถ่านไฟฉาย ถ่านไฟฉาย  1  เซลล์  ประกอบด้วย  2  ขั้ว  	คือ  ภาชนะที่ทำด้วยสังกะสีเป็นขั้วแอโนด  และใช้แกรไฟต์ (คาร์บอน) เป็นขั้วแคโทด   	เป็นแท่งอยู่ตรงกลาง  และของผสมที่ชื้นของแอมโมเนียมคลอไรด์ (NH4Cl)  แมงกานีส (IV) ออกไซด์  ซิงค์คลอไรด์  และสารเฉื่อยที่เป็นฉนวน ส่วนประกอบถ่านไฟฉาย
ประโยชน์ของเซลล์กัลวานิก เซลล์ปฐมภูมิ (Primary cell) ส่วนประกอบภายในของถ่านไฟฉาย
ประโยชน์ของเซลล์กัลวานิก เซลล์ปฐมภูมิ (Primary cell) ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในถ่านไฟฉาย แอโนด(ขั้วลบ) หรือขั้ว  Zn   ;  Zn (s)    Zn2+ (aq)  +  2e-    แคโทด (ขั้วบวก) หรือขั้วแกร์ไฟต์  ; MnO2 (s)  + 2NH4+ (aq)  + 2e-  Mn2O3 (s) + 2NH3 (g) + H2O (l)
ประโยชน์ของเซลล์กัลวานิก เซลล์ปฐมภูมิ (Primary cell) ข.  เซลล์อัคคาไลน์(Alkaline  dry cells) เซลล์อัลคาไลน์ เป็นเซลล์ปฐมภูมิ แต่สารละลายอิเล็กโตรไลต์จะใช้สารละลายโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ (KOH) หรือNaOH แทนแอมโมเนียมคลอไรด์ (NH4Cl) จึงเรียกว่า “เซลล์แอลคาไลน์”
ประโยชน์ของเซลล์กัลวานิก เซลล์ปฐมภูมิ (Primary cell) ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในเซลล์อัคคาไลน์ แอโนด(ขั้วลบ) หรือขั้ว  Zn   ;  Zn(s)  +  2OH- (aq)  ZnO (s)  +  H2O (l)  +  2e- แคโทด (ขั้วบวก) หรือขั้วแกร์ไฟต์  ; 2MnO2 (s) + H2O (l)  +  2e-  Mn2O3 (s)  +  2OH- (aq) ปฏิกิริยาสุทธิของเซลล์ คือ : Zn(s) + 2MnO2 (s)          Zn(OH)2 (s)  +  Mn2O3 (s)
ประโยชน์ของเซลล์กัลวานิก เซลล์ปฐมภูมิ (Primary cell) ค.  เซลล์ปรอท  (Mercury cell)        เซลล์ปรอท ( Mercury cell)  และมีลักษณะคล้ายกับเซลล์แอลคาไลน์   เปลี่ยนเฉพาะสารอิเล็กโทรไลต์จาก  MnO2เป็น  HgOเมอคิวรี (II) ออกไซด์ มีศักย์ไฟฟ้าของเซลล์ 1.35  โวลต์
ประโยชน์ของเซลล์กัลวานิก เซลล์ปฐมภูมิ (Primary cell) ส่วนประกอบภายในของเซลล์ปรอท
ประโยชน์ของเซลล์กัลวานิก เซลล์ปฐมภูมิ (Primary cell) ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในเซลล์ปรอท แอโนด(ขั้วลบ) หรือขั้ว  Zn   ;  Zn(s)  +  2OH- (aq)  ZnO (s)  +  H2O (l)  +  2e- แคโทด (ขั้วบวก) หรือขั้วแกร์ไฟต์  ; HgO (s)  +  H2O (l) + 2e-  Hg (l)  +  2OH- (aq) ปฏิกิริยาสุทธิของเซลล์ คือ : Zn (s)  + HgO (s)           ZnO (s)  +   Hg (l)
ประโยชน์ของเซลล์กัลวานิก เซลล์ปฐมภูมิ (Primary cell) ง.  เซลล์เงิน  (Zinc-silver oxide cell หรือ  Button Battery)      เซลล์เงิน  คือ เซลล์ปฐมภูมิเช่นเดียว กับเซลล์อัลคาไลน์ และใช้หลักการเดียวกัน เพียงแต่ใช้  AgOแทน  MnO2เท่านั้น            เซลล์ชนิดนี้มีศักย์ไฟฟ้าของเซลล์  เท่ากับ  1.58  V
ประโยชน์ของเซลล์กัลวานิก เซลล์ปฐมภูมิ (Primary cell) ส่วนประกอบภายในของเซลล์เงิน
ประโยชน์ของเซลล์กัลวานิก เซลล์ปฐมภูมิ (Primary cell) ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในเซลล์เงิน แอโนด(ขั้วลบ) หรือขั้ว  Zn   ;  Zn(s)  +  2OH- (aq)  ZnO (s)  +  H2O (l)  +  2e- แคโทด (ขั้วบวก) หรือขั้วแกร์ไฟต์  ; 2AgO (s) + H2O (l) + 2e-     Ag2O (s)  + 2OH- (aq) ปฏิกิริยาสุทธิของเซลล์ คือ : Zn (s)  +  2AgO (s)   ZnO (s)  + Ag2O (s)
ประโยชน์ของเซลล์กัลวานิก ประเภทของเซลล์กัลวานิก 2. เซลล์ทุติยภูมิ (Secondary cell หรือ  Reversible cell)
ประโยชน์ของเซลล์กัลวานิก ประเภทของเซลล์กัลวานิก 2. เซลล์ทุติยภูมิ (Secondary cell หรือ  Reversible cell)           เป็นเซลล์กัลวานิกชนิดหนึ่งที่สารตั้งต้นที่ถูกใช้ไปแล้วสามารถทำให้กลับคืนมาใหม่ได้    โดยการผ่านไฟฟ้ากระแสตรง ลงไปในเซลล์ด้วยปริมาณที่พอเหมาะ  ซึ่งเรียกกระบวนการนี้ว่า  อัดไฟ  (Charging  หรือ Recharging)              เซลล์ชนิดนี้ก่อนจะนำไปใช้ต้องนำไปอัดไฟเสียก่อน  แล้วจึงนำไปใช้เพื่อจ่ายกระแสไฟฟ้าออกได้
ประโยชน์ของเซลล์กัลวานิก เซลล์ทุติยภูมิ (Secondary cell หรือ  Reversible cell) ก.  เซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่ว (Lead  storage battery)       เซลล์ทุติยภูมิเมื่อนำเซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่วต่อกันเป็นอนุกรม  6  เซลล์  มีศักย์ไฟฟ้าของเซลล์ประมาณ  12  โวลต์         แต่ละเซลล์ประกอบด้วยแอโนด เป็นตะกั่วอัด พื้นผิวขรุขระเป็นรูพรุนและแคโทดเป็นแผ่นตะกั่วเคลือบหุ้มด้วยเลด(IV)ออกไซด์ (PbO2) ขั้วทั้งสองจุ่มในสารละลายกรดกำมะถัน
ประโยชน์ของเซลล์กัลวานิก เซลล์ทุติยภูมิ (Secondary cell หรือ  Reversible cell) ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในจากการจ่ายไฟของเซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่ว แอโนด ;  Pb (s)  +  SO42- (aq) PbSO4 (s)  +  2e- แคโทด ; PbO2 (s) + 4H+ (aq)  + SO42- (aq) + 2e-   PbSO4(s) + 2H2O (l) ปฏิกิริยาสุทธิของเซลล์ คือ : Pb (s)  + PbO2 (s) + 4H+ (aq)  + 2SO42- (aq)   2PbSO4 (s) + 2H2O (l)
ประโยชน์ของเซลล์กัลวานิก เซลล์ทุติยภูมิ (Secondary cell หรือ  Reversible cell) ก.  เซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่ว (Lead  storage battery)       1.  การอัดไฟครั้งแรก  เซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่วอยู่ในรูป เซลล์อิเล็กโทรไลต์       ที่ขั้ว A  (Anode) พบว่ามีสารสีน้ำตาลดำของเลด (IV)ออกไซด์ (PbO2)  มาเกาะเคลือบที่แผ่น Pbอธิบายได้ว่า  Pbถูกออกซิไดซ์เกิด PbO2 (สารสีน้ำตาลดำ) เมื่ออัดไฟครั้งแรก 
ประโยชน์ของเซลล์กัลวานิก เซลล์ทุติยภูมิ (Secondary cell หรือ  Reversible cell) ก.  เซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่ว (Lead  storage battery) H2SO4 H2SO4 O2 H2 การประจุไฟครั้งแรก
ประโยชน์ของเซลล์กัลวานิก เซลล์ทุติยภูมิ (Secondary cell หรือ  Reversible cell) ก.  เซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่ว (Lead  storage battery) ที่ขั้วแอโนด (ขั้วบวก) Pb (s)   Pb2+ (aq)  +  2e- Pb2+(aq)  +  2H2O(l)   PbO2(s)  +  4H+(aq)  +  2e- สมการรวม Pb(s)  +  2H2O (l)       PbO2 (s)  +  4H+ (aq) +  4e-
ประโยชน์ของเซลล์กัลวานิก เซลล์ทุติยภูมิ (Secondary cell หรือ  Reversible cell) ก.  เซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่ว (Lead  storage battery) ที่ขั้วแคโทด (ขั้วลบ)      ซึ่งต่อกับขั้วลบของแหล่งกำเนิดไฟฟ้าเป็นขั้วลบ  มีฟองก๊าซ  H2เกิดรอบ ๆ แผ่น  Pbอธิบายได้ว่า  H+ในสารละลายกรดกำมะถัน  ถูกรีดิวซ์เป็นก๊าซ  H2ดังนี้ 2H+ (aq)  +  2e-  H2 (g)
ประโยชน์ของเซลล์กัลวานิก เซลล์ทุติยภูมิ (Secondary cell หรือ  Reversible cell) ก.  เซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่ว (Lead  storage battery)  2.  การจ่ายไฟ  เซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่วอยู่ในรูป เซลล์กัลวานิก      นำขั้วแอโนด A เป็น PbO2 และขั้ว B เป็น Pbมาต่อกับหลอดไฟ จะเกิดปฏิกิริยาดังนี้      เมื่อจ่ายไฟ  
ประโยชน์ของเซลล์กัลวานิก เซลล์ทุติยภูมิ (Secondary cell หรือ  Reversible cell) ก.  เซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่ว (Lead  storage battery) H2SO4 H2SO4 การจ่ายไฟครั้งแรก
ประโยชน์ของเซลล์กัลวานิก เซลล์ทุติยภูมิ (Secondary cell หรือ  Reversible cell) ก.  เซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่ว (Lead  storage battery) ที่ขั้วแอโนด (ขั้วลบ) B เกิดปฏิกิริยา Oxidation Pb(s)    Pb2+ (aq)  +  2e- Pb2+(aq)  +  SO42+(aq)   PbSO4(s) สมการรวม Pb(s)  +  SO42-(aq)  PbSO4(s)  +  2e-
ประโยชน์ของเซลล์กัลวานิก เซลล์ทุติยภูมิ (Secondary cell หรือ  Reversible cell) ก.  เซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่ว (Lead  storage battery) ที่ขั้วแคโทด (ขั้วบวก) A เกิดปฏิกิริยา Reduction PbO2(s) + 4H+(aq) + 2e- Pb2+(aq)  +  2H2O(l) Pb2+(aq)  +  SO42-(aq)   PbSO4(s) สมการรวม PbO2(s)+  4H+(aq) +  SO42-(aq) + 2e-  PbSO4(s)+ 2H2O(l)
ประโยชน์ของเซลล์กัลวานิก เซลล์ทุติยภูมิ (Secondary cell หรือ  Reversible cell) ก.  เซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่ว (Lead  storage battery)         3.  การอัดไฟครั้งที่ 2 เป็น เซลล์อิเล็กโทรไลต์      นำขั้วแอโนด A เป็น PbO2 และขั้ว B เป็น Pbมาต่อกับหลอดไฟ จะเกิดปฏิกิริยาดังนี้ เมื่ออัดไฟครั้งที่ 2
ประโยชน์ของเซลล์กัลวานิก เซลล์ทุติยภูมิ (Secondary cell หรือ  Reversible cell) ก.  เซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่ว (Lead  storage battery) H2SO4 H2SO4 O2 H2 การประจุไฟครั้งที่ 2
ประโยชน์ของเซลล์กัลวานิก เซลล์ทุติยภูมิ (Secondary cell หรือ  Reversible cell) ก.  เซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่ว (Lead  storage battery)  ที่ขั้ว  A  เป็นขั้วบวก  เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันจึงเป็น  Anode PbSO4(s) + 2H2O(l)  PbO2(s)  +  4H+(aq)  + 2e-
ประโยชน์ของเซลล์กัลวานิก เซลล์ทุติยภูมิ (Secondary cell หรือ  Reversible cell) ก.  เซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่ว (Lead  storage battery)  ที่ขั้ว  B  เป็นขั้วลบ  เกิดปฏิกิริยารีดักชัน  จึงเป็น  Cathode PbSO4(s)  +  2e-Pb (s)  +  SO42- (aq) ปฏิกิริยาสุทธิของการอัดไฟครั้งที่  2  และครั้งต่อ ๆ ไปคือ 2PbSO4(s)+2H2O(l)Pb(s) +PbO2(s)+ 4H+(aq)+ 2SO42-(aq)
ประโยชน์ของเซลล์กัลวานิก เซลล์ทุติยภูมิ (Secondary cell หรือ  Reversible cell) ข.  เซลล์นิเกิล-แคดเมียม (Nickel – Cadmium Cell)      เซลล์นิกเกิล - แคดเมียม หรือ เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า “เซลล์นิแคด”   (Nicad cell)        เป็นเซลล์ทุติยภูมิชนิดหนึ่งที่ใช้ไฟหมดแล้ว   สามารถนำไปอัดไฟใช้ใหม่ได้
ประโยชน์ของเซลล์กัลวานิก เซลล์ทุติยภูมิ (Secondary cell หรือ  Reversible cell) ข.  เซลล์นิเกิล-แคดเมียม (Nickel – Cadmium Cell)       เซลล์นิกเกิล - แคดเมียม ใช้กับนาฬิกาข้อมือ  เครื่องคิดเลข  เครื่องโกนหนวดไฟฟ้า  และเครื่องมือถ่ายภาพ        เซลล์ชนิดนี้มีแอโนดเป็นโลหะแคดเมียม  และ  แคโทดเป็นนิกเกิล (IV)  ออกไซด์ใช้เบสเป็นสารละลายอิเล็กโตรไลต์ มีค่าศักย์ไฟฟ้า ของเซลล์คงที่ เท่ากับ  1.30 โวลต์
ประโยชน์ของเซลล์กัลวานิก เซลล์ทุติยภูมิ (Secondary cell หรือ  Reversible cell) ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในเซลล์นิเกิล - แคดเมียม แอโนด ;  Cd (s)  +  2OH- (aq)	  Cd (OH)2 (s)  +  2e- แคโทด ; 	NiO2(s)  +  2H2O (l) + 2e-  Ni(OH)2(s) + 2OH- (aq) ปฏิกิริยาสุทธิของเซลล์ คือ : Cd (s)  + NiO2 (s)  +  2H2O (l)      Cd (OH)2 (s)  + Ni(OH)2 (s)
บทเรียนไฟฟ้าเคมี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จบแล้วล่ะ !!! แล้วพบกันใหม่โอกาสหน้านะ..จ๊ะคงเก่ง

More Related Content

What's hot

โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxพนภาค ผิวเกลี้ยง
 
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมีPreeyapat Lengrabam
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202พัน พัน
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1dnavaroj
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2Taraya Srivilas
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...Suricha Phichan
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfssuser2feafc1
 
เลขออกซิเดชัน
เลขออกซิเดชันเลขออกซิเดชัน
เลขออกซิเดชันzhezazzz
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราPinutchaya Nakchumroon
 
บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีWichai Likitponrak
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลJariya Jaiyot
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์Phattarawan Wai
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารdalarat
 

What's hot (20)

โควาเลนต์
โควาเลนต์โควาเลนต์
โควาเลนต์
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
 
1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 
carbondioxide fixation
carbondioxide fixationcarbondioxide fixation
carbondioxide fixation
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม3
แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม3แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม3
แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม3
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
 
เลขออกซิเดชัน
เลขออกซิเดชันเลขออกซิเดชัน
เลขออกซิเดชัน
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอรา
 
บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมี
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 

Viewers also liked

ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt10846
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีPhasitta Chem
 
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์Som Kechacupt
 
ปฏิบัติการเคมี4 2.1
ปฏิบัติการเคมี4 2.1ปฏิบัติการเคมี4 2.1
ปฏิบัติการเคมี4 2.1Nara Keawlalim
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)oraneehussem
 
Electrochem
ElectrochemElectrochem
ElectrochemNapajit
 
Corrosion สนิมและการกัดกร่อน r1
Corrosion สนิมและการกัดกร่อน   r1Corrosion สนิมและการกัดกร่อน   r1
Corrosion สนิมและการกัดกร่อน r1MaloNe Wanger
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีPhasitta Chem
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีWirun
 
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมีปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมีPhakawat Owat
 
Electrochemistry01
Electrochemistry01Electrochemistry01
Electrochemistry01jirat266
 
สรุปผลการทดลอง
สรุปผลการทดลองสรุปผลการทดลอง
สรุปผลการทดลองkitiyazaza555
 
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4พัน พัน
 

Viewers also liked (20)

ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
 
Chem electrochemistry
Chem electrochemistryChem electrochemistry
Chem electrochemistry
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมี
 
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
 
ปฏิบัติการเคมี4 2.1
ปฏิบัติการเคมี4 2.1ปฏิบัติการเคมี4 2.1
ปฏิบัติการเคมี4 2.1
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
 
Electrochem
ElectrochemElectrochem
Electrochem
 
Corrosion สนิมและการกัดกร่อน r1
Corrosion สนิมและการกัดกร่อน   r1Corrosion สนิมและการกัดกร่อน   r1
Corrosion สนิมและการกัดกร่อน r1
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมี
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมี
 
ไฟฟ้าเคมี1
ไฟฟ้าเคมี1ไฟฟ้าเคมี1
ไฟฟ้าเคมี1
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมี
 
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมีปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
 
NIO and NIO2
NIO and NIO2NIO and NIO2
NIO and NIO2
 
Electrochemistry01
Electrochemistry01Electrochemistry01
Electrochemistry01
 
09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า
 
สรุปผลการทดลอง
สรุปผลการทดลองสรุปผลการทดลอง
สรุปผลการทดลอง
 
Electric chem8
Electric chem8Electric chem8
Electric chem8
 
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
 
Electrochem 1
Electrochem 1Electrochem 1
Electrochem 1
 

Similar to เซลล์กัลวานิก

ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้าใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้าพัน พัน
 
กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)
กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)
กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)ssuserb3caf5
 
ฟิสิกส์ ใบงาน10
ฟิสิกส์ ใบงาน10ฟิสิกส์ ใบงาน10
ฟิสิกส์ ใบงาน10Nann 'mlemell
 
10.1 dynamo 2
10.1 dynamo 210.1 dynamo 2
10.1 dynamo 23cha_sp
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุchemnpk
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)Thitaree Samphao
 

Similar to เซลล์กัลวานิก (14)

ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมี
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมี
 
ใบความรู้.05
ใบความรู้.05ใบความรู้.05
ใบความรู้.05
 
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้าใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
 
กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)
กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)
กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)
 
อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
 
ฟิสิกส์ ใบงาน10
ฟิสิกส์ ใบงาน10ฟิสิกส์ ใบงาน10
ฟิสิกส์ ใบงาน10
 
10.1 dynamo 2
10.1 dynamo 210.1 dynamo 2
10.1 dynamo 2
 
Chemographics : Atomic theory
Chemographics : Atomic theoryChemographics : Atomic theory
Chemographics : Atomic theory
 
Chembond
ChembondChembond
Chembond
 
Chembond
ChembondChembond
Chembond
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
 
Chemical
ChemicalChemical
Chemical
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
 

More from sailom

อุตสาหกรรมเซรามิกส์
อุตสาหกรรมเซรามิกส์อุตสาหกรรมเซรามิกส์
อุตสาหกรรมเซรามิกส์sailom
 
อุตสาหกรรมถลุงแร่
อุตสาหกรรมถลุงแร่อุตสาหกรรมถลุงแร่
อุตสาหกรรมถลุงแร่sailom
 
แร่รัตนชาติ
แร่รัตนชาติแร่รัตนชาติ
แร่รัตนชาติsailom
 
การถลุงแร่แทนทาลัมไนโอเบียม
การถลุงแร่แทนทาลัมไนโอเบียมการถลุงแร่แทนทาลัมไนโอเบียม
การถลุงแร่แทนทาลัมไนโอเบียมsailom
 
อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์
อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์
อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์sailom
 
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 3
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 3สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 3
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 3sailom
 
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 2
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 2สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 2
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 2sailom
 
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1sailom
 
Protein
ProteinProtein
Proteinsailom
 

More from sailom (9)

อุตสาหกรรมเซรามิกส์
อุตสาหกรรมเซรามิกส์อุตสาหกรรมเซรามิกส์
อุตสาหกรรมเซรามิกส์
 
อุตสาหกรรมถลุงแร่
อุตสาหกรรมถลุงแร่อุตสาหกรรมถลุงแร่
อุตสาหกรรมถลุงแร่
 
แร่รัตนชาติ
แร่รัตนชาติแร่รัตนชาติ
แร่รัตนชาติ
 
การถลุงแร่แทนทาลัมไนโอเบียม
การถลุงแร่แทนทาลัมไนโอเบียมการถลุงแร่แทนทาลัมไนโอเบียม
การถลุงแร่แทนทาลัมไนโอเบียม
 
อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์
อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์
อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์
 
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 3
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 3สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 3
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 3
 
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 2
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 2สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 2
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 2
 
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1
 
Protein
ProteinProtein
Protein
 

เซลล์กัลวานิก