SlideShare a Scribd company logo
1 of 62
Download to read offline
Electrochemistry
           Onjila Boupraseart
                   Chemistry department
                Wiengsra school surattani
                         www.wsra.ac.th


                                            1
1 ปฏิกิรยารีดอกซ์
        ิ
2 การด ุลสมการรีดอกซ์
    2.1 การด ุลสมการรีดอกซ์โดยใช้เลขออกซิเดชัน
    2.2 การด ุลสมการรีดอกซ์โดยใช้ครึงปฏิกิรยา
                                          ่     ิ
3 เซลล์ไฟฟาเคมี
           ้
    3.1 เซลล์กลป์ วานิก
                ั
             3.1.1 การเขียนแผนภาพของเซลล์กลป์ วานิก
                                                  ั
             3.1.2 ศักย์ไฟฟาของเซลล์และศักย์ไฟฟามาตรฐานของครึงเซลล์
                           ้                        ้             ่
             3.1.3 ประเภทของเซลล์กลป์ วานิก
                                     ั
    3.2 เซลล์อิเล็กโทรไลต์
             3.2.1 การแยกสารละลายด้วยกระแสไฟฟา        ้
             3.2.2 การแยกสารที่หลอมเหลวด้วยกระแสไฟฟา        ้
             3.2.3 การช ุบโลหะด้วยกระแสไฟฟา  ้
             3.2.4 การทาโลหะให้บริส ุทธิ์โดยใช้เซลล์อิเล็กโทรไลต์
    3.3 การผ ุกร่อนของโลหะและการปองกัน ้
4 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับเซลล์ไฟฟาเคมี ้
    4.1 แบตเตอรีอิเล็กโทรไลต์แข็ง
                    ่
    4.2 แบตเตอรีอากาศ ่
    4.3 การทาอิเล็กโทรไดอะลิซิสน้าทะเล
                                                                      2
เลขออกซิเดชัน
     ประจุสมมุติบนอะตอมของธาตุในสารประกอบหรือไอออน เมือคิดว่ าสารประกอบหรือ
                                                                ่
      ไอออนนั้นเป็ นไอออนิก คือ มีการถ่ ายเทอิเล็กตรอนระหว่ างธาตุอย่ างสมบูรณ์

  1. ธาตุอสระมีเลขออกซิเดชันเป็ น ศูนย์
          ิ
   Na, Be, K, Pb, H2, O2, P4 = 0
  2. ไอออนของธาตุอะตอมเดียวมีเลขออกซิเดชันเท่ ากับประจุ
    Li+, Li = +1; Fe3+, Fe = +3; O2-, O = -2
3. โลหะหมู่ IA มีเลขออกซิเดชันเป็ น +1, โลหะหมู่ IIA มีเลข
   ออกซิเดชันเป็ น +2 และฟลูออรีนเป็ น –1 เสมอ                                    3
4. โดยปกติออกซิเจนอะตอมมีเลขออกซิเดชันเป็ น –2 แต่
      ออกซิเจนใน H2O2 และ O22- เป็ น –1
5. ไฮโดรเจนมีเลขออกซิเดชันเป็ น +1 ยกเว้ น เมื่อเป็ น
   สารประกอบไฮไดรด์ ของโลหะซึ่งมีเลขออกซิเดชันเป็ น –1.
6. ผลรวมของเลขออกซิเดชันของธาตุทุกตัวในโมเลกุลเป็ นศูนย์
    หรือ เท่ ากับประจุของไอออน
                                      HCO3-
   เลขออกซิเดชันของ C ใน       O = -2 H = +1
   HCO3- เป็ นเท่ าไร?         3x(-2) + 1 + ? = -1
                                     C = +4                4
ปฏิกริยารีดอกซ์ (Redox reaction)
         ิ




(a) ปฏิกริยาระหว่ าง Cu(s) + AgNO3(aq)
        ิ
(b) ปฏิกริยาระหว่ าง Cu(s) + ZnSO4(aq)
          ิ
                                         5
ปฏิกริยารีดอกซ์ (Redox reaction)
                                ิ




         Zn(s)       Zn2+(aq) + 2e-    ……….Oxidation
         Cu2+(aq) + 2e-       Cu(s)    ……….Reduction
   Zn(s) + Cu2+(aq)        Zn2+(aq) + Cu(s)  ……….Redox
                                                                                                6
http://www.chem.iastate.edu/group/Greenbowe/sections/projectfolder/flashfiles/redox/home.html
ปฏิกริยารีดอกซ์ (Redox reaction)
           ิ

 ปฏิกริยาที่มีการถ่ ายโอนอิเล็กตรอน หรือ
     ิ
 ปฏิกริยาที่มีการให้ และรับอิเล็กตรอน
       ิ

           ปฏิกริยารีดอกซ์
               ิ

ปฏิกริยาที่มีการเปลียนแปลงเลขออกซิเดชัน
    ิ               ่

                                           7
ปฏิกริยารีดอกซ์ (Redox reaction)
           ิ




Zn(s) + Cu2+(aq)     Zn2+(aq) + Cu(s)
                                        8
การทดลอง 1.1 ปฏิกิริยาระหว่ างโลหะกับสารละลายของโลหะไอออน
1.




                                         Zn
          CuSO4 1 M                           Cu
2.
-ก่ อนจุ่มแผ่ นโลหะ ในสารละลายมีไอออนของโลหะชนิดใด
ละลายอยู่
-โลหะกับไอออนของโลหะในสารละลายคู่ใดที่มีปฏิกริยาเคมี
                                            ิ
เกิดขึน ทราบได้ อย่ างไร
      ้
-โลหะกับไอออนของโลหะคู่ท่ เกิดปฏิกิริยา เลขออกซิเดชัน
                          ี
ของสาร มีการเปลี่ยนแปลงอย่ างไร
ก. ทันทีท่ จ่ ุม
                    ี            ข. เมื่อตังทิงไว้ ระยะเวลาหนึ่ง
                                           ้ ้
รูปที่ 2. ปฏิกริยาระหว่ างโลหะสังกะสีกับสารละลาย CuSO4
              ิ

        Zn(s)  Zn2+(aq) + 2e-…….(1)
        Cu2+(aq) + 2e-  Cu(s) …….(2)
ปฏิกริยารีดอกซ์ (Redox reaction)
    ิ
         Oxidation reaction :
         ปฏิกริยาทีสารมีการให้ อเิ ล็กตรอน
             ิ ่


         2Zn(s) + O2(g)            2ZnO(s)

         Reduction reaction :
         ปฏิกริยาทีสารมีการรับอิเล็กตรอน
             ิ ่
                                             12
ปฏิกริยารีดอกซ์ (Redox reaction)
            ิ
         ตัวออกซิไดส์ (Oxidizing agent หรือ Oxidizer)
        Cu2+(aq) + 2e-             Cu(s)…Reductio

Zn(s) + Cu2+(aq)              Zn2+(aq) + Cu(s)

Zn(s)       Zn2+(aq) + 2e- ……..Oxidation
    ตัวรีดวซ์ (Reducing agent หรือ Reducer)
          ิ
                                                  13
การดุลสมการรีดอกซ์
วิธีครึ่งปฏิกริยา
             ิ
เขียนครึ่ งปฏิกริยาออกซิเดชันและครึ่ งปฏิกริยารี ดักชัน
                ิ                             ิ
ดุลจานวนอะตอมของธาตุในแต่ ละครึ่ งปฏิกริยาให้ เท่ ากัน
                                                ิ
ทาประจแต่ ละครึ่ งปฏิกริยาให้ เท่ ากัน โดยการเติม e-
           ุ           ิ
ทาจานวน e- ทั้งสองครึ่ งปฏิกริยาให้ เท่ ากัน
                              ิ
รวมสองครึ่ งปฏิกริยาจะได้ ปฏิกริยารีดอกซ์ ทสมดล
                   ิ             ิ                ี่ ุ

                                                           14
การดุลสมการรีดอกซ์
ในสารละลายกรด: I2 + Cr2O72- + H+               Cr3+ + IO3- + H2O
             ให้ เติม H2O ด้ านทีขาด O หรื อ
                                         ่
             ที่มี O น้ อยกว่ า และเติม H+ อีกด้ านหนึ่ง
ในสารละลายเบส: Cl2 + IO3- + 2OH-                 2Cl- + IO4- + H2O
             ให้ ทาเหมือนสารละลายกรด และ
             ให้ เติม OH- ทั้งสองด้ านของสมการ

                                                                 15
การดุลสมการรีดอกซ์
            I2 + Cr2O72- + H+         Cr3+ + IO3- + H2O

ขั้นที่ 1   I2         IO3-                       ..…. Oxidation
          Cr2O72-      Cr3+                    ..…. Reduction
ขั้นที่ 2 I2 + 6H2O            2IO3- + 12H+       ……. Oxidation
          Cr2O72- + 14H+       2Cr3+ + 7H2O ……. Reduction
ขั้นที่ 3    I2 + 6H2O          2IO3- + 12H+ + 10e- …..Oxidation
          Cr2O72- + 14H+ + 6e-     2Cr3+ + 7H2O …..Reduction


                                                            16
การดุลสมการรีดอกซ์
            I2 + Cr2O72- + H+           Cr3+ + IO3- + H2O


ขั้นที่ 4 3 I2 +18H2O              6IO3- + 36H+ + 30e- Oxidation
         5Cr2O72- + 70H+ + 30e-      10Cr3+ + 35H2O…..Reduction

ขั้นที่ 5     3I2 + 5Cr2O72- + 34H+     Cr3+ + 6IO3- + 17H2O
                                                     ….Redox


                                                               17
เซลล์ไฟฟาเคมี(Electrochemical cell)
          ้




 เซลล์ กลวานิก(Galvanic cell)
              ั
เซลล์ อเิ ล็กโตรไลต์ (Electrolytic cell)
                                            18
การทดลอง 9.2 การถ่ ายโอนอิเล็กตรอนในเซลล์ กัลวานิก

   Zn(s)                                                          Cu(s)
 Anode (-)                     Salt bridge                    Cathode (+)



              2e-


             Zn2+ + SO42-                          Cu2+ + SO42-

   Zn(s)  Zn2+(aq) + 2e-                    Cu2+(aq) + 2e-  Cu(s)

             Net: Zn(s) + Cu2+(aq)  Zn2+(aq) + Cu(s)
เซลล์ กลวานิก(Galvanic cell)
             ั
                      ครึ่งเซลล์ 2 ครึ่งเซลล์
                       (Hale cell)
    Salt bridge       สะพานเกลือ(Salt bridge)
                      ขั้วไฟฟา(Electhode)
                              ้
                      สารละลายอิเล็กโทรไลต์
1                 2    (Electrolyte solution)

                                             20
เซลล์ กลวานิก (Galvanic Cell)
              ั

                   Anode : Oxidation
                   Zn(s)        Zn2+(aq) + 2e-
                   Cathode : Reduction
                   Cu2+(aq) + 2e-       Cu(s)

Zn(s) + Cu2+(aq)           Zn2+(aq) + Cu(s)
                                                 21
เซลล์ กลวานิก (Galvanic Cell)
       ั
          Oxidation reaction?
          Reduction reaction?
           Redox reaction?
            Oxidizing agent?
            Reducing agent?
                                22
แผนภาพอย่ างย่ อแสดงเซลล์กลวานิก
                                         ั




เขียนครึ่งเซลล์ Anode ไว้ ทางซ้ าย Cathode ไว้ ทางขวา โดยเขียน
 ขั้วไฟฟาไว้ นอกสุ ดตามด้ วยไอออนในสารละลาย
        ้
ใช้ เครื่องหมาย / คันระหว่ างขั้วไฟฟากับสารละลาย
                        ่              ้
ใช้ เครื่องหมาย // แทนสะพานไอออน เขียนไว้ ระหว่ าง Anode กับ
 Cathode                                                            23
แผนภาพอย่ างย่ อแสดงเซลล์กลวานิก
                              ั




Cu(s) / Cu 2+(aq) // Ag+(aq) / Ag(s)
                                       24
แผนภาพอย่ างย่ อแสดงเซลล์กลวานิก
                                   ั


                         กรณีที่ครึ่งเซลล์ใดสารละลายมี
                         ไอออนมากกว่ า 1 ชนิดให้ ใช้
                         เครื่องหมาย , (จุลภาค) คัน
                                                  ่
                         ระหว่ างไอออนแต่ ละชนิด…..

Pt(s) / Fe2+(aq),Fe3+(aq) // Ag+(aq) / Ag(s)             25
แผนภาพอย่ างย่ อแสดงเซลล์กลวานิก
                                ั


                      กรณีทข้วไฟฟ้ าของครึ่งเซลล์ เป็ นขั้ว
                              ี่ ั
                      ก๊ าซ เช่ น H2 , Cl2 หรือขั้วของเหลว เช่ น Br2
                      ซึ่งไม่ นาไฟฟ้ า จะต้ องใช้ โลหะที่เฉื่อยต่ อ
                      ปฏิกริยาเป็ นขั้วไฟฟ้ า เช่ น Pt
                            ิ
                      การเขียนครึ่งเซลล์ ให้ ใช้ เครื่องหมาย( , ) คัน
                                                                    ่
                      ระหว่ างขั้วโลหะกับขั้วก๊ าซหรือขั้วของเหลว

Zn(s) / Zn2+(aq) // H+(aq) / H2(g) / Pt(s)
                                                                   26
ขั้วไฮโดรเจนมาตรฐาน
(Standard Hydrogen Electrode : SHE)

             ภาวะมาตรฐาน
              ความดันแก๊ ส = 1 atm
              ความเข้ มข้ น = 1 M
              อุณหภูมิ          = 25C
             กาหนดค่ าศักย์ ไฟฟามาตรฐาน
                               ้
             ของครึ่งเซลล์ (E) = 0.000 V

                                            27
การหาค่ าศักย์ ไฟฟาของครึ่งเซลล์
                  ้




 E0cell = E0cathode – E0anode
  0.34 V = E0Cu – 0.00 V
        E0Cu = 0.34 V           28
การหาค่ าศักย์ ไฟฟาของครึ่งเซลล์
                  ้




 E0cell = E0cathode – E0anode
  0.76 V = 0.00 V – E0Zn
       E0Zn = -0.76 V           29
ศักย์ไฟฟามาตรฐานของครึ่งเซลล์
        ้




                                30
ความแรงในการเป็ นตัวออกซิไดส์ และตัวรีดวซ์
                                       ิ




                                             31
เซลล์ ความเข้ มข้ น(Concentration Cell)




                                      32
เซลล์อเิ ล็กโทรไลต์ (Electrolytic Cell)


                             ขั้วไฟฟา
                                    ้
                           (Electrode)
                            สารละลาย
                           อิเล็กโทรไลต์
                      (Electrolytic solution)
ส่ วนประกอบของเซลล์
                                            33
ข้ อแตกต่ างระหว่ างกัลวานิกเซลล์ กับอิเล็กโทรไลติกเซลล์

      ข้ อแตกต่ าง          กัลวานิก            อิเล็กโทรไลติก
         ปฏิกริยา
               ิ        Spontaneous           Nonspontaneous
      การเปลี่ยนแปลง      เคมีเป็ นไฟฟา
                                      ้          ไฟฟาเป็ นเคมี
                                                    ้
         ขัวไฟฟา
           ้ ้           Cathode (+)             Cathode (-)
                          Anode (-)               Anode (+)
        การนาไปใช้       เป็ นแหล่ งพลังงาน   ชุบโลหะ การทาโลหะให้
                                                     บริสุทธิ์
การแยกนาด้ วยไฟฟา
                                     ้        ้
Anode(+)
2H2O       O2+4H++4e- ; Eo= -1.23V
2SO42-      S2O82- + 2e-; Eo= -2. 01V   -   +
   Cathode(-)
   2H2O+2e-       H2+2OH-; Eo=-0.83V
   2H+ +2e-       H2    ; Eo= 0.00V
                                        H2SO4
         2H2O           2H2 + O2
                                                35
การแยกโซเดียมคลอไรด์ หลอมเหลว

           Anode : Oxidation
           2Cl- Cl2 + 2e-

           Cathode: Reduction
           2Na+ + 2e- 2Na

                               36
การแยกสารละลายโซเดียมคลอไรด์

                              Anode : Oxidation
                              2Cl- Cl2 + 2e-    : Eo= -1.36 V
                              2H2O O2+4H++4e- : Eo= -0.82 V
                                   (O2มีศักย์ ไฟฟ้ าเกินตัววัดได้ ถึง 1.5 V)

                              Cathode : Reduction
                              Na++e-  Na : Eo= -2.71 V
NaCl(aq)     Na+ + Cl-
           Na+Na 2O H2O O
            H2HHO Cl- -ClH2
              O H O-          2H2O+2e- H2+2OH- : Eo= -0.83 V
            Na+2 Cl2
               H 2O H 2O
                                                                         37
    Redox :   2Cl-   + 2H2O      H2 + Cl2 +          2OH-
ประเภทของเซลล์ กัลวานิก
              เซลล์ ปฐมภูมิ                          เซลล์ ทุตยภูมิ
                                                              ิ
-เซลล์ ถ่านไฟฉาย                              -เซลล์ สะสมไฟฟาแบบตะกั่ว
                                                            ้
-เซลล์ แอลคาไลน์                              -เซลล์ นิเกิล-แคดเมียม
-เซลล์ ปรอท                                   -เซลล์ โซเดียม-ซัลเฟอร์
-เซลล์ เงิน
-เซลล์ เชือเพลิงไฮโดรเจน-ออกซิเจน
          ้
-เซลล์ เชือเพลิงไฮโดดรเจน-ออกซิเจนที่ไม่ มี
          ้
Na2CO3 เป็ นอิเล็กโทรไลต์
-เซลล์ เชือเพลิงโพรเพน-ออกซิเจน
          ้
เซลล์ ปฐมภูม(Primary cell)
                       ิ




เซลล์ แห้ ง(Dry Cell) เซลล์ เลอคลังเช(Leclanche Cell)
                                                        39
ปฏิกริยาเคมีในเซลล์ ปฐมภูมิ
                       ิ
             Anode : Zn …………..Oxidation
             Zn(s)        Zn2+(aq) + 2e-
 Cathode : C …Reduction
 2NH4+(aq)+2MnO2(s)+2e-             Mn2O3(s)+2NH3(g)+2H2O(l)
Redox
Zn(s)+2NH4+(aq)+2MnO2(s)     Zn2+(aq)+ Mn2O3(s)+2NH3(g)+2H2O(

Zn2+(aq) + 4NH3(g)           [Zn(NH3)4]2+(aq)
Zn2+(aq) + 2NH3(g) + 2H2O(l)           [Zn(H2O)2(NH3)2]2+(aq)
                                                            40
เซลล์ ปฐมภูม(Primary cell)
            ิ




  เซลล์เงิน              41
เซลล์วกับเซลล์ ปรอท แต่ ใช้ ซลเวอร์ ออกไซด์
มีส่วนประกอบเช่ นเดีย
                      เงิน               ิ
( Ag2O) แทนเมอร์ คิวรี (II) ออกไซด์ ( HgO)
ปฏิกิริยาที่เกิด
1. Anode (Oxidation) Zn + 2OH- --> ZnO + H2O + 2e-
2. Cathode (Reduction) Ag2O + H2O + + 2e- ---> 2Ag + 2OH-

ปฏิกิริยารวม (Redox) Zn + Ag2O ---> ZnO + 2Ag

   เซลล์ เงินให้ ศักย์ ไฟฟาประมาณ 1.5 Volts มีขนาดเล็กและมี
                          ้
   อายุการใช้ งานได้ นานมากแต่ มีราคาแพง จึงใช้ กับอุปกรณ์
   หรือเครื่องใช้ ไฟฟาบางชนิด เช่ น เครื่องคิดเลข นาฬิกา
                        ้
เซลล์ ปฐมภูม(Primary cell)
            ิ
       เซลล์ ปรอท




                         43
เซลล์ ปรอท
หลักการเหมือนกับเซลล์ อัลคาน์ แต่ ใช้ เมอร์ คิวรี (II)
ออกไซด์ ( HgO) แทนแมงกานีส (IV) ออกไซด์ (MnO2)
ปฏิกิริยาที่เกิด
1. Anode (Oxidation) Zn + 2OH- --> ZnO + H2O + 2e-
2. Cathode (Reduction) HgO + H2O + 2e- ---> Hg + 2OH-

ปฏิกิริยารวม (Redox) Zn + HgO ---> ZnO + Hg

   เซลล์ ปรอทให้ ศักย์ ไฟฟาประมาณ 1.3 Volts ให้ กระแสไฟฟาต่า
                           ้                               ้
   แต่ มีข้อดีท่ สามารถให้ ศักย์ ไฟฟาเกือบคงที่ตลอดอายุการใช้
                 ี                  ้
   งาน นิยมใช้ กันมากในเครื่องฟั งเสียงสาหรับคนหูพการ
                                                    ิ
เซลล์ เชือเพลิงไฮโดรเจน-ออกซิเจน
                ้
เซลล์ เชือเพลิงไฮโดรเจน-ออกซิเจน
         ้
    ประกอบด้ วยแท่ งคาร์ บอนที่มีรูพรุ น 2 แท่ งทาหน้ าที่เป็ นขัวไฟฟาที่ผวของแท่ งคาร์ บอนมี
                                                                 ้ ้      ิ
    ผงแพลทินัมหรือแพลเลเดียมผสมยู่เพื่อทาหน้ าที่เป็ นตัวเร่ งปฏิกริยา ขัวไฟฟาทังสองจุ่ม
                                                                      ิ     ้ ้ ้
    อยู่ในอิเล็กโทรไลต์ ซ่ งอาจเป็ นสารละลาย NaOH หรือ KOH
                           ึ
    ปฏิกริยาทีเกิดขึน
           ิ         ้
    ที่แอโนด O2 (g) + 2H2O (l) + 4e- ------> 4OH-(aq)
    ที่แคโทด 2H2(g) + 4OH-(aq) -----> 4H2O(l) + 4e-(s)
    ปฏิกริยารวม O2(g) + 2H2(g) -----> 2H2O(l)
             ิ

     เนื่องจากปฏิกริยาที่เกิดขึนมีการรับและการให้ อเล็กตรอน จึงทาให้ มีกระแสไฟฟาเกิดขึน
                     ิ         ้                   ิ                           ้      ้
     ด้ วย เซลล์ ประเภทนีถูกนาไปใช้ ในยานอวกาศ เพราะนอกจากจะได้ พลังงานไฟฟาแล้ วยัง
                          ้                                                      ้
     ได้ นาเป็ นนาดื่ม สาหรับนักบินอวกาศด้ วย
          ้       ้
เซลล์ เชือเพลิงโพรเพน-ออกซิเจน
            ้
ปฏิกริยาทีเกิดขึน
     ิ          ้
ที่แอโนด 5O2 (g) + 20H+ (aq) + 20e- ------> 10H2O(l)
ที่แคโทด C3H8(g) + 6H2O(l) -----> 3CO2(g) + 20H+ (aq)+ 20e-(s)
ปฏิกริยารวม 5O2 (g) + C3H8(g) -----> 3CO2(g) + 4H2O(l)
       ิ




     ปฏิกริยาในเซลล์ เชือเพลิงโพรเพน-ออกซิเจนนีเ้ สมือนกับปฏิกริยาสันดาปของ
           ิ            ้                                     ิ
     ก๊ าซโพรเพนเซลล์ นีอาจให้ ประสิทธิภาพการทางานสูงประมาณ 2 เท่ าของ
                          ้
     เครื่องยนต์ สันดาปภายใน
เซลล์ทุตยภูม(Secondary cell)
                 ิ ิ




เซลล์ สะสมไฟฟาแบบตะกัว(แบตเตอรี)
             ้       ่              47
แบตเตอรี่




1) เมื่ออัดไฟครังแรก
                ้      2) เมื่อจ่ ายไฟ   3) เมื่ออัดไฟครังต่ อไป
                                                         ้
ปฏิกริยาเคมีในเซลล์ สะสมไฟฟาแบบตะกัว
               ิ                      ้       ่

การจ่ ายไฟ
ขั้ว Pb : Pb(s) + SO42-(aq)          PbSO4(s) + 2e-
ขั้ว PbO2 : PbO2(s) + SO42-(aq) + 4H+ + 2e-    PbSO4(s) + 2H2O(l)
การอัดไฟ
ขั้ว Pb : PbSO4(s) + 2e-       Pb(s) + SO42-(aq)
ขั้ว PbO2 : PbSO4(s) + 2H2O(l)   PbO2(s) + SO42-(aq) + 4H+ + 2e-


                                                              49
การชุบโลหะ




         50
การชุบโลหะ

Anode : โลหะทีต้องการชุ บ
                    ่
Cathode : สิ่ งทีต้องการชุ บ
                  ่
Electrolyte solution : มี
 ไอออนของโลหะที่เป็ น anode
 ใช้ ไฟฟากระแสตรง
         ้

                            51
การทาโลหะให้ บริสุทธิ์




 ใช้ โลหะบริสุทธิ์เป็ น Cathode
                              และโลหะไม่ บริสุทธิ์เป็ น Anode
       สารละลายอิเล็กโทรไลต์ มีไอออนของโลหะบริ สุทธิ์          52
ประโยชน์ ของเซลล์ อเล็กโทรไลต์
                       ิ
การทาทองแดงให้ บริสุทธิ์   จากโลหะที่ประกอบด้ วย Cu, Fe, Zn, Ag, Au, Pt


   Cathode                                   -
    Anode                                    +

                                                 ทองแดงไม่ บริสุทธิ์
   CuSO4                                         ทองแดงบริสุทธิ์
   +
   H2SO4                                           กากตะกอน
การผุกร่ อนของโลหะ



                                      O2(g) + 2H2O(l) + 4e-   4OH-(ag)



    Redox: 2Fe(s) + O2(g) + 2H2O(l)         2Fe2+(aq) + 4OH-(aq)



                                              Fe(OH)2(s)
4Fe(OH)2(s) + O2(g) + 2H2O(l)                 4Fe(OH)3(s)
การสึ กกร่ อน(Corrosion)

หรือ
4Fe(OH)2(s) + O2(g)   2Fe2O3.H2O(s) + 2H2O(aq)




                                                 55
การผุกร่ อนของโลหะ
 การเกิดสนิมเหล็กเนื่องจาก
                         CO2
 CO2 ละลายนาแล้ วเกิด H2CO3 ซึ่งแตกตัวให้ H+
            ้
   • Anode : Fe(s)  Fe2+(aq) + 2e-
   • Cathode : O2(g) + 4H+(aq) + 4e-  2H2O(l)
   • 4Fe2+(aq) + O2(g) + (4+2n)H2O(l)  2Fe2O3.nH2O(s) + 8H+(aq)
การปองกันการสึ กกร่ อน
                                 ้
โดยการปิ ดพืนผิวด้ วยการทาสี หรือเครือบ
                      ้
 โดยการทาพืนผิวด้ วยตัวยับยั้งการสึ กกร่ อน
                 ้
 วิธีแคโทด(Cathodic) โดยการทาให้ โลหะเปลียนสภาพเป็ นแคโทด ทาให้ โลหะ
                                             ่
  นั้นไม่ ต้องเสี ยอิเล็กตรอน
วิธีอะโนไดซ์ (Anodize) โดยการเคลือบผิวด้ วยโลหะทีออกไซด์ สลายตัว
                                                    ่
  ยาก เช่ น Al, Sn, Cr
 วิธีรมดา โดยการนาแผ่นโลหะแช่ ในสารละลายรมดา(NaNO3+NaOH+H2O)
  ทีอุณหภูมิ 136-143C
     ่


                                                                    57
การปองกันการผุกร่ อนของถังเหล็กโดยใช้ ข้ว Mg
    ้                                   ั
เทคโนโลยีเกียวข้ องกับเซลล์ไฟฟาเคมี
                ่                 ้

   การทาอิเล็กโทรไดอะลิซิสน้าทะเล
          เซลล์ เชื้อเพลิง
     แบบเตอรีอเล็กโทรไลต์ แข็ง
                 ิ


                                      59
ความก้ าวหน้ าทางเทคโลโลยีเกี่ยวข้ องกับเซลล์ ไฟฟาเคมี
                                                          ้

                                              ปฏิกริยาที่เกิดขึน
                                                   ิ           ้
                                              ที่แอโนด Li (s) ------> Li+(s) + e-
                                              ที่แคโทด TiS2(s) + e- -----> TiS2 -(s)
                                              ปฏิกริยารวม Li(s) + TiS2(s) -----> Li+(s) + TiS2-(s)
                                                     ิ


            ศักย์ไฟฟาของเซลล์นี ้มีค่าประมาณ 2 โวลต์ เมื่อโลหะลิเทียมให้ อิเล็กตรอนแล้ วจะกลายเป็ น
                    ้
Li+ ผ่านอิเล็กโทรไลต์แข็งไปยังแคโทดซึงมี TiS2 ทาหน้ าที่รับอิเล็กตรอนเกิดเป็ น TiS2-(s) จากนัน TiS2- จะ
                                           ่                                                   ้
รวมตัวกับ Li+ เกิดเป็ น LiTiS2 อิเล็กโทรไลต์แข็งทาหน้ าที่เป็ นฉนวนต่ออิเล็กตรอน จึงทาให้ เซลล์ไฟฟานี ้
                                                                                                  ้
สามารถใช้ งานได้ โดยไม่เกิดการลัดวงจร
            เซลล์ไฟฟาแบบนี ้เป็ นแบบทุติยภูมิสามารถประจุไฟได้ ใหม่เช่นเดียวกับเซลล์นิแคดหรื อเซลล์
                      ้
สะสมไฟฟาแบบตะกัว ในปั จจุบนนี ้มีการใช้ แบตเตอรี่ ชนิดนี ้กับรถยนต์ ทาให้ ไม่ต้องเติมน ้ากลันกับ
          ้             ่          ั                                                         ่
แบตเตอรี่ อีกต่อไปเมื่อแบตเตอรี่ นี ้หมดอายุการใช้ งานแล้ วก็สามารถเปลี่ยนใหม่ได้ แต่ยงมีราคาแพงมาก
                                                                                      ั
เมื่อเทียบกับแบตเตอรี่ ที่ใช้ แผ่นตะกัวเป็ นขัวไฟฟาและใช้ สารละลายกรดเป็ นอิเล็กโทรไลต์
                                      ่       ้ ้
ความก้ าวหน้ าทางเทคโลโลยีเกี่ยวข้ องกับเซลล์ ไฟฟาเคมี
                                                 ้

       การทาอิเล็กโทรไดอะลิซสนาทะเล
                            ิ ้
Chemistry department


                     สวัสดี
อ. ออนจิลา บัวประเสริฐ
                                62

More Related Content

What's hot

บทที่ 6 อัตราการเกิดปฏิกิริยา
บทที่ 6 อัตราการเกิดปฏิกิริยาบทที่ 6 อัตราการเกิดปฏิกิริยา
บทที่ 6 อัตราการเกิดปฏิกิริยาoraneehussem
 
รวมโครงงานหลัก 1 (1)
รวมโครงงานหลัก 1 (1)รวมโครงงานหลัก 1 (1)
รวมโครงงานหลัก 1 (1)Supanan Fom
 
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลManchai
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPongtep Treeone
 
Astronomy 03
Astronomy 03Astronomy 03
Astronomy 03Chay Kung
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมีcrazygno
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีอาภัสรา ยิ่งคำแหง
 
ข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมีข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมีzweetiiz
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซกPreeyapat Lengrabam
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะKittichai Pinlert
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันJiraprapa Suwannajak
 
งานนำเสนอไอเอสสสสสสสสสส
งานนำเสนอไอเอสสสสสสสสสสงานนำเสนอไอเอสสสสสสสสสส
งานนำเสนอไอเอสสสสสสสสสสนั้ม น้าม
 
ประวัติการค้นคว้า
ประวัติการค้นคว้าประวัติการค้นคว้า
ประวัติการค้นคว้าOui Nuchanart
 
16.2.1 แบบจำลองแก๊สอุดมคติ.pptx
16.2.1 แบบจำลองแก๊สอุดมคติ.pptx16.2.1 แบบจำลองแก๊สอุดมคติ.pptx
16.2.1 แบบจำลองแก๊สอุดมคติ.pptxssuser124dc9
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์mina612
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์xavi2536
 

What's hot (20)

บทที่ 6 อัตราการเกิดปฏิกิริยา
บทที่ 6 อัตราการเกิดปฏิกิริยาบทที่ 6 อัตราการเกิดปฏิกิริยา
บทที่ 6 อัตราการเกิดปฏิกิริยา
 
รวมโครงงานหลัก 1 (1)
รวมโครงงานหลัก 1 (1)รวมโครงงานหลัก 1 (1)
รวมโครงงานหลัก 1 (1)
 
Echem 1 redox
Echem 1 redoxEchem 1 redox
Echem 1 redox
 
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
Astronomy 03
Astronomy 03Astronomy 03
Astronomy 03
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมี
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
ข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมีข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมี
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
งานนำเสนอไอเอสสสสสสสสสส
งานนำเสนอไอเอสสสสสสสสสสงานนำเสนอไอเอสสสสสสสสสส
งานนำเสนอไอเอสสสสสสสสสส
 
ประวัติการค้นคว้า
ประวัติการค้นคว้าประวัติการค้นคว้า
ประวัติการค้นคว้า
 
วิเคราะห์ข้อสอบ O-Net ชุดที่ 3
วิเคราะห์ข้อสอบ O-Net ชุดที่ 3วิเคราะห์ข้อสอบ O-Net ชุดที่ 3
วิเคราะห์ข้อสอบ O-Net ชุดที่ 3
 
16.2.1 แบบจำลองแก๊สอุดมคติ.pptx
16.2.1 แบบจำลองแก๊สอุดมคติ.pptx16.2.1 แบบจำลองแก๊สอุดมคติ.pptx
16.2.1 แบบจำลองแก๊สอุดมคติ.pptx
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์
 
แสง ป2.pptx
แสง ป2.pptxแสง ป2.pptx
แสง ป2.pptx
 

Similar to Chem electrochemistry

Electrochemistry01
Electrochemistry01Electrochemistry01
Electrochemistry01jirat266
 
Electrochemistry01
Electrochemistry01Electrochemistry01
Electrochemistry01jirat266
 
09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้าkanjanachem
 
09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้าkanjanachem
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีPhasitta Chem
 
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมีวิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมีTutor Ferry
 
Ec electrochem-text
Ec electrochem-textEc electrochem-text
Ec electrochem-textnantita
 
Electrochem
ElectrochemElectrochem
ElectrochemNapajit
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)oraneehussem
 
กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)
กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)
กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)ssuserb3caf5
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีTutor Ferry
 
กสพท. เคมี 2562
กสพท. เคมี 2562กสพท. เคมี 2562
กสพท. เคมี 25629GATPAT1
 

Similar to Chem electrochemistry (20)

Electrochemistry01
Electrochemistry01Electrochemistry01
Electrochemistry01
 
Electrochemistry01
Electrochemistry01Electrochemistry01
Electrochemistry01
 
09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า
 
09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า
 
09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมี
 
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมีวิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี
 
Ec electrochem-text
Ec electrochem-textEc electrochem-text
Ec electrochem-text
 
Ec electrochem-text
Ec electrochem-textEc electrochem-text
Ec electrochem-text
 
Electrochem
ElectrochemElectrochem
Electrochem
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
 
กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)
กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)
กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมี
 
Electric chem8
Electric chem8Electric chem8
Electric chem8
 
กสพท. เคมี 2562
กสพท. เคมี 2562กสพท. เคมี 2562
กสพท. เคมี 2562
 
Que oct 47
Que oct 47Que oct 47
Que oct 47
 
Chap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometryChap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometry
 
Electrochem 1
Electrochem 1Electrochem 1
Electrochem 1
 
Chem equation
Chem equation  Chem equation
Chem equation
 
9 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 569 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 56
 

More from ออนจิลา บัวประเสริฐ

More from ออนจิลา บัวประเสริฐ (17)

Acid base
Acid baseAcid base
Acid base
 
Acidsbase2
Acidsbase2Acidsbase2
Acidsbase2
 
Acid base
Acid baseAcid base
Acid base
 
Onet 120825092320-phpapp01
Onet 120825092320-phpapp01Onet 120825092320-phpapp01
Onet 120825092320-phpapp01
 
ข้อสอบ O –net เรื่องสารชีวโมเลกุล
ข้อสอบ O –net เรื่องสารชีวโมเลกุลข้อสอบ O –net เรื่องสารชีวโมเลกุล
ข้อสอบ O –net เรื่องสารชีวโมเลกุล
 
ข้อสอบ O –net เรื่องสารชีวโมเลกุล
ข้อสอบ O –net เรื่องสารชีวโมเลกุลข้อสอบ O –net เรื่องสารชีวโมเลกุล
ข้อสอบ O –net เรื่องสารชีวโมเลกุล
 
ข้อสอบ O –net เรื่องสารชีวโมเลกุล
ข้อสอบ O –net เรื่องสารชีวโมเลกุลข้อสอบ O –net เรื่องสารชีวโมเลกุล
ข้อสอบ O –net เรื่องสารชีวโมเลกุล
 
ข้อสอบ O –net เรื่องสารชีวโมเลกุล
ข้อสอบ O –net เรื่องสารชีวโมเลกุลข้อสอบ O –net เรื่องสารชีวโมเลกุล
ข้อสอบ O –net เรื่องสารชีวโมเลกุล
 
ข้อสอบ O –net เรื่องสารชีวโมเลกุล
ข้อสอบ O –net เรื่องสารชีวโมเลกุลข้อสอบ O –net เรื่องสารชีวโมเลกุล
ข้อสอบ O –net เรื่องสารชีวโมเลกุล
 
ข้อสอบ O –net เรื่องสารชีวโมเลกุล
ข้อสอบ O –net เรื่องสารชีวโมเลกุลข้อสอบ O –net เรื่องสารชีวโมเลกุล
ข้อสอบ O –net เรื่องสารชีวโมเลกุล
 
Chapter 3 Biological Molecules
Chapter 3  Biological  MoleculesChapter 3  Biological  Molecules
Chapter 3 Biological Molecules
 
อัลบั้มรูป
อัลบั้มรูปอัลบั้มรูป
อัลบั้มรูป
 
Proteins and nucleic acids
Proteins  and nucleic acidsProteins  and nucleic acids
Proteins and nucleic acids
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
โครงการลดภาวะโลกร้อน
โครงการลดภาวะโลกร้อนโครงการลดภาวะโลกร้อน
โครงการลดภาวะโลกร้อน
 
บันทึกทัศนะศึกษา
บันทึกทัศนะศึกษาบันทึกทัศนะศึกษา
บันทึกทัศนะศึกษา
 
Doc1
Doc1Doc1
Doc1
 

Chem electrochemistry

  • 1. Electrochemistry Onjila Boupraseart Chemistry department Wiengsra school surattani www.wsra.ac.th 1
  • 2. 1 ปฏิกิรยารีดอกซ์ ิ 2 การด ุลสมการรีดอกซ์ 2.1 การด ุลสมการรีดอกซ์โดยใช้เลขออกซิเดชัน 2.2 การด ุลสมการรีดอกซ์โดยใช้ครึงปฏิกิรยา ่ ิ 3 เซลล์ไฟฟาเคมี ้ 3.1 เซลล์กลป์ วานิก ั 3.1.1 การเขียนแผนภาพของเซลล์กลป์ วานิก ั 3.1.2 ศักย์ไฟฟาของเซลล์และศักย์ไฟฟามาตรฐานของครึงเซลล์ ้ ้ ่ 3.1.3 ประเภทของเซลล์กลป์ วานิก ั 3.2 เซลล์อิเล็กโทรไลต์ 3.2.1 การแยกสารละลายด้วยกระแสไฟฟา ้ 3.2.2 การแยกสารที่หลอมเหลวด้วยกระแสไฟฟา ้ 3.2.3 การช ุบโลหะด้วยกระแสไฟฟา ้ 3.2.4 การทาโลหะให้บริส ุทธิ์โดยใช้เซลล์อิเล็กโทรไลต์ 3.3 การผ ุกร่อนของโลหะและการปองกัน ้ 4 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับเซลล์ไฟฟาเคมี ้ 4.1 แบตเตอรีอิเล็กโทรไลต์แข็ง ่ 4.2 แบตเตอรีอากาศ ่ 4.3 การทาอิเล็กโทรไดอะลิซิสน้าทะเล 2
  • 3. เลขออกซิเดชัน  ประจุสมมุติบนอะตอมของธาตุในสารประกอบหรือไอออน เมือคิดว่ าสารประกอบหรือ ่ ไอออนนั้นเป็ นไอออนิก คือ มีการถ่ ายเทอิเล็กตรอนระหว่ างธาตุอย่ างสมบูรณ์ 1. ธาตุอสระมีเลขออกซิเดชันเป็ น ศูนย์ ิ Na, Be, K, Pb, H2, O2, P4 = 0 2. ไอออนของธาตุอะตอมเดียวมีเลขออกซิเดชันเท่ ากับประจุ Li+, Li = +1; Fe3+, Fe = +3; O2-, O = -2 3. โลหะหมู่ IA มีเลขออกซิเดชันเป็ น +1, โลหะหมู่ IIA มีเลข ออกซิเดชันเป็ น +2 และฟลูออรีนเป็ น –1 เสมอ 3
  • 4. 4. โดยปกติออกซิเจนอะตอมมีเลขออกซิเดชันเป็ น –2 แต่ ออกซิเจนใน H2O2 และ O22- เป็ น –1 5. ไฮโดรเจนมีเลขออกซิเดชันเป็ น +1 ยกเว้ น เมื่อเป็ น สารประกอบไฮไดรด์ ของโลหะซึ่งมีเลขออกซิเดชันเป็ น –1. 6. ผลรวมของเลขออกซิเดชันของธาตุทุกตัวในโมเลกุลเป็ นศูนย์ หรือ เท่ ากับประจุของไอออน HCO3- เลขออกซิเดชันของ C ใน O = -2 H = +1 HCO3- เป็ นเท่ าไร? 3x(-2) + 1 + ? = -1 C = +4 4
  • 5. ปฏิกริยารีดอกซ์ (Redox reaction) ิ (a) ปฏิกริยาระหว่ าง Cu(s) + AgNO3(aq) ิ (b) ปฏิกริยาระหว่ าง Cu(s) + ZnSO4(aq) ิ 5
  • 6. ปฏิกริยารีดอกซ์ (Redox reaction) ิ Zn(s) Zn2+(aq) + 2e- ……….Oxidation Cu2+(aq) + 2e- Cu(s) ……….Reduction Zn(s) + Cu2+(aq) Zn2+(aq) + Cu(s) ……….Redox 6 http://www.chem.iastate.edu/group/Greenbowe/sections/projectfolder/flashfiles/redox/home.html
  • 7. ปฏิกริยารีดอกซ์ (Redox reaction) ิ ปฏิกริยาที่มีการถ่ ายโอนอิเล็กตรอน หรือ ิ ปฏิกริยาที่มีการให้ และรับอิเล็กตรอน ิ ปฏิกริยารีดอกซ์ ิ ปฏิกริยาที่มีการเปลียนแปลงเลขออกซิเดชัน ิ ่ 7
  • 8. ปฏิกริยารีดอกซ์ (Redox reaction) ิ Zn(s) + Cu2+(aq) Zn2+(aq) + Cu(s) 8
  • 9. การทดลอง 1.1 ปฏิกิริยาระหว่ างโลหะกับสารละลายของโลหะไอออน 1. Zn CuSO4 1 M Cu 2.
  • 10. -ก่ อนจุ่มแผ่ นโลหะ ในสารละลายมีไอออนของโลหะชนิดใด ละลายอยู่ -โลหะกับไอออนของโลหะในสารละลายคู่ใดที่มีปฏิกริยาเคมี ิ เกิดขึน ทราบได้ อย่ างไร ้ -โลหะกับไอออนของโลหะคู่ท่ เกิดปฏิกิริยา เลขออกซิเดชัน ี ของสาร มีการเปลี่ยนแปลงอย่ างไร
  • 11. ก. ทันทีท่ จ่ ุม ี ข. เมื่อตังทิงไว้ ระยะเวลาหนึ่ง ้ ้ รูปที่ 2. ปฏิกริยาระหว่ างโลหะสังกะสีกับสารละลาย CuSO4 ิ Zn(s)  Zn2+(aq) + 2e-…….(1) Cu2+(aq) + 2e-  Cu(s) …….(2)
  • 12. ปฏิกริยารีดอกซ์ (Redox reaction) ิ Oxidation reaction : ปฏิกริยาทีสารมีการให้ อเิ ล็กตรอน ิ ่ 2Zn(s) + O2(g) 2ZnO(s) Reduction reaction : ปฏิกริยาทีสารมีการรับอิเล็กตรอน ิ ่ 12
  • 13. ปฏิกริยารีดอกซ์ (Redox reaction) ิ ตัวออกซิไดส์ (Oxidizing agent หรือ Oxidizer) Cu2+(aq) + 2e- Cu(s)…Reductio Zn(s) + Cu2+(aq) Zn2+(aq) + Cu(s) Zn(s) Zn2+(aq) + 2e- ……..Oxidation ตัวรีดวซ์ (Reducing agent หรือ Reducer) ิ 13
  • 14. การดุลสมการรีดอกซ์ วิธีครึ่งปฏิกริยา ิ เขียนครึ่ งปฏิกริยาออกซิเดชันและครึ่ งปฏิกริยารี ดักชัน ิ ิ ดุลจานวนอะตอมของธาตุในแต่ ละครึ่ งปฏิกริยาให้ เท่ ากัน ิ ทาประจแต่ ละครึ่ งปฏิกริยาให้ เท่ ากัน โดยการเติม e- ุ ิ ทาจานวน e- ทั้งสองครึ่ งปฏิกริยาให้ เท่ ากัน ิ รวมสองครึ่ งปฏิกริยาจะได้ ปฏิกริยารีดอกซ์ ทสมดล ิ ิ ี่ ุ 14
  • 15. การดุลสมการรีดอกซ์ ในสารละลายกรด: I2 + Cr2O72- + H+ Cr3+ + IO3- + H2O ให้ เติม H2O ด้ านทีขาด O หรื อ ่ ที่มี O น้ อยกว่ า และเติม H+ อีกด้ านหนึ่ง ในสารละลายเบส: Cl2 + IO3- + 2OH- 2Cl- + IO4- + H2O ให้ ทาเหมือนสารละลายกรด และ ให้ เติม OH- ทั้งสองด้ านของสมการ 15
  • 16. การดุลสมการรีดอกซ์ I2 + Cr2O72- + H+ Cr3+ + IO3- + H2O ขั้นที่ 1 I2 IO3- ..…. Oxidation Cr2O72- Cr3+ ..…. Reduction ขั้นที่ 2 I2 + 6H2O 2IO3- + 12H+ ……. Oxidation Cr2O72- + 14H+ 2Cr3+ + 7H2O ……. Reduction ขั้นที่ 3 I2 + 6H2O 2IO3- + 12H+ + 10e- …..Oxidation Cr2O72- + 14H+ + 6e- 2Cr3+ + 7H2O …..Reduction 16
  • 17. การดุลสมการรีดอกซ์ I2 + Cr2O72- + H+ Cr3+ + IO3- + H2O ขั้นที่ 4 3 I2 +18H2O 6IO3- + 36H+ + 30e- Oxidation 5Cr2O72- + 70H+ + 30e- 10Cr3+ + 35H2O…..Reduction ขั้นที่ 5 3I2 + 5Cr2O72- + 34H+ Cr3+ + 6IO3- + 17H2O ….Redox 17
  • 18. เซลล์ไฟฟาเคมี(Electrochemical cell) ้ เซลล์ กลวานิก(Galvanic cell) ั เซลล์ อเิ ล็กโตรไลต์ (Electrolytic cell) 18
  • 19. การทดลอง 9.2 การถ่ ายโอนอิเล็กตรอนในเซลล์ กัลวานิก Zn(s) Cu(s) Anode (-) Salt bridge Cathode (+) 2e- Zn2+ + SO42- Cu2+ + SO42- Zn(s)  Zn2+(aq) + 2e- Cu2+(aq) + 2e-  Cu(s) Net: Zn(s) + Cu2+(aq)  Zn2+(aq) + Cu(s)
  • 20. เซลล์ กลวานิก(Galvanic cell) ั ครึ่งเซลล์ 2 ครึ่งเซลล์ (Hale cell) Salt bridge สะพานเกลือ(Salt bridge) ขั้วไฟฟา(Electhode) ้ สารละลายอิเล็กโทรไลต์ 1 2 (Electrolyte solution) 20
  • 21. เซลล์ กลวานิก (Galvanic Cell) ั Anode : Oxidation Zn(s) Zn2+(aq) + 2e- Cathode : Reduction Cu2+(aq) + 2e- Cu(s) Zn(s) + Cu2+(aq) Zn2+(aq) + Cu(s) 21
  • 22. เซลล์ กลวานิก (Galvanic Cell) ั Oxidation reaction? Reduction reaction? Redox reaction? Oxidizing agent? Reducing agent? 22
  • 23. แผนภาพอย่ างย่ อแสดงเซลล์กลวานิก ั เขียนครึ่งเซลล์ Anode ไว้ ทางซ้ าย Cathode ไว้ ทางขวา โดยเขียน ขั้วไฟฟาไว้ นอกสุ ดตามด้ วยไอออนในสารละลาย ้ ใช้ เครื่องหมาย / คันระหว่ างขั้วไฟฟากับสารละลาย ่ ้ ใช้ เครื่องหมาย // แทนสะพานไอออน เขียนไว้ ระหว่ าง Anode กับ Cathode 23
  • 25. แผนภาพอย่ างย่ อแสดงเซลล์กลวานิก ั กรณีที่ครึ่งเซลล์ใดสารละลายมี ไอออนมากกว่ า 1 ชนิดให้ ใช้ เครื่องหมาย , (จุลภาค) คัน ่ ระหว่ างไอออนแต่ ละชนิด….. Pt(s) / Fe2+(aq),Fe3+(aq) // Ag+(aq) / Ag(s) 25
  • 26. แผนภาพอย่ างย่ อแสดงเซลล์กลวานิก ั กรณีทข้วไฟฟ้ าของครึ่งเซลล์ เป็ นขั้ว ี่ ั ก๊ าซ เช่ น H2 , Cl2 หรือขั้วของเหลว เช่ น Br2 ซึ่งไม่ นาไฟฟ้ า จะต้ องใช้ โลหะที่เฉื่อยต่ อ ปฏิกริยาเป็ นขั้วไฟฟ้ า เช่ น Pt ิ การเขียนครึ่งเซลล์ ให้ ใช้ เครื่องหมาย( , ) คัน ่ ระหว่ างขั้วโลหะกับขั้วก๊ าซหรือขั้วของเหลว Zn(s) / Zn2+(aq) // H+(aq) / H2(g) / Pt(s) 26
  • 27. ขั้วไฮโดรเจนมาตรฐาน (Standard Hydrogen Electrode : SHE) ภาวะมาตรฐาน  ความดันแก๊ ส = 1 atm  ความเข้ มข้ น = 1 M  อุณหภูมิ = 25C กาหนดค่ าศักย์ ไฟฟามาตรฐาน ้ ของครึ่งเซลล์ (E) = 0.000 V 27
  • 28. การหาค่ าศักย์ ไฟฟาของครึ่งเซลล์ ้ E0cell = E0cathode – E0anode 0.34 V = E0Cu – 0.00 V E0Cu = 0.34 V 28
  • 29. การหาค่ าศักย์ ไฟฟาของครึ่งเซลล์ ้ E0cell = E0cathode – E0anode 0.76 V = 0.00 V – E0Zn E0Zn = -0.76 V 29
  • 33. เซลล์อเิ ล็กโทรไลต์ (Electrolytic Cell) ขั้วไฟฟา ้ (Electrode) สารละลาย อิเล็กโทรไลต์ (Electrolytic solution) ส่ วนประกอบของเซลล์ 33
  • 34. ข้ อแตกต่ างระหว่ างกัลวานิกเซลล์ กับอิเล็กโทรไลติกเซลล์ ข้ อแตกต่ าง กัลวานิก อิเล็กโทรไลติก ปฏิกริยา ิ Spontaneous Nonspontaneous การเปลี่ยนแปลง เคมีเป็ นไฟฟา ้ ไฟฟาเป็ นเคมี ้ ขัวไฟฟา ้ ้ Cathode (+) Cathode (-) Anode (-) Anode (+) การนาไปใช้ เป็ นแหล่ งพลังงาน ชุบโลหะ การทาโลหะให้ บริสุทธิ์
  • 35. การแยกนาด้ วยไฟฟา ้ ้ Anode(+) 2H2O O2+4H++4e- ; Eo= -1.23V 2SO42- S2O82- + 2e-; Eo= -2. 01V - + Cathode(-) 2H2O+2e- H2+2OH-; Eo=-0.83V 2H+ +2e- H2 ; Eo= 0.00V H2SO4 2H2O 2H2 + O2 35
  • 36. การแยกโซเดียมคลอไรด์ หลอมเหลว Anode : Oxidation 2Cl- Cl2 + 2e- Cathode: Reduction 2Na+ + 2e- 2Na 36
  • 37. การแยกสารละลายโซเดียมคลอไรด์ Anode : Oxidation 2Cl- Cl2 + 2e- : Eo= -1.36 V 2H2O O2+4H++4e- : Eo= -0.82 V (O2มีศักย์ ไฟฟ้ าเกินตัววัดได้ ถึง 1.5 V) Cathode : Reduction Na++e- Na : Eo= -2.71 V NaCl(aq) Na+ + Cl- Na+Na 2O H2O O H2HHO Cl- -ClH2 O H O- 2H2O+2e- H2+2OH- : Eo= -0.83 V Na+2 Cl2 H 2O H 2O 37 Redox : 2Cl- + 2H2O H2 + Cl2 + 2OH-
  • 38. ประเภทของเซลล์ กัลวานิก เซลล์ ปฐมภูมิ เซลล์ ทุตยภูมิ ิ -เซลล์ ถ่านไฟฉาย -เซลล์ สะสมไฟฟาแบบตะกั่ว ้ -เซลล์ แอลคาไลน์ -เซลล์ นิเกิล-แคดเมียม -เซลล์ ปรอท -เซลล์ โซเดียม-ซัลเฟอร์ -เซลล์ เงิน -เซลล์ เชือเพลิงไฮโดรเจน-ออกซิเจน ้ -เซลล์ เชือเพลิงไฮโดดรเจน-ออกซิเจนที่ไม่ มี ้ Na2CO3 เป็ นอิเล็กโทรไลต์ -เซลล์ เชือเพลิงโพรเพน-ออกซิเจน ้
  • 39. เซลล์ ปฐมภูม(Primary cell) ิ เซลล์ แห้ ง(Dry Cell) เซลล์ เลอคลังเช(Leclanche Cell) 39
  • 40. ปฏิกริยาเคมีในเซลล์ ปฐมภูมิ ิ Anode : Zn …………..Oxidation Zn(s) Zn2+(aq) + 2e- Cathode : C …Reduction 2NH4+(aq)+2MnO2(s)+2e- Mn2O3(s)+2NH3(g)+2H2O(l) Redox Zn(s)+2NH4+(aq)+2MnO2(s) Zn2+(aq)+ Mn2O3(s)+2NH3(g)+2H2O( Zn2+(aq) + 4NH3(g) [Zn(NH3)4]2+(aq) Zn2+(aq) + 2NH3(g) + 2H2O(l) [Zn(H2O)2(NH3)2]2+(aq) 40
  • 41. เซลล์ ปฐมภูม(Primary cell) ิ เซลล์เงิน 41
  • 42. เซลล์วกับเซลล์ ปรอท แต่ ใช้ ซลเวอร์ ออกไซด์ มีส่วนประกอบเช่ นเดีย เงิน ิ ( Ag2O) แทนเมอร์ คิวรี (II) ออกไซด์ ( HgO) ปฏิกิริยาที่เกิด 1. Anode (Oxidation) Zn + 2OH- --> ZnO + H2O + 2e- 2. Cathode (Reduction) Ag2O + H2O + + 2e- ---> 2Ag + 2OH- ปฏิกิริยารวม (Redox) Zn + Ag2O ---> ZnO + 2Ag เซลล์ เงินให้ ศักย์ ไฟฟาประมาณ 1.5 Volts มีขนาดเล็กและมี ้ อายุการใช้ งานได้ นานมากแต่ มีราคาแพง จึงใช้ กับอุปกรณ์ หรือเครื่องใช้ ไฟฟาบางชนิด เช่ น เครื่องคิดเลข นาฬิกา ้
  • 43. เซลล์ ปฐมภูม(Primary cell) ิ เซลล์ ปรอท 43
  • 44. เซลล์ ปรอท หลักการเหมือนกับเซลล์ อัลคาน์ แต่ ใช้ เมอร์ คิวรี (II) ออกไซด์ ( HgO) แทนแมงกานีส (IV) ออกไซด์ (MnO2) ปฏิกิริยาที่เกิด 1. Anode (Oxidation) Zn + 2OH- --> ZnO + H2O + 2e- 2. Cathode (Reduction) HgO + H2O + 2e- ---> Hg + 2OH- ปฏิกิริยารวม (Redox) Zn + HgO ---> ZnO + Hg เซลล์ ปรอทให้ ศักย์ ไฟฟาประมาณ 1.3 Volts ให้ กระแสไฟฟาต่า ้ ้ แต่ มีข้อดีท่ สามารถให้ ศักย์ ไฟฟาเกือบคงที่ตลอดอายุการใช้ ี ้ งาน นิยมใช้ กันมากในเครื่องฟั งเสียงสาหรับคนหูพการ ิ
  • 45. เซลล์ เชือเพลิงไฮโดรเจน-ออกซิเจน ้ เซลล์ เชือเพลิงไฮโดรเจน-ออกซิเจน ้ ประกอบด้ วยแท่ งคาร์ บอนที่มีรูพรุ น 2 แท่ งทาหน้ าที่เป็ นขัวไฟฟาที่ผวของแท่ งคาร์ บอนมี ้ ้ ิ ผงแพลทินัมหรือแพลเลเดียมผสมยู่เพื่อทาหน้ าที่เป็ นตัวเร่ งปฏิกริยา ขัวไฟฟาทังสองจุ่ม ิ ้ ้ ้ อยู่ในอิเล็กโทรไลต์ ซ่ งอาจเป็ นสารละลาย NaOH หรือ KOH ึ ปฏิกริยาทีเกิดขึน ิ ้ ที่แอโนด O2 (g) + 2H2O (l) + 4e- ------> 4OH-(aq) ที่แคโทด 2H2(g) + 4OH-(aq) -----> 4H2O(l) + 4e-(s) ปฏิกริยารวม O2(g) + 2H2(g) -----> 2H2O(l) ิ เนื่องจากปฏิกริยาที่เกิดขึนมีการรับและการให้ อเล็กตรอน จึงทาให้ มีกระแสไฟฟาเกิดขึน ิ ้ ิ ้ ้ ด้ วย เซลล์ ประเภทนีถูกนาไปใช้ ในยานอวกาศ เพราะนอกจากจะได้ พลังงานไฟฟาแล้ วยัง ้ ้ ได้ นาเป็ นนาดื่ม สาหรับนักบินอวกาศด้ วย ้ ้
  • 46. เซลล์ เชือเพลิงโพรเพน-ออกซิเจน ้ ปฏิกริยาทีเกิดขึน ิ ้ ที่แอโนด 5O2 (g) + 20H+ (aq) + 20e- ------> 10H2O(l) ที่แคโทด C3H8(g) + 6H2O(l) -----> 3CO2(g) + 20H+ (aq)+ 20e-(s) ปฏิกริยารวม 5O2 (g) + C3H8(g) -----> 3CO2(g) + 4H2O(l) ิ ปฏิกริยาในเซลล์ เชือเพลิงโพรเพน-ออกซิเจนนีเ้ สมือนกับปฏิกริยาสันดาปของ ิ ้ ิ ก๊ าซโพรเพนเซลล์ นีอาจให้ ประสิทธิภาพการทางานสูงประมาณ 2 เท่ าของ ้ เครื่องยนต์ สันดาปภายใน
  • 47. เซลล์ทุตยภูม(Secondary cell) ิ ิ เซลล์ สะสมไฟฟาแบบตะกัว(แบตเตอรี) ้ ่ 47
  • 48. แบตเตอรี่ 1) เมื่ออัดไฟครังแรก ้ 2) เมื่อจ่ ายไฟ 3) เมื่ออัดไฟครังต่ อไป ้
  • 49. ปฏิกริยาเคมีในเซลล์ สะสมไฟฟาแบบตะกัว ิ ้ ่ การจ่ ายไฟ ขั้ว Pb : Pb(s) + SO42-(aq) PbSO4(s) + 2e- ขั้ว PbO2 : PbO2(s) + SO42-(aq) + 4H+ + 2e- PbSO4(s) + 2H2O(l) การอัดไฟ ขั้ว Pb : PbSO4(s) + 2e- Pb(s) + SO42-(aq) ขั้ว PbO2 : PbSO4(s) + 2H2O(l) PbO2(s) + SO42-(aq) + 4H+ + 2e- 49
  • 51. การชุบโลหะ Anode : โลหะทีต้องการชุ บ ่ Cathode : สิ่ งทีต้องการชุ บ ่ Electrolyte solution : มี ไอออนของโลหะที่เป็ น anode  ใช้ ไฟฟากระแสตรง ้ 51
  • 52. การทาโลหะให้ บริสุทธิ์  ใช้ โลหะบริสุทธิ์เป็ น Cathode และโลหะไม่ บริสุทธิ์เป็ น Anode  สารละลายอิเล็กโทรไลต์ มีไอออนของโลหะบริ สุทธิ์ 52
  • 53. ประโยชน์ ของเซลล์ อเล็กโทรไลต์ ิ การทาทองแดงให้ บริสุทธิ์ จากโลหะที่ประกอบด้ วย Cu, Fe, Zn, Ag, Au, Pt Cathode - Anode + ทองแดงไม่ บริสุทธิ์ CuSO4 ทองแดงบริสุทธิ์ + H2SO4 กากตะกอน
  • 54. การผุกร่ อนของโลหะ O2(g) + 2H2O(l) + 4e- 4OH-(ag) Redox: 2Fe(s) + O2(g) + 2H2O(l) 2Fe2+(aq) + 4OH-(aq) Fe(OH)2(s) 4Fe(OH)2(s) + O2(g) + 2H2O(l) 4Fe(OH)3(s)
  • 56. การผุกร่ อนของโลหะ  การเกิดสนิมเหล็กเนื่องจาก CO2  CO2 ละลายนาแล้ วเกิด H2CO3 ซึ่งแตกตัวให้ H+ ้ • Anode : Fe(s)  Fe2+(aq) + 2e- • Cathode : O2(g) + 4H+(aq) + 4e-  2H2O(l) • 4Fe2+(aq) + O2(g) + (4+2n)H2O(l)  2Fe2O3.nH2O(s) + 8H+(aq)
  • 57. การปองกันการสึ กกร่ อน ้ โดยการปิ ดพืนผิวด้ วยการทาสี หรือเครือบ ้  โดยการทาพืนผิวด้ วยตัวยับยั้งการสึ กกร่ อน ้  วิธีแคโทด(Cathodic) โดยการทาให้ โลหะเปลียนสภาพเป็ นแคโทด ทาให้ โลหะ ่ นั้นไม่ ต้องเสี ยอิเล็กตรอน วิธีอะโนไดซ์ (Anodize) โดยการเคลือบผิวด้ วยโลหะทีออกไซด์ สลายตัว ่ ยาก เช่ น Al, Sn, Cr  วิธีรมดา โดยการนาแผ่นโลหะแช่ ในสารละลายรมดา(NaNO3+NaOH+H2O) ทีอุณหภูมิ 136-143C ่ 57
  • 59. เทคโนโลยีเกียวข้ องกับเซลล์ไฟฟาเคมี ่ ้  การทาอิเล็กโทรไดอะลิซิสน้าทะเล  เซลล์ เชื้อเพลิง  แบบเตอรีอเล็กโทรไลต์ แข็ง ิ 59
  • 60. ความก้ าวหน้ าทางเทคโลโลยีเกี่ยวข้ องกับเซลล์ ไฟฟาเคมี ้ ปฏิกริยาที่เกิดขึน ิ ้ ที่แอโนด Li (s) ------> Li+(s) + e- ที่แคโทด TiS2(s) + e- -----> TiS2 -(s) ปฏิกริยารวม Li(s) + TiS2(s) -----> Li+(s) + TiS2-(s) ิ ศักย์ไฟฟาของเซลล์นี ้มีค่าประมาณ 2 โวลต์ เมื่อโลหะลิเทียมให้ อิเล็กตรอนแล้ วจะกลายเป็ น ้ Li+ ผ่านอิเล็กโทรไลต์แข็งไปยังแคโทดซึงมี TiS2 ทาหน้ าที่รับอิเล็กตรอนเกิดเป็ น TiS2-(s) จากนัน TiS2- จะ ่ ้ รวมตัวกับ Li+ เกิดเป็ น LiTiS2 อิเล็กโทรไลต์แข็งทาหน้ าที่เป็ นฉนวนต่ออิเล็กตรอน จึงทาให้ เซลล์ไฟฟานี ้ ้ สามารถใช้ งานได้ โดยไม่เกิดการลัดวงจร เซลล์ไฟฟาแบบนี ้เป็ นแบบทุติยภูมิสามารถประจุไฟได้ ใหม่เช่นเดียวกับเซลล์นิแคดหรื อเซลล์ ้ สะสมไฟฟาแบบตะกัว ในปั จจุบนนี ้มีการใช้ แบตเตอรี่ ชนิดนี ้กับรถยนต์ ทาให้ ไม่ต้องเติมน ้ากลันกับ ้ ่ ั ่ แบตเตอรี่ อีกต่อไปเมื่อแบตเตอรี่ นี ้หมดอายุการใช้ งานแล้ วก็สามารถเปลี่ยนใหม่ได้ แต่ยงมีราคาแพงมาก ั เมื่อเทียบกับแบตเตอรี่ ที่ใช้ แผ่นตะกัวเป็ นขัวไฟฟาและใช้ สารละลายกรดเป็ นอิเล็กโทรไลต์ ่ ้ ้
  • 61. ความก้ าวหน้ าทางเทคโลโลยีเกี่ยวข้ องกับเซลล์ ไฟฟาเคมี ้ การทาอิเล็กโทรไดอะลิซสนาทะเล ิ ้
  • 62. Chemistry department สวัสดี อ. ออนจิลา บัวประเสริฐ 62