SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
ส่วนในพันส่วน (ppt = part per thousand)
คือ ปริมาณตัวละลายในสารละลาย 1,000 ส่วน เช่น
สารละลายหนึ่งมีสารหนูเข้มข้น 1 ส่วนในพันส่วน (1 ppt)
หมายความว่า
สารละลายนั้น 1,000 ส่วน มีสารหนูละลายอยู่ 1 ส่วน
ppt = มวลของตัวถูกละลาย
ตัวอย่าง
ในน้้าดื่ม 450 กรัม มีสารประกอบของปรอทละลายอยู่ 0.0001 กรัม น้้าดื่มนี้
มีความเข้มข้นของสารประกอบของปรอทกี่ส่วนในพันส่วน
วิธีท้า ppt = มวลของตัวถูกละลาย
ppt = 0.0001
ppt = 0.0000002  103
ppt = 0.0002
 น้้าดื่มมีความเข้มข้นของสารประกอบปรอท 0.0002 ส่วนในพันส่วน
หรือ 0.0002 ppt
ส่วนในล้านส่วน (ppm = part per million)
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนในพันส่วน (ppt)
มวลของสารละลาย  103
มวลของสารละลาย
 103
450  103
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนในล้านส่วน (ppm)
คือ ปริมาณตัวละลายในสารละลาย 1,000,000 ส่วน เช่น
น้้าคลองแสนแสบมีสารประกอบปรอทเข้มข้น 0.2 ส่วนในล้านส่วน
(0.2 ppm)
หมายความว่า
น้้า 1,000,000 ส่วน มีสาร
ประกอบปรอทละลายอยู่ 0.2 ส่วน
1 ppm = 1 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม (mg/kg)
ppm = มวลของตัวถูกละลาย
ตัวอย่าง
ท้าการวิเคราะห์เนื้อปลา พบว่ามีปรอทปนเปื้อน 0.05 มิลลิกรัมในเนื้อปลา
100 กรัม ปรอทมีความเข้มข้นกี่ ppm
วิธีท้า มวลตัวถูกละลาย คือ Hg = 0.05 mg = 0.05  10-3 = 5  10-5
มวลรวมเนื้อปลา = 100 g
ppm = มวลของตัวถูกละลาย
ppm = 5  10-5
ppm = 0.5 ppm
 ในเนื้อปลามีปรอทปนเปื้อนอยู่ 0.5 ส่วนในล้านส่วน หรือ 0.5 ppm
ส่วนในพันล้านส่วน (ppb = part per billion)
คือ ปริมาณตัวละลายในสารละลาย 1,000,000,000 ส่วน เช่น
สารละลายชนิดหนึ่งมีสารประกอบของปรอทเข้มข้น 10 ส่วนใน
พันล้านส่วน (10 ppb)
มวลของสารละลาย
 106
100  106
มวลของสารละลาย  106
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนในพันล้านส่วน (ppb)
หมายความว่า
สารละลายนั้น 1,000,000,000 ส่วน มีส่วนประกอบของปรอท
ละลายอยู่ 10 ส่วน
1 ppb = 1 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัม (g/kg)
ppb = มวลของตัวถูกละลาย
ตัวอย่าง
เหล็กกล้าไร้สนิมท่อนหนึ่งมีมวล 120 กรัม ในเหล็กกล้ามีทองแดงอยู่ 0.0006
กรัม ในเหล็กกล้าไร้สนิมมีทองแดงอยู่กี่ส่วนในพันล้านส่วน
วิธีท้า
ppb = มวลของตัวถูกละลาย
ppb = 0.006
ppb = 0.000005  109
ppb = 5,000.00
 ในเหล็กกล้ามีทองแดงอยู่ = 5,000.00 ส่วนในพันล้านส่วน หรือ 5,000.00 ppb
เมื่อน้าสารละลายที่มีความเข้มข้นค่าหนึ่งมาเติมน้้า (หรือเติมตัวท้าละลาย) ลง
ไปอีก จะท้าให้ความเข้มข้นของสารละลายนั้นลดลง เรียกว่า การเจือจางสารละลาย
หลักการ : สารละลายที่ถูกเจือจางจะมีเนื้อของตัวถูกละลายอยู่เท่าเดิม
สูตรการคานวณ :
C1V1 = C2V2
โดยที่ C1 = ความเข้มข้นสารก่อนเจือจาง
มวลของสารละลาย
 109
120  109
มวลของสารละลาย  109
ใบความรู้เรื่อง การเจือจางสารละลาย (Dilution)
C2 = ความเข้มข้นสารหลังเจือจาง
V1 = ปริมาตรสารก่อนเจือจาง
V2 = ปริมาตรสารหลังเจือจาง
ตัวอย่างการค้านวณเรื่องการเจือจางสารละลาย
สารละลาย NaCl เข้มข้น 40 โดยมวลต่อปริมาตร จ้านวน 50 ลูกบาศก์
เซนติเมตร เติมน้้าลงไป 500 ลูกบาศก์เซนติเมตร สารละลาย NaCl ที่ได้จะมีความ
เข้มข้นกี่เปอร์เซ็นต์โดยมวลต่อปริมาตร
วิธีท้า C1 = 40  W/V C2 = ?
V1 = 50 cm3 V2 = 500 cm3
จากสูตร C1V1 = C2V2
แทนค่า 40  50 = C2  500
C2 = 40  50
C2 = 4
 สารละลาย NaCl ใหม่ที่ได้มีความเข้มข้นร้อยละ 4 โดยมวลต่อปริมาตร
เตรียมสารละลายโดยการผสมสารละลายชนิดเดียวกันที่มีความเข้มข้นต่างกัน
C1V1 + C2V2 + C3V3 + … = CรวมVรวม
เมื่อ C1 , C2 , C3 ,… เป็นความเข้มข้นของสารละลายชนิดที่ 1, 2, 3,…
Cรวม เป็นความเข้มข้นของสารละลายสุดท้าย
V1 , V2 , V3 ,… เป็นปริมาตรของสารละลายชนิดที่ 1, 2, 3,…ที่น้ามาผสม
Vรวม เป็นปริมาตรของสารละลายสุดท้าย
ตัวอย่าง
500
ใบความรู้เรื่อง การเตรียมสารละลายโดยการผสมสารละลายเข้าด้วยกัน
เมื่อผสมสารละลาย NaCl เข้มข้น 0.1 , 0.2, และ 0.5 mol/dm3 จ้านวน
100, 200 และ 300 cm3 ตามล้าดับ จะได้สารละลายรวมที่มีความเข้มข้นเป็นกี่
mol/dm3
วิธีท้า
V1 = 100 V2 = 200 V3 = 300 V = V1 + V2 + V3
C1 = 0.1 C2 = 0.2 C3 = 0.5 V = 600
C1V1 + C2V2 + C3V3 = Cรวม Vรวม
(0.1  100) + (0.2  200) + (0.5  300) = Cรวม  600
C = 0.33 mol/dm3
จะได้สารละลายรวมที่มีความเข้มข้น 0.33 mol/dm3

More Related Content

What's hot

ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์Srinakharinwirot University
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์สำเร็จ นางสีคุณ
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์orasa1971
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์Kapom K.S.
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
สอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายสอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายDuduan
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfssuser2feafc1
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนKobwit Piriyawat
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2oraneehussem
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์oraneehussem
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 

What's hot (20)

ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
 
การเตรียมสารละลาย
การเตรียมสารละลายการเตรียมสารละลาย
การเตรียมสารละลาย
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
การตกผลึก
การตกผลึกการตกผลึก
การตกผลึก
 
สอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายสอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลาย
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
โมล ม.4
โมล ม.4โมล ม.4
โมล ม.4
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202

  • 1. ส่วนในพันส่วน (ppt = part per thousand) คือ ปริมาณตัวละลายในสารละลาย 1,000 ส่วน เช่น สารละลายหนึ่งมีสารหนูเข้มข้น 1 ส่วนในพันส่วน (1 ppt) หมายความว่า สารละลายนั้น 1,000 ส่วน มีสารหนูละลายอยู่ 1 ส่วน ppt = มวลของตัวถูกละลาย ตัวอย่าง ในน้้าดื่ม 450 กรัม มีสารประกอบของปรอทละลายอยู่ 0.0001 กรัม น้้าดื่มนี้ มีความเข้มข้นของสารประกอบของปรอทกี่ส่วนในพันส่วน วิธีท้า ppt = มวลของตัวถูกละลาย ppt = 0.0001 ppt = 0.0000002  103 ppt = 0.0002  น้้าดื่มมีความเข้มข้นของสารประกอบปรอท 0.0002 ส่วนในพันส่วน หรือ 0.0002 ppt ส่วนในล้านส่วน (ppm = part per million) ใบความรู้ เรื่อง ส่วนในพันส่วน (ppt) มวลของสารละลาย  103 มวลของสารละลาย  103 450  103 ใบความรู้ เรื่อง ส่วนในล้านส่วน (ppm)
  • 2. คือ ปริมาณตัวละลายในสารละลาย 1,000,000 ส่วน เช่น น้้าคลองแสนแสบมีสารประกอบปรอทเข้มข้น 0.2 ส่วนในล้านส่วน (0.2 ppm) หมายความว่า น้้า 1,000,000 ส่วน มีสาร ประกอบปรอทละลายอยู่ 0.2 ส่วน 1 ppm = 1 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม (mg/kg) ppm = มวลของตัวถูกละลาย ตัวอย่าง ท้าการวิเคราะห์เนื้อปลา พบว่ามีปรอทปนเปื้อน 0.05 มิลลิกรัมในเนื้อปลา 100 กรัม ปรอทมีความเข้มข้นกี่ ppm วิธีท้า มวลตัวถูกละลาย คือ Hg = 0.05 mg = 0.05  10-3 = 5  10-5 มวลรวมเนื้อปลา = 100 g ppm = มวลของตัวถูกละลาย ppm = 5  10-5 ppm = 0.5 ppm  ในเนื้อปลามีปรอทปนเปื้อนอยู่ 0.5 ส่วนในล้านส่วน หรือ 0.5 ppm ส่วนในพันล้านส่วน (ppb = part per billion) คือ ปริมาณตัวละลายในสารละลาย 1,000,000,000 ส่วน เช่น สารละลายชนิดหนึ่งมีสารประกอบของปรอทเข้มข้น 10 ส่วนใน พันล้านส่วน (10 ppb) มวลของสารละลาย  106 100  106 มวลของสารละลาย  106 ใบความรู้ เรื่อง ส่วนในพันล้านส่วน (ppb)
  • 3. หมายความว่า สารละลายนั้น 1,000,000,000 ส่วน มีส่วนประกอบของปรอท ละลายอยู่ 10 ส่วน 1 ppb = 1 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัม (g/kg) ppb = มวลของตัวถูกละลาย ตัวอย่าง เหล็กกล้าไร้สนิมท่อนหนึ่งมีมวล 120 กรัม ในเหล็กกล้ามีทองแดงอยู่ 0.0006 กรัม ในเหล็กกล้าไร้สนิมมีทองแดงอยู่กี่ส่วนในพันล้านส่วน วิธีท้า ppb = มวลของตัวถูกละลาย ppb = 0.006 ppb = 0.000005  109 ppb = 5,000.00  ในเหล็กกล้ามีทองแดงอยู่ = 5,000.00 ส่วนในพันล้านส่วน หรือ 5,000.00 ppb เมื่อน้าสารละลายที่มีความเข้มข้นค่าหนึ่งมาเติมน้้า (หรือเติมตัวท้าละลาย) ลง ไปอีก จะท้าให้ความเข้มข้นของสารละลายนั้นลดลง เรียกว่า การเจือจางสารละลาย หลักการ : สารละลายที่ถูกเจือจางจะมีเนื้อของตัวถูกละลายอยู่เท่าเดิม สูตรการคานวณ : C1V1 = C2V2 โดยที่ C1 = ความเข้มข้นสารก่อนเจือจาง มวลของสารละลาย  109 120  109 มวลของสารละลาย  109 ใบความรู้เรื่อง การเจือจางสารละลาย (Dilution)
  • 4. C2 = ความเข้มข้นสารหลังเจือจาง V1 = ปริมาตรสารก่อนเจือจาง V2 = ปริมาตรสารหลังเจือจาง ตัวอย่างการค้านวณเรื่องการเจือจางสารละลาย สารละลาย NaCl เข้มข้น 40 โดยมวลต่อปริมาตร จ้านวน 50 ลูกบาศก์ เซนติเมตร เติมน้้าลงไป 500 ลูกบาศก์เซนติเมตร สารละลาย NaCl ที่ได้จะมีความ เข้มข้นกี่เปอร์เซ็นต์โดยมวลต่อปริมาตร วิธีท้า C1 = 40  W/V C2 = ? V1 = 50 cm3 V2 = 500 cm3 จากสูตร C1V1 = C2V2 แทนค่า 40  50 = C2  500 C2 = 40  50 C2 = 4  สารละลาย NaCl ใหม่ที่ได้มีความเข้มข้นร้อยละ 4 โดยมวลต่อปริมาตร เตรียมสารละลายโดยการผสมสารละลายชนิดเดียวกันที่มีความเข้มข้นต่างกัน C1V1 + C2V2 + C3V3 + … = CรวมVรวม เมื่อ C1 , C2 , C3 ,… เป็นความเข้มข้นของสารละลายชนิดที่ 1, 2, 3,… Cรวม เป็นความเข้มข้นของสารละลายสุดท้าย V1 , V2 , V3 ,… เป็นปริมาตรของสารละลายชนิดที่ 1, 2, 3,…ที่น้ามาผสม Vรวม เป็นปริมาตรของสารละลายสุดท้าย ตัวอย่าง 500 ใบความรู้เรื่อง การเตรียมสารละลายโดยการผสมสารละลายเข้าด้วยกัน
  • 5. เมื่อผสมสารละลาย NaCl เข้มข้น 0.1 , 0.2, และ 0.5 mol/dm3 จ้านวน 100, 200 และ 300 cm3 ตามล้าดับ จะได้สารละลายรวมที่มีความเข้มข้นเป็นกี่ mol/dm3 วิธีท้า V1 = 100 V2 = 200 V3 = 300 V = V1 + V2 + V3 C1 = 0.1 C2 = 0.2 C3 = 0.5 V = 600 C1V1 + C2V2 + C3V3 = Cรวม Vรวม (0.1  100) + (0.2  200) + (0.5  300) = Cรวม  600 C = 0.33 mol/dm3 จะได้สารละลายรวมที่มีความเข้มข้น 0.33 mol/dm3