SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
กระบวนการทางเคมีไฟฟ้ า (electrochemical process)
หมายถึงปฏิกิริยาเคมีที่ทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงระหว่าง
พลังงานไฟฟ้ าและพลังงานเคมี ซึ่งมี 2 ประเภท คือ
• spontaneous process เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นได้เอง และ
มีการปลดปล่อยพลังงานไฟฟ้ าออกมาจากปฏิกิริยา
• non-spontaneous process เป็นกระบวนการที่ไม่สามารถเกิดขึ้น
ได้เองและต้องมีการให้พลังงานไฟฟ้ าเพื่อทําให้เกิดปฏิกิริยา
เคมีไฟฟ้ า
2Mg (s) + O2 (g) 2MgO (s)
ปฏิกิริยาเคมีที่ทําให้มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานไฟฟ้ าและเคมีจะ
เกี่ยวข้องกับการถ่ายเทอิเล็กตรอนของสารเคมีที่ เรียกว่า ปฏิกิริยารีดอกซ์
(redox reaction)
โดยสารที่รับอิเล็กตรอนในปฏิกิริยา เรียกว่าตัวออกซิไดซ์ (oxidizing
agent) และ สารให้อิเล็กตรอนเรียกว่า ตัวรีดิวซ์ (reducing agent)
0 0 2+ 2-
oxidantreductant
เลขออกซิเดชันเพิ่มขึ้น เลขออกซิเดชันลดลง
2Mg 2Mg2+ + 4e-
O2 + 4e- 2O2-
Oxidation half-reaction (lose e-)
Reduction half-reaction (gain e-)
เลขออกซิเดชัน
ประจุสมมุตบนอะตอมของธาติในสารประกอบหรือไอออน
เมื่อคิดว่าสารประกอบหรือไอออนนั้นเป็นไอออนิก คือ มีการถ่ายเท
อิเล็กตรอนระหว่างธาตุอย่างสมบูรณ์
1. ธาตุอิสระมีเลขออกซิเดชันเป็น ศูนย์
Na , Be , K , Pb , H2 , O2 , P4 = 0
2. ไอออนของธาตุอะตอมเดียวมีเลขออกซิเดชันเท่ากับประจุ
Li+, Li = +1 ; Fe3+, Fe = +3 ; O2-, O = -2
4. ไฮโดรเจนมีเลขออกซิเดชันเป็น +1 ยกเว้น เมื่อเป็น
สารประกอบไฮไดรด์ของโลหะซึ่งมีเลขออกซิเดชันเป็น –1
• ผลรวมของเลขออกซิเดชันของธาตุทุกตัวในโมเลกุลเป็นศูนย์
หรือ เท่ากับประจุของไอออน
5. โลหะหมู่ IA มีเลขออกซิเดชันเป็น +1, โลหะหมู่ IIA มีเลข
ออกซิเดชันเป็น +2 และฟรูออรีนเป็น –1 เสมอ
3. โดยปกติออกซิเจนอะตอมมีเลขออกซิเดชันเป็น –2 แต่
ออกซิเจนใน H2O2 และ O2
2- เป็น –1

More Related Content

What's hot

บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลJariya Jaiyot
 
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมKittivut Tantivuttiki
 
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาการคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาSaipanya school
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfssuser2feafc1
 
ไอโซโทป ไอโซโทน
ไอโซโทป ไอโซโทนไอโซโทป ไอโซโทน
ไอโซโทป ไอโซโทนkrupatcharee
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสงPinutchaya Nakchumroon
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสWuttipong Tubkrathok
 
บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีWichai Likitponrak
 
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลManchai
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2 2558
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2  2558เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2  2558
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2 2558Sircom Smarnbua
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์สำเร็จ นางสีคุณ
 
เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์
เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์
เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์Wichai Likitponrak
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์oraneehussem
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9tum17082519
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 

What's hot (20)

บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
 
โควาเลนต์
โควาเลนต์โควาเลนต์
โควาเลนต์
 
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
 
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาการคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
 
carbondioxide fixation
carbondioxide fixationcarbondioxide fixation
carbondioxide fixation
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
 
ไอโซโทป ไอโซโทน
ไอโซโทป ไอโซโทนไอโซโทป ไอโซโทน
ไอโซโทป ไอโซโทน
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบส
 
บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมี
 
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2 2558
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2  2558เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2  2558
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2 2558
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์
เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์
เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 

เลขออกซิเดชัน

  • 1. กระบวนการทางเคมีไฟฟ้ า (electrochemical process) หมายถึงปฏิกิริยาเคมีที่ทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงระหว่าง พลังงานไฟฟ้ าและพลังงานเคมี ซึ่งมี 2 ประเภท คือ • spontaneous process เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นได้เอง และ มีการปลดปล่อยพลังงานไฟฟ้ าออกมาจากปฏิกิริยา • non-spontaneous process เป็นกระบวนการที่ไม่สามารถเกิดขึ้น ได้เองและต้องมีการให้พลังงานไฟฟ้ าเพื่อทําให้เกิดปฏิกิริยา เคมีไฟฟ้ า
  • 2. 2Mg (s) + O2 (g) 2MgO (s) ปฏิกิริยาเคมีที่ทําให้มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานไฟฟ้ าและเคมีจะ เกี่ยวข้องกับการถ่ายเทอิเล็กตรอนของสารเคมีที่ เรียกว่า ปฏิกิริยารีดอกซ์ (redox reaction) โดยสารที่รับอิเล็กตรอนในปฏิกิริยา เรียกว่าตัวออกซิไดซ์ (oxidizing agent) และ สารให้อิเล็กตรอนเรียกว่า ตัวรีดิวซ์ (reducing agent) 0 0 2+ 2- oxidantreductant เลขออกซิเดชันเพิ่มขึ้น เลขออกซิเดชันลดลง 2Mg 2Mg2+ + 4e- O2 + 4e- 2O2- Oxidation half-reaction (lose e-) Reduction half-reaction (gain e-)
  • 3. เลขออกซิเดชัน ประจุสมมุตบนอะตอมของธาติในสารประกอบหรือไอออน เมื่อคิดว่าสารประกอบหรือไอออนนั้นเป็นไอออนิก คือ มีการถ่ายเท อิเล็กตรอนระหว่างธาตุอย่างสมบูรณ์ 1. ธาตุอิสระมีเลขออกซิเดชันเป็น ศูนย์ Na , Be , K , Pb , H2 , O2 , P4 = 0 2. ไอออนของธาตุอะตอมเดียวมีเลขออกซิเดชันเท่ากับประจุ Li+, Li = +1 ; Fe3+, Fe = +3 ; O2-, O = -2
  • 4. 4. ไฮโดรเจนมีเลขออกซิเดชันเป็น +1 ยกเว้น เมื่อเป็น สารประกอบไฮไดรด์ของโลหะซึ่งมีเลขออกซิเดชันเป็น –1 • ผลรวมของเลขออกซิเดชันของธาตุทุกตัวในโมเลกุลเป็นศูนย์ หรือ เท่ากับประจุของไอออน 5. โลหะหมู่ IA มีเลขออกซิเดชันเป็น +1, โลหะหมู่ IIA มีเลข ออกซิเดชันเป็น +2 และฟรูออรีนเป็น –1 เสมอ 3. โดยปกติออกซิเจนอะตอมมีเลขออกซิเดชันเป็น –2 แต่ ออกซิเจนใน H2O2 และ O2 2- เป็น –1