SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
          ใบความรู้ที่  10<br />เรื่องกระแสไฟฟ้า               ใช้เวลา    30    นาที<br /> …………………………………………………………………………………………………………..<br />กระแสไฟฟ้าในตัวนำ เกิดขึ้นเมื่อมีประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ในตัวนำนั้น ๆ  เนื่องจากปลายทั้งสองของตัวนำมีความต่างศักย์<br />             <br />        <br />                              A                        B                                    A                       B<br />                       ก่อนต่อกัน                                     ขณะต่อกันด้วยลวดตัวนำ<br />1. ก่อนต่อกัน   แผ่นโลหะของอิเล็กโทรสโคบ A กางออก แสดงว่า อิเล็กโทรสโคบ A มีประจุไฟฟ้า   ศักย์ไฟฟ้าของอิเล็กโทรสโคบ  A   ไม่เท่ากับศูนย์     แผ่นโลหะของอิเล็กโทรสโคบ B หุบแสดงว่าอิเล็กโทรสโคบ  B ไม่มีประจุไฟฟ้า  ศักย์ไฟฟ้าของอิเล็กโทรสโคบ  B  เท่ากับศูนย์<br />2. ขณะที่ต่อจานโลหะของอิเล็กโทรสโคบ A  และอิเล็กโทรสโคบ  B  ด้วยลวดตัวนำ  แผ่นโลหะอิเล็กโทรสโคบ  A  กางออกแต่กางน้อยกว่าเดิมแสดงว่าโลหะอิเล็กโทรสโคบ  A  มีประจุไฟฟ้าลดลง   และแผ่นโลหะของอิเล็กโทรสโคบ  B  ก็กางออกเท่ากับการกางของแผ่นโลหะอิเล็กโทรสโคบ  A  แสดงว่าอิเล็กโทรสโคบ  B  มีประจุไฟฟ้า  ดังนั้น<br />   2.1   ถ้าอิเล็กโทรสโคบ  A  และอิเล็กโทรสโคบ  B  มีความต่างศักย์  เมื่อต่ออิเล็กโทรสโคบ <br />A  และอิเล็กโทรสโคบ  B  ด้วยลวดตัวนำประจุไฟฟ้าจะเคลื่อนที่ระหว่างอิเล็กโทรสโคบทั้งสอง <br />  2. 2   ประจุไฟฟ้าจะหยุดเคลื่อนที่เมื่อศักย์ไฟฟ้าเท่ากัน (   ถ้าอิเล็กโทรสโคบทั้งสองทำจากวัสดุชนิดเดียวกันขนาดเท่ากันความจุย่อมเท่ากัน เมื่อแผ่นโลหะกางออกเท่ากันจึงมีประจุไฟฟ้าเท่ากัน ) <br />แหล่งกำเนิดไฟฟ้า   คือเครื่องมือที่เปลี่ยนพลังงานรูปอื่นเป็นพลังงานไฟฟ้า  แหล่งกำเนิดไฟฟ้าที่เกี่ยวข้องในชีวิตประจำวันได้แก่   เซลล์ไฟฟ้าเคมี  ,   เครื่องกำเนิดไฟฟ้า ( Dynamo  )   เซลล์สุริยะ    <br />( Solar  cell )   ,  คู่ควบความร้อน ( Thermo couple ) ,   แหล่งกำเนิดไฟฟ้าจากสิ่งมีชีวิต     ฯ<br />1. เซลล์ไฟฟ้าเคมี   เป็นแหล่งกำเนิดไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานเคมีเป็นพลังงานไฟฟ้า     มีขั้วบวกและขั้วลบ กระแสไฟฟ้าเกิดจากปฏิกิริยาเคมีทำให้เกิดความต่างศักย์ระหว่างขั้วเซลล์แบ่งเป็น 2 ชนิด<br />   1.1  เซลล์ปฐมภูมิ  เมื่อใช้ไปนาน ๆ ความต่างศักย์<br />จะลดลงจนใช้ไม่ได้และต้องทิ้งไปได้แก่ <br />      1.1.1 เซลล์แบบ สังกะสี-คาร์บอน  มีความต่างศักย์<br />ระหว่างขั้วเซลล์ 1.5 , 9  โวลต์   มีรูปร่างทรงกระบอก , สี่เหลี่ยม <br />ใช้กับ  ไฟฉาย  วิทยุ  นาฬิกา  เป็นชนิดที่ใช้กันทั่วไป   ราคาถูก<br />อายุใช้งานสั้น  <br />              <br />    รูป  10.3<br />                                                                                                                                                                                                                         <br />                     <br />      1.1.2 เซลล์แบบอัลคาไลน์  มีความต่างศักย์ระหว่างขั้วเซลล์ 1.5 โวลต์ , 9  โวลต์   มีรูปร่างทรงกระบอก  ,  สี่เหลี่ยม  ,  กลมแบน   ใช้กับ  วิทยุกล้องถ่ายรูป  เครื่องคิดเลข อายุการใช้งานยาวนานกว่า  แบบเซลล์แบบ สังกะสี-คาร์บอน 2-7 เท่า<br />       1.1.3 เซลล์แบบลิเธียม   มีความต่างศักย์ระหว่างขั้วเซลล์   2.9 โวลต์  ,  3.7 โวลต์ มีรูปร่าง กลมแบน  ใช้กับกล้องถ่ายรูป นาฬิกาข้อมือ  เครื่องกระตุ้นหัวใจ  อายุยาวนานหลายปีถึงมากกว่า  10 ปี <br /> <br />  1.2  เซลล์ทุติยภูมิ  เมื่อใช้ไประยะหนึ่ง  สามารถ<br />ทำให้ความต่างศักย์ระหว่างขั้วเซลล์เพิ่มขึ้นดังเดิม โดยการอัดไฟ <br /> ได้แก่<br />   1.2.1 เซลล์แบบ Ni - Cd  ( นิกเกิล-แคดเมียม )  <br />มีความต่างศักย์ประมาณเซลล์ละ 1.2 โวลต์ , 9  โวลต์   มีรูปร่าง<br />ทรงกระบอก  ,  สี่เหลี่ยม   ใช้กับไขควงไฟฟ้า  ,    เครื่องคิดเลข  <br />วิทยุ    ของเล่น<br />   1.2.2 เซลล์แบบ Ni - Mh ( นิกเกิล-มีทัลไฮไดร ) <br />มีความต่างศักย์ประมาณเซลล์ละ 1.2 โวลต์  , 9  โวลต์   มีรูปร่างทรงกระบอก  ,  สี่เหลี่ยม   ใช้กับกล้องถ่ายรูปดิจิตอล   แฟลช  ของเล่น  <br />    1.2.3 เซลล์แบบ Li-ion ( ลิเทียม- ไอออน )  มีความต่างศักย์ประมาณเซลล์ละ 1.2 โวลต์  <br />ใช้กับ   กล้องถ่ายรูป   โทรศัพท์มือถือ   กล้องโทรทัศน์<br />    1.2.4 เซลล์แบบ  ตะกั่ว-กรดกำมะถัน  มีความต่างศักย์  2  , 6  , 12  ,  24 โวลต์  ใช้กับ<br />รถจักรยานยนต์    รถยนต์    รถไฟ  เรือดำน้ำ  เครื่องยนต์ทั่วไป   อายุการใช้งานประมาณ  1-5  ปี<br />ขั้วบวกทำด้วย  PbO2   ขั้วลบทำด้วย  Pb  <br />ขั้วลบจะเป็นร่องพรุน ๆ เพื่อให้ทำปฏิกิริยากับ<br />สารละลายกรดได้มากขึ้นแผ่น PbO2 และ Pb  ทำ<br />ซ้อนกันหลายแผ่นและมีฉนวนขั้นอยู่ทั้งหมด<br />จุ่มอยู่ในสารละลาย H2SO4เจือจางดังรูป 10.5         รูป 10.5ก   การใช้ไฟ      รูป  10.5ข     การอัดไฟ<br />1.   สารละลาย  H2SO4  แตกตัวเป็นอิออน  2H+  และ  SO4- -  <br />2.   ตะกั่วละลายในสารละลายได้  Pb++ ทิ้งอิเล็กตรอนไว้ในแผ่นตะกั่ว   แผ่นตะกั่วจึงได้รับ<br />     อิเล็กตรอนจากการละลายกลายเป็น   Pb++  จึงเป็นขั้วลบ<br />3.   SO4- -ที่เกิดจากการแยกตัวของกรด  เคลื่อนที่มาที่แผ่นตะกั่ว Pb++ทำปฏิกิริยากับ Pb++  ได้<br />      ตะกั่ว  PbSO4    <br />            2Pb  +  2H2SO4                                     2PbSO4 + 2H2                 <br />4.  เมื่อต่ออุปกรณ์ไฟฟ้าเข้ากับขั้วทั้งสองของแบตเตอรี่    อิเล็กตรอนจากแผ่นตะกั่วจะเคลื่อนที่<br />      ผ่านอุปกรณ์ไฟฟ้ามายังแผ่น  PbO2 ดังนั้น PbO2จึงเป็นขั้วบวกทำให้ อิออน H+ ไปรวมกันที่<br />      แผ่น PbO2 รับอิเล็กตรอนจาก   PbO2  กลายเป็นก๊าซไฮโดรเจน  ทำปฏิกิริยาดังสมการ     <br />           PbO2 +  H2SO4 +  2H2                        PbSO4 + 2H2O                  <br />จะเห็นว่าเมื่อเซลล์จ่ายกระแสไปนาน ๆ  แผ่นทั้งสองจะกลายเป็นตะกั่ว  PbSO4   เกาะแข็งที่ขั้วเป็นคราบสีขาว   และความถ่วงจำเพาะของกรดจะลดลงจนถึงประมาณ  1.17  จึงควรอัดไฟใหม่    <br />การอัดไฟ คือการนำเซลล์ทุติยภูมิไปต่อ<br />กับแหล่งกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรงที่มีแรงเคลื่อน<br />สูงกว่า   โดยขั้วบวกต่อกับบวกขั้วลบต่อกับลบ<br />การอัดไฟเซลล์แบบ ตะกั่ว-กรดมะถันรูป 10.5ข     <br />คือการปล่อยกระแสไฟฟ้าจากเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรงเข้าทางขั้วบวกและออกทางขั้วลบ<br />  แผ่นขั้วบวก  O2  ที่เกิดจากการที่กระแสไฟฟ้าผ่าน  H2SO4     ทำปฏิกิริยากับ  PbSO4  <br />          PbSO4 + O2 + H2O                     PbO2+ H2SO4<br /> แผ่นขั้วลบ   H2   ที่เกิดจากการที่กระแสไฟฟ้าผ่าน  H2SO4      ทำปฏิกิริยากับ  PbSO4  <br />         PbSO4 +  H2                        Pb + H2SO4<br />แผ่นขั้วบวกและขั้วลบจะเปลี่ยนเป็น  PbO2 และ Pb ดังเดิม ความถ่วงจำเพาะของกรดจะเพิ่มขึ้นเป็นประมาณ1.21 เซลล์จะจ่ายไฟได้ดังเดิมเมื่อใช้แบตเตอรี่ระดับของสารละลายในแบตเตอรี่จะลดต่ำลงเนื่องจากน้ำกลายเป็นไอหรือเปลี่ยนเป็นก๊าซทำให้สารละลายมีความเข้มข้นสูงขึ้นจึงควรเติมน้ำกลั่น <br />รักษาความเข้มข้นให้พอดี    <br />2. เครื่องกำเนิดไฟฟ้า ( Dynamo )    เป็นเครื่องมือที่<br />เปลี่ยนพลังงานกลเป็นพลังงานไฟฟ้าอาศัยหลักการเหนี่ยวนำ<br />แม่เหล็กไฟฟ้า     โดยหมุนขดลวดตัวนำตัดกับสนามแม่เหล็ก<br />หรือหมุนแม่เหล็กให้สนามแม่เหล็กตัดขดลวดตัวนำ  ปริมาณ<br />พลังงานไฟฟ้าที่เกิดขึ้นจากเครื่องกำเนิดไฟฟ้าขึ้นกับปริมาณ<br />ของพลังงานกลที่เครื่องกำเนิดไฟฟ้าได้รับ<br />3. เซลล์สุริยะ  เป็นแหล่งกำเนิดไฟฟ้าที่<br />เปลี่ยนพลังงานแสงเป็นพลังงานไฟฟ้าใช้สมบัติ<br />ของสารกึ่งตัวนำเช่นซิลิคอน หรือ เซเลเนียม        <br />ธาตุเหล่านี้เมื่อถูกแสงจะเกิดศักย์ไฟฟ้าขึ้นทำให้<br />สามารถเปลี่ยนพลังงานแสงเป็นพลังงานไฟฟ้า  <br />ปริมาณไฟฟ้าที่เกิดขึ้นจากเซลล์สุริยะขึ้นกับ<br />ปริมาณของแสงที่ตกกระทบ                                                                             รูป 10.7<br />4. แหล่งกำเนิดไฟฟ้าจากสิ่งมีชีวิต   เป็นแหล่งกำเนิดไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานเคมีเป็นพลังงานไฟฟ้า   เช่นปลาไหล หัวปลาไหลมีศักย์ไฟฟ้าเป็นบวก   หางมีศักย์ไฟฟ้าเป็นลบ นอกจากนี้ทุกทุกครั้ง<br />ที่หัวใจเต้นจะมีความต่างศักย์ระหว่างจุดสองจุดในร่างกาย<br />5. คู่ควบความร้อน  เป็นแหล่งกำเนิดไฟฟ้าที่เปลี่ยน<br />พลังงานความร้อนเป็นพลังงานไฟฟ้า  ทำจากโลหะสองชนิด<br />ที่ต่างกันอาศัยผลต่างของอุณหภูมิของปลายทั้งสองที่ต่อกัน<br />เช่น ทองแดงและเหล็กและทำให้อุณหภูมิของปลายทั้งสอง<br />ต่างกันดังรูป 10.8    จะพบว่ามีกระแสไฟฟ้าเกิดขึ้นเล็กน้อย<br />โดยสังเกตได้จากการเบนของเข็มแอมมิเตอร์          แสดงว่า รูป 10.8<br />ความต่างของอุณหภูมิทำให้เกิดกระแสไฟฟ้าได้แหล่งกำเนิดไฟฟ้าดังกล่าวเรียกว่า  คู่ควบความร้อน  <br /> ความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างทองแดงและเหล็กมีค่าประมาณ  7  ไมโครโวลต์ต่อองศาเซลเซียส<br />ความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างพลวงและบิสมัธมีค่าประมาณ 100  ไมโครโวลต์ต่อองศาเซลเซียส<br /> ถ้าเพิ่มความต่างของอุณหภูมิระหว่างปลายทั้งสองของคู่ควบความร้อนให้มากขึ้น  พบว่ามีความต่างศักย์ไฟฟ้าสูงขึ้น  จึงสามารถนำคู่ควบความร้อนทำเทอร์มอมิเตอร์ได้  <br />
10.1 dynamo 2
10.1 dynamo 2
10.1 dynamo 2
10.1 dynamo 2
10.1 dynamo 2
10.1 dynamo 2

More Related Content

What's hot

ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสWorrachet Boonyong
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf0841766393
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีPhasitta Chem
 
เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกkkrunuch
 
ข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคkhunJang Jop Jop
 
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2MaloNe Wanger
 
ทฤษฏีอะตอมของโบร์
ทฤษฏีอะตอมของโบร์ทฤษฏีอะตอมของโบร์
ทฤษฏีอะตอมของโบร์npichaaaaa
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าpeerada55
 
งานว ทย 2
งานว ทย 2งานว ทย 2
งานว ทย 2thanawan302
 
งานนำวิทยาศาตร์
งานนำวิทยาศาตร์งานนำวิทยาศาตร์
งานนำวิทยาศาตร์Thananato Jaiyuen
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าthanawan302
 
งานวิทย์
งานวิทย์งานวิทย์
งานวิทย์thanawan302
 
งานวิทย์
งานวิทย์งานวิทย์
งานวิทย์thanawan302
 

What's hot (19)

การนำไฟฟ้า (Conductivity)
การนำไฟฟ้า (Conductivity)การนำไฟฟ้า (Conductivity)
การนำไฟฟ้า (Conductivity)
 
แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (Electric source)
แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (Electric source)แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (Electric source)
แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (Electric source)
 
Electrochem 1
Electrochem 1Electrochem 1
Electrochem 1
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแส
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมี
 
Electric chem8
Electric chem8Electric chem8
Electric chem8
 
เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิก
 
ข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาค
 
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
 
ทฤษฏีอะตอมของโบร์
ทฤษฏีอะตอมของโบร์ทฤษฏีอะตอมของโบร์
ทฤษฏีอะตอมของโบร์
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
งานว ทย 2
งานว ทย 2งานว ทย 2
งานว ทย 2
 
งานนำวิทยาศาตร์
งานนำวิทยาศาตร์งานนำวิทยาศาตร์
งานนำวิทยาศาตร์
 
Circuit analysis test
Circuit analysis testCircuit analysis test
Circuit analysis test
 
กระแสไฟฟ้า (Electric current)2
กระแสไฟฟ้า (Electric current)2กระแสไฟฟ้า (Electric current)2
กระแสไฟฟ้า (Electric current)2
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
งานวิทย์
งานวิทย์งานวิทย์
งานวิทย์
 
งานวิทย์
งานวิทย์งานวิทย์
งานวิทย์
 

Viewers also liked

The Value of Working with an Event Management Company
The Value of Working with an Event Management CompanyThe Value of Working with an Event Management Company
The Value of Working with an Event Management Companyapplesncookie
 
Hilux Rollover Protection System
Hilux Rollover Protection SystemHilux Rollover Protection System
Hilux Rollover Protection Systempjmotors
 
Landcruiser Rollover Protection System
Landcruiser Rollover Protection SystemLandcruiser Rollover Protection System
Landcruiser Rollover Protection Systempjmotors
 
Vcww.org ph red_2014
Vcww.org ph red_2014Vcww.org ph red_2014
Vcww.org ph red_2014LANJr4D
 
Pres blum persyvact_04032015
Pres blum persyvact_04032015Pres blum persyvact_04032015
Pres blum persyvact_04032015Michael Blum
 
Grenoble 2011 galtier
Grenoble 2011 galtierGrenoble 2011 galtier
Grenoble 2011 galtierMichael Blum
 
3. html5 미디어쿼리
3. html5 미디어쿼리3. html5 미디어쿼리
3. html5 미디어쿼리은심 강
 

Viewers also liked (13)

The Value of Working with an Event Management Company
The Value of Working with an Event Management CompanyThe Value of Working with an Event Management Company
The Value of Working with an Event Management Company
 
Inst techpp
Inst techppInst techpp
Inst techpp
 
Amazing Roads of the World
Amazing Roads of the WorldAmazing Roads of the World
Amazing Roads of the World
 
Patrick+notley
Patrick+notleyPatrick+notley
Patrick+notley
 
Exquisite pictures
Exquisite picturesExquisite pictures
Exquisite pictures
 
Incredible Beauty
Incredible BeautyIncredible Beauty
Incredible Beauty
 
Hilux Rollover Protection System
Hilux Rollover Protection SystemHilux Rollover Protection System
Hilux Rollover Protection System
 
Landcruiser Rollover Protection System
Landcruiser Rollover Protection SystemLandcruiser Rollover Protection System
Landcruiser Rollover Protection System
 
Vcww.org ph red_2014
Vcww.org ph red_2014Vcww.org ph red_2014
Vcww.org ph red_2014
 
Pres blum persyvact_04032015
Pres blum persyvact_04032015Pres blum persyvact_04032015
Pres blum persyvact_04032015
 
Grenoble 2011 galtier
Grenoble 2011 galtierGrenoble 2011 galtier
Grenoble 2011 galtier
 
3. html5 미디어쿼리
3. html5 미디어쿼리3. html5 미디어쿼리
3. html5 미디어쿼리
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 

Similar to 10.1 dynamo 2

พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์Muk52
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์Muk52
 
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3Mew Meww
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.PdfKanoknat Kaosim
 
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]numpueng
 
งานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้างานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้าSarun Boonwong
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้าเรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์Tutor Ferry
 
พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)Nontawat Rupsung
 
พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)Nontawat Rupsung
 
โครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าโครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าrattanapon
 
covelent_bond
covelent_bondcovelent_bond
covelent_bondShe's Bee
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1Wijitta DevilTeacher
 

Similar to 10.1 dynamo 2 (20)

พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์
 
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
 
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
 
งานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้างานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
Lesson16
Lesson16Lesson16
Lesson16
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
 
สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์
 
514 102 electric 53
514 102 electric 53514 102 electric 53
514 102 electric 53
 
514 102 electric 53
514 102 electric 53514 102 electric 53
514 102 electric 53
 
พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)
 
พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)
 
Physics atom part 1
Physics atom part 1Physics atom part 1
Physics atom part 1
 
โครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าโครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้า
 
covelent_bond
covelent_bondcovelent_bond
covelent_bond
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
 
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
Atom semiconductor
Atom semiconductorAtom semiconductor
Atom semiconductor
 

10.1 dynamo 2

  • 1. ใบความรู้ที่ 10<br />เรื่องกระแสไฟฟ้า ใช้เวลา 30 นาที<br /> …………………………………………………………………………………………………………..<br />กระแสไฟฟ้าในตัวนำ เกิดขึ้นเมื่อมีประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ในตัวนำนั้น ๆ เนื่องจากปลายทั้งสองของตัวนำมีความต่างศักย์<br /> <br /> <br /> A B A B<br /> ก่อนต่อกัน ขณะต่อกันด้วยลวดตัวนำ<br />1. ก่อนต่อกัน แผ่นโลหะของอิเล็กโทรสโคบ A กางออก แสดงว่า อิเล็กโทรสโคบ A มีประจุไฟฟ้า ศักย์ไฟฟ้าของอิเล็กโทรสโคบ A ไม่เท่ากับศูนย์ แผ่นโลหะของอิเล็กโทรสโคบ B หุบแสดงว่าอิเล็กโทรสโคบ B ไม่มีประจุไฟฟ้า ศักย์ไฟฟ้าของอิเล็กโทรสโคบ B เท่ากับศูนย์<br />2. ขณะที่ต่อจานโลหะของอิเล็กโทรสโคบ A และอิเล็กโทรสโคบ B ด้วยลวดตัวนำ แผ่นโลหะอิเล็กโทรสโคบ A กางออกแต่กางน้อยกว่าเดิมแสดงว่าโลหะอิเล็กโทรสโคบ A มีประจุไฟฟ้าลดลง และแผ่นโลหะของอิเล็กโทรสโคบ B ก็กางออกเท่ากับการกางของแผ่นโลหะอิเล็กโทรสโคบ A แสดงว่าอิเล็กโทรสโคบ B มีประจุไฟฟ้า ดังนั้น<br /> 2.1 ถ้าอิเล็กโทรสโคบ A และอิเล็กโทรสโคบ B มีความต่างศักย์ เมื่อต่ออิเล็กโทรสโคบ <br />A และอิเล็กโทรสโคบ B ด้วยลวดตัวนำประจุไฟฟ้าจะเคลื่อนที่ระหว่างอิเล็กโทรสโคบทั้งสอง <br /> 2. 2 ประจุไฟฟ้าจะหยุดเคลื่อนที่เมื่อศักย์ไฟฟ้าเท่ากัน ( ถ้าอิเล็กโทรสโคบทั้งสองทำจากวัสดุชนิดเดียวกันขนาดเท่ากันความจุย่อมเท่ากัน เมื่อแผ่นโลหะกางออกเท่ากันจึงมีประจุไฟฟ้าเท่ากัน ) <br />แหล่งกำเนิดไฟฟ้า คือเครื่องมือที่เปลี่ยนพลังงานรูปอื่นเป็นพลังงานไฟฟ้า แหล่งกำเนิดไฟฟ้าที่เกี่ยวข้องในชีวิตประจำวันได้แก่ เซลล์ไฟฟ้าเคมี , เครื่องกำเนิดไฟฟ้า ( Dynamo ) เซลล์สุริยะ <br />( Solar cell ) , คู่ควบความร้อน ( Thermo couple ) , แหล่งกำเนิดไฟฟ้าจากสิ่งมีชีวิต ฯ<br />1. เซลล์ไฟฟ้าเคมี เป็นแหล่งกำเนิดไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานเคมีเป็นพลังงานไฟฟ้า มีขั้วบวกและขั้วลบ กระแสไฟฟ้าเกิดจากปฏิกิริยาเคมีทำให้เกิดความต่างศักย์ระหว่างขั้วเซลล์แบ่งเป็น 2 ชนิด<br /> 1.1 เซลล์ปฐมภูมิ เมื่อใช้ไปนาน ๆ ความต่างศักย์<br />จะลดลงจนใช้ไม่ได้และต้องทิ้งไปได้แก่ <br /> 1.1.1 เซลล์แบบ สังกะสี-คาร์บอน มีความต่างศักย์<br />ระหว่างขั้วเซลล์ 1.5 , 9 โวลต์ มีรูปร่างทรงกระบอก , สี่เหลี่ยม <br />ใช้กับ ไฟฉาย วิทยุ นาฬิกา เป็นชนิดที่ใช้กันทั่วไป ราคาถูก<br />อายุใช้งานสั้น <br /> <br /> รูป 10.3<br /> <br /> <br /> 1.1.2 เซลล์แบบอัลคาไลน์ มีความต่างศักย์ระหว่างขั้วเซลล์ 1.5 โวลต์ , 9 โวลต์ มีรูปร่างทรงกระบอก , สี่เหลี่ยม , กลมแบน ใช้กับ วิทยุกล้องถ่ายรูป เครื่องคิดเลข อายุการใช้งานยาวนานกว่า แบบเซลล์แบบ สังกะสี-คาร์บอน 2-7 เท่า<br /> 1.1.3 เซลล์แบบลิเธียม มีความต่างศักย์ระหว่างขั้วเซลล์ 2.9 โวลต์ , 3.7 โวลต์ มีรูปร่าง กลมแบน ใช้กับกล้องถ่ายรูป นาฬิกาข้อมือ เครื่องกระตุ้นหัวใจ อายุยาวนานหลายปีถึงมากกว่า 10 ปี <br /> <br /> 1.2 เซลล์ทุติยภูมิ เมื่อใช้ไประยะหนึ่ง สามารถ<br />ทำให้ความต่างศักย์ระหว่างขั้วเซลล์เพิ่มขึ้นดังเดิม โดยการอัดไฟ <br /> ได้แก่<br /> 1.2.1 เซลล์แบบ Ni - Cd ( นิกเกิล-แคดเมียม ) <br />มีความต่างศักย์ประมาณเซลล์ละ 1.2 โวลต์ , 9 โวลต์ มีรูปร่าง<br />ทรงกระบอก , สี่เหลี่ยม ใช้กับไขควงไฟฟ้า , เครื่องคิดเลข <br />วิทยุ ของเล่น<br /> 1.2.2 เซลล์แบบ Ni - Mh ( นิกเกิล-มีทัลไฮไดร ) <br />มีความต่างศักย์ประมาณเซลล์ละ 1.2 โวลต์ , 9 โวลต์ มีรูปร่างทรงกระบอก , สี่เหลี่ยม ใช้กับกล้องถ่ายรูปดิจิตอล แฟลช ของเล่น <br /> 1.2.3 เซลล์แบบ Li-ion ( ลิเทียม- ไอออน ) มีความต่างศักย์ประมาณเซลล์ละ 1.2 โวลต์ <br />ใช้กับ กล้องถ่ายรูป โทรศัพท์มือถือ กล้องโทรทัศน์<br /> 1.2.4 เซลล์แบบ ตะกั่ว-กรดกำมะถัน มีความต่างศักย์ 2 , 6 , 12 , 24 โวลต์ ใช้กับ<br />รถจักรยานยนต์ รถยนต์ รถไฟ เรือดำน้ำ เครื่องยนต์ทั่วไป อายุการใช้งานประมาณ 1-5 ปี<br />ขั้วบวกทำด้วย PbO2 ขั้วลบทำด้วย Pb <br />ขั้วลบจะเป็นร่องพรุน ๆ เพื่อให้ทำปฏิกิริยากับ<br />สารละลายกรดได้มากขึ้นแผ่น PbO2 และ Pb ทำ<br />ซ้อนกันหลายแผ่นและมีฉนวนขั้นอยู่ทั้งหมด<br />จุ่มอยู่ในสารละลาย H2SO4เจือจางดังรูป 10.5 รูป 10.5ก การใช้ไฟ รูป 10.5ข การอัดไฟ<br />1. สารละลาย H2SO4 แตกตัวเป็นอิออน 2H+ และ SO4- - <br />2. ตะกั่วละลายในสารละลายได้ Pb++ ทิ้งอิเล็กตรอนไว้ในแผ่นตะกั่ว แผ่นตะกั่วจึงได้รับ<br /> อิเล็กตรอนจากการละลายกลายเป็น Pb++ จึงเป็นขั้วลบ<br />3. SO4- -ที่เกิดจากการแยกตัวของกรด เคลื่อนที่มาที่แผ่นตะกั่ว Pb++ทำปฏิกิริยากับ Pb++ ได้<br /> ตะกั่ว PbSO4 <br /> 2Pb + 2H2SO4 2PbSO4 + 2H2 <br />4. เมื่อต่ออุปกรณ์ไฟฟ้าเข้ากับขั้วทั้งสองของแบตเตอรี่ อิเล็กตรอนจากแผ่นตะกั่วจะเคลื่อนที่<br /> ผ่านอุปกรณ์ไฟฟ้ามายังแผ่น PbO2 ดังนั้น PbO2จึงเป็นขั้วบวกทำให้ อิออน H+ ไปรวมกันที่<br /> แผ่น PbO2 รับอิเล็กตรอนจาก PbO2 กลายเป็นก๊าซไฮโดรเจน ทำปฏิกิริยาดังสมการ <br /> PbO2 + H2SO4 + 2H2 PbSO4 + 2H2O <br />จะเห็นว่าเมื่อเซลล์จ่ายกระแสไปนาน ๆ แผ่นทั้งสองจะกลายเป็นตะกั่ว PbSO4 เกาะแข็งที่ขั้วเป็นคราบสีขาว และความถ่วงจำเพาะของกรดจะลดลงจนถึงประมาณ 1.17 จึงควรอัดไฟใหม่ <br />การอัดไฟ คือการนำเซลล์ทุติยภูมิไปต่อ<br />กับแหล่งกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรงที่มีแรงเคลื่อน<br />สูงกว่า โดยขั้วบวกต่อกับบวกขั้วลบต่อกับลบ<br />การอัดไฟเซลล์แบบ ตะกั่ว-กรดมะถันรูป 10.5ข <br />คือการปล่อยกระแสไฟฟ้าจากเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรงเข้าทางขั้วบวกและออกทางขั้วลบ<br /> แผ่นขั้วบวก O2 ที่เกิดจากการที่กระแสไฟฟ้าผ่าน H2SO4 ทำปฏิกิริยากับ PbSO4 <br /> PbSO4 + O2 + H2O PbO2+ H2SO4<br /> แผ่นขั้วลบ H2 ที่เกิดจากการที่กระแสไฟฟ้าผ่าน H2SO4 ทำปฏิกิริยากับ PbSO4 <br /> PbSO4 + H2 Pb + H2SO4<br />แผ่นขั้วบวกและขั้วลบจะเปลี่ยนเป็น PbO2 และ Pb ดังเดิม ความถ่วงจำเพาะของกรดจะเพิ่มขึ้นเป็นประมาณ1.21 เซลล์จะจ่ายไฟได้ดังเดิมเมื่อใช้แบตเตอรี่ระดับของสารละลายในแบตเตอรี่จะลดต่ำลงเนื่องจากน้ำกลายเป็นไอหรือเปลี่ยนเป็นก๊าซทำให้สารละลายมีความเข้มข้นสูงขึ้นจึงควรเติมน้ำกลั่น <br />รักษาความเข้มข้นให้พอดี <br />2. เครื่องกำเนิดไฟฟ้า ( Dynamo ) เป็นเครื่องมือที่<br />เปลี่ยนพลังงานกลเป็นพลังงานไฟฟ้าอาศัยหลักการเหนี่ยวนำ<br />แม่เหล็กไฟฟ้า โดยหมุนขดลวดตัวนำตัดกับสนามแม่เหล็ก<br />หรือหมุนแม่เหล็กให้สนามแม่เหล็กตัดขดลวดตัวนำ ปริมาณ<br />พลังงานไฟฟ้าที่เกิดขึ้นจากเครื่องกำเนิดไฟฟ้าขึ้นกับปริมาณ<br />ของพลังงานกลที่เครื่องกำเนิดไฟฟ้าได้รับ<br />3. เซลล์สุริยะ เป็นแหล่งกำเนิดไฟฟ้าที่<br />เปลี่ยนพลังงานแสงเป็นพลังงานไฟฟ้าใช้สมบัติ<br />ของสารกึ่งตัวนำเช่นซิลิคอน หรือ เซเลเนียม <br />ธาตุเหล่านี้เมื่อถูกแสงจะเกิดศักย์ไฟฟ้าขึ้นทำให้<br />สามารถเปลี่ยนพลังงานแสงเป็นพลังงานไฟฟ้า <br />ปริมาณไฟฟ้าที่เกิดขึ้นจากเซลล์สุริยะขึ้นกับ<br />ปริมาณของแสงที่ตกกระทบ รูป 10.7<br />4. แหล่งกำเนิดไฟฟ้าจากสิ่งมีชีวิต เป็นแหล่งกำเนิดไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานเคมีเป็นพลังงานไฟฟ้า เช่นปลาไหล หัวปลาไหลมีศักย์ไฟฟ้าเป็นบวก หางมีศักย์ไฟฟ้าเป็นลบ นอกจากนี้ทุกทุกครั้ง<br />ที่หัวใจเต้นจะมีความต่างศักย์ระหว่างจุดสองจุดในร่างกาย<br />5. คู่ควบความร้อน เป็นแหล่งกำเนิดไฟฟ้าที่เปลี่ยน<br />พลังงานความร้อนเป็นพลังงานไฟฟ้า ทำจากโลหะสองชนิด<br />ที่ต่างกันอาศัยผลต่างของอุณหภูมิของปลายทั้งสองที่ต่อกัน<br />เช่น ทองแดงและเหล็กและทำให้อุณหภูมิของปลายทั้งสอง<br />ต่างกันดังรูป 10.8 จะพบว่ามีกระแสไฟฟ้าเกิดขึ้นเล็กน้อย<br />โดยสังเกตได้จากการเบนของเข็มแอมมิเตอร์ แสดงว่า รูป 10.8<br />ความต่างของอุณหภูมิทำให้เกิดกระแสไฟฟ้าได้แหล่งกำเนิดไฟฟ้าดังกล่าวเรียกว่า คู่ควบความร้อน <br /> ความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างทองแดงและเหล็กมีค่าประมาณ 7 ไมโครโวลต์ต่อองศาเซลเซียส<br />ความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างพลวงและบิสมัธมีค่าประมาณ 100 ไมโครโวลต์ต่อองศาเซลเซียส<br /> ถ้าเพิ่มความต่างของอุณหภูมิระหว่างปลายทั้งสองของคู่ควบความร้อนให้มากขึ้น พบว่ามีความต่างศักย์ไฟฟ้าสูงขึ้น จึงสามารถนำคู่ควบความร้อนทำเทอร์มอมิเตอร์ได้ <br />