SlideShare a Scribd company logo
1 of 41
Download to read offline
หน้า :: 1
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
หน้า :: 2
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es รายวิชาเคมี 3 เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยา
เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีและพลังงานกับการ
ดาเนินไปของปฏิกิริยาเคมี จัดทาขึ้นเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน และยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนของผู้เรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เป็นนวัตกรรมทางการศึกษาที่จัดกิจกรรมให้
ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ตามความสามารถและความสนใจ มีอิสระในการคิด ทุกคนมีโอกาส
ใช้ความคิดอย่างเต็มที่ โดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ซึ่งชุดกิจกรรมนี้ จะช่วยให้ใช้เวลา
น้อยลงในการนาเสนอข้อมูลต่างๆ สามารถประกอบกิจกรรมการเรียนด้วยตนเองมากกว่าที่จะให้ครู
บอกหรือกาหนดให้ โดยครูเป็นผู้สร้างโอกาสทางการเรียนการสอน มีกิจกรรมให้กับนักเรียนเป็น
รายบุคคล หรือรายกลุ่ม ซึ่งผู้เรียนจะดาเนินกิจกรรมการเรียนรู้ จากคาแนะนาที่ปรากฏอยู่ในชุด
กิจกรรมเป็นไปตามลาดับขั้นด้วยตนเอง สอดคล้องกับธรรมชาติของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา และ
ตอบสนองกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้รับ
การพัฒนา ทั้งด้านความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา
ความสามารถในการสื่อสาร การตัดสินใจ การนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวันตลอดจนมีจิตวิทยา
ศาสตร์ คุณธรรมและค่านิยมที่ถูกต้องเหมาะสม ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es
รายวิชาเคมี 3 เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ประกอบด้วยชุดกิจกรรม
การเรียนรู้ ทั้งหมดจานวน 7 เล่ม เล่มนี้เป็นเล่มที่ 3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี และ
พลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยา ใช้เวลา 2 ชั่วโมง
หวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดกิจกรรมกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es เล่มนี้จะเป็น
ประโยชน์ต่อการพัฒนาผู้เรียนและส่งเสริมให้ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ
เป็นส่วนสาคัญในการพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ขอขอบพระคุณ นายมงคล อติอนุวรรตน์ ผู้อานวยการโรงเรียนซาสูงพิทยาคม
คณะผู้เชี่ยวชาญทั้ง 5 ท่าน ตลอดจนผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่านที่ตรวจสอบ ให้ข้อเสนอแนะ ในการ
ปรับปรุงเพื่อการแก้ไขชุดกิจกรรมกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es ให้มีความสมบูรณ์อัน
ส่งผลให้ชุดกิจกรรมนี้มีประสิทธิภาพ และสาเร็จลุล่วงได้ด้วยดีไว้ ณ โอกาสนี้
ธิชารัศมิ์ ศรีบุญเรือง
คานา
ก
หน้า :: 3
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
หน้า
คานา……………………………………………………………………………………………………………….… ก
สารบัญ............................................................................................................................. ข
คาชี้แจงการใช้กิจกรรมการเรียนรู้.................................................................................... 1
คาแนะนาการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้............................................................................ 2
บทบาทของนักเรียน......................................................................................................... 3
ลาดับขั้นตอนการศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es............................ 4
ส่วนประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es............ 5
ผังมโนทัศน์การเรียนรู้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es............................... 6
สาระสาคัญ / สาระการเรียนรู้ / มาตรฐานการเรียนรู้.................................................. 7
ผลการเรียนรู้ / จุดประสงค์การเรียนรู้............................................................................. 8
แบบทดสอบก่อนเรียน ................................................................................................... 9
กระดาษคาตอบแบบทดสอบก่อนเรียน ........................................................................... 12
กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 สร้างความสนใจ (Engage)
- กิจกรรมทดลอง 3.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี............................................... 13
ขั้นที่ 2 สารวจและค้นหา (Explore)
- ใบความรู้ 3.1 แนวคิดการเกิดปฏิกิริยาเคมีและพลังงานกับการดาเนินไป
ของปฏิกิริยาเคมี.....................................................................................
- ใบงาน 3.1 แนวคิดการเกิดปฏิกิริยาเคมีและพลังงานกับการดาเนินไป
ของปฏิกิริยาเคมี.......................................................................................
15
23
ขั้นที่ 3 อธิบายและลงข้อสรุป (Explain)
- ใบงาน 3.2 ความรู้ที่ได้........................................................................... 25
สารบัญ
ข
หน้า :: 4
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
หน้า
ขั้นที่ 4 ขยายความรู้
- ใบความรู้ 3.2 พลังงานก่อกัมมันต์กับปฏิกิริยาเคมีที่มีหลายขั้นตอน.......
- ใบความรู้ 3.3 พลังงานก่อกัมมันต์กับปฏิกิริยาเคมีที่มีหลายขั้นตอน.......
26
29
ขั้นที่ 5 ประเมิน
- ใบงาน 3.4 รู้อะไรบ้าง....................................................................... ..... 31
แบบทดสอบหลังเรียน...................................................................................................... 32
กระดาษคาตอบหลังเรียน ............................................................................................... 36
บันทึกคะแนน เรื่อง แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีและพลังงานกับการดาเนิน
ไปของปฏิกิริยา............................................................................................... 36
บรรณานุกรม................................................................................................................... 37
สารบัญ ( ต่อ )
หน้า :: 5
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
1. ชุดกิจกรรมนี้เป็นชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es รายวิชาเคมี 3 เรื่อง
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 3 แนวคิดเกี่ยวกับการ
เกิดปฏิกิริยาเคมีและพลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยาเคมี
2. ส่วนประกอบของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es รายวิชาเคมี 3 เรื่อง
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 3 แนวคิดเกี่ยวกับการ
เกิดปฏิกิริยาเคมีและพลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยาเคมี ประกอบด้วย
 คาชี้แจงการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
 คาแนะนาการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สาหรับนักเรียน
 บทบาทนักเรียน
 แผนผังขั้นตอนการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
 กระบวนการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้
 สาระ / มาตรฐานการเรียนรู้ / ผลการเรียนรู้ / จุดประสงค์การเรียนรู้ / สาระสาคัญ
 แบบทดสอบก่อนเรียน ( Pre – test )
 กระดาษคาตอบแบบทดสอบก่อนเรียน
 กิจกรรมการเรียนรู้
 แบบทดสอบหลังเรียน (Post – test )
 กระดาษคาตอบแบบทดสอบหลังเรียน
 แบบบันทึกคะแนนการเรียนรู้
 บรรณานุกรม
3. ผู้ใช้ควรศึกษาคาแนะนาก่อนใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
คาชี้แจงการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
หน้า :: 6
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
การเรียนรู้โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es รายวิชาเคมี 3 เรื่อง
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
และพลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยาเคมี นักเรียนจะต้องปฏิบัติตามขั้นตอน ดังนี้
1. ศึกษาบทบาทของนักเรียนในการเรียนรู้โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดกิจกรรมการ
เรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es
2. การเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es ใช้เวลา 2 ชั่วโมง
3. อ่านคาชี้แจง คาแนะนา และขั้นตอนการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry
Cycle 5Es ให้เข้าใจก่อนทากิจกรรม
4. ศึกษามาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ และสาระสาคัญ
5. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน จานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที เพื่อประเมินความรู้
พื้นฐานของนักเรียน
6. ปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอนที่ระบุไว้ในชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es
ประกอบด้วย ขั้นที่ 1 สร้างความสนใจ (Engage) ขั้นที่ 2 สารวจและค้นหา (Explore) ขั้นที่
3 อธิบายและลงข้อสรุป (Explain) ขั้นที่ 4 ขยายความรู้ (Elaborate) และขั้นที่ 5 ประเมินผล
(Evaluate) เมื่อปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ เสร็จเรียบร้อยแล้วให้ตรวจคาตอบจากเฉลย แล้วบันทึก
คะแนนลงในแบบบันทึกคะแนนของนักเรียน นักเรียนจะต้องได้คะแนนทุกกิจกรรมไม่ต่ากว่าร้อยละ
80 จึงจะผ่านเกณฑ์ ถ้าไม่ผ่านเกณฑ์ ให้กลับไปอ่านทาความเข้าใจเกี่ยวกับเนื้อหาอีกครั้งแล้วตอบ
ใหม่
7. เมื่อศึกษาและปฏิบัติกิจกรรมครบทุกกิจกรรมแล้วและได้คะแนนแต่ละกิจกรรมผ่าน
เกณฑ์ที่กาหนด ให้ทาแบบทดสอบหลังเรียน จานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที เพื่อ
เปรียบเทียบความก้าวหน้าของนักเรียน
8. ตรวจคาตอบจากเฉลยแบบทดสอบก่อน – หลังเรียน พร้อมทั้งบันทึกคะแนนที่ได้
เพื่อตรวจสอบความก้าวหน้าทางการเรียน ซึ่งนักเรียนต้องทาแบบทดสอบหลังเรียนได้ไม่ต่ากว่า
ร้อยละ 80 จึงจะผ่านเกณฑ์ ถ้านักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ตามที่กาหนดให้ทบทวนเนื้อหาแล้วให้ทา
แบบทดสอบหลังเรียนอีกครั้ง หากผ่านเกณฑ์ให้ศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่ม 4 ต่อไป
ข้อควรปฏิบัติ
นักเรียนควรศึกษาด้วยความตั้งใจ เอาใจใส่ มีความรับผิดชอบต่อตนเอง ไม่ควรดูเฉลยก่อน
จะทากิจกรรม ซึ่งจะทาให้นักเรียนเข้าใจ และได้รับประโยชน์จากการศึกษาชุดกิจกรรมเล่มนี้มากที่สุด
คาแนะนาการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
หน้า :: 7
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
 กรณีไม่มีการแบ่งกลุ่ม
o นักเรียนทุกคนปฏิบัติกิจกรรม ด้วยความตั้งใจ และไม่ชวนเพื่อนคุยหรือเล่นกัน
o ปฏิบัติตามขั้นตอนในการทากิจกรรมให้เสร็จทันเวลาที่กาหนด
o ปฏิบัติตามขั้นตอนในการทากิจกรรมด้วยตนเองอย่างเต็มความสามารถ ไม่ลอกเลียนแบบ
คนอื่น
o ตั้งใจตอบคาถามและยกมือซักถามเมื่อพบปัญหาหรือข้อสงสัย
o เก็บวัสดุ อุปกรณ์ สื่อการเรียนการสอน จัดโต๊ะ เก้าอี้ให้อยู่ในสภาพเรียบร้อยและทาความ
สะอาดก่อนออกจากห้องเรียน
 กรณีมีการแบ่งกลุ่ม
1. บทบาทของผู้นากลุ่ม มีหน้าที่ ดังนี้
o ควบคุมการดาเนินกิจกรรมภายในกลุ่มให้เป็นระเบียบเรียบร้อย
o เป็นผู้ติดต่อกับครู เมื่อพบปัญหาหรือข้อสงสัย
o เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเสร็จ ให้รายงานหรือแจ้งผลการปฏิบัติกิจกรรมให้ครูทราบ
o หลักจากสมาชิกปฏิบัติกิจกรรมภายในกลุ่มเสร็จแล้ว ให้เก็บวัสดุหรืออุปกรณ์ส่งครูตาม
เวลาที่กาหนด
2. บทบาทของสมาชิกภายในกลุ่ม มีหน้าที่ ดังนี้
o ตอบคาถามด้วยความตั้งใจให้ทันเวลา โดยไม่ชวนเพื่อนคุยหรือเล่นกัน
o ควรปรึกษากันด้วยเสียงเบาๆ ไม่ควรปรึกษากันเสียงดังเกินไป จนรบกวนกลุ่มอื่น
o ปฏิบัติตามขั้นตอนในการทากิจกรรม ตั้งใจตอบคาถามอย่างเต็มความสามารถ
o เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเสร็จเรียบร้อยแล้ว ต้องช่วยกันเก็บวัสดุ อุปกรณ์ สื่อการเรียนต่าง ๆ
จัดโต๊ะ และเก้าอี้ให้อยู่ในสภาพเรียบร้อย และทาความสะอาดก่อนออกจากห้องเรียน
บทบาทของนักเรียน
หน้า :: 8
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
1. ศึกษาคาชี้แจง คาแนะนาการใช้ชุด
กิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es
5. ทาแบบทดสอบหลังเรียน
จานวน 10 ข้อ 10 นาที
ศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้
Inquiry Cycle 5Es เล่ม 4 ต่อไป
ผ่านเกณฑ์ไม่ผ่านเกณฑ์
ลาดับขั้นตอนการศึกษา
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es
2. ศึกษามาตรฐาน / สาระสาคัญ /ผลการ
เรียนรู้ / จุดประสงค์การเรียนรู้
3. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน 10 ข้อ 10 นาที
4. ปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ตามขั้นตอน
ประกอบด้วย
 ขั้นที่ 1 สร้างความสนใจ
 ขั้นที่ 2 สารวจและค้นหา
 ขั้นที่ 3 อธิบายและลงข้อสรุป
 ขั้นที่ 4 ขยายความรู้
 ขั้นที่ 5 ประเมินผล
6. ตรวจสอบคาตอบของใบงานและ
กิจกรรมแต่ละขั้น เพื่อตรวจสอบความ
เข้าใจ โดยจะต้องผ่านเกณฑ์ที่กาหนด
ถ้าไม่ผ่านเกณฑ์จะต้องกลับไปศึกษา
เนื้อหาที่ไม่ผ่านเกณฑ์ อีกครั้งจนกว่า
ผ่านเกณฑ์ที่กาหนด
7. ตรวจคาตอบ ผ่านเกณฑ์
ร้อยละ 80
หน้า :: 9
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
 แบบทดสอบก่อนเรียน
 ขั้นที่ 1 สร้างความสนใจ ( Engage )
 กิจกรรม 3.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
 ขั้นที่ 2 สารวจและค้นหา ( Explore )
 ศึกษาใบความรู้ 3.1 แนวคิดการเกิดปฏิกิริยาเคมีและพลังงานกับ
การดาเนินไปของปฏิกิริยาเคมี
 ใบงาน 3.1 แนวคิดการเกิดปฏิกิริยาเคมีและพลังงานกับการ
ดาเนินไปของปฏิกิริยาเคมี
 ขั้นที่ 3 อธิบายและลงข้อสรุป ( Explain )
 ใบงาน 3.2 ความรู้ที่ได้
 ขั้นที่ 4 ขยายความรู้ ( Elaborate )
 ใบความรู้ 3.2 พลังงานก่อกัมมันต์กับปฏิกิริยาเคมีที่มีหลาย
ขั้นตอน
 ใบงาน 3.3 พลังงานก่อกัมมันต์ที่มีหลายขั้นตอน
 ขั้นที่ 5 ประเมิน ( Evaluate )
 ใบงาน 3.4 รู้อะไรบ้าง
 แบบทดสอบหลังเรียน
ส่วนประกอบกิจกรรมการเรียนรู้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es
หน้า :: 10
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
แนวคิดเกี่ยวกับการ
เกิดปฏิกิริยาเคมีและ
พลังงานกับการดาเนิน
ไปของปฏิกิริยาเคมี
พลังงาน
ก่อกัมมันต์
ทฤษฎีการชน
พลังงาน
ก่อกัมมันต์
กับปฏิกิริยา
หลายขั้นตอน
ปฏิกิริยาคาย
พลังงาน
ปฏิกิริยาดูด
พลังงาน
ทฤษฎีสาร
เชิงซ้อน
ผังมโนทัศน์การเรียนรู้ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es
เล่ม 3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
และพลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยาเคมี
หน้า :: 11
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
การเกิดปฏิกิริยาเคมีขึ้นอยู่กับปัจจัยต่อไปนี้
1. อนุภาคของสารตั้งต้นต้องชนกัน
2. อนุภาคของสารที่ชนกันต้องมีทิศทางในการชนที่เหมาะสม
3. อนุภาคของสารที่ชนกันแล้วต้องมีพลังงานที่เกิดจากการชนเท่ากับหรือมากกว่า
พลังงานก่อกัมมันต์
การเกิดปฏิกิริยาเคมีต้องมีพลังงานเข้ามาเกี่ยวข้อง คือ มีการดูดกลืนพลังงาน
เข้าไปเพื่อสลายพันธะในสารตั้งต้น และคายพลังงานออกมาเมื่อสร้างพันธะเกิดเป็น
ผลิตภัณฑ์
 แนวคิดการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 พลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยา
มาตรฐานการเรียนรู้ ว 3.2
เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิด
สารละลาย การเกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์
สื่อสาร สิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
สาระสาคัญ
สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้
หน้า :: 12
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
อธิบายแนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีโดยใช้ทฤษฎีจลน์และการชนกันของอนุภาค
และการเกิดสารเชิงซ้อนกัมมันต์ ปฏิกิริยาดูดหรือคายพลังงาน
1. ด้านความรู้ (Knowledge : K )
1.1 นักเรียนสามารถอธิบายการเกิดปฏิกิริยาเคมีโดยใช้ทฤษฎีจลน์ การชนกัน
ของอนุภาค และการเกิดสารเชิงซ้อนกัมมันต์ได้
1.2 ระบุปัจจัยที่ทาให้เกิดปฏิกิริยาเคมีได้
1.3 บอกความหมายของพลังงานก่อกัมมันต์ และทานายความยากง่ายของการ
เกิดปฏิกิริยาเคมี โดยพิจารณาจากค่าพลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยานั้น ๆ ได้
2. ด้านทักษะกระบวนการ (Process : P )
2.1 แปลความหมายจากกราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงพลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยา
และระบุได้ว่าเป็นปฏิกิริยาประเภทดูดพลังงานหรือคายพลังงานได้
2.2 หาค่าพลังงานที่ดูดกลืน พลังงานคายออก และพลังงานรวมของปฏิกิริยาจากกราฟได้
3. ด้านคุณลักษณะ (Attitude : A )
นักเรียนมีความใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีความรับผิดชอบ มีความตั้งใจในการทางานมีการแสดงความ
คิดเห็น ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้
ผลการเรียนรู้
จุดประสงค์การเรียนรู้
หน้า :: 13
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
คาชี้แจง : แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง แนวคิดการเกิดปฏิกิริยาเคมีและพลังงานกับการดาเนินไป
ของปฏิกิริยาเคมี เป็นแบบทดสอบแบบเลือกตอบ 5 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที
คาสั่ง : จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมายกากบาท (X)
ลงในกระดาษคาตอบ
1. ข้อใดไม่ใช่ปัจจัยที่ทาให้เกิดปฏิกิริยาเคมี
ก. อนุภาคของสารตั้งต้นจะต้องมีการชนกัน
ข. อนุภาคของสารตั้งต้นจะต้องชนกันในทิศทางที่เหมาะสม
ค. สารตั้งต้นที่ทาปฏิกิริยากันแล้วเป็นสารเชิงซ้อนก่อนจึงจะเป็นสารผลิตภัณฑ์
ง. พลังงานที่ได้จากการชนของอนุภาคสารตั้งต้นจะต้องมีค่าเท่ากับหรือมากกว่าพลังงาน
ก่อกัมมันต์
จ. ทุกข้อเป็นปัจจัยที่ทาให้เกิดปฏิกิริยาเคมี
2. ทิศทางการชนของปฏิกิริยา H2(g) + I2(g) HI(g) แบบใดไม่ทาให้เกิดปฏิกิริยา
ก.
H2 I2
ข.
H2 I2
ค.
H2 I2
ง. ข้อ ก และ ค ถูก
จ. ข้อ ข และ ค ถูก
แบบทดสอบก่อนเรียน
เรื่อง แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี และพลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยา
หน้า :: 14
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
3. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับพลังงานก่อกัมมันต์
ก. ปฏิกิริยาเคมีต่างกันพลังงานก่อกัมมันต์ต่างกัน
ข. พลังงานก่อกัมมันต์ไม่เกี่ยวข้องกับพลังงานของปฏิกิริยา
ค. พลังงานก่อกัมมันต์ต่าจะทาให้มีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีต่าด้วย
ง. ปฏิกิริยาที่มีพลังงานก่อกัมมันต์ต่า ปฏิกิริยาจะเกิดง่ายหรือเร็วกว่าปฏิกิริยาที่มีพลังงาน
ก่อกัมมันต์สูง
จ. พลังงานก่อกัมมันต์ เป็นพลังงานจานวนน้อยที่สุดที่เกิดจากการชนของอนุภาคของสารตั้งต้น
แล้วทาให้เกิดปฏิกิริยาเคมี
จากกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยา แล้วตอบคาถามข้อ 4 - 6
4. จากภาพเป็นปฏิกิริยาคายพลังงานหรือดูดพลังงานเท่าใด
ก. ดูดพลังงาน เท่ากับ E2
ข. ดูดพลังงาน เท่ากับ E4
ค. คายพลังงาน เท่ากับ E1
ง. คายพลังงาน เท่ากับ E3
จ. คายพลังงาน เท่ากับ E4
5. พลังงานก่อกัมมันต์มีค่าเท่ากับข้อใด
ก. E1
ข. E2
ค. E3
ง. E4
จ. ไม่มีข้อถูก
หน้า :: 15
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
6. พลังงานของสารเชิงซ้อนมีค่าเท่ากับข้อใด
ก. E1
ข. E2
ค. E3
ง. E4
จ. ไม่มีข้อถูก
จากกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยา ใช้ตอบคาถามข้อ 7 -10
7. ข้อสรุปใดถูกต้อง
ก. ปฏิกิริยามีพลังงานก่อกัมมันต์เท่ากับ E2 – E1
ข. ปฏิกิริยานี้เกิดได้เร็ว เพราะ E1 ต่ากว่า E3 มาก
ค. ปฏิกิริยานี้เกิดได้เร็ว เพราะ E3 ต่ากว่า E2 มาก
ง. ปฏิกิริยานี้เป็นปฏิกิริยาคายพลังงานและพลังงานที่คายออกมีค่าเท่ากับ E2 – E3
จ. ปฏิกิริยานี้เป็นปฏิกิริยาดูดพลังงานและพลังงานที่ดูดเข้าไปมีค่าเท่ากับ E2 – E3
8. จากภาพเป็นการเตรียมสาร E โดยเริ่มจากสาร A มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานดังนี้
หน้า :: 16
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
ปฏิกิริยานี้มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานอย่างไร
ก. คายพลังงาน = x
ข. คายพลังงาน = z
ค. คายพลังงาน = z – y
ง. ดูดพลังงาน = w – y
จ. ดูดพลังงาน = z – y
9. จากโจทย์ข้อ 8 ปฏิกิริยาของสาร A → C มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานอย่างไร
ก. คายพลังงาน = w+y
ข. ดูดพลังงาน = w-x
ค. คายพลังงาน = y
ง. คายพลังงาน = x
จ. ดูดพลังงาน = w
10. จากข้อ 8 สารใดเป็นสารเชิงซ้อนกัมมันต์
ก. C , E
ข. B , D
ค. C , D
ง. D , E
จ. A , B
ชื่อ..........................................................................ชั้น....................................เลขที่.....................
ข้อ ก ข ค ง จ ข้อ ก ข ค ง จ
1 6
2 7
3 8
4 9
5 10
กระดาษคาตอบก่อนเรียน เรื่อง แนวคิดการเกิดปฏิกิริยาเคมี
และพลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยาเคมี
หน้า :: 17
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
คาสั่ง : ให้นักเรียนทากิจกรรมทดลองตามกิจกรรม 3.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
1. จุดประสงค์การทดลอง
เพื่อศึกษาการเกิดปฏิกิริยาเคมี
2. สารเคมี
2.1 สารละลายโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต (NaHCO3) เข้มข้น 1 mol/dm3
5 cm3
2.2 สารละลายกรดไฮโดรคลอริก (HCl) เจือจาง 5 cm3
2.3 สารละลายโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) เข้มข้น 1 mol/dm3
5 cm3
2.4 สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) เข้มข้น 1 mol/dm3
5 cm3
3. อุปกรณ์
3.1 หลอดทดลองขนาดกลาง จานวน 2 หลอด
3.2 บีกเกอร์ ขนาด 25 ml จานวน 4 ใบ
3.3 กระบอกตวง ขนาด 10 ml 1 อัน
4. วิธีการทดลอง
4.1 รินสารละลายโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต (NaHCO3) เข้มข้น 1 mol/dm3
ลงใน
หลอดทดลองขนาดกลางจานวน 5 cm3
เติมสารละลายสารละลายกรดไฮโดรคลอริก
(HCl) เจือจาง จานวน 5 cm3
เขย่าให้เข้ากัน สังเกตการเปลี่ยนแปลงและบันทึกผล
การทดลอง
4.2 รินสารละลายกรดไฮโดรคลอริก (HCl) เข้มข้น 1 mol/dm3
5 cm3
ลงในหลอด
ทดลองขนาดกลางจานวน 5 cm3
เติมสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH)
เข้มข้น 1 mol/dm3
5 cm3
สังเกตการเปลี่ยนแปลงและบันทึกผลการทดลอง
5. บันทึกผลการทดลอง
การทดลอง การเปลี่ยนแปลงที่สังเกตได้
NaHCO3 + HCl
HCl + NaOH
ขั้นที่ 1 สร้างความสนใจ ( Engage )
กิจกรรมทดลอง 3.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
หน้า :: 18
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
6. สรุปผลการทดลอง
.
.
.
หน้า :: 19
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
คาสั่ง : ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ 3.1 แล้วทาใบงาน 3.1 แนวคิดการเกิดปฏิกิริยาเคมี และ
พลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยาเคมี
การเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเกิดปฏิกิริยาเคมีสามารถอธิบายได้โดยใช้ทฤษฎีการชนและทฤษฎีสารเชิงซ้อน
ที่ถูกกระตุ้น ดังนี้
1. ทฤษฎีการชนกัน (Collision Theory)
ปฏิกิริยาเคมีจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่ออนุภาคของสารตั้งต้นอาจเป็นโมเลกุล อะตอม หรือ
ไอออนก็ได้ จะต้องมีการเคลื่อนที่ชนกันก่อน การชนกันของอนุภาคของสารตั้งต้นจะเกิดปฏิกิริยาได้
หรือไม่ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่อไปนี้
1.1 พลังงานจลน์ที่เกิดจากอนุภาคที่เคลื่อนที่ชนกัน อนุภาคของสารตั้งต้นเมื่อชน
กันแล้วจะเกิดปฏิกิริยาได้ก็ต่อเมื่ออนุภาคที่ชนกันจะต้องเคลื่อนที่เร็วหรือมีพลังงานจลน์สูง คือ เมื่อ
ชนกันแล้วพลังงานที่ได้จากการชนจะต้องสูงพอที่ทาให้พันธะในสารตั้งต้นสลายแล้วสร้างพันธะใหม่
เกิดเป็นสารผลิตภัณฑ์ได้
1.2ทิศทางการชนของอนุภาค การชนกันของอนุภาคจะ
เกิดปฏิกิริยาได้ นอกจากอนุภาคของสารตั้งต้นจะต้องชนกันก่อนและมี
พลังงานจลน์สูง ยังขึ้นอยู่กับทิศทางในการชนด้วย กล่าวคือ สารตั้งต้นที่ชน
กันจะต้องมีทิศทางการชนที่เหมาะสมจึงจะเกิดปฏิกิริยา ดังภาพที่ 1 - 2
ภาพที่ 1 การชนกันในทิศทางที่เหมะสมทาให้การชนกันเป็นผลสาเร็จเกิดผลิตภัณฑ์ขึ้น
ขั้นที่ 2 สารวจและค้นหา ( Explore )
ใบความรู้ 3.1
แนวคิดการเกิดปฏิกิริยาเคมี และพลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยาเคมี
B
B
A
A
B
B
A
A
BA
BA
หน้า :: 20
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
ภาพที่ 2 การชนกันในทิศทางที่ไม่เหมาะสม ทาให้การชนกันไม่เป็นผลสาเร็จหรือไม่เกิดปฏิกิริยา
ตัวอย่าง 1 ปฏิกิริยาระหว่างแก๊สไฮโดรเจน (H2) กับไอของไอโอดีน (I2) กลายเป็นแก๊สไฮโดรเจน
ไอโอไดด์ (HI) ดังสมการ H2(g) + I2(g) → 2HI(g) มีทิศทางการชน ดังภาพที่ 3 - 5
H2 I2 H2 I2
ภาพที่ 3 การชนกันในทิศทางที่ไม่เหมาะสม ทาให้ไม่เกิดปฏิกิริยา (ไม่เกิด HI)
H2 I2 H2 I2
ภาพที่ 4 การชนกันในทิศทางที่ไม่เหมาะสม ทาให้ไม่เกิดปฏิกิริยา(ไม่เกิด HI)
H2 I2 HI
ภาพที่ 5 การชนกันในทิศทางที่เหมะสมทาให้เกิดปฏิกิริยาได้ HI
AA B B AA B B
AA
B B
หน้า :: 21
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
เมื่อพิจารณาการชนกันของแก๊สไฮโดรเจนกับแก๊สไอโอดีนพบว่า การชนกันแบบภาพที่ 5
มีโอกาสที่จะเกิดปฏิกิริยาเคมีได้มากกว่าแบบภาพที่ 3 - 4 เนื่องจากทิศทางในการชนกันของโมเลกุล
ทั้งสองมีความเหมาะสม
ตัวอย่างที่ 2 ปฏิกิริยาระหว่าง H2O(g) กับ CO(g) ได้ผลิตภัณฑ์เป็น H2(g) และ
CO (g) ตามสมการ H2O(g) + CO(g) H2(g) + CO2(g) มีทิศทางการชน ดังภาพที่ 6
แบบที่ 1
H2O CO H2 CO2
แบบที่ 2
H2O CO H2O CO
แบบที่ 3
H2O CO H2O CO
อะตอมของไฮโดรเจน อะตมอของออกซิเจน อะตอมของคาร์บอน
ภาพที่ 6 แสดงการจัดตัวของโมเลกุล H2O และ CO2
การชนกันในแบบที่ 1 ออกซิเจนใน H2O ชนกับคาร์บอนใน CO ซึ่งถ้ามีพลังงานสูง
พอจะได้เป็น CO2 และ H2 แสดงว่าทิศทางของการชนเหมาะสม สามารถเกิดปฏิกิริยาได้
การชนกันในแบบที่ 2 ออกซิเจนใน H2O และใน CO ชนกัน ซึ่งเป็นทิศทางของการชน
ที่ไม่เหมาะสม ถึงแม้ว่าจะมีพลังงานสูงก็จะไม่เกิดปฏิกิริยา CO2 และ H2
การชนกันในแบบที่ 3 ไฮโดรเจนใน H2O ชนกับคาร์บอนใน CO ซึ่งก็เป็นทิศทางการชน
ที่ไม่เหมาะสมเช่นเดียวกัน ดังนั้นการชนแบบนี้จะไม่มีปฏิกิริยาเกิดขึ้น
หน้า :: 22
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
ตัวอย่างที่ 3 ปฏิกิริยาระหว่าง NO(g) กับ O3(g) ได้ผลิตภัณฑ์เป็นก๊าซ NO และ O2 ดัง
สมการ NO+ O3 NO2 + O2 อาจจะชนกันได้หลายแบบ ดังนี้
ปฏิกิริยาระหว่าง NO(g) กับ O3(g) ได้ผลิตภัณฑ์เป็นก๊าซ NO และ O2 อาจจะชนกัน
ได้หลายแบบ ดังนี้
แบบที่ 1
NO O3 NO O3
แบบที่ 2
NO O3 NO2 O2
ภาพที่ 7 แสดงทิศทางการชนกันของ NO และ O3
ที่มา https://krumuaykanya.wordpress.com/อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี/
การชนกันในภาพแบบที่ 2 เท่านั้น ถ้าพลังงานของโมเลกุลสูงมากพอ จะทาให้
เกิดปฏิกิริยาเคมีได้ เนื่องจากมีทิศทางการชนที่เหมาะสม สาหรับการชนแบบอื่นๆ ถึงแม้ว่าจะมี
พลังงานสูงก็ไม่เกิดปฏิกิริยา เพราะทิศทางการชนไม่เหมาะสม
จากข้อมูลที่กล่าวมาสรุปได้ว่าปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้นได้เมื่อ
1. อนุภาคของสารตั้งต้นชนกัน
2. ชนในทิศทางที่เหมาะสม
3. พลังงานที่เกิดจากการชนกันอย่างน้อยที่สุดปริมาณหนึ่งซึ่งเท่ากับพลังงานก่อกัมมันต์
( Ea )
หน้า :: 23
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
2. พลังงานก่อกัมมันต์ (Activation energy)
ปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้นได้เมื่ออนุภาคของสารตั้งต้นชนกันในทิศทางที่เหมาะสม รวมทั้ง
ต้องมีพลังงานที่เกิดจากการชนกันอย่างน้อยที่สุดปริมาณหนึ่งซึ่งเท่ากับ พลังงานก่อกัมมันต์
ใช้สัญลักษณ์ย่อ เป็น Ea
อนุภาคที่ชนกันแล้วเกิดพลังงานเท่ากับหรือมากกว่าพลังงานก่อกัมมันต์จะต้องเป็นอนุภาคที่
มีพลังงานจลน์สูงพอเท่านั้น เช่น ปฏิกิริยาระหว่าง H2 และ O2 เป็น H2O ในสภาวะปกติเมื่อ
เราปล่อยให้ H2 และ O2 อยู่รวมกันจะไม่เกิดน้าขึ้น แต่เมื่อเราให้พลังงานแก่ระบบโดยการเอาไฟ
จุดแก๊สที่ผสมกันอยู่ปฏิกิริยาก็จะเกิดทันทีและรวดเร็วจนเกิดการระเบิด เราทราบมาแล้วว่าการที่
โมเลกุลของ H2 และ O2 จะชนกันจนเกิดปฏิกิริยาได้ H2O นั้น โมเลกุล
ของ H2 และ O2 จะต้องชนกันแล้วมีพลังงานสูงพอที่จะทาให้พันธะระหว่าง O=O และ
H - H สลายตัวและเกิดพันธะ H-O-H ใหม่ได้ หรือชนกันแล้วได้พลังงานเท่ากับหรือมากกว่า
พลังงานก่อกัมมันต์ ในภาวะปกติโมเลกุลของ H2 และ O2 มีพลังงานไม่พอจึงต้องเติมพลังงานเข้า
ไป เมื่อเติมพลังงานเข้าไปก็จะทาให้บางโมเลกุลมีพลังงานสูงพอที่จะชนกันแล้วเกิดปฏิกิริยาได้
เพื่อให้เข้าใจดีขึ้นจึงอาจเปรียบเทียบการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับการเดินทางข้ามภูเขาดังภาพที่ 8
ภาพที่ 8 เปรียบเทียบการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับการเดินทางข้ามภูเขา
ที่มา https://sites.google.com/site/topengpjack/reiyn-khemi-xxnlin/xatra-kar-
keid-ptikiriya/naewkhid-keiyw-kab-kar-keid-ptikiriya-khemi
จากภาพที่ 8 คนที่จะเดินข้ามภูเขาได้ภายในเวลาที่กาหนดขึ้นอยู่กับ
องค์ประกอบ 2 ประการ
1. จานวนคนที่แข็งแรงหรือมีพลังงานมาก
2. ความสูงของภูเขา
ถ้าอุปมาอุปไมยจานวนคนที่แข็งแรงหรือมีพลังงานสูงกับจานวนอนุภาคที่มีพลังงานสูง และ
ความสูงของภูเขากับค่าพลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยานั้น ช่วยให้อธิบายได้ว่าการที่บางปฏิกิริยา
เกิดขึ้นช้ามาก เพราะปฏิกิริยานั้นมีค่าพลังงานก่อกัมมันต์สูงมาก หรือภูเขามีความสูงมาก และ
หน้า :: 24
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
อนุภาคที่มีพลังงานสูงมีจานวนน้อย โอกาสที่จะชนกันเพื่อให้ได้พลังงานสูงเท่ากับพลังงาน
ก่อกัมมันต์จึงมีน้อยด้วย ในกรณีของปฏิกิริยาที่เกิดได้เร็ว เพราะปฏิกิริยานั้นมีค่าพลังงานก่อกัมมันต์
น้อย หรือภูเขามีความสูงต่า และอนุภาคที่มีพลังงานสูงมีจานวนมาก โอกาสที่จะชนกันเพื่อให้ได้
พลังงานสูงหรือเท่ากับพลังงานก่อกัมมันต์จึงมีมากด้วย มีผลทาให้เกิดปฏิกิริยาเคมีได้
ในปฏิกิริยาเคมีต่าง ๆ จะมีค่าพลังงานก่อกัมมันต์ไม่เท่ากัน สามารถเขียนความสัมพันธ์
ระหว่างพลังงานก่อกัมมันต์กับการเกิดปฏิกิริยาเคมีได้ดังนี้
1. ถ้าพลังงานก่อกัมมันต์มีค่าน้อยปฏิกิริยาจะเกิดเร็ว
2. ถ้าพลังงานก่อกัมมันต์มีค่ามากปฏิกิริยาจะเกิดช้า
3. ทฤษฎีสารเชิงซ้อนที่ถูกกระตุ้น (Activated Complex Theory)
เมื่อสารตั้งต้นเข้าทาปฏิกิริยากันจะมีสารใหม่เกิดขึ้นเป็นผลิตภัณฑ์ ในระหว่างที่สารตั้งต้น
เปลี่ยนเป็นผลิตภัณฑ์ จะมีสารเชิงซ้อนกัมมันต์เกิดขึ้นก่อนเพียงชั่วขณะ สารเชิงซ้อนกัมมันต์ เป็น
สารที่ไม่อยู่ตัว (Unstable) มีอายุสั้น พร้อมที่จะเปลี่ยนเป็นสารผลิตภัณฑ์หรือกลับคืนเป็นสารตั้งต้น
อย่างเดิมก็ได้ เมื่อสารเชิงซ้อนที่ถูกกระตุ้นสลายตัวกลายเป็นสารผลิตภัณฑ์ พันธะเก่าก็จะถูกทาลาย
โดยสิ้นเชิงพันธะใหม่ก็จะถูกสร้างขึ้นมาแทนที่เนื่องจากสารเชิงซ้อนที่ถูกกระตุ้นอยู่ในสภาวะไม่เสถียร
และมีระดับพลังงานสูงมาก (สูงกว่าพลังงานสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์) เราจึงนิยมเรียกสภาวะเช่นนี้ว่า
สภาวะแทรนซิชัน (Transition State) เพราะฉะนั้นอนุภาคของสารตั้งต้นจะชนกันแล้วเกิดปฏิกิริยา
ได้ อนุภาคของสารตั้งต้นจะต้องมีพลังงานไม่ต่ากว่า หรืออย่างน้อยที่สุดเท่ากับพลังงานของสาร
เชิงซ้อนที่ถูกกระตุ้น เช่น ปฏิกิริยาระหว่างแก๊สคาร์บอนมอนนอกไซด์กับแก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์
เกิดเป็นแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ กับ ไนโตเจนมอนนอกไซด์ ดังภาพที่ 9
ภาพที่ 9 การเกิดสารเชิงซ้อนกัมมันต์แล้วเปลี่ยนเป็นผลิตภัณฑ์
http://www.vcharkarn.com/lesson/1438
หน้า :: 25
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
จากภาพที่ 9 จะเห็นว่า สารตั้งต้นจะมีพันธะระหว่างอะตอม C กับ O ในโมเลกุล CO
และ N กับ O ในโมเลกุล NO2 เมื่อเกิดเป็นสารเชิงซ้อนกัมมันต์ ความแข็งแรงของพันธะระหว่าง
อะตอม C กับ O ใน CO จะลดลง และเริ่มมีพันธะอย่างอ่อน ๆ เกิดขึ้นระหว่างอะตอมของ O
ใน CO กับ N ใน NO2 เมื่อสารเชิงซ้อนกัมมันต์สลายตัวให้ผลิตภัณฑ์ จะมีการสลายพันธะเดิม
และมีพันธะระหว่างอะตอม O กับ N ดังภาพ
พลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยา
อนุภาคที่ชนกันต้องมีพลังงานจลน์รวมกันแล้วมีค่าอย่างน้อยเท่ากับพลังงานก่อกัมมันต์
(activation energy, Ea) ซึ่งเป็นพลังงานต่าที่สุดที่ทาให้เกิดปฏิกิริยาได้ ถ้ามีพลังงานต่ากว่านี้ก็จะ
ไม่เกิดปฏิกิริยา แต่ถ้ามีพลังงานจลน์หลังการชนมากกว่าหรือเท่ากับพลังงานก่อกัมมันต์ อนุภาคของ
สารตั้งต้นที่เข้าชนกันก็จะรวมตัวกันเกิดเป็นสารประกอบเชิงซ้อนกัมมันต์ (activated
complex) ซึ่งสารเชิงซ้อนนี้จะอยู่ตัวได้เพียงชั่วขณะ หลังจากนั้นจะเปลี่ยนไปเป็นสารผลิตภัณฑ์
แสดงว่าเกิดปฏิกิริยาเคมี ปฏิกิริยาเคมีสามารถแบ่งออก 2 ประเภท โดยใช้ชนิดพลังงานเป็นเกณฑ์
ดังนี้
1. ปฏิกิริยาดูดพลังงานหรือปฏิกิริยาดูดความร้อน (Endothermic reaction)
2. ปฏิกิริยาคายพลังงานหรือปฏิกิริยาคายความร้อน (Exothermic reaction)
ปฏิกิริยาดูดพลังงาน หมายถึง ปฏิกิริยาที่มีการถ่ายเทพลังงานจากสิ่งแวดล้อมเข้าสู่ระบบ
ดังนั้น ในปฏิกิริยาดูดพลังงานสารผลิตภัณฑ์จะมีพลังงานสูงกว่าสารตั้งต้น ซึ่งสามารถเขียนกราฟ
แสดงความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยาในแง่ของปฏิกิริยาดูดพลังงานได้
ดังภาพที่ 10
ภาพที่ 10 การเปลี่ยนแปลงพลังงานของปฏิกิริยา N2(g) + O2(g) 2NO(g)
ที่มา http://www.thaigoodview.com/node/84889?page=0,6
หน้า :: 26
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
จากกราฟในภาพที่ 10 สารตั้งต้นมีพลังงาน E1 เมื่อโมเลกุลของสารตั้งต้น ( N2 และ O2 )
ชนกัน ทาให้มีพลังงานสูงขึ้นเป็น E2 จะเปลี่ยนไปเป็นผลิตภัณฑ์ได้ ผลต่างระหว่างพลังงาน E2
และ E1 คือ พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยา (Ea) และพลังงานของผลิตภัณฑ์ ( E3 ) มีค่า
พลังงานสูงกว่าสารตั้งต้น ( E1 ) แสดงว่าปฏิกิริยานี้เป็นปฏิกิริยาดูดพลังงาน พลังงานที่ระบบดูด
เข้าไปมีค่าเท่ากับ E3 – E1 = E
ปฏิกิริยาคายพลังงาน หมายถึง ปฏิกิริยาที่มีการถ่ายเทพลังงานจากระบบไปสู่สิ่งแวดล้อม
ดังนั้น ในปฏิกิริยาคายพลังงาน สารตั้งต้นจะมีพลังงานสูงกว่าสารผลิตภัณฑ์ ซึ่งสามารถเขียนกราฟ
แสดงความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยาในแง่ของปฏิกิริยาคายพลังงานได้ดัง
ภาพที่ 11
ภาพที่ 11 การเปลี่ยนแปลงพลังงานของปฏิกิริยา N2(g) + 3H2(g) 2NH3(g)
ที่มา http://www.thaigoodview.com/node/84889?page=0,6
จากกราฟในภาพที่ 11 สารตั้งต้นมีพลังงาน E1 เมื่อโมเลกุลของสารตั้งต้น ( N2 และ H2 )
ชนกัน ทาให้มีพลังงานสูงขึ้นเป็น E2 ทาให้สารตั้งต้นเปลี่ยนไปเป็นผลิตภัณฑ์ได้ ผลต่างระหว่าง
พลังงาน E2 และ E1 คือ พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยา (Ea) และพลังงานของผลิตภัณฑ์
( E3 ) มีค่าพลังงานต่ากว่าสารตั้งต้น ( E1 ) แสดงว่าปฏิกิริยานี้เป็นปฏิกิริยาคายพลังงาน พลังงาน
ที่ระบบคายออกมามีค่าเท่ากับ E3 – E1 = E
หน้า :: 27
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
คาสั่ง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง ( 15 คะแนน )
1. ปัจจัยใดบ้างที่ทาให้เกิดปฏิกิริยาเคมี ( 2 คะแนน )
.
2. จงเขียนทิศทางการชนที่เหมาะสมของปฏิกิริยา N2(g) + O2(g) 2NO (g) ที่ทาให้
เกิดปฏิกิริยาเคมี ( 1 คะแนน )
3. ปฏิกิริยาที่มีพลังงานก่อกัมมันต์ต่าปฏิกิริยาจะเกิดเร็วหรือช้า ( 1 คะแนน )
.
4. ปฏิกิริยาที่มีพลังงานก่อกัมมันต์สูงปฏิกิริยาจะเกิดเร็วหรือช้า ( 1 คะแนน )
.
5. ปฏิกิริยาเคมี ถ้าจาแนกโดยใช้พลังงานเป็นเกณฑ์ แบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
( 2 คะแนน )
.
.
ใบงาน 3.1
แนวคิดการเกิดปฏิกิริยาเคมี และพลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยาเคมี
หน้า :: 28
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
6. ภาพใดเกิดปฏิกิริยาดูดความร้อน และภาพใดเกิดปฏิกิริยาคายความร้อน ( 1 คะแนน )
(ก.) (ข)
ภาพ...............เกิดปฏิกิริยาดูดความร้อน ภาพ...............เกิดปฏิกิริยาคายความร้อน
7. จากภาพบอกตาแหน่งของค่าพลังงานต่อไปนี้ให้ถูกต้อง ( 7 คะแนน )
7.1 พลังงานของสารตั้งต้น ตาแหน่ง .
7.2 พลังงานของสารเชิงซ้อนกัมมันต์ ตาแหน่ง .
7.3 พลังงานก่อกัมมันต์ ตาแหน่ง .
7.4 พลังงานของปฏิกิริยา ตาแหน่ง .
7.5 พลังงานของสารผลิตภัณฑ์ ตาแหน่ง .
7.6 พลังงานของปฏิกิริยาหาได้จาก .
7.7 พลังงานก่อกัมมันต์หาได้จาก .
หน้า :: 29
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
คาสั่ง : ให้นักเรียนสรุปความรู้ที่ได้จากการศึกษาใบความรู้ 3.1 และทาใบงาน 3.1 แนวคิด
การเกิดปฏิกิริยาเคมี และพลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยาเคมี โดยการเขียนแผนภาพ
มโนทัศน์ลงในใบงาน 3.2 ความรู้ที่ได้ ( 10 คะแนน)
ใบงาน 3.2 ความรู้ที่ได้
ขั้นที่ 3 อธิบายและลงข้อสรุป ( Explain )
หน้า :: 30
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
คาสั่ง : ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ 3.2 พลังงานก่อกัมมันต์กับปฏิกิริยาที่มีหลายขั้นตอน
แล้วทาใบงาน 3.3 พลังงานก่อกัมมันต์กับปฏิกิริยาที่มีหลายขั้นตอน
พลังงานก่อกัมมันต์กับปฏิกิริยาเคมีที่มีหลายขั้นตอน
ปฏิกิริยาเคมีที่มีหลายขั้นตอนจะประกอบด้วยขั้นที่เกิดช้าและเกิดเร็ว การที่กลไกของ
ปฏิกิริยามีหลายขั้นตอนนั้น แสดงว่าในการเกิดปฏิกิริยาเคมีจะต้องมีสารเชิงซ้อนที่ถูกกระตุ้นมากกว่า
หนึ่งชนิดและย่อมมีพลังงานก่อกัมมันต์มากกว่าหนึ่งค่าด้วย เช่น
ปฏิกิริยา A C ประกอบ 2 ขั้นตอน ดังนี้
A B
B C
สามารถเขียนภาพแสดงการเปลี่ยนแปลงพลังงานของปฏิกิริยาได้หลายแบบ เช่น
กรณีที่ 1 A B เกิดเร็วและเป็นปฏิกิริยาผันกลับได้
B C เกิดช้า
เมื่อ Ea1 = พลังงานก่อกัมมันต์ A B
Ea2 = พลังงานก่อกัมมันต์ B C
Ea3 = พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยาย้อนกลับ B A
Ea4 = พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยาย้อนกลับ C B
AC1 = สารเชิงซ้อนที่ถูกกระตุ้น ชนิดที่ 1
AC2 = สารเชิงซ้อนที่ถูกกระตุ้น ชนิดที่ 2
สามารถเขียนภาพแสดงการเปลี่ยนแปลงพลังงานของปฏิกิริยาได้ดังนี้
ขั้นที่ 4 ขยายความรู้ ( Elaborate )
ใบความรู้ 3.2 พลังงานก่อกัมมันต์กับปฏิกิริยาเคมีที่มีหลายขั้นตอน
หน้า :: 31
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
ภาพที่ 12 แสดงการเปลี่ยนแปลงพลังงานของปฏิกิริยาที่มีหลายขั้นตอน กรณีที่ 1
ที่มา ; คู่มือรายวิชาเพิ่มเติม เคมี ม.4 – 6 เล่ม 3 น. 14
จากภาพที่ 12 เมื่อปฏิกิริยาขั้นแรกเกิดขึ้นได้ B การเกิดปฏิกิริยาขั้นต่อไปเป็นไปได้ 2
ทาง คือ B อาจเปลี่ยนไปเป็น A อย่างเดิม โดยผ่าน AC1 หรือเปลี่ยนไปเป็นผลิตภัณฑ์ C
โดยผ่าน AC2 แต่เมื่อเปรียบเทียบพลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยาทั้ง 2 ทางจะเห็นว่า จะเห็นว่า
Ea3 < Ea2 แสดงว่า B จะเปลี่ยนกลับไปเป็น A โดยผ่าน AC1 ได้เร็วที่จะเปลี่ยน
ไปเป็นผลิตภัณฑ์ C โดยผ่าน AC2 ดังนั้นส่วนใหญ่ B จะเปลี่ยนกลับเป็น A มีเพียงส่วนน้อยที่จะ
เปลี่ยนไปเป็น C จึงกล่าวได้ว่าในขั้นที่ 1 ( A B ) เกิดเร็ว และเป็นปฏิกิริยาชนิดผันกลับได้
เพราะฉะนั้น กลไกของปฏิกิริยาตามรูปข้างต้น คือ A B (เกิดเร็วและผันกลับได้)
B C (เกิดช้า)
ในปฏิกิริยาเคมีที่เกิดมากกว่า 1 ขั้น อัตราการเกิดปฏิกิริยารวมขึ้นอยู่กับขั้นที่เกิดช้าที่สุด
เรียกว่า ขั้นกาหนดอัตรา ดังนั้นปฏิกิริยา A C จึงเกิดช้า ( มีค่า Ea = Ea2 ) เพราะขั้นที่
2 ซึ่งเป็นขั้นกาหนดอัตราและปฏิกิริยานี้คายพลังงาน = E
หน้า :: 32
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
กรณีที่ 2 ถ้า A B เกิดช้าและไม่เกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ
B C เกิดเร็ว
สามารถเขียนภาพแสดงการเปลี่ยนแปลงพลังงานของปฏิกิริยาได้ดังนี้
ภาพที่ 13 แสดงการเปลี่ยนแปลงพลังงานของปฏิกิริยาที่มีหลายขั้นตอน กรณีที่ 2
ที่มา ; คู่มือรายวิชาเพิ่มเติม เคมี ม.4 – 6 เล่ม 3 น. 14
จากภาพที่ 13 จะเห็นว่า Ea3 > Ea2 แสดงว่า B เปลี่ยนไปเป็น A โดยผ่าน AC1
ได้ยากกว่าที่จะเปลี่ยนไปเป็นผลิตภัณฑ์ C โดยผ่าน AC2 ดังนั้นปฏิกิริยาในขั้นที่ 1 (A B )
จึงไม่เป็นปฏิกิริยาผันกลับ เพราะเมื่อ B เกิดขึ้นแล้วจะเกิดปฏิกิริยาต่อไปกลายเป็น C ทันที
เพราะฉะนั้นกลไกของปฏิกิริยาตามภาพ คือ
A B เกิดช้าและไม่เกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ
B C เกิดเร็ว
ปฏิกิริยารวม A C มีค่าพลังงานก่อกัมมันต์ = Ea1 เพราะขั้นที่ 1 เกิดช้าที่สุด
จึงเป็นขั้นกาหนดอัตรา ดังนั้น ปฏิกิริยารวม A C จึงเกิดช้า (มีค่า Ea = Ea1) และปฏิกิริยานี้
คายพลังงาน = E
หน้า :: 33
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
คาสั่ง จงพิจารณาภาพที่กาหนดให้แล้วตอบคาถามให้ถูกต้อง ( 10 คะแนน )
1. จงพิจารณาภาพที่กาหนดให้แล้วตอบคาถามให้ถูกต้อง
1.1 ปฏิกิริยาใดเกิดเร็วที่สุด ( 1 คะแนน)
ตอบ
1.2 ปฏิกิริยานี้เป็นปฏิกิริยาคายพลังงานหรือดูดพลังงาน เท่าใด ( 1 คะแนน)
ตอบ
1.3 ปฏิกิริยาใดเป็นปฏิกิริยาย้อนกลับ ( 1 คะแนน)
ตอบ
1.4 ปฏิกิริยาใดเป็นปฏิกิริยาไปข้างหน้า ( 1 คะแนน)
ตอบ
1.5 สารใดเป็นสารเชิงซ้อนที่ถูกกระตุ้น ( 1 คะแนน)
ตอบ
1.6 เมื่อคิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าและย้อนกลับปฏิกิริยาใดมีพลังงานก่อกัมมันต์ต่าที่สุด
( 1 คะแนน)
ตอบ
ใบงาน 3.3 พลังงานก่อกัมมันต์กับปฏิกิริยาที่มีหลายขั้นตอน
หน้า :: 34
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
2. จงพิจารณาภาพที่กาหนดให้แล้วตอบคาถามให้ถูกต้อง
2.1 ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นมีกี่ขั้น ( 1 คะแนน)
ตอบ
2.2 ปฏิกิริยาขั้นใดเกิดเร็วที่สุด ขั้นใดเกิดช้าที่สุด ( 1 คะแนน)
ตอบ
2.3 พลังงานก่อกัมมันต์ขั้นใดมีค่าน้อยที่สุด ขั้นใดมีค่ามากที่สุด ( 1 คะแนน)
ตอบ
2.4 ปฏิกิริยานี้ปฏิกิริยานี้เป็นปฏิกิริยาคายพลังงานหรือดูดพลังงาน เท่าใด ( 1 คะแนน)
ตอบ
หน้า :: 35
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
คาสั่ง : ให้นักเรียนเติมเครื่องหมายกากบาท (x) หน้าข้อความที่ไม่ถูกต้อง และเติมเครื่องหมายถูก
(/) หน้าข้อความที่ถูกต้อง (10 คะแนน)
1. ปฏิกิริยาเคมีจะเกิดขึ้นได้อนุภาคของสารตั้งต้นจะต้องชนกันในทิศทางที่เหมาะสม
2. สารตั้งต้นที่มีอนุภาคชนกันสามารถเกิดปฏิกิริยาทุกปฏิกิริยา
3. พลังงานที่เกิดจากการชนกันของสารตั้งต้นจะต้องมีค่าเท่ากับหรือมากกว่าพลังงาน
ก่อกัมมันต์จึงจะเกิดปฏิกิริยาเคมีได้
4. พลังงานก่อกัมมันต์ คือพลังงานที่ต่าที่สุดที่ทาให้เกิดปฏิกิริยาเคมีได้
5. ค่าพลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยา ถ้า Ea ต่าจะเกิดช้า Ea สูงจะเกิดเร็ว
6. ปฏิกิริยาเคมีจะต้องมีพลังงานมาเกี่ยวข้องเสมอ ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
ปฏิกิริยาเคมีประเภทคายความร้อนและปฏิกิริยาเคมีประเภทดูดความร้อน
จากภาพใช้ตอบคาถามข้อที่ 7 – 10
7. E1) คือ พลังงานของสารตั้งต้น A E5) คือ พลังงานของสารผลิตภัณฑ์ B
8. Ea3) คือ พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยา X B
9. E หาได้จาก E4 – E5
10. ปฏิกิริยาเคมีนี้เป็นปฏิกิริยาประเภทดูดพลังงาน
ขั้นที่ 5 ประเมินผล ( Evaluate )
ใบงาน 3.4 รู้อะไรบ้าง
หน้า :: 36
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
คาชี้แจง แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีและพลังงานกับการ
ดาเนินไปของปฏิกิริยาเคมี เป็นแบบทดสอบแบบเลือกตอบ 5 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ ใช้เวลา
10 นาที
คาสั่ง จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมายกากบาท (X) ลงใน
กระดาษคาตอบ
1. ทางการชนกันแบบใดของปฏิกิริยา
ก.
H2 I2
ข.
H2 I2
ค.
H2 I2
ง. ข้อ ก และ ค ถูก
จ. ข้อ ข และ ค ถูก
2. ข้อใดไม่ใช่ปัจจัยที่ทาให้เกิดปฏิกิริยาเคมี
ก. อนุภาคของสารตั้งต้นจะต้องมีการชนกัน
ข. อนุภาคของสารตั้งต้นจะต้องชนกันในทิศทางที่เหมาะสม
ค. สารตั้งต้นที่ทาปฏิกิริยากันแล้วเป็นสารเชิงซ้อนก่อนที่จะเป็นสารผลิตภัณฑ์
ง. พลังงานที่ได้จากกรชนของอนุภาคสารตั้งต้นจะต้องมีค่าเท่ากับหรือมากกว่าพลังงานก่อกัมมันต์
จ. ทุกข้อเป็นปัจจัยที่ทาให้เกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบทดสอบหลังเรียน
เรื่อง แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี และพลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยา
หน้า :: 37
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
3. ทิศข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับพลังงานก่อกัมมันต์
ก. ปฏิกิริยาเคมีต่างกันพลังงานก่อกัมมันต์ต่างกัน
ข. พลังงานก่อกัมมันต์ไม่เกี่ยวข้องกับพลังงานของปฏิกิริยา
ค. พลังงานก่อกัมมันต์ต่าจะทาให้มีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีต่าด้วย
ง. ปฏิกิริยาที่มีพลังงานก่อกัมมันต์ต่า ปฏิกิริยาจะเกิดง่ายหรือเร็วกว่าปฏิกิริยาที่มีพลังงาน
ก่อกัมมันต์สูง
จ. พลังงานก่อกัมมันต์ เป็นพลังงานจานวนน้อยที่สุดที่เกิดจากการชนของอนุภาคของสารตั้งต้น
แล้วทาให้เกิดปฏิกิริยาเคมี
จากกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยา ตอบคาถามข้อ 4
4. ข้อสรุปใดถูกต้อง
ก. ปฏิกิริยามีพลังงานก่อกัมมันต์เท่ากับ E2 – E1
ข. ปฏิกิริยานี้เกิดได้เร็ว เพราะ E1 ต่ากว่า E3 มาก
ค. ปฏิกิริยานี้เกิดได้เร็ว เพราะ E3 ต่ากว่า E2 มาก
ง. ปฏิกิริยานี้เป็นปฏิกิริยาคายพลังงานและพลังงานที่คายออกมีค่าเท่ากับ E2 – E3
จ. ปฏิกิริยานี้เป็นปฏิกิริยาดูดพลังงานและพลังงานที่ดูดเข้าไปมีค่าเท่ากับ E2 – E3
5. จากภาพเป็นการเตรียมสาร E โดยเริ่มจากสาร A มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานดังนี้
หน้า :: 38
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
ปฏิกิริยานี้มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานอย่างไร
ก. คายพลังงาน = x
ข. คายพลังงาน = z
ค. คายพลังงาน = z – y
ง. ดูดพลังงาน = w – y
จ. ดูดพลังงาน = z – y
6. จากโจทย์ข้อ 5 ปฏิกิริยาของสาร A → C มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานอย่างไร
ก. คายพลังงาน = w+y
ข. ดูดพลังงาน = w-x
ค. คายพลังงาน = y
ง. คายพลังงาน = x
จ. ดูดพลังงาน = w
7. จากข้อ 5 สารใดเป็นสารเชิงซ้อนก่อกัมมันต์
ก. C , E
ข. B , D
ค. C , D
ง. D , E
จ. A , B
จากกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยา แล้วตอบคาถามข้อ 8 - 10
หน้า :: 39
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
8. จากภาพเป็นปฏิกิริยาคายความพลังงานหรือดูดพลังงานเท่าใด
ก. ดูดพลังงาน เท่ากับ E2
ข. ดูดพลังงาน เท่ากับ E4
ค. คายพลังงาน เท่ากับ E1
ง. คายพลังงาน เท่ากับ E3
จ. คายพลังงาน เท่ากับ E4
9. พลังานก่อกัมมันต์มีค่าเท่ากับข้องใด
ก. E1
ข. E2
ค. E3
ง. E4
จ. ไม่มีข้อถูก
10.พลังงานของสารเชิงซ้อนมีค่าเท่ากับข้อใด
ก. E1
ข. E2
ค. E3
ง. E4
จ. ไม่มีข้อถูก
หน้า :: 40
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
ชื่อ..........................................................................ชั้น....................................เลขที่.....................
ข้อ ก ข ค ง จ ข้อ ก ข ค ง จ
1 6
2 7
3 8
4 9
5 10
รายการประเมิน คะแนนที่ได้ ผลการประเมิน
ผ่าน ไม่ผ่าน
ทดสอบก่อนเรียน ( 10 คะแนน )
ใบงานที่ 3.1 ( 15 คะแนน )
ใบงานที่ 3.2 ( 10 คะแนน )
ใบงานที่ 3.3 ( 10 คะแนน )
ใบงาน 3.4 ( 10 คะแนน )
ทดสอบหลังเรียน ( 10 คะแนน)
กระดาษคาตอบหลังเรียน เรื่อง แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
และพลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยา
แบบบันทึกคะแนน เรื่อง แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
และพลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยา
แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม3

More Related Content

What's hot

06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกลPhanuwat Somvongs
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมีThanyamon Chat.
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102พัน พัน
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกิตติธัช สืบสุนทร
 
8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบWijitta DevilTeacher
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีPreeyapat Lengrabam
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt10846
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนSukanya Nak-on
 
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงานแบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงานkrupornpana55
 
G biology bio7
G biology bio7G biology bio7
G biology bio7Bios Logos
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์Phattarawan Wai
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซกPreeyapat Lengrabam
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 

What's hot (20)

06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมี
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
2
22
2
 
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
 
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงานแบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
 
G biology bio7
G biology bio7G biology bio7
G biology bio7
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 

Similar to แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม3

ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดอัตราปฏิกิริยาเคมี เล่ม4
ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดอัตราปฏิกิริยาเคมี เล่ม4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดอัตราปฏิกิริยาเคมี เล่ม4
ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดอัตราปฏิกิริยาเคมี เล่ม4 ธิชารัศมิ์ ศรีบุญเรือง
 
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะโรงเรียนเดชอุดม
 
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาan1030
 
Pptวิชาเทคโน
PptวิชาเทคโนPptวิชาเทคโน
PptวิชาเทคโนUraiwan Bunnuang
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03jirupi
 
ทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshare
ทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshareทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshare
ทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshareKruManthana
 
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัยเล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัยPreeyapat Lengrabam
 
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3sopa sangsuy
 
เกมฟิเคชั่น.pdf
เกมฟิเคชั่น.pdfเกมฟิเคชั่น.pdf
เกมฟิเคชั่น.pdfssuser1c4d65
 
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...apiwat97
 
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ  ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ  ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...Ketsarin Prommajun
 
การศึกษาพฤติกรรมสาเหตุการทะเลาะวิวาทของเด็กนักเรียนอาชีวะม.6/1
การศึกษาพฤติกรรมสาเหตุการทะเลาะวิวาทของเด็กนักเรียนอาชีวะม.6/1การศึกษาพฤติกรรมสาเหตุการทะเลาะวิวาทของเด็กนักเรียนอาชีวะม.6/1
การศึกษาพฤติกรรมสาเหตุการทะเลาะวิวาทของเด็กนักเรียนอาชีวะม.6/1Poopa Somruthai
 
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยาMko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยาNanzzy Sutthanont
 
โครงร่างวิจัย+Reserch complete57
โครงร่างวิจัย+Reserch complete57โครงร่างวิจัย+Reserch complete57
โครงร่างวิจัย+Reserch complete57Aphitsada Phothiklang
 

Similar to แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม3 (20)

ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดอัตราปฏิกิริยาเคมี เล่ม4
ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดอัตราปฏิกิริยาเคมี เล่ม4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดอัตราปฏิกิริยาเคมี เล่ม4
ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดอัตราปฏิกิริยาเคมี เล่ม4
 
ตัวเร่งและตัวหน่วงปฏิกิริยาเคมี เล่ม7
ตัวเร่งและตัวหน่วงปฏิกิริยาเคมี เล่ม7 ตัวเร่งและตัวหน่วงปฏิกิริยาเคมี เล่ม7
ตัวเร่งและตัวหน่วงปฏิกิริยาเคมี เล่ม7
 
การเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม1
การเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม1การเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม1
การเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม1
 
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
 
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษา
 
Pptวิชาเทคโน
PptวิชาเทคโนPptวิชาเทคโน
Pptวิชาเทคโน
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03
 
ทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshare
ทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshareทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshare
ทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshare
 
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัยเล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
 
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
 
P56363401135 (3)
P56363401135 (3)P56363401135 (3)
P56363401135 (3)
 
เกมฟิเคชั่น.pdf
เกมฟิเคชั่น.pdfเกมฟิเคชั่น.pdf
เกมฟิเคชั่น.pdf
 
7 E
7 E7 E
7 E
 
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
 
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ  ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ  ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...
 
4mat
4mat4mat
4mat
 
Plan 4
Plan 4Plan 4
Plan 4
 
การศึกษาพฤติกรรมสาเหตุการทะเลาะวิวาทของเด็กนักเรียนอาชีวะม.6/1
การศึกษาพฤติกรรมสาเหตุการทะเลาะวิวาทของเด็กนักเรียนอาชีวะม.6/1การศึกษาพฤติกรรมสาเหตุการทะเลาะวิวาทของเด็กนักเรียนอาชีวะม.6/1
การศึกษาพฤติกรรมสาเหตุการทะเลาะวิวาทของเด็กนักเรียนอาชีวะม.6/1
 
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยาMko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
 
โครงร่างวิจัย+Reserch complete57
โครงร่างวิจัย+Reserch complete57โครงร่างวิจัย+Reserch complete57
โครงร่างวิจัย+Reserch complete57
 

แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม3

  • 1. หน้า :: 1 เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
  • 2. หน้า :: 2 เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es รายวิชาเคมี 3 เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยา เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีและพลังงานกับการ ดาเนินไปของปฏิกิริยาเคมี จัดทาขึ้นเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน และยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เป็นนวัตกรรมทางการศึกษาที่จัดกิจกรรมให้ ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ตามความสามารถและความสนใจ มีอิสระในการคิด ทุกคนมีโอกาส ใช้ความคิดอย่างเต็มที่ โดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ซึ่งชุดกิจกรรมนี้ จะช่วยให้ใช้เวลา น้อยลงในการนาเสนอข้อมูลต่างๆ สามารถประกอบกิจกรรมการเรียนด้วยตนเองมากกว่าที่จะให้ครู บอกหรือกาหนดให้ โดยครูเป็นผู้สร้างโอกาสทางการเรียนการสอน มีกิจกรรมให้กับนักเรียนเป็น รายบุคคล หรือรายกลุ่ม ซึ่งผู้เรียนจะดาเนินกิจกรรมการเรียนรู้ จากคาแนะนาที่ปรากฏอยู่ในชุด กิจกรรมเป็นไปตามลาดับขั้นด้วยตนเอง สอดคล้องกับธรรมชาติของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา และ ตอบสนองกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้รับ การพัฒนา ทั้งด้านความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา ความสามารถในการสื่อสาร การตัดสินใจ การนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวันตลอดจนมีจิตวิทยา ศาสตร์ คุณธรรมและค่านิยมที่ถูกต้องเหมาะสม ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es รายวิชาเคมี 3 เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ประกอบด้วยชุดกิจกรรม การเรียนรู้ ทั้งหมดจานวน 7 เล่ม เล่มนี้เป็นเล่มที่ 3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี และ พลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยา ใช้เวลา 2 ชั่วโมง หวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดกิจกรรมกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es เล่มนี้จะเป็น ประโยชน์ต่อการพัฒนาผู้เรียนและส่งเสริมให้ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ เป็นส่วนสาคัญในการพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ขอขอบพระคุณ นายมงคล อติอนุวรรตน์ ผู้อานวยการโรงเรียนซาสูงพิทยาคม คณะผู้เชี่ยวชาญทั้ง 5 ท่าน ตลอดจนผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่านที่ตรวจสอบ ให้ข้อเสนอแนะ ในการ ปรับปรุงเพื่อการแก้ไขชุดกิจกรรมกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es ให้มีความสมบูรณ์อัน ส่งผลให้ชุดกิจกรรมนี้มีประสิทธิภาพ และสาเร็จลุล่วงได้ด้วยดีไว้ ณ โอกาสนี้ ธิชารัศมิ์ ศรีบุญเรือง คานา ก
  • 3. หน้า :: 3 เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 หน้า คานา……………………………………………………………………………………………………………….… ก สารบัญ............................................................................................................................. ข คาชี้แจงการใช้กิจกรรมการเรียนรู้.................................................................................... 1 คาแนะนาการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้............................................................................ 2 บทบาทของนักเรียน......................................................................................................... 3 ลาดับขั้นตอนการศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es............................ 4 ส่วนประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es............ 5 ผังมโนทัศน์การเรียนรู้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es............................... 6 สาระสาคัญ / สาระการเรียนรู้ / มาตรฐานการเรียนรู้.................................................. 7 ผลการเรียนรู้ / จุดประสงค์การเรียนรู้............................................................................. 8 แบบทดสอบก่อนเรียน ................................................................................................... 9 กระดาษคาตอบแบบทดสอบก่อนเรียน ........................................................................... 12 กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 สร้างความสนใจ (Engage) - กิจกรรมทดลอง 3.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี............................................... 13 ขั้นที่ 2 สารวจและค้นหา (Explore) - ใบความรู้ 3.1 แนวคิดการเกิดปฏิกิริยาเคมีและพลังงานกับการดาเนินไป ของปฏิกิริยาเคมี..................................................................................... - ใบงาน 3.1 แนวคิดการเกิดปฏิกิริยาเคมีและพลังงานกับการดาเนินไป ของปฏิกิริยาเคมี....................................................................................... 15 23 ขั้นที่ 3 อธิบายและลงข้อสรุป (Explain) - ใบงาน 3.2 ความรู้ที่ได้........................................................................... 25 สารบัญ ข
  • 4. หน้า :: 4 เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 หน้า ขั้นที่ 4 ขยายความรู้ - ใบความรู้ 3.2 พลังงานก่อกัมมันต์กับปฏิกิริยาเคมีที่มีหลายขั้นตอน....... - ใบความรู้ 3.3 พลังงานก่อกัมมันต์กับปฏิกิริยาเคมีที่มีหลายขั้นตอน....... 26 29 ขั้นที่ 5 ประเมิน - ใบงาน 3.4 รู้อะไรบ้าง....................................................................... ..... 31 แบบทดสอบหลังเรียน...................................................................................................... 32 กระดาษคาตอบหลังเรียน ............................................................................................... 36 บันทึกคะแนน เรื่อง แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีและพลังงานกับการดาเนิน ไปของปฏิกิริยา............................................................................................... 36 บรรณานุกรม................................................................................................................... 37 สารบัญ ( ต่อ )
  • 5. หน้า :: 5 เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 1. ชุดกิจกรรมนี้เป็นชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es รายวิชาเคมี 3 เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 3 แนวคิดเกี่ยวกับการ เกิดปฏิกิริยาเคมีและพลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยาเคมี 2. ส่วนประกอบของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es รายวิชาเคมี 3 เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 3 แนวคิดเกี่ยวกับการ เกิดปฏิกิริยาเคมีและพลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยาเคมี ประกอบด้วย  คาชี้แจงการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้  คาแนะนาการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สาหรับนักเรียน  บทบาทนักเรียน  แผนผังขั้นตอนการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้  กระบวนการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้  สาระ / มาตรฐานการเรียนรู้ / ผลการเรียนรู้ / จุดประสงค์การเรียนรู้ / สาระสาคัญ  แบบทดสอบก่อนเรียน ( Pre – test )  กระดาษคาตอบแบบทดสอบก่อนเรียน  กิจกรรมการเรียนรู้  แบบทดสอบหลังเรียน (Post – test )  กระดาษคาตอบแบบทดสอบหลังเรียน  แบบบันทึกคะแนนการเรียนรู้  บรรณานุกรม 3. ผู้ใช้ควรศึกษาคาแนะนาก่อนใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ คาชี้แจงการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
  • 6. หน้า :: 6 เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 การเรียนรู้โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es รายวิชาเคมี 3 เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี และพลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยาเคมี นักเรียนจะต้องปฏิบัติตามขั้นตอน ดังนี้ 1. ศึกษาบทบาทของนักเรียนในการเรียนรู้โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดกิจกรรมการ เรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es 2. การเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es ใช้เวลา 2 ชั่วโมง 3. อ่านคาชี้แจง คาแนะนา และขั้นตอนการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es ให้เข้าใจก่อนทากิจกรรม 4. ศึกษามาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ และสาระสาคัญ 5. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน จานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที เพื่อประเมินความรู้ พื้นฐานของนักเรียน 6. ปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอนที่ระบุไว้ในชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es ประกอบด้วย ขั้นที่ 1 สร้างความสนใจ (Engage) ขั้นที่ 2 สารวจและค้นหา (Explore) ขั้นที่ 3 อธิบายและลงข้อสรุป (Explain) ขั้นที่ 4 ขยายความรู้ (Elaborate) และขั้นที่ 5 ประเมินผล (Evaluate) เมื่อปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ เสร็จเรียบร้อยแล้วให้ตรวจคาตอบจากเฉลย แล้วบันทึก คะแนนลงในแบบบันทึกคะแนนของนักเรียน นักเรียนจะต้องได้คะแนนทุกกิจกรรมไม่ต่ากว่าร้อยละ 80 จึงจะผ่านเกณฑ์ ถ้าไม่ผ่านเกณฑ์ ให้กลับไปอ่านทาความเข้าใจเกี่ยวกับเนื้อหาอีกครั้งแล้วตอบ ใหม่ 7. เมื่อศึกษาและปฏิบัติกิจกรรมครบทุกกิจกรรมแล้วและได้คะแนนแต่ละกิจกรรมผ่าน เกณฑ์ที่กาหนด ให้ทาแบบทดสอบหลังเรียน จานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที เพื่อ เปรียบเทียบความก้าวหน้าของนักเรียน 8. ตรวจคาตอบจากเฉลยแบบทดสอบก่อน – หลังเรียน พร้อมทั้งบันทึกคะแนนที่ได้ เพื่อตรวจสอบความก้าวหน้าทางการเรียน ซึ่งนักเรียนต้องทาแบบทดสอบหลังเรียนได้ไม่ต่ากว่า ร้อยละ 80 จึงจะผ่านเกณฑ์ ถ้านักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ตามที่กาหนดให้ทบทวนเนื้อหาแล้วให้ทา แบบทดสอบหลังเรียนอีกครั้ง หากผ่านเกณฑ์ให้ศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่ม 4 ต่อไป ข้อควรปฏิบัติ นักเรียนควรศึกษาด้วยความตั้งใจ เอาใจใส่ มีความรับผิดชอบต่อตนเอง ไม่ควรดูเฉลยก่อน จะทากิจกรรม ซึ่งจะทาให้นักเรียนเข้าใจ และได้รับประโยชน์จากการศึกษาชุดกิจกรรมเล่มนี้มากที่สุด คาแนะนาการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
  • 7. หน้า :: 7 เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5  กรณีไม่มีการแบ่งกลุ่ม o นักเรียนทุกคนปฏิบัติกิจกรรม ด้วยความตั้งใจ และไม่ชวนเพื่อนคุยหรือเล่นกัน o ปฏิบัติตามขั้นตอนในการทากิจกรรมให้เสร็จทันเวลาที่กาหนด o ปฏิบัติตามขั้นตอนในการทากิจกรรมด้วยตนเองอย่างเต็มความสามารถ ไม่ลอกเลียนแบบ คนอื่น o ตั้งใจตอบคาถามและยกมือซักถามเมื่อพบปัญหาหรือข้อสงสัย o เก็บวัสดุ อุปกรณ์ สื่อการเรียนการสอน จัดโต๊ะ เก้าอี้ให้อยู่ในสภาพเรียบร้อยและทาความ สะอาดก่อนออกจากห้องเรียน  กรณีมีการแบ่งกลุ่ม 1. บทบาทของผู้นากลุ่ม มีหน้าที่ ดังนี้ o ควบคุมการดาเนินกิจกรรมภายในกลุ่มให้เป็นระเบียบเรียบร้อย o เป็นผู้ติดต่อกับครู เมื่อพบปัญหาหรือข้อสงสัย o เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเสร็จ ให้รายงานหรือแจ้งผลการปฏิบัติกิจกรรมให้ครูทราบ o หลักจากสมาชิกปฏิบัติกิจกรรมภายในกลุ่มเสร็จแล้ว ให้เก็บวัสดุหรืออุปกรณ์ส่งครูตาม เวลาที่กาหนด 2. บทบาทของสมาชิกภายในกลุ่ม มีหน้าที่ ดังนี้ o ตอบคาถามด้วยความตั้งใจให้ทันเวลา โดยไม่ชวนเพื่อนคุยหรือเล่นกัน o ควรปรึกษากันด้วยเสียงเบาๆ ไม่ควรปรึกษากันเสียงดังเกินไป จนรบกวนกลุ่มอื่น o ปฏิบัติตามขั้นตอนในการทากิจกรรม ตั้งใจตอบคาถามอย่างเต็มความสามารถ o เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเสร็จเรียบร้อยแล้ว ต้องช่วยกันเก็บวัสดุ อุปกรณ์ สื่อการเรียนต่าง ๆ จัดโต๊ะ และเก้าอี้ให้อยู่ในสภาพเรียบร้อย และทาความสะอาดก่อนออกจากห้องเรียน บทบาทของนักเรียน
  • 8. หน้า :: 8 เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 1. ศึกษาคาชี้แจง คาแนะนาการใช้ชุด กิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es 5. ทาแบบทดสอบหลังเรียน จานวน 10 ข้อ 10 นาที ศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es เล่ม 4 ต่อไป ผ่านเกณฑ์ไม่ผ่านเกณฑ์ ลาดับขั้นตอนการศึกษา ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es 2. ศึกษามาตรฐาน / สาระสาคัญ /ผลการ เรียนรู้ / จุดประสงค์การเรียนรู้ 3. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน 10 ข้อ 10 นาที 4. ปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ตามขั้นตอน ประกอบด้วย  ขั้นที่ 1 สร้างความสนใจ  ขั้นที่ 2 สารวจและค้นหา  ขั้นที่ 3 อธิบายและลงข้อสรุป  ขั้นที่ 4 ขยายความรู้  ขั้นที่ 5 ประเมินผล 6. ตรวจสอบคาตอบของใบงานและ กิจกรรมแต่ละขั้น เพื่อตรวจสอบความ เข้าใจ โดยจะต้องผ่านเกณฑ์ที่กาหนด ถ้าไม่ผ่านเกณฑ์จะต้องกลับไปศึกษา เนื้อหาที่ไม่ผ่านเกณฑ์ อีกครั้งจนกว่า ผ่านเกณฑ์ที่กาหนด 7. ตรวจคาตอบ ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 80
  • 9. หน้า :: 9 เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5  แบบทดสอบก่อนเรียน  ขั้นที่ 1 สร้างความสนใจ ( Engage )  กิจกรรม 3.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี  ขั้นที่ 2 สารวจและค้นหา ( Explore )  ศึกษาใบความรู้ 3.1 แนวคิดการเกิดปฏิกิริยาเคมีและพลังงานกับ การดาเนินไปของปฏิกิริยาเคมี  ใบงาน 3.1 แนวคิดการเกิดปฏิกิริยาเคมีและพลังงานกับการ ดาเนินไปของปฏิกิริยาเคมี  ขั้นที่ 3 อธิบายและลงข้อสรุป ( Explain )  ใบงาน 3.2 ความรู้ที่ได้  ขั้นที่ 4 ขยายความรู้ ( Elaborate )  ใบความรู้ 3.2 พลังงานก่อกัมมันต์กับปฏิกิริยาเคมีที่มีหลาย ขั้นตอน  ใบงาน 3.3 พลังงานก่อกัมมันต์ที่มีหลายขั้นตอน  ขั้นที่ 5 ประเมิน ( Evaluate )  ใบงาน 3.4 รู้อะไรบ้าง  แบบทดสอบหลังเรียน ส่วนประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es
  • 10. หน้า :: 10 เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 แนวคิดเกี่ยวกับการ เกิดปฏิกิริยาเคมีและ พลังงานกับการดาเนิน ไปของปฏิกิริยาเคมี พลังงาน ก่อกัมมันต์ ทฤษฎีการชน พลังงาน ก่อกัมมันต์ กับปฏิกิริยา หลายขั้นตอน ปฏิกิริยาคาย พลังงาน ปฏิกิริยาดูด พลังงาน ทฤษฎีสาร เชิงซ้อน ผังมโนทัศน์การเรียนรู้ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es เล่ม 3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี และพลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยาเคมี
  • 11. หน้า :: 11 เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 การเกิดปฏิกิริยาเคมีขึ้นอยู่กับปัจจัยต่อไปนี้ 1. อนุภาคของสารตั้งต้นต้องชนกัน 2. อนุภาคของสารที่ชนกันต้องมีทิศทางในการชนที่เหมาะสม 3. อนุภาคของสารที่ชนกันแล้วต้องมีพลังงานที่เกิดจากการชนเท่ากับหรือมากกว่า พลังงานก่อกัมมันต์ การเกิดปฏิกิริยาเคมีต้องมีพลังงานเข้ามาเกี่ยวข้อง คือ มีการดูดกลืนพลังงาน เข้าไปเพื่อสลายพันธะในสารตั้งต้น และคายพลังงานออกมาเมื่อสร้างพันธะเกิดเป็น ผลิตภัณฑ์  แนวคิดการเกิดปฏิกิริยาเคมี  พลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยา มาตรฐานการเรียนรู้ ว 3.2 เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิด สารละลาย การเกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสาร สิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ สาระสาคัญ สาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้
  • 12. หน้า :: 12 เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 อธิบายแนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีโดยใช้ทฤษฎีจลน์และการชนกันของอนุภาค และการเกิดสารเชิงซ้อนกัมมันต์ ปฏิกิริยาดูดหรือคายพลังงาน 1. ด้านความรู้ (Knowledge : K ) 1.1 นักเรียนสามารถอธิบายการเกิดปฏิกิริยาเคมีโดยใช้ทฤษฎีจลน์ การชนกัน ของอนุภาค และการเกิดสารเชิงซ้อนกัมมันต์ได้ 1.2 ระบุปัจจัยที่ทาให้เกิดปฏิกิริยาเคมีได้ 1.3 บอกความหมายของพลังงานก่อกัมมันต์ และทานายความยากง่ายของการ เกิดปฏิกิริยาเคมี โดยพิจารณาจากค่าพลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยานั้น ๆ ได้ 2. ด้านทักษะกระบวนการ (Process : P ) 2.1 แปลความหมายจากกราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงพลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยา และระบุได้ว่าเป็นปฏิกิริยาประเภทดูดพลังงานหรือคายพลังงานได้ 2.2 หาค่าพลังงานที่ดูดกลืน พลังงานคายออก และพลังงานรวมของปฏิกิริยาจากกราฟได้ 3. ด้านคุณลักษณะ (Attitude : A ) นักเรียนมีความใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีความรับผิดชอบ มีความตั้งใจในการทางานมีการแสดงความ คิดเห็น ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ ผลการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้
  • 13. หน้า :: 13 เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 คาชี้แจง : แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง แนวคิดการเกิดปฏิกิริยาเคมีและพลังงานกับการดาเนินไป ของปฏิกิริยาเคมี เป็นแบบทดสอบแบบเลือกตอบ 5 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที คาสั่ง : จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมายกากบาท (X) ลงในกระดาษคาตอบ 1. ข้อใดไม่ใช่ปัจจัยที่ทาให้เกิดปฏิกิริยาเคมี ก. อนุภาคของสารตั้งต้นจะต้องมีการชนกัน ข. อนุภาคของสารตั้งต้นจะต้องชนกันในทิศทางที่เหมาะสม ค. สารตั้งต้นที่ทาปฏิกิริยากันแล้วเป็นสารเชิงซ้อนก่อนจึงจะเป็นสารผลิตภัณฑ์ ง. พลังงานที่ได้จากการชนของอนุภาคสารตั้งต้นจะต้องมีค่าเท่ากับหรือมากกว่าพลังงาน ก่อกัมมันต์ จ. ทุกข้อเป็นปัจจัยที่ทาให้เกิดปฏิกิริยาเคมี 2. ทิศทางการชนของปฏิกิริยา H2(g) + I2(g) HI(g) แบบใดไม่ทาให้เกิดปฏิกิริยา ก. H2 I2 ข. H2 I2 ค. H2 I2 ง. ข้อ ก และ ค ถูก จ. ข้อ ข และ ค ถูก แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี และพลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยา
  • 14. หน้า :: 14 เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 3. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับพลังงานก่อกัมมันต์ ก. ปฏิกิริยาเคมีต่างกันพลังงานก่อกัมมันต์ต่างกัน ข. พลังงานก่อกัมมันต์ไม่เกี่ยวข้องกับพลังงานของปฏิกิริยา ค. พลังงานก่อกัมมันต์ต่าจะทาให้มีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีต่าด้วย ง. ปฏิกิริยาที่มีพลังงานก่อกัมมันต์ต่า ปฏิกิริยาจะเกิดง่ายหรือเร็วกว่าปฏิกิริยาที่มีพลังงาน ก่อกัมมันต์สูง จ. พลังงานก่อกัมมันต์ เป็นพลังงานจานวนน้อยที่สุดที่เกิดจากการชนของอนุภาคของสารตั้งต้น แล้วทาให้เกิดปฏิกิริยาเคมี จากกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยา แล้วตอบคาถามข้อ 4 - 6 4. จากภาพเป็นปฏิกิริยาคายพลังงานหรือดูดพลังงานเท่าใด ก. ดูดพลังงาน เท่ากับ E2 ข. ดูดพลังงาน เท่ากับ E4 ค. คายพลังงาน เท่ากับ E1 ง. คายพลังงาน เท่ากับ E3 จ. คายพลังงาน เท่ากับ E4 5. พลังงานก่อกัมมันต์มีค่าเท่ากับข้อใด ก. E1 ข. E2 ค. E3 ง. E4 จ. ไม่มีข้อถูก
  • 15. หน้า :: 15 เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 6. พลังงานของสารเชิงซ้อนมีค่าเท่ากับข้อใด ก. E1 ข. E2 ค. E3 ง. E4 จ. ไม่มีข้อถูก จากกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยา ใช้ตอบคาถามข้อ 7 -10 7. ข้อสรุปใดถูกต้อง ก. ปฏิกิริยามีพลังงานก่อกัมมันต์เท่ากับ E2 – E1 ข. ปฏิกิริยานี้เกิดได้เร็ว เพราะ E1 ต่ากว่า E3 มาก ค. ปฏิกิริยานี้เกิดได้เร็ว เพราะ E3 ต่ากว่า E2 มาก ง. ปฏิกิริยานี้เป็นปฏิกิริยาคายพลังงานและพลังงานที่คายออกมีค่าเท่ากับ E2 – E3 จ. ปฏิกิริยานี้เป็นปฏิกิริยาดูดพลังงานและพลังงานที่ดูดเข้าไปมีค่าเท่ากับ E2 – E3 8. จากภาพเป็นการเตรียมสาร E โดยเริ่มจากสาร A มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานดังนี้
  • 16. หน้า :: 16 เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 ปฏิกิริยานี้มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานอย่างไร ก. คายพลังงาน = x ข. คายพลังงาน = z ค. คายพลังงาน = z – y ง. ดูดพลังงาน = w – y จ. ดูดพลังงาน = z – y 9. จากโจทย์ข้อ 8 ปฏิกิริยาของสาร A → C มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานอย่างไร ก. คายพลังงาน = w+y ข. ดูดพลังงาน = w-x ค. คายพลังงาน = y ง. คายพลังงาน = x จ. ดูดพลังงาน = w 10. จากข้อ 8 สารใดเป็นสารเชิงซ้อนกัมมันต์ ก. C , E ข. B , D ค. C , D ง. D , E จ. A , B ชื่อ..........................................................................ชั้น....................................เลขที่..................... ข้อ ก ข ค ง จ ข้อ ก ข ค ง จ 1 6 2 7 3 8 4 9 5 10 กระดาษคาตอบก่อนเรียน เรื่อง แนวคิดการเกิดปฏิกิริยาเคมี และพลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยาเคมี
  • 17. หน้า :: 17 เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 คาสั่ง : ให้นักเรียนทากิจกรรมทดลองตามกิจกรรม 3.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี 1. จุดประสงค์การทดลอง เพื่อศึกษาการเกิดปฏิกิริยาเคมี 2. สารเคมี 2.1 สารละลายโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต (NaHCO3) เข้มข้น 1 mol/dm3 5 cm3 2.2 สารละลายกรดไฮโดรคลอริก (HCl) เจือจาง 5 cm3 2.3 สารละลายโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) เข้มข้น 1 mol/dm3 5 cm3 2.4 สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) เข้มข้น 1 mol/dm3 5 cm3 3. อุปกรณ์ 3.1 หลอดทดลองขนาดกลาง จานวน 2 หลอด 3.2 บีกเกอร์ ขนาด 25 ml จานวน 4 ใบ 3.3 กระบอกตวง ขนาด 10 ml 1 อัน 4. วิธีการทดลอง 4.1 รินสารละลายโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต (NaHCO3) เข้มข้น 1 mol/dm3 ลงใน หลอดทดลองขนาดกลางจานวน 5 cm3 เติมสารละลายสารละลายกรดไฮโดรคลอริก (HCl) เจือจาง จานวน 5 cm3 เขย่าให้เข้ากัน สังเกตการเปลี่ยนแปลงและบันทึกผล การทดลอง 4.2 รินสารละลายกรดไฮโดรคลอริก (HCl) เข้มข้น 1 mol/dm3 5 cm3 ลงในหลอด ทดลองขนาดกลางจานวน 5 cm3 เติมสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) เข้มข้น 1 mol/dm3 5 cm3 สังเกตการเปลี่ยนแปลงและบันทึกผลการทดลอง 5. บันทึกผลการทดลอง การทดลอง การเปลี่ยนแปลงที่สังเกตได้ NaHCO3 + HCl HCl + NaOH ขั้นที่ 1 สร้างความสนใจ ( Engage ) กิจกรรมทดลอง 3.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
  • 18. หน้า :: 18 เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 6. สรุปผลการทดลอง . . .
  • 19. หน้า :: 19 เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 คาสั่ง : ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ 3.1 แล้วทาใบงาน 3.1 แนวคิดการเกิดปฏิกิริยาเคมี และ พลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยาเคมี การเกิดปฏิกิริยาเคมี การเกิดปฏิกิริยาเคมีสามารถอธิบายได้โดยใช้ทฤษฎีการชนและทฤษฎีสารเชิงซ้อน ที่ถูกกระตุ้น ดังนี้ 1. ทฤษฎีการชนกัน (Collision Theory) ปฏิกิริยาเคมีจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่ออนุภาคของสารตั้งต้นอาจเป็นโมเลกุล อะตอม หรือ ไอออนก็ได้ จะต้องมีการเคลื่อนที่ชนกันก่อน การชนกันของอนุภาคของสารตั้งต้นจะเกิดปฏิกิริยาได้ หรือไม่ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่อไปนี้ 1.1 พลังงานจลน์ที่เกิดจากอนุภาคที่เคลื่อนที่ชนกัน อนุภาคของสารตั้งต้นเมื่อชน กันแล้วจะเกิดปฏิกิริยาได้ก็ต่อเมื่ออนุภาคที่ชนกันจะต้องเคลื่อนที่เร็วหรือมีพลังงานจลน์สูง คือ เมื่อ ชนกันแล้วพลังงานที่ได้จากการชนจะต้องสูงพอที่ทาให้พันธะในสารตั้งต้นสลายแล้วสร้างพันธะใหม่ เกิดเป็นสารผลิตภัณฑ์ได้ 1.2ทิศทางการชนของอนุภาค การชนกันของอนุภาคจะ เกิดปฏิกิริยาได้ นอกจากอนุภาคของสารตั้งต้นจะต้องชนกันก่อนและมี พลังงานจลน์สูง ยังขึ้นอยู่กับทิศทางในการชนด้วย กล่าวคือ สารตั้งต้นที่ชน กันจะต้องมีทิศทางการชนที่เหมาะสมจึงจะเกิดปฏิกิริยา ดังภาพที่ 1 - 2 ภาพที่ 1 การชนกันในทิศทางที่เหมะสมทาให้การชนกันเป็นผลสาเร็จเกิดผลิตภัณฑ์ขึ้น ขั้นที่ 2 สารวจและค้นหา ( Explore ) ใบความรู้ 3.1 แนวคิดการเกิดปฏิกิริยาเคมี และพลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยาเคมี B B A A B B A A BA BA
  • 20. หน้า :: 20 เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 ภาพที่ 2 การชนกันในทิศทางที่ไม่เหมาะสม ทาให้การชนกันไม่เป็นผลสาเร็จหรือไม่เกิดปฏิกิริยา ตัวอย่าง 1 ปฏิกิริยาระหว่างแก๊สไฮโดรเจน (H2) กับไอของไอโอดีน (I2) กลายเป็นแก๊สไฮโดรเจน ไอโอไดด์ (HI) ดังสมการ H2(g) + I2(g) → 2HI(g) มีทิศทางการชน ดังภาพที่ 3 - 5 H2 I2 H2 I2 ภาพที่ 3 การชนกันในทิศทางที่ไม่เหมาะสม ทาให้ไม่เกิดปฏิกิริยา (ไม่เกิด HI) H2 I2 H2 I2 ภาพที่ 4 การชนกันในทิศทางที่ไม่เหมาะสม ทาให้ไม่เกิดปฏิกิริยา(ไม่เกิด HI) H2 I2 HI ภาพที่ 5 การชนกันในทิศทางที่เหมะสมทาให้เกิดปฏิกิริยาได้ HI AA B B AA B B AA B B
  • 21. หน้า :: 21 เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 เมื่อพิจารณาการชนกันของแก๊สไฮโดรเจนกับแก๊สไอโอดีนพบว่า การชนกันแบบภาพที่ 5 มีโอกาสที่จะเกิดปฏิกิริยาเคมีได้มากกว่าแบบภาพที่ 3 - 4 เนื่องจากทิศทางในการชนกันของโมเลกุล ทั้งสองมีความเหมาะสม ตัวอย่างที่ 2 ปฏิกิริยาระหว่าง H2O(g) กับ CO(g) ได้ผลิตภัณฑ์เป็น H2(g) และ CO (g) ตามสมการ H2O(g) + CO(g) H2(g) + CO2(g) มีทิศทางการชน ดังภาพที่ 6 แบบที่ 1 H2O CO H2 CO2 แบบที่ 2 H2O CO H2O CO แบบที่ 3 H2O CO H2O CO อะตอมของไฮโดรเจน อะตมอของออกซิเจน อะตอมของคาร์บอน ภาพที่ 6 แสดงการจัดตัวของโมเลกุล H2O และ CO2 การชนกันในแบบที่ 1 ออกซิเจนใน H2O ชนกับคาร์บอนใน CO ซึ่งถ้ามีพลังงานสูง พอจะได้เป็น CO2 และ H2 แสดงว่าทิศทางของการชนเหมาะสม สามารถเกิดปฏิกิริยาได้ การชนกันในแบบที่ 2 ออกซิเจนใน H2O และใน CO ชนกัน ซึ่งเป็นทิศทางของการชน ที่ไม่เหมาะสม ถึงแม้ว่าจะมีพลังงานสูงก็จะไม่เกิดปฏิกิริยา CO2 และ H2 การชนกันในแบบที่ 3 ไฮโดรเจนใน H2O ชนกับคาร์บอนใน CO ซึ่งก็เป็นทิศทางการชน ที่ไม่เหมาะสมเช่นเดียวกัน ดังนั้นการชนแบบนี้จะไม่มีปฏิกิริยาเกิดขึ้น
  • 22. หน้า :: 22 เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 ตัวอย่างที่ 3 ปฏิกิริยาระหว่าง NO(g) กับ O3(g) ได้ผลิตภัณฑ์เป็นก๊าซ NO และ O2 ดัง สมการ NO+ O3 NO2 + O2 อาจจะชนกันได้หลายแบบ ดังนี้ ปฏิกิริยาระหว่าง NO(g) กับ O3(g) ได้ผลิตภัณฑ์เป็นก๊าซ NO และ O2 อาจจะชนกัน ได้หลายแบบ ดังนี้ แบบที่ 1 NO O3 NO O3 แบบที่ 2 NO O3 NO2 O2 ภาพที่ 7 แสดงทิศทางการชนกันของ NO และ O3 ที่มา https://krumuaykanya.wordpress.com/อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี/ การชนกันในภาพแบบที่ 2 เท่านั้น ถ้าพลังงานของโมเลกุลสูงมากพอ จะทาให้ เกิดปฏิกิริยาเคมีได้ เนื่องจากมีทิศทางการชนที่เหมาะสม สาหรับการชนแบบอื่นๆ ถึงแม้ว่าจะมี พลังงานสูงก็ไม่เกิดปฏิกิริยา เพราะทิศทางการชนไม่เหมาะสม จากข้อมูลที่กล่าวมาสรุปได้ว่าปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้นได้เมื่อ 1. อนุภาคของสารตั้งต้นชนกัน 2. ชนในทิศทางที่เหมาะสม 3. พลังงานที่เกิดจากการชนกันอย่างน้อยที่สุดปริมาณหนึ่งซึ่งเท่ากับพลังงานก่อกัมมันต์ ( Ea )
  • 23. หน้า :: 23 เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 2. พลังงานก่อกัมมันต์ (Activation energy) ปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้นได้เมื่ออนุภาคของสารตั้งต้นชนกันในทิศทางที่เหมาะสม รวมทั้ง ต้องมีพลังงานที่เกิดจากการชนกันอย่างน้อยที่สุดปริมาณหนึ่งซึ่งเท่ากับ พลังงานก่อกัมมันต์ ใช้สัญลักษณ์ย่อ เป็น Ea อนุภาคที่ชนกันแล้วเกิดพลังงานเท่ากับหรือมากกว่าพลังงานก่อกัมมันต์จะต้องเป็นอนุภาคที่ มีพลังงานจลน์สูงพอเท่านั้น เช่น ปฏิกิริยาระหว่าง H2 และ O2 เป็น H2O ในสภาวะปกติเมื่อ เราปล่อยให้ H2 และ O2 อยู่รวมกันจะไม่เกิดน้าขึ้น แต่เมื่อเราให้พลังงานแก่ระบบโดยการเอาไฟ จุดแก๊สที่ผสมกันอยู่ปฏิกิริยาก็จะเกิดทันทีและรวดเร็วจนเกิดการระเบิด เราทราบมาแล้วว่าการที่ โมเลกุลของ H2 และ O2 จะชนกันจนเกิดปฏิกิริยาได้ H2O นั้น โมเลกุล ของ H2 และ O2 จะต้องชนกันแล้วมีพลังงานสูงพอที่จะทาให้พันธะระหว่าง O=O และ H - H สลายตัวและเกิดพันธะ H-O-H ใหม่ได้ หรือชนกันแล้วได้พลังงานเท่ากับหรือมากกว่า พลังงานก่อกัมมันต์ ในภาวะปกติโมเลกุลของ H2 และ O2 มีพลังงานไม่พอจึงต้องเติมพลังงานเข้า ไป เมื่อเติมพลังงานเข้าไปก็จะทาให้บางโมเลกุลมีพลังงานสูงพอที่จะชนกันแล้วเกิดปฏิกิริยาได้ เพื่อให้เข้าใจดีขึ้นจึงอาจเปรียบเทียบการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับการเดินทางข้ามภูเขาดังภาพที่ 8 ภาพที่ 8 เปรียบเทียบการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับการเดินทางข้ามภูเขา ที่มา https://sites.google.com/site/topengpjack/reiyn-khemi-xxnlin/xatra-kar- keid-ptikiriya/naewkhid-keiyw-kab-kar-keid-ptikiriya-khemi จากภาพที่ 8 คนที่จะเดินข้ามภูเขาได้ภายในเวลาที่กาหนดขึ้นอยู่กับ องค์ประกอบ 2 ประการ 1. จานวนคนที่แข็งแรงหรือมีพลังงานมาก 2. ความสูงของภูเขา ถ้าอุปมาอุปไมยจานวนคนที่แข็งแรงหรือมีพลังงานสูงกับจานวนอนุภาคที่มีพลังงานสูง และ ความสูงของภูเขากับค่าพลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยานั้น ช่วยให้อธิบายได้ว่าการที่บางปฏิกิริยา เกิดขึ้นช้ามาก เพราะปฏิกิริยานั้นมีค่าพลังงานก่อกัมมันต์สูงมาก หรือภูเขามีความสูงมาก และ
  • 24. หน้า :: 24 เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 อนุภาคที่มีพลังงานสูงมีจานวนน้อย โอกาสที่จะชนกันเพื่อให้ได้พลังงานสูงเท่ากับพลังงาน ก่อกัมมันต์จึงมีน้อยด้วย ในกรณีของปฏิกิริยาที่เกิดได้เร็ว เพราะปฏิกิริยานั้นมีค่าพลังงานก่อกัมมันต์ น้อย หรือภูเขามีความสูงต่า และอนุภาคที่มีพลังงานสูงมีจานวนมาก โอกาสที่จะชนกันเพื่อให้ได้ พลังงานสูงหรือเท่ากับพลังงานก่อกัมมันต์จึงมีมากด้วย มีผลทาให้เกิดปฏิกิริยาเคมีได้ ในปฏิกิริยาเคมีต่าง ๆ จะมีค่าพลังงานก่อกัมมันต์ไม่เท่ากัน สามารถเขียนความสัมพันธ์ ระหว่างพลังงานก่อกัมมันต์กับการเกิดปฏิกิริยาเคมีได้ดังนี้ 1. ถ้าพลังงานก่อกัมมันต์มีค่าน้อยปฏิกิริยาจะเกิดเร็ว 2. ถ้าพลังงานก่อกัมมันต์มีค่ามากปฏิกิริยาจะเกิดช้า 3. ทฤษฎีสารเชิงซ้อนที่ถูกกระตุ้น (Activated Complex Theory) เมื่อสารตั้งต้นเข้าทาปฏิกิริยากันจะมีสารใหม่เกิดขึ้นเป็นผลิตภัณฑ์ ในระหว่างที่สารตั้งต้น เปลี่ยนเป็นผลิตภัณฑ์ จะมีสารเชิงซ้อนกัมมันต์เกิดขึ้นก่อนเพียงชั่วขณะ สารเชิงซ้อนกัมมันต์ เป็น สารที่ไม่อยู่ตัว (Unstable) มีอายุสั้น พร้อมที่จะเปลี่ยนเป็นสารผลิตภัณฑ์หรือกลับคืนเป็นสารตั้งต้น อย่างเดิมก็ได้ เมื่อสารเชิงซ้อนที่ถูกกระตุ้นสลายตัวกลายเป็นสารผลิตภัณฑ์ พันธะเก่าก็จะถูกทาลาย โดยสิ้นเชิงพันธะใหม่ก็จะถูกสร้างขึ้นมาแทนที่เนื่องจากสารเชิงซ้อนที่ถูกกระตุ้นอยู่ในสภาวะไม่เสถียร และมีระดับพลังงานสูงมาก (สูงกว่าพลังงานสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์) เราจึงนิยมเรียกสภาวะเช่นนี้ว่า สภาวะแทรนซิชัน (Transition State) เพราะฉะนั้นอนุภาคของสารตั้งต้นจะชนกันแล้วเกิดปฏิกิริยา ได้ อนุภาคของสารตั้งต้นจะต้องมีพลังงานไม่ต่ากว่า หรืออย่างน้อยที่สุดเท่ากับพลังงานของสาร เชิงซ้อนที่ถูกกระตุ้น เช่น ปฏิกิริยาระหว่างแก๊สคาร์บอนมอนนอกไซด์กับแก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์ เกิดเป็นแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ กับ ไนโตเจนมอนนอกไซด์ ดังภาพที่ 9 ภาพที่ 9 การเกิดสารเชิงซ้อนกัมมันต์แล้วเปลี่ยนเป็นผลิตภัณฑ์ http://www.vcharkarn.com/lesson/1438
  • 25. หน้า :: 25 เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 จากภาพที่ 9 จะเห็นว่า สารตั้งต้นจะมีพันธะระหว่างอะตอม C กับ O ในโมเลกุล CO และ N กับ O ในโมเลกุล NO2 เมื่อเกิดเป็นสารเชิงซ้อนกัมมันต์ ความแข็งแรงของพันธะระหว่าง อะตอม C กับ O ใน CO จะลดลง และเริ่มมีพันธะอย่างอ่อน ๆ เกิดขึ้นระหว่างอะตอมของ O ใน CO กับ N ใน NO2 เมื่อสารเชิงซ้อนกัมมันต์สลายตัวให้ผลิตภัณฑ์ จะมีการสลายพันธะเดิม และมีพันธะระหว่างอะตอม O กับ N ดังภาพ พลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยา อนุภาคที่ชนกันต้องมีพลังงานจลน์รวมกันแล้วมีค่าอย่างน้อยเท่ากับพลังงานก่อกัมมันต์ (activation energy, Ea) ซึ่งเป็นพลังงานต่าที่สุดที่ทาให้เกิดปฏิกิริยาได้ ถ้ามีพลังงานต่ากว่านี้ก็จะ ไม่เกิดปฏิกิริยา แต่ถ้ามีพลังงานจลน์หลังการชนมากกว่าหรือเท่ากับพลังงานก่อกัมมันต์ อนุภาคของ สารตั้งต้นที่เข้าชนกันก็จะรวมตัวกันเกิดเป็นสารประกอบเชิงซ้อนกัมมันต์ (activated complex) ซึ่งสารเชิงซ้อนนี้จะอยู่ตัวได้เพียงชั่วขณะ หลังจากนั้นจะเปลี่ยนไปเป็นสารผลิตภัณฑ์ แสดงว่าเกิดปฏิกิริยาเคมี ปฏิกิริยาเคมีสามารถแบ่งออก 2 ประเภท โดยใช้ชนิดพลังงานเป็นเกณฑ์ ดังนี้ 1. ปฏิกิริยาดูดพลังงานหรือปฏิกิริยาดูดความร้อน (Endothermic reaction) 2. ปฏิกิริยาคายพลังงานหรือปฏิกิริยาคายความร้อน (Exothermic reaction) ปฏิกิริยาดูดพลังงาน หมายถึง ปฏิกิริยาที่มีการถ่ายเทพลังงานจากสิ่งแวดล้อมเข้าสู่ระบบ ดังนั้น ในปฏิกิริยาดูดพลังงานสารผลิตภัณฑ์จะมีพลังงานสูงกว่าสารตั้งต้น ซึ่งสามารถเขียนกราฟ แสดงความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยาในแง่ของปฏิกิริยาดูดพลังงานได้ ดังภาพที่ 10 ภาพที่ 10 การเปลี่ยนแปลงพลังงานของปฏิกิริยา N2(g) + O2(g) 2NO(g) ที่มา http://www.thaigoodview.com/node/84889?page=0,6
  • 26. หน้า :: 26 เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 จากกราฟในภาพที่ 10 สารตั้งต้นมีพลังงาน E1 เมื่อโมเลกุลของสารตั้งต้น ( N2 และ O2 ) ชนกัน ทาให้มีพลังงานสูงขึ้นเป็น E2 จะเปลี่ยนไปเป็นผลิตภัณฑ์ได้ ผลต่างระหว่างพลังงาน E2 และ E1 คือ พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยา (Ea) และพลังงานของผลิตภัณฑ์ ( E3 ) มีค่า พลังงานสูงกว่าสารตั้งต้น ( E1 ) แสดงว่าปฏิกิริยานี้เป็นปฏิกิริยาดูดพลังงาน พลังงานที่ระบบดูด เข้าไปมีค่าเท่ากับ E3 – E1 = E ปฏิกิริยาคายพลังงาน หมายถึง ปฏิกิริยาที่มีการถ่ายเทพลังงานจากระบบไปสู่สิ่งแวดล้อม ดังนั้น ในปฏิกิริยาคายพลังงาน สารตั้งต้นจะมีพลังงานสูงกว่าสารผลิตภัณฑ์ ซึ่งสามารถเขียนกราฟ แสดงความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยาในแง่ของปฏิกิริยาคายพลังงานได้ดัง ภาพที่ 11 ภาพที่ 11 การเปลี่ยนแปลงพลังงานของปฏิกิริยา N2(g) + 3H2(g) 2NH3(g) ที่มา http://www.thaigoodview.com/node/84889?page=0,6 จากกราฟในภาพที่ 11 สารตั้งต้นมีพลังงาน E1 เมื่อโมเลกุลของสารตั้งต้น ( N2 และ H2 ) ชนกัน ทาให้มีพลังงานสูงขึ้นเป็น E2 ทาให้สารตั้งต้นเปลี่ยนไปเป็นผลิตภัณฑ์ได้ ผลต่างระหว่าง พลังงาน E2 และ E1 คือ พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยา (Ea) และพลังงานของผลิตภัณฑ์ ( E3 ) มีค่าพลังงานต่ากว่าสารตั้งต้น ( E1 ) แสดงว่าปฏิกิริยานี้เป็นปฏิกิริยาคายพลังงาน พลังงาน ที่ระบบคายออกมามีค่าเท่ากับ E3 – E1 = E
  • 27. หน้า :: 27 เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 คาสั่ง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง ( 15 คะแนน ) 1. ปัจจัยใดบ้างที่ทาให้เกิดปฏิกิริยาเคมี ( 2 คะแนน ) . 2. จงเขียนทิศทางการชนที่เหมาะสมของปฏิกิริยา N2(g) + O2(g) 2NO (g) ที่ทาให้ เกิดปฏิกิริยาเคมี ( 1 คะแนน ) 3. ปฏิกิริยาที่มีพลังงานก่อกัมมันต์ต่าปฏิกิริยาจะเกิดเร็วหรือช้า ( 1 คะแนน ) . 4. ปฏิกิริยาที่มีพลังงานก่อกัมมันต์สูงปฏิกิริยาจะเกิดเร็วหรือช้า ( 1 คะแนน ) . 5. ปฏิกิริยาเคมี ถ้าจาแนกโดยใช้พลังงานเป็นเกณฑ์ แบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง ( 2 คะแนน ) . . ใบงาน 3.1 แนวคิดการเกิดปฏิกิริยาเคมี และพลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยาเคมี
  • 28. หน้า :: 28 เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 6. ภาพใดเกิดปฏิกิริยาดูดความร้อน และภาพใดเกิดปฏิกิริยาคายความร้อน ( 1 คะแนน ) (ก.) (ข) ภาพ...............เกิดปฏิกิริยาดูดความร้อน ภาพ...............เกิดปฏิกิริยาคายความร้อน 7. จากภาพบอกตาแหน่งของค่าพลังงานต่อไปนี้ให้ถูกต้อง ( 7 คะแนน ) 7.1 พลังงานของสารตั้งต้น ตาแหน่ง . 7.2 พลังงานของสารเชิงซ้อนกัมมันต์ ตาแหน่ง . 7.3 พลังงานก่อกัมมันต์ ตาแหน่ง . 7.4 พลังงานของปฏิกิริยา ตาแหน่ง . 7.5 พลังงานของสารผลิตภัณฑ์ ตาแหน่ง . 7.6 พลังงานของปฏิกิริยาหาได้จาก . 7.7 พลังงานก่อกัมมันต์หาได้จาก .
  • 29. หน้า :: 29 เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 คาสั่ง : ให้นักเรียนสรุปความรู้ที่ได้จากการศึกษาใบความรู้ 3.1 และทาใบงาน 3.1 แนวคิด การเกิดปฏิกิริยาเคมี และพลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยาเคมี โดยการเขียนแผนภาพ มโนทัศน์ลงในใบงาน 3.2 ความรู้ที่ได้ ( 10 คะแนน) ใบงาน 3.2 ความรู้ที่ได้ ขั้นที่ 3 อธิบายและลงข้อสรุป ( Explain )
  • 30. หน้า :: 30 เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 คาสั่ง : ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ 3.2 พลังงานก่อกัมมันต์กับปฏิกิริยาที่มีหลายขั้นตอน แล้วทาใบงาน 3.3 พลังงานก่อกัมมันต์กับปฏิกิริยาที่มีหลายขั้นตอน พลังงานก่อกัมมันต์กับปฏิกิริยาเคมีที่มีหลายขั้นตอน ปฏิกิริยาเคมีที่มีหลายขั้นตอนจะประกอบด้วยขั้นที่เกิดช้าและเกิดเร็ว การที่กลไกของ ปฏิกิริยามีหลายขั้นตอนนั้น แสดงว่าในการเกิดปฏิกิริยาเคมีจะต้องมีสารเชิงซ้อนที่ถูกกระตุ้นมากกว่า หนึ่งชนิดและย่อมมีพลังงานก่อกัมมันต์มากกว่าหนึ่งค่าด้วย เช่น ปฏิกิริยา A C ประกอบ 2 ขั้นตอน ดังนี้ A B B C สามารถเขียนภาพแสดงการเปลี่ยนแปลงพลังงานของปฏิกิริยาได้หลายแบบ เช่น กรณีที่ 1 A B เกิดเร็วและเป็นปฏิกิริยาผันกลับได้ B C เกิดช้า เมื่อ Ea1 = พลังงานก่อกัมมันต์ A B Ea2 = พลังงานก่อกัมมันต์ B C Ea3 = พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยาย้อนกลับ B A Ea4 = พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยาย้อนกลับ C B AC1 = สารเชิงซ้อนที่ถูกกระตุ้น ชนิดที่ 1 AC2 = สารเชิงซ้อนที่ถูกกระตุ้น ชนิดที่ 2 สามารถเขียนภาพแสดงการเปลี่ยนแปลงพลังงานของปฏิกิริยาได้ดังนี้ ขั้นที่ 4 ขยายความรู้ ( Elaborate ) ใบความรู้ 3.2 พลังงานก่อกัมมันต์กับปฏิกิริยาเคมีที่มีหลายขั้นตอน
  • 31. หน้า :: 31 เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 ภาพที่ 12 แสดงการเปลี่ยนแปลงพลังงานของปฏิกิริยาที่มีหลายขั้นตอน กรณีที่ 1 ที่มา ; คู่มือรายวิชาเพิ่มเติม เคมี ม.4 – 6 เล่ม 3 น. 14 จากภาพที่ 12 เมื่อปฏิกิริยาขั้นแรกเกิดขึ้นได้ B การเกิดปฏิกิริยาขั้นต่อไปเป็นไปได้ 2 ทาง คือ B อาจเปลี่ยนไปเป็น A อย่างเดิม โดยผ่าน AC1 หรือเปลี่ยนไปเป็นผลิตภัณฑ์ C โดยผ่าน AC2 แต่เมื่อเปรียบเทียบพลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยาทั้ง 2 ทางจะเห็นว่า จะเห็นว่า Ea3 < Ea2 แสดงว่า B จะเปลี่ยนกลับไปเป็น A โดยผ่าน AC1 ได้เร็วที่จะเปลี่ยน ไปเป็นผลิตภัณฑ์ C โดยผ่าน AC2 ดังนั้นส่วนใหญ่ B จะเปลี่ยนกลับเป็น A มีเพียงส่วนน้อยที่จะ เปลี่ยนไปเป็น C จึงกล่าวได้ว่าในขั้นที่ 1 ( A B ) เกิดเร็ว และเป็นปฏิกิริยาชนิดผันกลับได้ เพราะฉะนั้น กลไกของปฏิกิริยาตามรูปข้างต้น คือ A B (เกิดเร็วและผันกลับได้) B C (เกิดช้า) ในปฏิกิริยาเคมีที่เกิดมากกว่า 1 ขั้น อัตราการเกิดปฏิกิริยารวมขึ้นอยู่กับขั้นที่เกิดช้าที่สุด เรียกว่า ขั้นกาหนดอัตรา ดังนั้นปฏิกิริยา A C จึงเกิดช้า ( มีค่า Ea = Ea2 ) เพราะขั้นที่ 2 ซึ่งเป็นขั้นกาหนดอัตราและปฏิกิริยานี้คายพลังงาน = E
  • 32. หน้า :: 32 เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 กรณีที่ 2 ถ้า A B เกิดช้าและไม่เกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ B C เกิดเร็ว สามารถเขียนภาพแสดงการเปลี่ยนแปลงพลังงานของปฏิกิริยาได้ดังนี้ ภาพที่ 13 แสดงการเปลี่ยนแปลงพลังงานของปฏิกิริยาที่มีหลายขั้นตอน กรณีที่ 2 ที่มา ; คู่มือรายวิชาเพิ่มเติม เคมี ม.4 – 6 เล่ม 3 น. 14 จากภาพที่ 13 จะเห็นว่า Ea3 > Ea2 แสดงว่า B เปลี่ยนไปเป็น A โดยผ่าน AC1 ได้ยากกว่าที่จะเปลี่ยนไปเป็นผลิตภัณฑ์ C โดยผ่าน AC2 ดังนั้นปฏิกิริยาในขั้นที่ 1 (A B ) จึงไม่เป็นปฏิกิริยาผันกลับ เพราะเมื่อ B เกิดขึ้นแล้วจะเกิดปฏิกิริยาต่อไปกลายเป็น C ทันที เพราะฉะนั้นกลไกของปฏิกิริยาตามภาพ คือ A B เกิดช้าและไม่เกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ B C เกิดเร็ว ปฏิกิริยารวม A C มีค่าพลังงานก่อกัมมันต์ = Ea1 เพราะขั้นที่ 1 เกิดช้าที่สุด จึงเป็นขั้นกาหนดอัตรา ดังนั้น ปฏิกิริยารวม A C จึงเกิดช้า (มีค่า Ea = Ea1) และปฏิกิริยานี้ คายพลังงาน = E
  • 33. หน้า :: 33 เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 คาสั่ง จงพิจารณาภาพที่กาหนดให้แล้วตอบคาถามให้ถูกต้อง ( 10 คะแนน ) 1. จงพิจารณาภาพที่กาหนดให้แล้วตอบคาถามให้ถูกต้อง 1.1 ปฏิกิริยาใดเกิดเร็วที่สุด ( 1 คะแนน) ตอบ 1.2 ปฏิกิริยานี้เป็นปฏิกิริยาคายพลังงานหรือดูดพลังงาน เท่าใด ( 1 คะแนน) ตอบ 1.3 ปฏิกิริยาใดเป็นปฏิกิริยาย้อนกลับ ( 1 คะแนน) ตอบ 1.4 ปฏิกิริยาใดเป็นปฏิกิริยาไปข้างหน้า ( 1 คะแนน) ตอบ 1.5 สารใดเป็นสารเชิงซ้อนที่ถูกกระตุ้น ( 1 คะแนน) ตอบ 1.6 เมื่อคิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าและย้อนกลับปฏิกิริยาใดมีพลังงานก่อกัมมันต์ต่าที่สุด ( 1 คะแนน) ตอบ ใบงาน 3.3 พลังงานก่อกัมมันต์กับปฏิกิริยาที่มีหลายขั้นตอน
  • 34. หน้า :: 34 เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 2. จงพิจารณาภาพที่กาหนดให้แล้วตอบคาถามให้ถูกต้อง 2.1 ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นมีกี่ขั้น ( 1 คะแนน) ตอบ 2.2 ปฏิกิริยาขั้นใดเกิดเร็วที่สุด ขั้นใดเกิดช้าที่สุด ( 1 คะแนน) ตอบ 2.3 พลังงานก่อกัมมันต์ขั้นใดมีค่าน้อยที่สุด ขั้นใดมีค่ามากที่สุด ( 1 คะแนน) ตอบ 2.4 ปฏิกิริยานี้ปฏิกิริยานี้เป็นปฏิกิริยาคายพลังงานหรือดูดพลังงาน เท่าใด ( 1 คะแนน) ตอบ
  • 35. หน้า :: 35 เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 คาสั่ง : ให้นักเรียนเติมเครื่องหมายกากบาท (x) หน้าข้อความที่ไม่ถูกต้อง และเติมเครื่องหมายถูก (/) หน้าข้อความที่ถูกต้อง (10 คะแนน) 1. ปฏิกิริยาเคมีจะเกิดขึ้นได้อนุภาคของสารตั้งต้นจะต้องชนกันในทิศทางที่เหมาะสม 2. สารตั้งต้นที่มีอนุภาคชนกันสามารถเกิดปฏิกิริยาทุกปฏิกิริยา 3. พลังงานที่เกิดจากการชนกันของสารตั้งต้นจะต้องมีค่าเท่ากับหรือมากกว่าพลังงาน ก่อกัมมันต์จึงจะเกิดปฏิกิริยาเคมีได้ 4. พลังงานก่อกัมมันต์ คือพลังงานที่ต่าที่สุดที่ทาให้เกิดปฏิกิริยาเคมีได้ 5. ค่าพลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยา ถ้า Ea ต่าจะเกิดช้า Ea สูงจะเกิดเร็ว 6. ปฏิกิริยาเคมีจะต้องมีพลังงานมาเกี่ยวข้องเสมอ ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ปฏิกิริยาเคมีประเภทคายความร้อนและปฏิกิริยาเคมีประเภทดูดความร้อน จากภาพใช้ตอบคาถามข้อที่ 7 – 10 7. E1) คือ พลังงานของสารตั้งต้น A E5) คือ พลังงานของสารผลิตภัณฑ์ B 8. Ea3) คือ พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยา X B 9. E หาได้จาก E4 – E5 10. ปฏิกิริยาเคมีนี้เป็นปฏิกิริยาประเภทดูดพลังงาน ขั้นที่ 5 ประเมินผล ( Evaluate ) ใบงาน 3.4 รู้อะไรบ้าง
  • 36. หน้า :: 36 เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 คาชี้แจง แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีและพลังงานกับการ ดาเนินไปของปฏิกิริยาเคมี เป็นแบบทดสอบแบบเลือกตอบ 5 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที คาสั่ง จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมายกากบาท (X) ลงใน กระดาษคาตอบ 1. ทางการชนกันแบบใดของปฏิกิริยา ก. H2 I2 ข. H2 I2 ค. H2 I2 ง. ข้อ ก และ ค ถูก จ. ข้อ ข และ ค ถูก 2. ข้อใดไม่ใช่ปัจจัยที่ทาให้เกิดปฏิกิริยาเคมี ก. อนุภาคของสารตั้งต้นจะต้องมีการชนกัน ข. อนุภาคของสารตั้งต้นจะต้องชนกันในทิศทางที่เหมาะสม ค. สารตั้งต้นที่ทาปฏิกิริยากันแล้วเป็นสารเชิงซ้อนก่อนที่จะเป็นสารผลิตภัณฑ์ ง. พลังงานที่ได้จากกรชนของอนุภาคสารตั้งต้นจะต้องมีค่าเท่ากับหรือมากกว่าพลังงานก่อกัมมันต์ จ. ทุกข้อเป็นปัจจัยที่ทาให้เกิดปฏิกิริยาเคมี แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี และพลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยา
  • 37. หน้า :: 37 เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 3. ทิศข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับพลังงานก่อกัมมันต์ ก. ปฏิกิริยาเคมีต่างกันพลังงานก่อกัมมันต์ต่างกัน ข. พลังงานก่อกัมมันต์ไม่เกี่ยวข้องกับพลังงานของปฏิกิริยา ค. พลังงานก่อกัมมันต์ต่าจะทาให้มีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีต่าด้วย ง. ปฏิกิริยาที่มีพลังงานก่อกัมมันต์ต่า ปฏิกิริยาจะเกิดง่ายหรือเร็วกว่าปฏิกิริยาที่มีพลังงาน ก่อกัมมันต์สูง จ. พลังงานก่อกัมมันต์ เป็นพลังงานจานวนน้อยที่สุดที่เกิดจากการชนของอนุภาคของสารตั้งต้น แล้วทาให้เกิดปฏิกิริยาเคมี จากกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยา ตอบคาถามข้อ 4 4. ข้อสรุปใดถูกต้อง ก. ปฏิกิริยามีพลังงานก่อกัมมันต์เท่ากับ E2 – E1 ข. ปฏิกิริยานี้เกิดได้เร็ว เพราะ E1 ต่ากว่า E3 มาก ค. ปฏิกิริยานี้เกิดได้เร็ว เพราะ E3 ต่ากว่า E2 มาก ง. ปฏิกิริยานี้เป็นปฏิกิริยาคายพลังงานและพลังงานที่คายออกมีค่าเท่ากับ E2 – E3 จ. ปฏิกิริยานี้เป็นปฏิกิริยาดูดพลังงานและพลังงานที่ดูดเข้าไปมีค่าเท่ากับ E2 – E3 5. จากภาพเป็นการเตรียมสาร E โดยเริ่มจากสาร A มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานดังนี้
  • 38. หน้า :: 38 เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 ปฏิกิริยานี้มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานอย่างไร ก. คายพลังงาน = x ข. คายพลังงาน = z ค. คายพลังงาน = z – y ง. ดูดพลังงาน = w – y จ. ดูดพลังงาน = z – y 6. จากโจทย์ข้อ 5 ปฏิกิริยาของสาร A → C มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานอย่างไร ก. คายพลังงาน = w+y ข. ดูดพลังงาน = w-x ค. คายพลังงาน = y ง. คายพลังงาน = x จ. ดูดพลังงาน = w 7. จากข้อ 5 สารใดเป็นสารเชิงซ้อนก่อกัมมันต์ ก. C , E ข. B , D ค. C , D ง. D , E จ. A , B จากกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยา แล้วตอบคาถามข้อ 8 - 10
  • 39. หน้า :: 39 เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 8. จากภาพเป็นปฏิกิริยาคายความพลังงานหรือดูดพลังงานเท่าใด ก. ดูดพลังงาน เท่ากับ E2 ข. ดูดพลังงาน เท่ากับ E4 ค. คายพลังงาน เท่ากับ E1 ง. คายพลังงาน เท่ากับ E3 จ. คายพลังงาน เท่ากับ E4 9. พลังานก่อกัมมันต์มีค่าเท่ากับข้องใด ก. E1 ข. E2 ค. E3 ง. E4 จ. ไม่มีข้อถูก 10.พลังงานของสารเชิงซ้อนมีค่าเท่ากับข้อใด ก. E1 ข. E2 ค. E3 ง. E4 จ. ไม่มีข้อถูก
  • 40. หน้า :: 40 เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 ชื่อ..........................................................................ชั้น....................................เลขที่..................... ข้อ ก ข ค ง จ ข้อ ก ข ค ง จ 1 6 2 7 3 8 4 9 5 10 รายการประเมิน คะแนนที่ได้ ผลการประเมิน ผ่าน ไม่ผ่าน ทดสอบก่อนเรียน ( 10 คะแนน ) ใบงานที่ 3.1 ( 15 คะแนน ) ใบงานที่ 3.2 ( 10 คะแนน ) ใบงานที่ 3.3 ( 10 คะแนน ) ใบงาน 3.4 ( 10 คะแนน ) ทดสอบหลังเรียน ( 10 คะแนน) กระดาษคาตอบหลังเรียน เรื่อง แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี และพลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยา แบบบันทึกคะแนน เรื่อง แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี และพลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยา