SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
โครงการ การพัฒนาชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
ของบ้าน เหล่ามะละกอ หมู่ที่ 15
ตาบลทุ่งหลวง อาเภอปากท่อ จังหวัดราชบุรี
เรื่อง การทาปุ๋ ยหมักชีวภาพ
การก่อเกิดการเรียนรู้ของหมู่บ้านเหล่ามะละกอ
ศูนย์เรียนรู้ชุมชนต้นแบบบ้านเหล่ามะละกอก่อต้นโดยประชาชนในชุมชน รวมกับผู้ใหญ่บ้านสมยศ องอาศ
ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นแหล่งรวบรวมองค์ความรู้ต่างๆของคนในชุมชน
ประวัติ/ความเป็นมาของหมู่บ้านเหล่ามะละกอ
ประวัติศูนย์การเรียนรู้ปราชญ์ชาวบ้าน กลุ่มเกษตรอินทรีย์บ้านเหล่ามะละกอเกิดจากสภาพปัญหา ผลผลิตทาง
การเกษตรตกต่า ต้นทุนการผลิตสูง เนื่องจากสารเคมีและปุ๋ ยมีราคาแพง ดินเสื่อมสภาพจากการใช้สารเคมีติดต่อกัน
หลายปี ทาให้เป็นหนี้สินทั้งในระบบและนอกระบบ เกษตรกรจึงรวมกลุ่มกัน ทาการเกษตรแบบพึ่งพาตนเอง โดยการ
เลิกใช้สารเคมี ทาปุ๋ ยหมัก น้าหมักชีวภาพ ฮอร์โมน สมุนไพรไล่แมลงวันขึ้นใช้เอง สามารถลดต้นทุนการผลิตได้ 30-
50% ทาให้สมาชิกมีรายได้เพิ่มขึ้น หนี้สินลดลงและสุขภาพดีขึ้น
หมู่บ้านเหล่ามะละกอได้รับการคัดเลือกจากกรมพัฒนาชุมชนกระทรวงมหาดไทย เป็นหมู่บ้านอยู่ดีมีสุข (
Smart Village) ปี 2549 ของจังหวัดราชบุรี ประชากรส่วนใหญ่มีอาชีพทางการเกษตร ปลูกผัก ผลไม้จาหน่ายที่ตลาด
ศรีเมือง ซึ่งเป็นตลาดกลางค้าส่งที่ใหญ่ ตั้งอยู่ในตัวจังหวัดราชบุรี และเลี้ยงวัว ปัจจุบันเกษตรกรได้มีการพัฒนาอาชีพ
ทางการเกษตรจากการใช้ปุ๋ ยเคมี ยาฆ่าแมลง หันมาทาการเกษตรแบบพึ่งพาตนเอง โดยได้รวมตัวกันตั้งเป้ นกลุ่ม
เกษตรอินทรีย์บ้านเหล่ามะละกอขึ้น มีสมาชิกจานวน 62 ครัวเรือน โดยมีวัตถุประสงค์
1. ผลิตปุ๋ ยหมักชีวภาพขึ้นใช้ทดแทนการใช้สารเคมี
2. ผลิตปุ๋ ยอินทรีย์น้า ฮอร์โมนไข่ ฮอร์โมนผลไม้ฮอร์โมนยอดผัก ขึ้นใช้แทนการใช้ฮอร์โมนเคมี
3. ผลิตสารสมุนไพรไล่แมลง ป้องกันโรคพืชขึ้นใช้แทนการใช้สารเคมี
4. ผลิตผักปลอดภัยไว้บริโภคและจาหน่าย
5. เป็นศูนย์เรียนรู้เพื่อพัฒนาอาชีพการเกษตร
กลุ่มเกษตรอินทรีย์บ้านเหล่ามะละกอ สามารถเป็นแหล่งที่ผลิตปุ๋ ยหมักชีวภาพให้กับสมาชิกเพื่อนาไปใช้โดยผลิตปีละ 6
ครั้ง ๆ ละ 60-70 ตัน ผลิตปุ๋ ยอินทรีย์น้า ฮอร์โมน สารสมุนไพรไล่แมลงให้กับสมาชิกเปลี่ยนไปใช้ในราคาถูก ทาให้
สมาชิกสามารถลดต้นทุนในการทาการเกษตรได้ประมาณ 30-50 %
ปัจจุบันกลุ่มเกษตรอินทรีย์บ้านเหล่ามะละกอ ได้รับการคัดเลือกจากสานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดราชบุรี
ให้เป็นศูนย์เรียนรู้เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้าน มีเป้ าหมายในปีงบประมาณ 2551 จัดฝึกอบรมเกษตรกร ตามโครงการ
พัฒนาการเกษตรตามแนวทฤษฏีใหม่ โดยยึดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จานวน 10 รุ่นๆละ 50 คน จานวน 500 คน และ
ทางธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ได้ตั้งเป็นศูนย์เรียนรู้ ครูเกษตรกร ทาหน้าที่ฝึกอบรมเกษตรกรตามแนว
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงให้กับสมาชิกธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ของจังหวัดราชบุรี
โครงการอบรมเกษตรกรตามแนวทฤษฏีใหม่ โดยยึดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้าน มี
การใช้ความรู้ การศึกษาดูงาน การสาธิต การปฏิบัติจริง ที่ศูนย์มีหลักสูตร 1 ไร่ถวายในหลวง เป็นการทาการเกษตรตาม
แนวทฤษฏีใหม่ โดยจัดทาเกษตรแบบผสมผสานในพื้นที่ 1 ไร่ เพื่อให้เกษตรกรลดรายจ่ายในครัวเรือน โดยการปลูก
พืชผัก ผลไม้และแหล่งอาหารโปรตีน ไว้บริโภคเอง
ปัจจัยที่ทาให้หมู่บ้านเหล่ามะละกอประสบความสาเร็จ
1.เป็นชุมชนที่ดาเนินชีวิตโดยยึดหลักความพอประมาณ เดินทางสายกลาง ที่ไม่ฟุ่มเฟือย ฟุ้งเฟ้อ หรือตระหนี่
จนเกินไป ไม่ลุ่มหลงไปกับวัตถุนิยม ดารงตนให้เป็นต้นแบบกับคนรุ่นต่อไป มองงานกว้างไกล รู้จักมัธยัสถ์ และมี
ความพอประมาณในการประกอบอาชีพ
2.เป็นชุมชนที่มีการสร้างเกราะป้องกันภัยอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงมาดาเนินกิจกรรมในครัวเรือนและชุมชน
เช่น การผลิตเมล็ดพันธุ์ใช้เอง การรวมกลุ่มผลิตปุ๋ ยอินทรีย์ ปุ๋ ยชีวภาพ น้าหมักชีวภาพ เพื่อใช้ภายในชุมชน เพื่อที่จะ
ลดต้นทุนการผลิต การจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการเกษตร การจัดสวัสดิการต่าง ๆ ให้ชุมชน
3. ชุมชนมีการรณรงค์ลดรายจ่าย โดยได้ปลูกผักสวนครัว การลดสุรา การใช้รถยนต์คันเดียวกัน หากไปทาง
เดียวกัน และการส่งเสริมการใช้รถจักรยาน เพื่อประหยัดพลังงาน รวมทั้งการลดการใช้พลังงาน อาทิเช่น ใช้ฟืน ถ่าน
ในการประกอบอาหาร
4. ณรงค์การประหยัด ให้กับครัวเรือนในชุมชน
- จัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ซึ่งมีกิจกรรมการปล่อยเงินกู้ให้แก่สมาชิกกู้ โดยมีอัตราดอกเบี้ยต่า
- ดาเนินงานกองทุนหมู่บ้าน และกองทุนแก้ไขปัญหาความยากจน (กข.คจ.)
- รวมกลุ่มแม่บ้านเพื่อดาเนินกิจกรรมขายข้าวสารในราคาถูก
- มีการบูรณาการระหว่างกองทุน กข.คจ. กทบ. และเงินบริจาคเงินสมทบกองทุน เพื่อนาไปดาเนิน
กิจกรรมของครัวเรือน ตามเวทีชาวบ้าน
- สนับสนุนกลุ่มอาชีพต่าง ๆ
5. เป็นชุมชนที่รู้รักสามัคคี ทุกครอบครัวในชุมชนมีส่วนร่วม ในการดาเนินกิจกรรมของชุมชน โดยยึดหลัก
เศรษฐกิจพอเพียงในการดาเนินชีวิต
6.การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
- เขตป่าชุมชน โดยมีการส่งเสริมและสนับสนุนให้ชาวบ้านเป็นยามจาเป็น เพื่อปกป้องและป้องกันรักษาป่า
ชุมชน
- การหาหน่อไม้ ซึ่งในรอบปี จะจัดหาหน่อไม้เพียงครั้งเดียว จานวน 15 วัน ระหว่าง 1-15 กันยายน ของปี และ
ส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับการอัดหน่อไม้ปีบ
- ร่วมกันพัฒนาปลูกต้นไม้ในสถานศึกษา และสถานที่สาคัญทางศาสนา วัด รวมทั้งสถานที่ที่ว่างเปล่า และที่
สาธารณะ
- ทาความสะอาดป่าในวันสาคัญ
- มีการปลูกป่าทดแทน และจัดระเบียบป่าชุมชน
สาเหตุที่เลือกทาโครงการ การผลิตปุ๋ ยหมักชีวภาพ
เพราะทางกลุ่มได้มีความเห็นว่า การผลิตปุ๋ ยหมักชีวภาพนั่นสามารถนาผลผลิตหรือปุ๋ ย
หมักที่ได้ไปใช้กับต้นไม้หรือผืชผักต่างๆซึ่งเหล่านี้เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีอยู่รอบตัวเราทั้งสิ้น ทั้งยัง
มีความเกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวันในเรื่องของการบริโภคพืชผักต่างๆ ซึ่งหากใช้ปุ้ ยหมัก
ชีวภาพที่ผลิตใช้เองตามธรรมชาติและปลอดภัยจากสารเคมีเมื่อนาไปใช้กับพืชผักต่างๆ เมื่อ
เรานาพืชผักต่างๆหล่านั่นมาบริโภคก็จะส่งผลดีต่อสุขภาพร่างการของเราเอง และนอกจากนั้น
แล้วแล้ว การผลิตปุ้ ยหมักชีวภาพยังมีความเกี่ยวข้องกับเรื่องของหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงในเรื่องของการผลิตปุ๋ ยหมักชีวภาพด้วยตนเอง ซึ่งมีความสอดคล้องในหลักการของ
เศรษฐกิจพอเพียงในเรื่องของการพึ่งพาตนเองได้อีกด้วย
การผลิตปุ๋ ยหมักชีวภาพ
ปุ๋ ยหมักชีวภาพ
วิธีการทาปุ๋ ยหมักชีวภาพ
วัสดุ/ อุปกรณ์
)
1.มูลสัตว์(มูลโค มูลหมู หมูไก่ )
2.ละอองข้าว
3.กากอ้อย
4.ราละเอียด
5.กรดซิลิคอน
6.ตะกอนกุ้ง
7.กากน้าตาล
8.จุลินทรีย์ท้องถิ่น (หัวเชื้อ พด.1)
9.ปุ๋ ยอินทรีย์น้า (ปุ๋ ยปลา, ฮอร์โมนไข่ )
วิธีการผลิตปุ๋ ยหมักชีวภาพ
1.นาวัตถุดิบที่ได้มากองเป็นชั้นๆ อาจเป็นมูลโค,มูลหมู,มูลไก่ก็ได้ กองให้ได้ความ
หนาประมาณ 30 ซม.
2.นาฮอร์โมนไข่กับปุ๋ ยอินทรีย์น้าตามด้วยจุลินทรีย์(แต่ถ้าไม่มีจุลินทรีย์ก็สามารถไปขอได้
ที่ พด.1 หรือที่กรมพัฒนาที่ดิน) นาฮอร์โมนไข่ปุ๋ ยอินทรีย์น้าตามด้วยจุลินทรีย์มาผสมกับ
น้าเปล่า ความชื้นในการผสมจะต้องมีความลึกประมาณ 50-60 %เพราะจุลินทรีย์จะ
เจริญเติบโตได้ดีที่ความชื่นประมาณ 50-60 %
3. นาวัตถุดิบต่างๆมาคลุกเคล้าเข้าด้วยกัน จากนั้นทาการหมักทิ้งไว้ประมาณ 1-2 เดือน (ช่วงระหว่างทาการหมักทิ้งไว้
ควรหาวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ เช่น ผ้ายาง มาคุมไว้เพื่อกันความชื้นไม่ให้ระบายออกมาได้
วิธีการสังเกตการผลิตปุ๋ ยหมักชีวภาพ
หลังจากครบระยะ1-2 เดือน ในการผลิตปุ๋ ยหมักชีวภาพจะสามารถรู้ได้อย่างไรว่าทาการมักสาเร็จหรือไม่
วิธีการสังเกตมีดังต่อไปนี้.
1.สังเกตจากสี ถ้าปุ๋ ยที่ได้เปลี่ยนสีเป็นสีดาหรือสีเทาแสดงว่าปุ๋ ยที่ผลิตนั้นใช้ได้
2.สังเกตจากอุณหภูมิ ความร้อน อุณหภูมิภายนอกกับอุณหภูมิภายในต้องมีความใกล้เคียงกัน
3.สังเกตจากกลิ่น กลิ่นจะค่อยๆลดลงจากเดิม
ประโยชน์ของการผลิตปุ๋ ยหมักชีวภาพ
1.เพื่อปรับปรุงสภาพดิน
2.เพื่อทดแทนปุ๋ ยเคมี
3.เพื่อลดต้นทุนในการประกอบอาชีพ
4.เพื่อได้จุลินทรีย์ที่เป็นประโยชน์
5.เพื่อมุ่งเน้นให้เกษตรกรผลิตใช้ในครัวเรือนของตนเองได้
วัสดุในธรรมชาติที่มีแร่ธาตุหลัก(N/P/K) สาหรับพืชในระดับสูง เหมาะแก่การทาปุ๋ ยหมักได้แก่ ผักตบชวา, หญ้าขน,
เปลือกสับปะรด,ฟางข้าว วัสดุธรรมชาติทั่วไปที่มีเปอร์เซ็นตร์ธาตุอาหารพืชสูง โดยเรียงลาดับดังนี้
ไนโตเจน - ขนไก่, ปลาป่น,กากถั่วเหลือง
ฟอสฟอรัส - กระดูกป่น,มูลค้างคาว , แมลงปีกแข็ง
โปแตสเซียม - ขี้เถ้าไม้ยาง, เปลือกแมล็ดกาแฟ,มูลแพะ
ธาตุอาหารพืชในวัสดุธรรมชาติ
การนาปุ๋ ยหมักชีวภาพไปใช้กับต้นไม้หรือพืชผัก
ต้องรอให้ครบระยะเวลาในการหมักปุ๋ ยชีวภาพซึ่งได้กาหนดระยะเวลาไว้1-2 เดือน หากต่ากว่านั้นการย่อยสลายของ
จุลินทรีย์และวัตถุดิบต่างๆยังไม่หมด และอุณหภูมิความร้อนต่างๆยังคงอยู่ถ้านาเอาไปใช้กับต้นไม้หรือพืชผักต่างๆพืชนั้นเป็น
พืชจาพวกที่อ่อนแออยู่แล้ว เช่น ผัก อาจจะเหยี่ยวเพราะกระบวนการในการย่อยสลายของจุลินทรีย์และวัตถุดิบต่างๆยังทางาน
อยู่
ประเภทมูลสัตว์
ไนโตรเจน - มูลไก่,มูลสุกรมูลม้า,มูลโค
ฟอสฟอรัส - มูลค้างคาว(สูงมาก),มูลไก่,มูลสุกร
โปแตสเซียม - มูลค้างคาว,มูลไก่,มูลม้า
ข้อเปรียบเทียบระหว่างปุ๋ ยหมักชีวภาพกับปุ๋ ยเคมี
ปุ๋ ยหมักชีวภาพ ปุ๋ ยเคมี
ข้อดี ข้อเสีย ข้อดี ข้อเสีย
1. ช่วยปรับปรุงสมบัติทางกายภาพและ
ชีวภาพของดินได้ดีกว่าปุ๋ ยเคมี
เพิ่มปริมาณจุลินทรีย์ดินบางชนิด
มากกว่าปุ๋ ยเคมี
1. ปริมาณธาตุอาหารต่า 1.สามารถใช้ในปริมาณเพียงเล็กน้อย ก็
สามารถให้ธาตุอาหารแก่พืชได้เพียงพอกับ
ความต้องการของพืช ทาให้ประหยัดทั้ง
แรงงานและธาตุอาหารที่ใส่
1. มีธาตุอาหารที่พืชต้องการอยู่ในปุ๋ ย
ไม่ครบถ้วน
2.มีธาตุอาหารเสริมอยู่มากกว่าปุ๋ ยเคมี 2. ใช้เวลานานกว่าจะเป็นประโยชน์ 2.สามารถปรับแต่งปริมาณธาตุอาหารใน
ปุ๋ ยเคมีให้เหมาะสมกับดินและพืชได้ช่วยให้
สามารถปรับปรุงให้ดินมีธาตุอาหารชนิดต่างๆ
ในสัดส่วนที่สมดุลได้
2. มีอิทธิพลต่อคุณสมบัติทางชีวภาพ
ของดิน คือจะ ไปเร่งการสลายตัวของ
อินทรีย์วัตถุในดิน และทาให้จุลินทรีย์
บางชนิดที่อาศัยอยู่ในดินลดลง
3. อยู่ในดินนาน (ค่อยๆ ปลดปล่อย
ธาตุอาหาร)
ส่งเสริมสิ่งมีชีวิตที่เป็นประโยชน์ใน
ดิน
3. ราคาแพงต่อหน่วยธาตุอาหารพืช 3.พืชใช้ธาตุอาหารจากปุ๋ ยได้ทันที จึงให้ผล
เร็ว
มีราคาถูกเมื่อคิดเทียบจากปริมาณของธาตุ
อาหารที่มีในปุ๋ ย
3. การสูญเสียธาตุอาหารโดยการถูก
ชะล้างจากดินมีมาก โดยเฉพาะใน
สภาพนาดินทรายและร่วนปนทราย
ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
สรุปข้อเปรียบเทียบระหว่างปุ๋ ยชีวภาพกับปุ๋ ยเคมี
ปุ๋ ยเคมีกับปุ๋ ยหมักชีวภาพสามารถใช้ผสมกันได้ แต่ถ้าใช้ปุ๋ ยเคมีในปริมาณที่มากจนเกินไป ดิน
อาจจะเสื่อสภาพ แต่หากใช้หมักปุ๋ ยชีวภาพจะช่วยในเรื่องของการรักษาหน้าดิน ช่วยย่อยสลาย
อินทรีย์วัตถุในดินให้เป็นธาตุอาหารแก่พืชพืชสามารถดูดซึมไปใช้ได้เลย ช่วยเร่งการเจริญเติบโตของพืช
ให้สมบูรณ์ แข็งแรงตามธรรมชาติ ต้านทานโรคและแมลงพืชผักเจริญงอกงามช่วยให้ผลผลิตคงทน
สามารถเก็บรักษาไว้ได้นาน
ประโยชน์ของการศึกษาการทาปุ๋ ยหมักชีวภาพ
1. เพื่อให้ได้รับความรู้ความเข้าใจในเรื่องของการผลิตปุ๋ ยหมักชีวภาพเพิ่มมากขึ้นจากฐานองค์
ความรู้เดิม
2. สามารถนาองค์ความรู้เรื่องการผลิตปุ๋ ยหมักชีวภาพ สามารถนามาประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจาวัน
3. สามารถนาองค์ความรู้เรื่องการผลิตปุ๋ ยหมักชีวภาพนามาประยุกต์ใช้กับหลักเศรษฐกิจ
พอเพียงในเรื่องการพึ่งพาตนเองได้
สมาชิกในกลุ่ม
1. นางสาวกัลยรัตน์ ชูสาย รหัสนักศึกษา 55115100021
2. นางสาวสมสุดา พิศวงปราการ รหัสนักศึกษา 55115100034
3. นางสาว กัลยา เสียงวังเวง รหัสนักศึกษา 551115100038
4. นายสาริน ประสิทธิ์ รหัสนักศึกษา 55115100082
ตอนเรียน A1
วิชา การพัฒนาชุมชนตามแนวเศรษรฐกิจพอเพียง
เสนอ
อาจารย์ ศุภวัตน์ ปภัสสรากาญจน์
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์
ปีการศึกษา 2557
มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต

More Related Content

What's hot

ตัวอย่างการวางแผนแก้ไขปัญหาไข้เลือดออกโดยนิสิตแพทย์จุฬาฯ
ตัวอย่างการวางแผนแก้ไขปัญหาไข้เลือดออกโดยนิสิตแพทย์จุฬาฯตัวอย่างการวางแผนแก้ไขปัญหาไข้เลือดออกโดยนิสิตแพทย์จุฬาฯ
ตัวอย่างการวางแผนแก้ไขปัญหาไข้เลือดออกโดยนิสิตแพทย์จุฬาฯThira Woratanarat
 
แบบเสนอโครงงานร่างโครงงานต้นกระบองเพชรจิ๋ว
แบบเสนอโครงงานร่างโครงงานต้นกระบองเพชรจิ๋วแบบเสนอโครงงานร่างโครงงานต้นกระบองเพชรจิ๋ว
แบบเสนอโครงงานร่างโครงงานต้นกระบองเพชรจิ๋วWongsathorn Kanyaengpan
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังpattaranit
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานครู อินดี้
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันChaiwit Khempanya
 
โครงงานเรื่องกล่องเอนกประสงค์จากไม้ไอติม
โครงงานเรื่องกล่องเอนกประสงค์จากไม้ไอติมโครงงานเรื่องกล่องเอนกประสงค์จากไม้ไอติม
โครงงานเรื่องกล่องเอนกประสงค์จากไม้ไอติมtanapatwangklaew
 
การศึกษาคุณภาพน้ำบริเวณแม่น้ำน่านโดยใช้สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังเป็นตัวบ่งชี้
การศึกษาคุณภาพน้ำบริเวณแม่น้ำน่านโดยใช้สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังเป็นตัวบ่งชี้การศึกษาคุณภาพน้ำบริเวณแม่น้ำน่านโดยใช้สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังเป็นตัวบ่งชี้
การศึกษาคุณภาพน้ำบริเวณแม่น้ำน่านโดยใช้สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังเป็นตัวบ่งชี้praewdao
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57Chok Ke
 
PPT โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
PPT โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราPPT โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
PPT โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราIam Champooh
 
เล่มที่ 8 บุคคลสำคัญ
เล่มที่ 8 บุคคลสำคัญเล่มที่ 8 บุคคลสำคัญ
เล่มที่ 8 บุคคลสำคัญหรร 'ษๅ
 
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติการวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติSambushi Kritsada
 
Introduction to Statistics: Descriptive Statistics
Introduction to Statistics: Descriptive StatisticsIntroduction to Statistics: Descriptive Statistics
Introduction to Statistics: Descriptive StatisticsThana Chirapiwat
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานNoonnu Ka-noon
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานAekkarin Inta
 
สิทธิคุ้มครองผู้บริโภค
สิทธิคุ้มครองผู้บริโภคสิทธิคุ้มครองผู้บริโภค
สิทธิคุ้มครองผู้บริโภคkrupeem
 
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติโครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติbeauntp
 
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนนคู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนนครูทัศรินทร์ บุญพร้อม
 
เรื่องวันวาเลนไทน์
เรื่องวันวาเลนไทน์เรื่องวันวาเลนไทน์
เรื่องวันวาเลนไทน์Pajaree Nucknick
 
โครงงาน(ติดบอด)
โครงงาน(ติดบอด)โครงงาน(ติดบอด)
โครงงาน(ติดบอด)009kkk
 

What's hot (20)

ตัวอย่างการวางแผนแก้ไขปัญหาไข้เลือดออกโดยนิสิตแพทย์จุฬาฯ
ตัวอย่างการวางแผนแก้ไขปัญหาไข้เลือดออกโดยนิสิตแพทย์จุฬาฯตัวอย่างการวางแผนแก้ไขปัญหาไข้เลือดออกโดยนิสิตแพทย์จุฬาฯ
ตัวอย่างการวางแผนแก้ไขปัญหาไข้เลือดออกโดยนิสิตแพทย์จุฬาฯ
 
แบบเสนอโครงงานร่างโครงงานต้นกระบองเพชรจิ๋ว
แบบเสนอโครงงานร่างโครงงานต้นกระบองเพชรจิ๋วแบบเสนอโครงงานร่างโครงงานต้นกระบองเพชรจิ๋ว
แบบเสนอโครงงานร่างโครงงานต้นกระบองเพชรจิ๋ว
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
โครงงานเรื่องกล่องเอนกประสงค์จากไม้ไอติม
โครงงานเรื่องกล่องเอนกประสงค์จากไม้ไอติมโครงงานเรื่องกล่องเอนกประสงค์จากไม้ไอติม
โครงงานเรื่องกล่องเอนกประสงค์จากไม้ไอติม
 
การศึกษาคุณภาพน้ำบริเวณแม่น้ำน่านโดยใช้สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังเป็นตัวบ่งชี้
การศึกษาคุณภาพน้ำบริเวณแม่น้ำน่านโดยใช้สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังเป็นตัวบ่งชี้การศึกษาคุณภาพน้ำบริเวณแม่น้ำน่านโดยใช้สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังเป็นตัวบ่งชี้
การศึกษาคุณภาพน้ำบริเวณแม่น้ำน่านโดยใช้สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังเป็นตัวบ่งชี้
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
 
PPT โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
PPT โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราPPT โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
PPT โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
 
เล่มที่ 8 บุคคลสำคัญ
เล่มที่ 8 บุคคลสำคัญเล่มที่ 8 บุคคลสำคัญ
เล่มที่ 8 บุคคลสำคัญ
 
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติการวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
 
Introduction to Statistics: Descriptive Statistics
Introduction to Statistics: Descriptive StatisticsIntroduction to Statistics: Descriptive Statistics
Introduction to Statistics: Descriptive Statistics
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
สิทธิคุ้มครองผู้บริโภค
สิทธิคุ้มครองผู้บริโภคสิทธิคุ้มครองผู้บริโภค
สิทธิคุ้มครองผู้บริโภค
 
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติโครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
 
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนนคู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
 
เรื่องวันวาเลนไทน์
เรื่องวันวาเลนไทน์เรื่องวันวาเลนไทน์
เรื่องวันวาเลนไทน์
 
โครงงาน(ติดบอด)
โครงงาน(ติดบอด)โครงงาน(ติดบอด)
โครงงาน(ติดบอด)
 

Similar to Presentation1

เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรchompoo28
 
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงการวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงsavokclash
 
โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7Ploy Benjawan
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติApinun Nadee
 
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืนเศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืนAnantaya
 
โครงการศูนย์ภูฟ้าพัฒนา จังหวัดน่าน
โครงการศูนย์ภูฟ้าพัฒนา จังหวัดน่านโครงการศูนย์ภูฟ้าพัฒนา จังหวัดน่าน
โครงการศูนย์ภูฟ้าพัฒนา จังหวัดน่านYmalte
 
โครงการศูนย์ภูฟ้าพัฒนา จังหวัดน่าน
โครงการศูนย์ภูฟ้าพัฒนา จังหวัดน่านโครงการศูนย์ภูฟ้าพัฒนา จังหวัดน่าน
โครงการศูนย์ภูฟ้าพัฒนา จังหวัดน่านswagbieber
 
โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2
โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2
โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2Thai China
 
โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริtipfylovely
 
โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร pang_patpp
 
การสาธิต ไบโอชาร์ | มูลนิธิอุ่นใจ
การสาธิต ไบโอชาร์ | มูลนิธิอุ่นใจการสาธิต ไบโอชาร์ | มูลนิธิอุ่นใจ
การสาธิต ไบโอชาร์ | มูลนิธิอุ่นใจWarm Heart Worldwide
 
เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่Intrapan Suwan
 
กลุ่มเมื่อกี้ --การจัดการขยะเพื่อผลิตพลังงาน
กลุ่มเมื่อกี้ --การจัดการขยะเพื่อผลิตพลังงานกลุ่มเมื่อกี้ --การจัดการขยะเพื่อผลิตพลังงาน
กลุ่มเมื่อกี้ --การจัดการขยะเพื่อผลิตพลังงานfreelance
 
Newsletter pidthong vol.5
Newsletter pidthong vol.5Newsletter pidthong vol.5
Newsletter pidthong vol.5tongsuchart
 
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทยภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทยSomporn Isvilanonda
 
การปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนการปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนpangminpm
 

Similar to Presentation1 (20)

เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
 
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงการวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
 
โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ
 
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืนเศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
 
โครงการศูนย์ภูฟ้าพัฒนา จังหวัดน่าน
โครงการศูนย์ภูฟ้าพัฒนา จังหวัดน่านโครงการศูนย์ภูฟ้าพัฒนา จังหวัดน่าน
โครงการศูนย์ภูฟ้าพัฒนา จังหวัดน่าน
 
โครงการศูนย์ภูฟ้าพัฒนา จังหวัดน่าน
โครงการศูนย์ภูฟ้าพัฒนา จังหวัดน่านโครงการศูนย์ภูฟ้าพัฒนา จังหวัดน่าน
โครงการศูนย์ภูฟ้าพัฒนา จังหวัดน่าน
 
สมุนไพรแก้คันกันยุง
สมุนไพรแก้คันกันยุงสมุนไพรแก้คันกันยุง
สมุนไพรแก้คันกันยุง
 
โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2
โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2
โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2
 
โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริ
 
โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร
 
การสาธิต ไบโอชาร์ | มูลนิธิอุ่นใจ
การสาธิต ไบโอชาร์ | มูลนิธิอุ่นใจการสาธิต ไบโอชาร์ | มูลนิธิอุ่นใจ
การสาธิต ไบโอชาร์ | มูลนิธิอุ่นใจ
 
เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
กลุ่มเมื่อกี้ --การจัดการขยะเพื่อผลิตพลังงาน
กลุ่มเมื่อกี้ --การจัดการขยะเพื่อผลิตพลังงานกลุ่มเมื่อกี้ --การจัดการขยะเพื่อผลิตพลังงาน
กลุ่มเมื่อกี้ --การจัดการขยะเพื่อผลิตพลังงาน
 
Newsletter pidthong vol.5
Newsletter pidthong vol.5Newsletter pidthong vol.5
Newsletter pidthong vol.5
 
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทยภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
 
โครงงาน อนุรักษ์หนองน้ำสร้าง (จริง)
โครงงาน อนุรักษ์หนองน้ำสร้าง  (จริง)โครงงาน อนุรักษ์หนองน้ำสร้าง  (จริง)
โครงงาน อนุรักษ์หนองน้ำสร้าง (จริง)
 
Kaset
KasetKaset
Kaset
 
การปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนการปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลน
 

More from ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์

มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนมคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 

More from ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์ (20)

มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนมคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
 
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
 
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
 
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการองค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
 
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัยมคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
 
Microsoft word สารบัญ
Microsoft word   สารบัญMicrosoft word   สารบัญ
Microsoft word สารบัญ
 
Microsoft word สัปดาห์ที่15
Microsoft word   สัปดาห์ที่15Microsoft word   สัปดาห์ที่15
Microsoft word สัปดาห์ที่15
 
Microsoft word สัปดาห์ที่14
Microsoft word   สัปดาห์ที่14Microsoft word   สัปดาห์ที่14
Microsoft word สัปดาห์ที่14
 
Microsoft word สัปดาห์ที่13
Microsoft word   สัปดาห์ที่13Microsoft word   สัปดาห์ที่13
Microsoft word สัปดาห์ที่13
 
Microsoft word สัปดาห์ที่12
Microsoft word   สัปดาห์ที่12Microsoft word   สัปดาห์ที่12
Microsoft word สัปดาห์ที่12
 
Microsoft word สัปดาห์ที่10
Microsoft word   สัปดาห์ที่10Microsoft word   สัปดาห์ที่10
Microsoft word สัปดาห์ที่10
 
Microsoft word สัปดาห์ที่8
Microsoft word   สัปดาห์ที่8Microsoft word   สัปดาห์ที่8
Microsoft word สัปดาห์ที่8
 
Microsoft word สัปดาห์ที่6
Microsoft word   สัปดาห์ที่6Microsoft word   สัปดาห์ที่6
Microsoft word สัปดาห์ที่6
 
Microsoft word สัปดาห์ที่1
Microsoft word   สัปดาห์ที่1Microsoft word   สัปดาห์ที่1
Microsoft word สัปดาห์ที่1
 

Presentation1

  • 1. โครงการ การพัฒนาชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ของบ้าน เหล่ามะละกอ หมู่ที่ 15 ตาบลทุ่งหลวง อาเภอปากท่อ จังหวัดราชบุรี เรื่อง การทาปุ๋ ยหมักชีวภาพ
  • 2. การก่อเกิดการเรียนรู้ของหมู่บ้านเหล่ามะละกอ ศูนย์เรียนรู้ชุมชนต้นแบบบ้านเหล่ามะละกอก่อต้นโดยประชาชนในชุมชน รวมกับผู้ใหญ่บ้านสมยศ องอาศ ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นแหล่งรวบรวมองค์ความรู้ต่างๆของคนในชุมชน ประวัติ/ความเป็นมาของหมู่บ้านเหล่ามะละกอ ประวัติศูนย์การเรียนรู้ปราชญ์ชาวบ้าน กลุ่มเกษตรอินทรีย์บ้านเหล่ามะละกอเกิดจากสภาพปัญหา ผลผลิตทาง การเกษตรตกต่า ต้นทุนการผลิตสูง เนื่องจากสารเคมีและปุ๋ ยมีราคาแพง ดินเสื่อมสภาพจากการใช้สารเคมีติดต่อกัน หลายปี ทาให้เป็นหนี้สินทั้งในระบบและนอกระบบ เกษตรกรจึงรวมกลุ่มกัน ทาการเกษตรแบบพึ่งพาตนเอง โดยการ เลิกใช้สารเคมี ทาปุ๋ ยหมัก น้าหมักชีวภาพ ฮอร์โมน สมุนไพรไล่แมลงวันขึ้นใช้เอง สามารถลดต้นทุนการผลิตได้ 30- 50% ทาให้สมาชิกมีรายได้เพิ่มขึ้น หนี้สินลดลงและสุขภาพดีขึ้น
  • 3. หมู่บ้านเหล่ามะละกอได้รับการคัดเลือกจากกรมพัฒนาชุมชนกระทรวงมหาดไทย เป็นหมู่บ้านอยู่ดีมีสุข ( Smart Village) ปี 2549 ของจังหวัดราชบุรี ประชากรส่วนใหญ่มีอาชีพทางการเกษตร ปลูกผัก ผลไม้จาหน่ายที่ตลาด ศรีเมือง ซึ่งเป็นตลาดกลางค้าส่งที่ใหญ่ ตั้งอยู่ในตัวจังหวัดราชบุรี และเลี้ยงวัว ปัจจุบันเกษตรกรได้มีการพัฒนาอาชีพ ทางการเกษตรจากการใช้ปุ๋ ยเคมี ยาฆ่าแมลง หันมาทาการเกษตรแบบพึ่งพาตนเอง โดยได้รวมตัวกันตั้งเป้ นกลุ่ม เกษตรอินทรีย์บ้านเหล่ามะละกอขึ้น มีสมาชิกจานวน 62 ครัวเรือน โดยมีวัตถุประสงค์ 1. ผลิตปุ๋ ยหมักชีวภาพขึ้นใช้ทดแทนการใช้สารเคมี 2. ผลิตปุ๋ ยอินทรีย์น้า ฮอร์โมนไข่ ฮอร์โมนผลไม้ฮอร์โมนยอดผัก ขึ้นใช้แทนการใช้ฮอร์โมนเคมี 3. ผลิตสารสมุนไพรไล่แมลง ป้องกันโรคพืชขึ้นใช้แทนการใช้สารเคมี 4. ผลิตผักปลอดภัยไว้บริโภคและจาหน่าย 5. เป็นศูนย์เรียนรู้เพื่อพัฒนาอาชีพการเกษตร
  • 4. กลุ่มเกษตรอินทรีย์บ้านเหล่ามะละกอ สามารถเป็นแหล่งที่ผลิตปุ๋ ยหมักชีวภาพให้กับสมาชิกเพื่อนาไปใช้โดยผลิตปีละ 6 ครั้ง ๆ ละ 60-70 ตัน ผลิตปุ๋ ยอินทรีย์น้า ฮอร์โมน สารสมุนไพรไล่แมลงให้กับสมาชิกเปลี่ยนไปใช้ในราคาถูก ทาให้ สมาชิกสามารถลดต้นทุนในการทาการเกษตรได้ประมาณ 30-50 % ปัจจุบันกลุ่มเกษตรอินทรีย์บ้านเหล่ามะละกอ ได้รับการคัดเลือกจากสานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดราชบุรี ให้เป็นศูนย์เรียนรู้เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้าน มีเป้ าหมายในปีงบประมาณ 2551 จัดฝึกอบรมเกษตรกร ตามโครงการ พัฒนาการเกษตรตามแนวทฤษฏีใหม่ โดยยึดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จานวน 10 รุ่นๆละ 50 คน จานวน 500 คน และ ทางธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ได้ตั้งเป็นศูนย์เรียนรู้ ครูเกษตรกร ทาหน้าที่ฝึกอบรมเกษตรกรตามแนว ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงให้กับสมาชิกธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ของจังหวัดราชบุรี โครงการอบรมเกษตรกรตามแนวทฤษฏีใหม่ โดยยึดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้าน มี การใช้ความรู้ การศึกษาดูงาน การสาธิต การปฏิบัติจริง ที่ศูนย์มีหลักสูตร 1 ไร่ถวายในหลวง เป็นการทาการเกษตรตาม แนวทฤษฏีใหม่ โดยจัดทาเกษตรแบบผสมผสานในพื้นที่ 1 ไร่ เพื่อให้เกษตรกรลดรายจ่ายในครัวเรือน โดยการปลูก พืชผัก ผลไม้และแหล่งอาหารโปรตีน ไว้บริโภคเอง
  • 5. ปัจจัยที่ทาให้หมู่บ้านเหล่ามะละกอประสบความสาเร็จ 1.เป็นชุมชนที่ดาเนินชีวิตโดยยึดหลักความพอประมาณ เดินทางสายกลาง ที่ไม่ฟุ่มเฟือย ฟุ้งเฟ้อ หรือตระหนี่ จนเกินไป ไม่ลุ่มหลงไปกับวัตถุนิยม ดารงตนให้เป็นต้นแบบกับคนรุ่นต่อไป มองงานกว้างไกล รู้จักมัธยัสถ์ และมี ความพอประมาณในการประกอบอาชีพ 2.เป็นชุมชนที่มีการสร้างเกราะป้องกันภัยอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงมาดาเนินกิจกรรมในครัวเรือนและชุมชน เช่น การผลิตเมล็ดพันธุ์ใช้เอง การรวมกลุ่มผลิตปุ๋ ยอินทรีย์ ปุ๋ ยชีวภาพ น้าหมักชีวภาพ เพื่อใช้ภายในชุมชน เพื่อที่จะ ลดต้นทุนการผลิต การจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการเกษตร การจัดสวัสดิการต่าง ๆ ให้ชุมชน 3. ชุมชนมีการรณรงค์ลดรายจ่าย โดยได้ปลูกผักสวนครัว การลดสุรา การใช้รถยนต์คันเดียวกัน หากไปทาง เดียวกัน และการส่งเสริมการใช้รถจักรยาน เพื่อประหยัดพลังงาน รวมทั้งการลดการใช้พลังงาน อาทิเช่น ใช้ฟืน ถ่าน ในการประกอบอาหาร
  • 6. 4. ณรงค์การประหยัด ให้กับครัวเรือนในชุมชน - จัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ซึ่งมีกิจกรรมการปล่อยเงินกู้ให้แก่สมาชิกกู้ โดยมีอัตราดอกเบี้ยต่า - ดาเนินงานกองทุนหมู่บ้าน และกองทุนแก้ไขปัญหาความยากจน (กข.คจ.) - รวมกลุ่มแม่บ้านเพื่อดาเนินกิจกรรมขายข้าวสารในราคาถูก - มีการบูรณาการระหว่างกองทุน กข.คจ. กทบ. และเงินบริจาคเงินสมทบกองทุน เพื่อนาไปดาเนิน กิจกรรมของครัวเรือน ตามเวทีชาวบ้าน - สนับสนุนกลุ่มอาชีพต่าง ๆ 5. เป็นชุมชนที่รู้รักสามัคคี ทุกครอบครัวในชุมชนมีส่วนร่วม ในการดาเนินกิจกรรมของชุมชน โดยยึดหลัก เศรษฐกิจพอเพียงในการดาเนินชีวิต
  • 7. 6.การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน - เขตป่าชุมชน โดยมีการส่งเสริมและสนับสนุนให้ชาวบ้านเป็นยามจาเป็น เพื่อปกป้องและป้องกันรักษาป่า ชุมชน - การหาหน่อไม้ ซึ่งในรอบปี จะจัดหาหน่อไม้เพียงครั้งเดียว จานวน 15 วัน ระหว่าง 1-15 กันยายน ของปี และ ส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับการอัดหน่อไม้ปีบ - ร่วมกันพัฒนาปลูกต้นไม้ในสถานศึกษา และสถานที่สาคัญทางศาสนา วัด รวมทั้งสถานที่ที่ว่างเปล่า และที่ สาธารณะ - ทาความสะอาดป่าในวันสาคัญ - มีการปลูกป่าทดแทน และจัดระเบียบป่าชุมชน
  • 8. สาเหตุที่เลือกทาโครงการ การผลิตปุ๋ ยหมักชีวภาพ เพราะทางกลุ่มได้มีความเห็นว่า การผลิตปุ๋ ยหมักชีวภาพนั่นสามารถนาผลผลิตหรือปุ๋ ย หมักที่ได้ไปใช้กับต้นไม้หรือผืชผักต่างๆซึ่งเหล่านี้เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีอยู่รอบตัวเราทั้งสิ้น ทั้งยัง มีความเกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวันในเรื่องของการบริโภคพืชผักต่างๆ ซึ่งหากใช้ปุ้ ยหมัก ชีวภาพที่ผลิตใช้เองตามธรรมชาติและปลอดภัยจากสารเคมีเมื่อนาไปใช้กับพืชผักต่างๆ เมื่อ เรานาพืชผักต่างๆหล่านั่นมาบริโภคก็จะส่งผลดีต่อสุขภาพร่างการของเราเอง และนอกจากนั้น แล้วแล้ว การผลิตปุ้ ยหมักชีวภาพยังมีความเกี่ยวข้องกับเรื่องของหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงในเรื่องของการผลิตปุ๋ ยหมักชีวภาพด้วยตนเอง ซึ่งมีความสอดคล้องในหลักการของ เศรษฐกิจพอเพียงในเรื่องของการพึ่งพาตนเองได้อีกด้วย การผลิตปุ๋ ยหมักชีวภาพ
  • 9. ปุ๋ ยหมักชีวภาพ วิธีการทาปุ๋ ยหมักชีวภาพ วัสดุ/ อุปกรณ์ ) 1.มูลสัตว์(มูลโค มูลหมู หมูไก่ ) 2.ละอองข้าว 3.กากอ้อย 4.ราละเอียด 5.กรดซิลิคอน 6.ตะกอนกุ้ง 7.กากน้าตาล 8.จุลินทรีย์ท้องถิ่น (หัวเชื้อ พด.1) 9.ปุ๋ ยอินทรีย์น้า (ปุ๋ ยปลา, ฮอร์โมนไข่ )
  • 10. วิธีการผลิตปุ๋ ยหมักชีวภาพ 1.นาวัตถุดิบที่ได้มากองเป็นชั้นๆ อาจเป็นมูลโค,มูลหมู,มูลไก่ก็ได้ กองให้ได้ความ หนาประมาณ 30 ซม. 2.นาฮอร์โมนไข่กับปุ๋ ยอินทรีย์น้าตามด้วยจุลินทรีย์(แต่ถ้าไม่มีจุลินทรีย์ก็สามารถไปขอได้ ที่ พด.1 หรือที่กรมพัฒนาที่ดิน) นาฮอร์โมนไข่ปุ๋ ยอินทรีย์น้าตามด้วยจุลินทรีย์มาผสมกับ น้าเปล่า ความชื้นในการผสมจะต้องมีความลึกประมาณ 50-60 %เพราะจุลินทรีย์จะ เจริญเติบโตได้ดีที่ความชื่นประมาณ 50-60 %
  • 11. 3. นาวัตถุดิบต่างๆมาคลุกเคล้าเข้าด้วยกัน จากนั้นทาการหมักทิ้งไว้ประมาณ 1-2 เดือน (ช่วงระหว่างทาการหมักทิ้งไว้ ควรหาวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ เช่น ผ้ายาง มาคุมไว้เพื่อกันความชื้นไม่ให้ระบายออกมาได้ วิธีการสังเกตการผลิตปุ๋ ยหมักชีวภาพ หลังจากครบระยะ1-2 เดือน ในการผลิตปุ๋ ยหมักชีวภาพจะสามารถรู้ได้อย่างไรว่าทาการมักสาเร็จหรือไม่ วิธีการสังเกตมีดังต่อไปนี้. 1.สังเกตจากสี ถ้าปุ๋ ยที่ได้เปลี่ยนสีเป็นสีดาหรือสีเทาแสดงว่าปุ๋ ยที่ผลิตนั้นใช้ได้ 2.สังเกตจากอุณหภูมิ ความร้อน อุณหภูมิภายนอกกับอุณหภูมิภายในต้องมีความใกล้เคียงกัน 3.สังเกตจากกลิ่น กลิ่นจะค่อยๆลดลงจากเดิม
  • 12. ประโยชน์ของการผลิตปุ๋ ยหมักชีวภาพ 1.เพื่อปรับปรุงสภาพดิน 2.เพื่อทดแทนปุ๋ ยเคมี 3.เพื่อลดต้นทุนในการประกอบอาชีพ 4.เพื่อได้จุลินทรีย์ที่เป็นประโยชน์ 5.เพื่อมุ่งเน้นให้เกษตรกรผลิตใช้ในครัวเรือนของตนเองได้ วัสดุในธรรมชาติที่มีแร่ธาตุหลัก(N/P/K) สาหรับพืชในระดับสูง เหมาะแก่การทาปุ๋ ยหมักได้แก่ ผักตบชวา, หญ้าขน, เปลือกสับปะรด,ฟางข้าว วัสดุธรรมชาติทั่วไปที่มีเปอร์เซ็นตร์ธาตุอาหารพืชสูง โดยเรียงลาดับดังนี้ ไนโตเจน - ขนไก่, ปลาป่น,กากถั่วเหลือง ฟอสฟอรัส - กระดูกป่น,มูลค้างคาว , แมลงปีกแข็ง โปแตสเซียม - ขี้เถ้าไม้ยาง, เปลือกแมล็ดกาแฟ,มูลแพะ ธาตุอาหารพืชในวัสดุธรรมชาติ
  • 13. การนาปุ๋ ยหมักชีวภาพไปใช้กับต้นไม้หรือพืชผัก ต้องรอให้ครบระยะเวลาในการหมักปุ๋ ยชีวภาพซึ่งได้กาหนดระยะเวลาไว้1-2 เดือน หากต่ากว่านั้นการย่อยสลายของ จุลินทรีย์และวัตถุดิบต่างๆยังไม่หมด และอุณหภูมิความร้อนต่างๆยังคงอยู่ถ้านาเอาไปใช้กับต้นไม้หรือพืชผักต่างๆพืชนั้นเป็น พืชจาพวกที่อ่อนแออยู่แล้ว เช่น ผัก อาจจะเหยี่ยวเพราะกระบวนการในการย่อยสลายของจุลินทรีย์และวัตถุดิบต่างๆยังทางาน อยู่ ประเภทมูลสัตว์ ไนโตรเจน - มูลไก่,มูลสุกรมูลม้า,มูลโค ฟอสฟอรัส - มูลค้างคาว(สูงมาก),มูลไก่,มูลสุกร โปแตสเซียม - มูลค้างคาว,มูลไก่,มูลม้า
  • 14. ข้อเปรียบเทียบระหว่างปุ๋ ยหมักชีวภาพกับปุ๋ ยเคมี ปุ๋ ยหมักชีวภาพ ปุ๋ ยเคมี ข้อดี ข้อเสีย ข้อดี ข้อเสีย 1. ช่วยปรับปรุงสมบัติทางกายภาพและ ชีวภาพของดินได้ดีกว่าปุ๋ ยเคมี เพิ่มปริมาณจุลินทรีย์ดินบางชนิด มากกว่าปุ๋ ยเคมี 1. ปริมาณธาตุอาหารต่า 1.สามารถใช้ในปริมาณเพียงเล็กน้อย ก็ สามารถให้ธาตุอาหารแก่พืชได้เพียงพอกับ ความต้องการของพืช ทาให้ประหยัดทั้ง แรงงานและธาตุอาหารที่ใส่ 1. มีธาตุอาหารที่พืชต้องการอยู่ในปุ๋ ย ไม่ครบถ้วน 2.มีธาตุอาหารเสริมอยู่มากกว่าปุ๋ ยเคมี 2. ใช้เวลานานกว่าจะเป็นประโยชน์ 2.สามารถปรับแต่งปริมาณธาตุอาหารใน ปุ๋ ยเคมีให้เหมาะสมกับดินและพืชได้ช่วยให้ สามารถปรับปรุงให้ดินมีธาตุอาหารชนิดต่างๆ ในสัดส่วนที่สมดุลได้ 2. มีอิทธิพลต่อคุณสมบัติทางชีวภาพ ของดิน คือจะ ไปเร่งการสลายตัวของ อินทรีย์วัตถุในดิน และทาให้จุลินทรีย์ บางชนิดที่อาศัยอยู่ในดินลดลง 3. อยู่ในดินนาน (ค่อยๆ ปลดปล่อย ธาตุอาหาร) ส่งเสริมสิ่งมีชีวิตที่เป็นประโยชน์ใน ดิน 3. ราคาแพงต่อหน่วยธาตุอาหารพืช 3.พืชใช้ธาตุอาหารจากปุ๋ ยได้ทันที จึงให้ผล เร็ว มีราคาถูกเมื่อคิดเทียบจากปริมาณของธาตุ อาหารที่มีในปุ๋ ย 3. การสูญเสียธาตุอาหารโดยการถูก ชะล้างจากดินมีมาก โดยเฉพาะใน สภาพนาดินทรายและร่วนปนทราย ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
  • 15. สรุปข้อเปรียบเทียบระหว่างปุ๋ ยชีวภาพกับปุ๋ ยเคมี ปุ๋ ยเคมีกับปุ๋ ยหมักชีวภาพสามารถใช้ผสมกันได้ แต่ถ้าใช้ปุ๋ ยเคมีในปริมาณที่มากจนเกินไป ดิน อาจจะเสื่อสภาพ แต่หากใช้หมักปุ๋ ยชีวภาพจะช่วยในเรื่องของการรักษาหน้าดิน ช่วยย่อยสลาย อินทรีย์วัตถุในดินให้เป็นธาตุอาหารแก่พืชพืชสามารถดูดซึมไปใช้ได้เลย ช่วยเร่งการเจริญเติบโตของพืช ให้สมบูรณ์ แข็งแรงตามธรรมชาติ ต้านทานโรคและแมลงพืชผักเจริญงอกงามช่วยให้ผลผลิตคงทน สามารถเก็บรักษาไว้ได้นาน
  • 16. ประโยชน์ของการศึกษาการทาปุ๋ ยหมักชีวภาพ 1. เพื่อให้ได้รับความรู้ความเข้าใจในเรื่องของการผลิตปุ๋ ยหมักชีวภาพเพิ่มมากขึ้นจากฐานองค์ ความรู้เดิม 2. สามารถนาองค์ความรู้เรื่องการผลิตปุ๋ ยหมักชีวภาพ สามารถนามาประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจาวัน 3. สามารถนาองค์ความรู้เรื่องการผลิตปุ๋ ยหมักชีวภาพนามาประยุกต์ใช้กับหลักเศรษฐกิจ พอเพียงในเรื่องการพึ่งพาตนเองได้
  • 17. สมาชิกในกลุ่ม 1. นางสาวกัลยรัตน์ ชูสาย รหัสนักศึกษา 55115100021 2. นางสาวสมสุดา พิศวงปราการ รหัสนักศึกษา 55115100034 3. นางสาว กัลยา เสียงวังเวง รหัสนักศึกษา 551115100038 4. นายสาริน ประสิทธิ์ รหัสนักศึกษา 55115100082 ตอนเรียน A1 วิชา การพัฒนาชุมชนตามแนวเศรษรฐกิจพอเพียง เสนอ อาจารย์ ศุภวัตน์ ปภัสสรากาญจน์ หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์ ปีการศึกษา 2557 มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต