SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
เรื่อง
วันวาเลนไทน์
คณะผู้จัดทำ
เด็กหญิงพัชราภา หนูกึง เลขที่ 3
เด็กหญิงวริศรา สีหานาถ เลขที่ 23
เด็กหญิง ปาจรีย์ บุญพาเกิด เลขที่ 30
ชั้
ชั้นมัธยมศึกษาปีนี่ 2/1
เสนอ
คุณครูอุไร ทองดี
เอกสารเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการสื่อสารและการนาเสนอ (IS2)
ภาคเรียนที่ 2ปีการศึกษา 2556
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
โรงเรียนชุมแพศึกษา อาเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25
กระทรวงศึกษาธิการ
เรื่อง วันวาเลนไทน์
ชื่อผู้ศึกษำคนคว้ำ เด็กหญิงพัชราภา หนูกึง
เด็กหญิงวริศรา สีหานาถ
เด็กหญิงปาจรีย์ บุญพาเกิด
ชื่อผู้ที่ปรึกษำกำรค้นคว้ำ คุณครู อุไร ทองดี
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2/1
โรงเรียน โรงเรียนชุมแพศึกษา
ปีกำรศึกษำ 2556
บทคัดย่อ
การศึกษาค้นคว้าอิสระ(IS2)
ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์คือเพื่อที่จะได้ทราบถึงประวัติความเป็นมาของวันวาเลนไทน์ว่ามีประวัติความเป็นมาอ
ย่างไร และอยากให้ผู้คนรุ่นหลังได้รู้ถึงข้อมูลเกี่ยวกับวันวาเลนไทน์อย่างแท้จริง
โดยคณะผู้จัดทาได้ศึกษาค้นคว้าโดยวีธีการหาข้อมูลจากแหล่งข้อมูลและอีกจากหลายๆแหล่งความรู้ ได้แก่
สืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต และสอบถามจากผู้รู้ เพื่อที่จะได้นาความรู้ที่ได้ศึกษามาใช้ให้เกิดประโยชน์
โดยการนาความรู้ที่ได้ศึกษามาปรับใช้ในชีวิตประจาวัน และเผยแพร่ความรู้ให้แก่บุคคลต่างๆ
ผลการศึกษาพบว่า ประวัติความเป็นมาของวันวาเลนไทน์ คือ
เป็นวันแห่งความรักที่ใครๆหลายๆคนก็รู้จักกันทั่วโลก แล้วความรักยังมีหลากหลายรูปแบบ
เช่นการมอบความรักให้แก่ครอบครัว การมอบความรักให้แก่เพื่อน การมอบความรักให้กับต่างเพศ
และในวันแห่งความรักนี้ยังมีการมอบของที่ระลึกต่างๆให้แก่กันอีกด้วย
กิตติกรรมประกำศ
รายงานศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (IS1) เรื่อง
วันวาเลนไทน์ได้รวบรวมข้อมูลเสร็จสมบูรณ์พร้อมนาเสนอข้อมูลในการสื่อสารและการนาเสนอ (IS2)
ในรูปแบบรายงานฉบับสาเร็จสมบูรณ์ซึ่งรายงานดังกล่าวได้รับความอนุเคราะห์อย่างสูงจากคุณครู จันจิรา
โสติกะพันธ์, เพื่อนในห้องม.2/1
ที่ให้ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวันแห่งความรักหรือวันวาเลนไทน์และคุณครูประจาวิชา คือ คุณครู อุไร ทองดี
ที่ให้ข้อเสนอแนะและความรู้เพิ่มเติมในการทารายงานเล่มนี้ให้มีความถูกต้อง ชัดเจนและสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
ขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดา ผู้เป็นกาลังอย่างยิ่งในการทารายงานเล่มนี้ คอยให้ความช่วยเหลือ
ให้การสนับสนุนเป็นอย่างดีและให้ความสะดวกทางด้านสถานที่ และอาหาร
จึงทาให้ทางคณะผู้จัดทาได้ข้อมูลเกี่ยวกับวันแห่งความรักหรือวันวาเลนไทน์ได้อย่างครบถ้วน
คุณค่าและประโยชน์อันเกิดจากรายงานเล่มนี้ ทางคณะผู้จัดทาขอมอบบูชาพระคุณบิดา มารดา
ตลอดจนพระผู้มีพระคุณทุกท่านที่มีส่วนร่วมในการช่วยเหลือ หาข้อมูล
และขอน้อมบูชาท่านบูรพาจารย์ทุกท่านที่ได้ประสิทธิ์ประสานความรู้ด้วยความรักและเมตตา
เด็กหญิง พัชราภา หนูกึง
เด็กหญิง วริศรา สีหานาถ
เด็กหญิง ปาจรีย์ บุญพาเกิด
สำรบัญ
บทที่ หน้ำ
1 บทนำ………………………………………………………………………………………. 1
ที่มาและความสาคัญ……………………………………………………………………. 1
วัตถุประสงค์....................................................................................................................... 1
สมติฐาน…………………………………………………………………………………. 1
ขอบเขตของการศึกษา………………………………………………………………….... 1
ผลที่คาดว่าจะได้รับ............................................................................................................ 2
2 เอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง............................................................................................. . 3
ประวัติและความเป็นมาของวันวาเลนไทน์........................................................................ 3
ของขวัญวันวาเลนไทน์ยอดนิยม………………………………………………………… 4
ธรรมเนียมที่ถือปฏิบัติในวันวาเลนไทน์ของแต่ละประเทศ................................................ 5
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง.............................................................................................................. 6-8
3 ขั้นตอนกำรดำเนินกำรศึกษำ……………………………………………………………..... 9
วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมหรือที่ใช้ในการพัฒนา……………………………. 9
ขั้นตอนดาเนินการศึกษา………………………………………………………………….. 9
4 ผลกำรดำเนินกำรศึกษำ……………………………………………………………………. 10
ผลการศึกษา……………………………………………………………………………… 10
5 สรุปผลกำรดำเนินกำรศึกษำ และข้อเสนอแนะ…………………………………………….. 11
การดาเนินการศึกษา………………………………………………………………………. 11
สรุปผลการดาเนินการศึกษา………………………………………………………………. 11-12
ข้อเสนอแนะ………………………………………………………………………………. 12
เอกสำรอ้ำงอิง......................................................................................................................... 13
ภาคผนวก............................................................................................................................ 14
การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (IS1)
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา การสื่อสารและการนาเสนอ (IS2)
ภาพประกอบการทาการศึกษาค้นคว้า.................................................................................. 15
ประวัติย่อของผู้ศึกษาค้นคว้า……………………………………………………………… 16
กิตติกรรมประกำศ
รายงานศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (IS1) เรื่อง
วันวาเลนไทน์ได้รวบรวมข้อมูลเสร็จสมบูรณ์พร้อมนาเสนอข้อมูลในการสื่อสารและการนาเสนอ (IS2)
ในรูปแบบรายงานฉบับสาเร็จสมบูรณ์ซึ่งรายงานดังกล่าวได้รับความอนุเคราะห์อย่างสูงจากคุณครู จันจิรา
โสติกะพันธ์ ,
เพื่อนในห้องที่ให้ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวันแห่งความรักหรือวันวาเลนไทน์และคุณครูประจาวิชา คือ คุณครู
อุไร ทองดี ที่ให้ข้อเสนอแนะและความรู้เพิ่มเติมในการทารายงานเล่มนี้ให้มีความถูกต้อง
ชัดเจนและสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
ขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดา ผู้เป็นกาลังอย่างยิ่งในการทารายงานเล่มนี้ คอยให้ความช่วยเหลือ
ให้การสนับสนุนเป็นอย่างดีและให้ความสะดวกทางด้านสถานที่ และอาหาร
จึงทาให้ทางคณะผู้จัดทาได้ข้อมูลเกี่ยวกับวันแห่งความรักหรือวันวาเลนไทน์ได้อย่างครบถ้วน
คุณค่าและประโยชน์อันเกิดจากรายงานเล่มนี้ ทางคณะผู้จัดทาขอมอบบูชาพระคุณบิดา มารดา
ตลอดจนพระผู้มีพระคุณทุกท่านที่มีส่วนร่วมในการช่วยเหลือ หาข้อมูล
และขอน้อมบูชาท่านบูรพาจารย์ทุกท่านที่ได้ประสิทธิ์ประสานความรู้ด้วยความรักและเมตตา
คณะผู้จัดทำ
เด็กหญิง พัชราภา หนูกึง
เด็กหญิง วริศรา สีหานาถ
เด็กหญิง ปาจรีย์ บุญพาเกิด
บทที่ 1
บทนำ
วันวำเลนไทน์ (Valentine) คือวันที่ระลึกถึง นักบุญเซนต์วำเลนไทน์ ผู้เปี่ยมไปด้วยความรัก
ความปรารถนาดี ต่อเพื่อนมนุษย์อย่างแท้จริง แต่สุดท้ายเขาต้องจบชีวิตลงด้วยการรับโทษประหารในวันที่
14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 270หรือเมื่อประมาณ 1,728 ปีล่วงเลยมาแล้ว
ซึ่งเป็นยุคสมัยของจักรวรรดิโรมันที่ศาสนาคริสต์ยังไม่เป็นที่ยอมรับ
ซ้าร้ายภายใต้การปกครองของกษัตริย์คลอดิอุสที่ 2ผู้ออกกฎหมายบีบบังคับให้ประชาชนเลิกนับถือ
และห้ามให้มีแต่งงานของพวกคริสเตียนเกิดขึ้น แต่ยังคงมีผู้นาคริสเตียนคนหนึ่งชื่อ "วาเลนตินัส"
หรือที่ได้รับการยกย่องเป็น เซนต์วาเลนไทน์ ในภายหลัง
คอยลักลอบแอบจัดงานแต่งงานให้กับคู่รักคริสเตียนจนถูกจับขังและรับโทษทรมานแสนสาหัสอยู่ในคุก
ในขณะที่ถูกคุมขังนั้น เขาก็พบรักกับสาวตาบอด ซึ่งเธอเป็นลูกสาวของผู้คุมในคุก
ด้วยความรักและคาอธิษฐานของเขา พระเจ้าได้ทรงโปรดให้ตาของสาวคนรักหายเป็นปกติ
เมื่อความนี้ล่วงรู้ถึงหูกษัตริย์คลอดิอุสที่ 2พระองค์จึงสั่งให้ลงโทษ วาเลนตินัส
ด้วยการโบยและนาไปประหารชีวิตด้วยการตัดศีรษะ ในคืนสุดท้ายก่อนที่เขาจะถูกนาไปประหารนั้น
ได้เขียนจดหมายสั้นๆ เป็นการอาลาส่งไปให้หญิงคนรักของเขา โดยลงท้ายในจดหมายว่า
"...จากวาเลนไทน์ของเธอ (Love From Your Valentine) "
ต่อมาเมื่อคนทั่วไปทราบเรื่องราวจึงเกิดความประทับใจในความรักของเขา ยึดถือเอาวันที่ 14กุมภาพันธ์
ของทุกปีเป็น "วันแห่งควำมรัก" หรือ "วันวำเลนไทน์" และได้นิยมแพร่หลายไปทั่วยุโรป อเมริกา
รวมทั้งในทวีปเอเชียด้วย
ในแต่ละประเทศจะมีประเพณีหรือการปฏิบัติที่แตกต่างกันบ้าง ในวันวาเลนไทน์ Valentine’s
Day นี้ แต่โดยรวมแล้วจะมีการเฉลิมฉลองที่เป็นการแสดงถึงความรักที่มีระหว่างกัน
ต่อมาเมื่อความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีทางด้าน การพิมพ์เข้ามาเกี่ยวข้องมีการพิมพ์บัตร
อวยพรโดยเข้ามาแทนที่จดหมายที่ เขียนด้วยลายมือ
และปัจจุบันในวันวาเลนไทน์ก็มีการส่งบัตรอวยพรทางออนไลน์เพื่อแสดงถึงความก้าวหน้าของเทคโนโลยี
สารสนเทศที่ช่วยให้คนที่ต้องการแสดงความรักความห่วงใย ถึงคนที่รักได้อย่างรวดเร็วยิ่งขึ้นหรือ
จะเป็นการส่งดอกกุหลาบสีแดง การมอบช็อคโกแลตให้แด่คนที่เรารักในวันวาเลนไทน์
นี่คือประเพณีส่วนใหญ่ที่นิยมปฏิบัติในวันวาเลนไทน์
วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาและสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ด้วยโปรแกรม Desktop Author version
4.5.7 เรื่อง ท่องโลกอาเซียน ได้ด้วยตนเองและนามาประยุกต์ใช้ให้เข้ากับการเรียนรู้ของตนเองมากยิ่งขึ้น
2. เพื่อนาความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์
3. เพื่อศึกษาค้นคว้าเรื่องที่สนใจเกี่ยวกับอาเซียน
4. เพื่อส่งเสริมการอ่านโดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book)
ขอบเขตของโครงงำน
- จัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ด้วยโปรแกรม Desktop
Author version 4.5.7 7 เรื่อง ท่องโลกอาเซียน
- วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนา ได้แก่
- เครื่องคอมพิวเตอร์ พร้อมเชื่อมต่อระบบอินเตอร์เน็ต
- ลาโพง
- สมุดสาหรับทา Storyboard
- โปรแกรมที่ใช้ในการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่Desktop Author
version 4.5.7
- โปรแกรมที่ใช้ในการตัดต่อและตกแต่งรูปภาพ ได้แก่Adobe Photoshop CS5
- โปรแกรมที่ใช้ในการสร้างภาพเคลื่อนไหว ได้แก่Adobe Flash Professional
CS5
- เว็บไซต์ที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร เช่น www.facebook.com, www.hotmail.com
และ www.chiangpengwit.ac.th
ผลที่คำดว่ำจะได้รับ
1. ได้รับความรู้เกี่ยวกับการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ด้วยโปรแกรม Desktop Author
version 4.5.7
2. ได้รับความรู้เกี่ยวกับเรื่องที่นามาสร้างเป็นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book)
เรื่อง ท่องโลกอาเซียน
3. ได้นาเอาเทคโนโลยีสารสเทศยุคใหม่มาใช้ได้อย่างสร้างสรรค์
4. เป็นแหล่งเรียนรู้ที่สามารถเรียนรู้ได้ไม่จากัดเวลา
บทที่ 2
เอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ใ น ก า ร จั ด ท า โ ค ร ง ง า น ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ เ รื่ อ ง วั น ว า เ ล น ไ ท น์
ผู้จัดทาโครงงานได้ศึกษาค้นคว้าเอกสารและจากเว็บไซต์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้
1. เอกสารเกี่ยวกับหนังสือประวัติวันวาเลนไทน์
2. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.1 งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับวันวาเลนไทน์
1. เอกสำรเกี่ยวกับหนังสือประวัติวันวำเลนไทน์
1.1. ควำมเป็นมำของหนังสือประวัติวันวำเลนไทน์
วาเลนไทน์ (Valentine) คือวันที่ระลึกถึง นักบุญเซนต์วาเลนไทน์ (Saint Valentine) ผู้เปี่ยมไปด้วยเมตตา
ความรัก และความปรารถนาดี ต่อเพื่อนมนุษย์อย่างแท้จริง
แต่สุดท้ายเขาต้องจบชีวิตลงด้วยการรับโทษประหารในวันที่ 14กุมภาพันธ์ ค.ศ. 270 หรือเมื่อประมาณ
1,728 ปีล่วงเลยมาแล้ว ซึ่งเป็นยุคสมัยของจักรวรรดิโรมันที่ศาสนาคริสต์ยังไม่เป็นที่ยอมรับ
ซ้าร้ายภายใต้การปกครองของกษัตริย์ "คลอดิอุสที่ 2" ผู้ออกกฎหมายบีบบังคับให้ประชาชนเลิกนับถือ
และห้ามให้มีแต่งงานของพวกคริสเตียนเกิดขึ้น แต่ยังคงมีผู้นาคริสเตียนคนหนึ่งชื่อ "วาเลนตินัส"
หรือที่ได้รับการยกย่องเป็น เซนต์วาเลนไทน์ ในภายหลัง
คอยลักลอบแอบจัดงานแต่งงานให้กับคู่รักคริสเตียนจนถูกจับขังและรับโทษทรมานแสนสาหัสอยู่ในคุก
ในขณะที่ถูกคุมขังนั้น เขาก็พบรักกับสาวตาบอด ซึ่งเธอเป็นลูกสาวของผู้คุมในคุก
ด้วยความรักและคาอธิษฐานของเขา พระเจ้าได้ทรงโปรดให้ตาของสาวคนรักหายเป็นปกติ
เมื่อความนี้ล่วงรู้ถึงหูกษัตริย์คลอดิอุสที่ 2พระองค์จึงสั่งให้ลงโทษ วาเลนตินัส
ด้วยการโบยและนาไปประหารชีวิตด้วยการตัดศีรษะ ในคืนสุดท้ายก่อนที่เขาจะถูกนาไปประหารนั้น
ได้เขียนจดหมายสั้น ๆ เป็นการอาลาส่งไปให้หญิงคนรักของเขา โดยลงท้ายในจดหมายว่า
"...จากวาเลนไทน์ของเธอ (Love From Your Valentine)"
ต่อมาเมื่อคนทั่วไปทราบเรื่องราวจึงเกิดความประทับใจในความรักของเขา ยึดถือเอาวันที่14 กุมภาพันธ์
ของทุกปีเป็น "วันแห่งความรัก" Saint Valentine’s Day หรือ Valentine’sDay
และได้นิยมแพร่หลายไปทั่วยุโรป อเมริกา รวมทั้งในทวีปเอเชียด้วย
1.2 ควำมหมำยของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
มีนักวิชาการให้ความหมายของ E–Book ไว้ดังต่อไปนี้
เ บ เ ก อ ร์ (Baker. 1992: 139) ไ ด้ ก ล่ า ว ว่ า E–Book
เป็นการนาเอาส่วนที่เป็นข้อเด่นที่มีอยู่ในหนังสือแบบเดิมมาผนวกกับศักยภาพของคอมพิวเตอร์ซึ่งมีความส
ามารถในการนาเสนอเนื้อหาหรือองค์ความรู้ในรูปแบบสื่อประสมเนื้อหาหลายมิติสามารถเชื่อมโยงทั้งแหล่
งข้อมูลจากภายในและจากเครือข่าย หรือแบบเชื่อมโยง และการปฏิสัมพันธ์รูปแบบอื่นๆ
กิ ด า นั น ท์ ม ลิ ท อ ง (2539: 12) ไ ด้ ก ล่ า ว ว่ า E–Book ห ม า ย ถึ ง
สิ่ ง พิ ม พ์ ที่ ไ ด้ รั บ ก า ร แ ป ล ง ล ง บ น สื่ อ บั น ทึ ก ด้ ว ย ร ะ บ บ ดิ จิ ทั ล เ ช่ น ซี ดี –
รอมหรือหนังสือที่พิมพ์ลงบนสื่อบันทึกด้วยระบบดิจิทัลแทนที่จะพิมพ์ลงบนกระดาษเหมือนสิ่งพิมพ์ธรรม
ดา
จิร ะ พั น ธ์ เด มะ (2545: 1) ได้ก ล่าวว่า ห นั ง สื อ อิ เล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ ห รื อ E–Book
เป็นจะเป็นพัสดุห้องสมุดยุคใหม่ที่เปลี่ยนจากรูปแบบดั้งเดิมซึ่งเป็นหนังสือที่ผลิตจากการเขียนหรือพิมพ์ตัว
อั ก ษ ร ห รื อ ภ า พ ก ร า ฟิ ก ล ง ใ น แ ผ่ น ก ร ะ ด า ษ ห รื อ วั ส ดุ ช นิ ด อื่ น ๆ
เพื่ อ บั น ทึ ก เ นื้ อ ห า ส าร ะ ใ น รู ป ตั ว ห นั ง สื อ รู ป ภ า พ ห รื อ สั ญ ลั ก ษ ณ์ ต่า ง ๆ
เช่นที่ใช้กันปกติทั่วไปจากอดีตถึงปัจจุบันเปลี่ยนมาบันทึกและนาเสนอเนื้อหาสาระทั้งหมดเป็นสัญญาณอิเล็
กทรอนิกส์ในรูปสัญญาณดิจิตอลลงในสื่ออิเล็กทรอนิกส์ประเภทต่าง ๆ เช่น แผ่นซีดีรอม ปาล์มบุก
ประภาพรรณ หิรัญวัชรพฤกษ์ (2545:43-44)ได้กล่าวว่า E–Book เป็ นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
ซึ่ ง ต้ อ ง อ า ศั ย เ ค รื่ อ ง มื อ ใ น ก า ร อ่ า น ห นั ง สื อ ป ร ะ เ ภ ท นี้ คื อ ฮ า ร์ ด แ ว ร์
อ า จ เป็ น เ ค รื่ อ ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ห รื อ อุ ป ก ร ณ์ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ พ ก พ า อื่ น ๆ
พร้อมติดตั้งระบบปฏิบัติการหรือซอฟต์แวร์ที่สามารถอ่านข้อความต่าง ๆได้สาหรับการดึงข้อมูล E–Book
ที่อยู่บนเว็บไซต์ที่ให้บริการทางด้านนี้มาอ่าน
ยืน ภู่วรวรรณ และ สมช าย น าประ เสริฐชัย (2546: 51) ได้กล่าวว่า E–Book ห มายถึง
การสร้างหนังสือหรือเอกสารในรูปแบบสิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์เพื่อใช้ประโยชน์กับระบบการเรียนการสอน
บนเครือข่าย
สุ ทิ น ท อ ง ไ ส ว (2547: 6) ก ล่าวไว้ว่า e-book ห รื อ ห นั ง สื อ อิ เล็ก ท รอ นิ ก ส์ คื อ
เ อ ก ส า ร ที่ มี ข น า ด เ ห ม า ะ ส ม
ซึ่งสามารถจัดเก็บเผยแพร่หรือจาหน่ายได้ด้วยอุปกรณ์และวิธีการอิเล็กทรอนิกส์โดยผู้ใช้สามารถอ่านหนังสื
ออิเล็กทรอนิกส์นี้ผ่านทางหน้าจอคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ที่ใช้สาหรับอ่าน e-bookเรียกว่า “e-book
Reader”
จ า ก ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง ห นั ง สื อ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ ส า ม า ร ถ ส รุ ป ไ ด้ ว่า
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่มีการเปลี่ยนจากรูปแบบดั้งเดิมมาอยู่ในรูปดิจิตอลเนื้อหาสาระมีหลา
ย มิ ติ ส า ม า ร ถ เ ชื่ อ ม โ ย ง ข้ อ มู ล ไ ด้
ทั้งจากข้อมูลภายในและจากเครือข่ายมีการจัดเก็บและเผยแพร่โดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์
1.3 ประเภทของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
Baker (จิ ร ะ พั น ธ์ เ ด ม ะ . 2545; 5 อ้ า ง อิ ง จ า ก Baker. 1992)
ได้แบ่งประเภทของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ออกเป็น 10 ประเภท ดังนี้
1.1 ห นั ง สื อ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ แ บ บ ห นั ง สื อ ห รื อ ต า ร า (Textbook)
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ประเภทนี้เน้นการจัดเก็บและนาเสนอข้อมูลที่เป็นตัวหนังสือและภาพประกอบในรูป
แ บ บ ห นั ง สื อ ป ก ติ ทั่ ว ไ ป
หลักหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ชนิดนี้สามารถกล่าวได้ว่าเป็นการแปลงหนังสือจากสภาพสิ่งพิมพ์ปกติเป็นสัญญ
าณดิจิตอลเพิ่มศักยภาพในการเติมการนาเสนอการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้อ่านกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
ด้วยศักยภาพของคอมพิวเตอร์ขั้นพื้นฐาน เช่น การเปิดหน้าหนังสือการสืบค้น การคัดลอก เป็นต้น
1.2ห นังสื ออิเล็กทรอนิ กส์ แบบห นังสื ออ่าน เป็ น ห นัง สื อที่มีเสี ยงคาอ่าน
เมื่อเปิ ดหนังสือจะมีเสียงอ่าน ห นังสืออิเล็กทรอนิ กส์ ประเภทนี้ เห มาะสาห รับเด็กเริ่มเรียน
ห รื อ ส า ห รั บ ฝึ ก อ อ ก เ สี ย ง ห รื อ ฝึ ก พู ด (Talking Books) เ ป็ น ต้ น
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ชนิดนี้เป็นการเน้นคุณลักษณะด้านการนาเสนอเนื้อหาทั้งที่เป็นตัวอักษรและสียงเป็น
คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ ห ลั ก นิ ย ม ใ ช้ กั บ ก ลุ่ ม ผู้ อ่ า น ที่ มี ร ะ ดั บ ทั ก ษ ะ ท า ง ภ า ษ า
โดยเฉพาะด้านการฟังหรือการอ่านค่อนข้างต่าเหมาะสาห รับการเริ่มต้นเรียนภาษาของเด็ก ๆ
หรือผู้ที่กาลังฝึกภาษาที่สองหรือฝึกภาษาใหม่เป็นต้น
1.3 หนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบหนังสือภาพนิ่งหรืออัลบั้มภาพ (Static Picture
Books)
เป็นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่มีคุณลักษณะหลักเน้นจัดเก็บข้อมูลและนาเสนอข้อมูลในรูปแบบภาพนิ่ง
(StaticPicture) หรืออัลบั้มภาพเป็นหลัก เสริมด้วยการนาศักยภาพของคอมพิวเตอร์มาใช้ในการนาเสนอ
เช่น การเลือกภาพที่ต้องการ การขยายหรือย่อขนาดของภาพหรือตัวอักษรการสาเนาหรือถ่ายโอนภาพ
การแต่งเติมภาพ การเลือกเฉพาะส่วนของภาพ (Cropping) หรือเพิ่มข้อมูลเชื่อมโยงภายใน (Linking
Information) เช่น เชื่อมข้อมูลอธิบายเพิ่มเติม เชื่อมข้อมูลเสียงประกอบ เป็นต้น
1.4ห นังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบห นังสือภาพเคลื่อนไห ว (Moving Picture Books)
เป็นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่เน้นการนาเสนอข้อมูลในรูปแบบภาพวีดีทัศน์ (VideoClip) หรือภาพยนตร์สั้น
(Films Clips) ผ น ว ก กับ ข้ อ มูล ส าร ส น เท ศ ที่ อ ยู่ใ น รู ป ตัว ห นั ง สื อ (Text information)
ผู้อ่านสามารถเลือกชมศึกษาข้อมูลได้ ส่วนใหญ่นิยมนาเสนอข้อมูลเหตุการณ์ประวัติศาสตร์สาคัญ เช่น
ภาพเหตุการณ์สงครามโลก ภาพการกล่าวสุนทรพจน์ของบุคคลสาคัญ ๆ ของโลก ในโอกาสต่าง ๆ
ภาพเหตุการณ์ความสาเร็จหรือสูญเสียของโลก เป็นต้น
1.5 ห นั ง สื อ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ แ บ บ สื่ อ ป ร ะ ส ม (Multimedia Books)
เป็นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่เน้นเสนอข้อมูลเนื้อหาสาระในลักษณะแบบสื่อประสมระหว่างสื่อภาพ (Visual
Media) ที่เป็ นทั้งภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหวกับสื่อประเภทเสียง (AudioMedia) ในลักษณะต่าง ๆ
ผนวกกับศักยภาพของคอมพิวเตอร์อื่นเช่นเดียวกันกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์อื่น ๆ ที่กล่าวมาแล้ว
1.6 ห นั ง สื ออิเล็กทรอนิ กส์ แบบ ห นั ง สื อสื่ อห ลากห ลาย (Polymedia Books)
เป็นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่มีลักษณะเช่นเดียวกับหนังสือแบบสื่อประสมแต่มีความหลากหลายในคุณลักษ
ณะด้านความเชื่อมโยงระหว่างข้อมูลภายในเล่มที่บันทึกในลักษณะต่าง ๆ เช่น ตัวหนังสือภาพนิ่ง
ภาพเคลื่อนไหว เสียง ดนตรีและอื่น ๆ
1.7 ห นั ง สื อ อิ เล็ก ท รอ นิ ก ส์ แบ บ ห นั ง สื อ เชื่ อ มโ ยง (Hypermedia Books)
เป็ นหนังสือที่มีคุณลักษณะ สามารถเชื่อมโยงเนื้อหาสาระภายในเล่ม (InternalInformation Linking)
ซึ่งผู้อ่าน สามารถคลิกเพื่อเชื่อมโยงไปสู่เนื้ อห าสาระที่ออกแบบเชื่อมโยงกัน ภายใน เล่ม
การเชื่อมโยงเช่นนี้ มีคุณลักษณะเช่นเดียวกับบทเรียนโปรแกรมแบบแตกกิ่ง (Branhing Programmeg
Instruction) นอกจากนี้ ยังสามารถเชื่อมโยงกับแหล่งเอกสารภายนอก (ExternalInformation Linking)
เมื่อเชื่อมต่อระบบอินเตอร์เน็ตหรืออินทราเน็ต
1.8ห นังสื ออิเล็กทรอนิ กส์ แบบห นัง สื ออัจฉริ ยะ (Intelligent Electronic Books)
เป็นหนังสือสื่อประสมแต่มีการใช้โปรแกรมชั้นสูงที่สามารถมีปฏิกิริยาหรือปฏิสัมพันธ์กับผู้อ่านเสมือนกับ
หนังสือมีสติปัญญา (อัจฉริยะ) ในการไตร่ตรองหรือคาดคะเนในการโต้ตอบหรือมีปฏิกิริยากับผู้อ่าน
(ดังตัวอย่างการทางานของโปรแกรม Help ใน Microsoft Word) เป็นต้น
1.9ห นังสื ออิเล็กทรอนิ กส์ แบบสื่ อห นังสื อทางไกล (Teleedia Electronic Books)
หนังสื ออิเล็กทรอนิ กส์ประเภ ทนี้ มีคุณลักษณะห ลัก ๆ คล้ายกับ Hypermedia Electronic Books
แต่เน้นการเชื่อมโยงกับแห ล่งข้อมูลภายนอกผ่านระบบเครือข่าย (Online Information Resources)
ทั้งที่เป็นเครือข่ายเปิดและเครือข่ายเฉพาะสมาชิกของเครือข่าย
1.10 หนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบหนังสือไซเบอร์สเปซ (Cyberspace Book)
หนังสื ออิเล็กทรอนิกส์ประเภ ทนี้ มีลักษณะเห มือน กับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หลาย ๆ แบบ
ที่ก ล่าวมาแล้วผส มกัน สามารถเชื่อ มโยง ข้อมู ลทั้ งจากแห ล่ง ภ ายใ น แล ะ ภ ายน อ ก
สามารถนาเสนอข้อมูลในระบบสื่อที่หลากหลาย สามารถปฏิสัมพันธ์กับผู้อ่านได้หลากหลายมิติ
น อ ก จ า ก ที่ ก ล่ า ว ม า แ ล้ ว
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ยังสามารถแบ่งประเภทตามชนิดของสื่อที่ใช้ในการนาเสนอและองค์ประกอบของเครื่
องอานวยความสะดวกภายในเล่ม สามารถแบ่งได้เป็น 4 ประเภทหลัก ๆดังต่อไปนี้ (Baker;$ Gill. 1992d)
1. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ประเภทบรรจุหรือบันทึกข้อมูล เนื้อหาสาระเป็นหมวดวิชาหรือ
รวมวิชาโดยเฉพาะเป็นหลัก (SomeParticular Subject Area)
2. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ประเภทบรรจุข้อมูล เนื้อหาสาระเป็นหัวเรื่องหรือชื่อเรื่องเฉพาะ
เรื่อง (aParticular Topic Area) เป็นหลัก หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ประเภทนี้จะมีเนื้อหาใกล้เคียง
กับประเภทแรกแต่ขอบข่ายแคบกว่าหรือจาเพาะเจาะจงมากกว่า
3. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ประเภทบรรจุข้อมูล เนื้อหาสาระและเทคนิคการนาเสนอชั้นสูง
ที่มุ่งเน้นเพื่อสนับสนุนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือการฝึกอบรม (Supportof Learning
and training Activities)
4. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ประเภทบรรจุข้อมูล เนื้อหาสาระเน้นเพื่อการทดสอบหรือสอบ
วัดผลเพื่อให้ผู้อ่านได้ศึกษาและตรวจสอบวัดระดับความรู้ หรือความสามารถของตนเองในเรื่องใด
เรื่องหนึ่ง (tosupport testing, quizzing and assessment activities about any particular topic)
นอกจากรูปแบบที่ได้กล่าวแล้ว หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ยังได้รับการพัฒนาให้มีศักยภาพใน
การต อบ ส น อง ค วามต้อง ก ารข อง ผู้อ่าน ห รื อมีปฏิ กิริ ย ากับผู้อ่าน (End-user Interfaces)
และสามารถเป็นแหล่งความรู้และสื่อการเรียนรู้ได้อย่างกว้างขวางอีกด้วย (Baker.1992a,1992c;Baker; &
Gill. 1992.)
1.4 รูปแบบไฟล์ของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
ในการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สามารถเลือกได้ 4รูปแบบ คือ
Hyper markupLanguage (HTML)
Portable Document Format(PDF)
Peanut Makup Language (PML) และ
Extensive Makup Language (XML)
ซึ่งมีรายละเอียดของไฟล์แต่ละประเภท ดังนี้
HTML เป็นรูปแบบที่ได้รับความนิยมสูงสุด มักจะมีนามสกุลไฟล์หลาย ๆ แบบเช่น .htmหรือ .html
เป็นต้น ซึ่งได้รับความนิยมอย่างสูง เนื่องจากบราวเซอร์ในการเข้าชมเว็บ เช่น InternetExplore หรือ Nets
Communicator ที่ใช้กันทั่วโลกและสามาระอ่านไฟล์ HTML ได้
XML ก็มีลักษณะเดียวกับไฟล์ประเภท HTML นั่นเองPDF ไฟล์ประเภท PDF หรือที่เรียกว่า
Portable Document Format นี้ถูกพัฒนาโดยAdobe System Inc
เพื่อจัดเก็บเอกสารให้อยู่ในรูปแบบที่เหมือนกับเอกสารพร้อมพิมพ์และสามารถอ่านได้โดยใช้ระบบปฏิบัติก
ารจานวนมาก ซึ่งรวมถึงอุปกรณ์ e-book Reader ของ Adobe ด้วย
PML พัฒนาโดย Peanut Press
เพื่อใช้สาหรับสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์โดยเฉพาะอุปกรณ์พกพาต่าง ๆ ที่สนับสนุนไฟล์ประเภท PML
นี้จะสนับสนุนไฟล์นามสกุล .pdb ด้วย
1.5 ซอฟแวร์ในกำรเขียนและอ่ำนหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
ซอฟแวร์ที่จาเป็นสาหรับการทางานของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์จะแบ่งซอฟแวร์ออกเป็น 2
ประเภท คือ
1.1 ซอฟแวร์สาหรับเขียน
1.2 ซอฟแวร์สาหรับอ่าน
ซอฟแวร์ที่ใช้สาหรับการอ่านจะถูกติดตั้งอยู่กับอุปกรณ์ของผู้ใช้ทั่วไปแต่ซอฟแวร์ที่ใช้สาหรับการเ
ขี ย น มัก จ ะ ใ ช้ กัน เฉ พ า ะ ใ น ส า นั ก พิ ม พ์ ห รื อ ใ น ก ลุ่ม ข อ ง ผู้ เ ขี ย น เท่ า นั้ น
การเลือกใช้ซอฟ แวร์ตัวใดจะขึ้ นอยู่กับลักษณะ การทางาน รวมไปถึง อุปกรณ์ที่ผู้ใช้มีอยู่
แ ล ะ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ส่ ว น ตั ว ข อ ง ผู้ ใ ช้
ผู้ใช้บางรายต้องการอ่านหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์หรืออาจต้องการผ่านอุปกรณ์พกพาซ
อฟแวร์สาหรับการเขียนสามารถสั่งซื้อผ่านทางอินเตอร์เน็ตโดยการเลือกใช้จะต้องคานึงถึงข้อจากัดของฮาร์
ด แ ว ร์ ที่ ผู้ ใ ช้ มี อ ยู่ ใ น โ ป ร แ ก ร ม ExeBook Self-Publisher: มี ฟั ง ก์ ชั น ต่ า ง ๆ
ตามมาตรฐาน ไม่ซับซ้อน มากนักเหมาะสาหรับมือใหม่ที่เริ่มหัดสร้างห นังสื ออิเล็กทรอนิ กส์
มี จ า ห น่ า ย ท า ง เ ว็ บ ไ ซ ต์ www.exebook.com
ซึ่งทางเว็บไซต์จะรับเป็นตัวแทนจาหน่ายหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่เราเขียนด้วยโปรแกรม e-ditor: พัฒนาโดย
www.editorail.com
ซอฟแวร์ที่ใช้ในการอ่านหนังสืออิเล็กทรอนิกส์บนเครื่องคอมพิวเตอร์ ได้แก่Adobe Acrobat
eBookReader และ MicrosoftReader แต่สาหรับอุปกรณ์พกพาอย่างปาล์มนั้นจะใช้ซอฟแวร์ตัวอื่นแทน เช่น
Palm Reader
1.6 ฮำร์ดแวร์สำหรับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
ฮาร์ดแวร์สาหรับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถแบ่งตามผู้ใช้ ออกเป็น 3 กลุ่ม คือ
1.1 กลุ่มผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ Desktop และเครื่องคอมพิวเตอร์ Notebook
1.2 กลุ่มผู้ใช้อุปกรณ์พกพาต่าง ๆ
1.3 กลุ่มผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ซีพียู (CPU) ระดับเพนเทียม (Pentium) ซึ่ง
สามารถอ่านหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ได้แทบทั้งสิ้นเพียงแต่ให้ติดตั้งซอฟแวร์บางตัวเพิ่มเติมลงไปเท่านั้น
1.7 กระบวนกำรจัดทำและกำรสร้ำงหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
ก่อนที่จะลงมือจัดทาหรือพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์นั้นควรคานึงถึงขั้นตอนและกระบวนการจัด
ท า ที่ ถู ก ต้ อ ง แ ล ะ เ ห ม า ะ ส ม
โดยศึกษาให้เข้าใจถึงขั้นตอนและกระบวนการจัดทาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่ถูกต้องว่ามีขั้นตอนการดาเนิน
ก าร อ ย่าง ไ ร จ า ก นั้ น จึ ง น า ไ ป ใ ช้ เพื่ อ เ ป็ น แ น ว ท าง ใ น ก า ร ล ง มื อ ป ฏิ บั ติ จ ริ ง
เมื่อ เร าต้อ ง ก าร จัด ท าห นั ง สื อ อิ เล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ ส าห รั บ ห นั ง สื อ เล่มใ ด เล่มห นึ่ ง
จะมีกระบวนการจัดทาและพัฒนาดังโครงสร้างพอสังเขปต่อไปนี้
ภำพที่ 1กระบวนกำรจัดทำและพัฒนำหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
1.8 ข้อดีของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
สุทิน ทองไสว (2547:47) กล่าวเกี่ยวกับข้อดีของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ไว้ในวารสารวิชาการ
ดังนี้คือ
1.
ประหยัดพื้นที่ในการเก็บเนื่องจากหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ได้สร้างขึ้นมาให้อยู่ในรูปของไฟล์ดิจิตอล
ผู้ใช้สามารถจัดเก็บหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ได้หลายเล่มภายในเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องเดียวหรือบันทึกลงใ
น แ ผ่ น ซี ดี -ร อ ม
ที่มีขนาดกะทัดรัดได้ในขณะที่การจัดเก็บหนังสือจานวนมากนั้นจะต้องอาศัยชั้นวางหนังสือขนาดใหญ่
และสิ้นเปลืองพื้นที่ในการจัดเก็บมาก
2. ก า ร มี ร ะ บ บ เน วิเ ก ชั่ น (Navigation) แ ล ะ ไ ฮ เป อ ร์ ลิ ง ค์ (Hyperlinks)
ทาให้ผู้ใช้ส ามารถค้น ห าข้อมูลและ เนื้ อห าสารถที่มีอยู่ภ ายใ น ห นั งสื ออิเล็กทรอนิ กส์
ได้ง่ายกว่าค้นจากหนังสือ
3. ห นั ง สื อ อิเล็ก ทรอ นิ กส์ บ าง เล่ม (ไฟ ล์) จะ อ้าง ถึง ชื่ อเว็บ ไซ ต์ต่าง ๆ
ที่เป็นประโยชน์เพื่อให้ผู้ใช้สามารถเข้าไปศึกษาค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมได้เมื่อผู้ใช้คลิกที่ลิงค์ (Link)
หรือชื่อเว็บไซต์นั้น ๆ ก็สามารถเข้าสู่เว็บไซต์ได้ทันที
4.
กระบวนการจัดทาและการผลิตนั้นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถจัดทาและผลิตได้รวดเร็วกว่าการจัดพิมพ์
หนังสือทั่วไปและในกรณีที่มีข้อผิดพลาดระหว่างจัดทาก็สามารถควบคุมและแก้ไขได้ง่าย
จะเห็นได้ว่าหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เป็นสื่อที่มีประโยชน์และมีข้อดีหลายประการแต่การจะนาหนังสื
อ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ ม า ใ ช้ ง า น ไ ด้ อ ย่ า ง มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ นั้ น
ก็ ขึ้ น อ ยู่กับ ก ร ะ บ ว น ก า ร จั ด ท า แ ล ะ ก า ร ผ ลิ ต ห นั ง สื อ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ ว่า
ผู้จัดทาจะสามารถสร้างสรรค์หนังสื ออิเล็กทรอนิ กส์นั้ น ๆ ให้มีคุณภ าพ มากน้อยเพียงใด
สิ่งที่เป็นปัจจัยสาคัญในการผลิตหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ให้มีคุณภาพก็คือกระบวนการจัดทาที่เป็นระบบมีขั้น
ต อ น
การวางแผนและการดาเนินงานที่ชัดเจนรวมทั้งสามารถนาไปประยุกต์ใช้กับการทางานได้อย่างมีประสิทธิภ
า พ ใ น ก า ร เ ลื อ ก สื่ อ แ ล ะ วิ ธี ก า ร น า เ ส น อ สื่ อ อ ย่ า ง เ ห ม า ะ ส ม
จ ะ เ ป็ น ก า ร ช่ ว ย ส นั บ ส นุ น ใ ห้ ส า ม า ร ถ ถ่ า ย ท อ ด ค ว า ม รู้ ต่ า ง ๆ
ได้อย่าง มีป ระ สิ ทธิ ภ าพ และ สามารถ กระ ตุ้น ค วามส น ใ จของ ผู้เรี ยน ได้เป็ น อย่าง ดี
สื่อแต่ละชนิดจะมีจุดเด่นจุดด้อยแตกต่างกันออกไป ฉะนั้นในการเลือกสื่อเราต้องคานึงถึงปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
ดังนี้
- คุณสมบัติของสื่อในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่สามารถนาไปใช้ในการเรียนการสอนได้
- บุคลิกลักษณะของผู้เรียนและสื่อที่ตอบสนองความต้องการของผู้เรียนได้
- สภาพแวดล้อมในการเรียนและอุปกรณ์ที่ช่วยสื่อให้ทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สรุปได้ว่าหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มีอยู่ด้วยกันหลายรูปแบบซึ่งแต่ละรูปแบบก็ทีลักษณะแตกต่างกันไ
ป
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์มีการพัฒนามาอย่างเป็นระบบและรวดเร็วทาให้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์มีการตอบสน
องต่อความต้องการในการใช้งานได้มากและอย่างหลากหลายโดยเฉพาะนามาใช้ในการจัดการเรียนรู้
ที่สามารถตอบสนองความต้องการของผู้เรียนและผู้ทีมีหน้าที่ในการจัดการเรียนรู้ได้ดียิ่งขึ้น
2. งำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.1 งำนวิจัยที่เกี่ยวข้องกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
ฮิ ก กิ น ส์ แ ล ะ ฮี ส (Higgin; & Hess. 1998)
ได้ศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเกี่ยวกับคาศัพท์จากบททกลอนหนึ่ง ชื่อว่า “My Incredible
Headache” ใ น ซี ดี ร อ ม The New Kid on the box
ซึ่ ง เ ป็ น ห นั ง สื อ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ ที่ ไ ด้ รั บ ค ว า ม นิ ย ม จ า ก นั ก เ รี ย น
มีค าแ ล ะ ภ าพ เห มื อ น กับ ห นั ง สื อ ป ก ติ แ ต่ส ามา รถ อ่าน อ อ ก เสี ยง ดัง ๆ เ ป็ น ค า
วลีและเรื่องราวรายบุคคลมีภาพเคลื่อนไหวและภาพที่ใช้เลือกวัสดุในภาพหนังสือ ของนักเรียนเกรด 3
จ า น ว น 15 ค น โ ด ย แ บ่ ง เ ป็ น ก ลุ่ ม ท ด ล อ ง แ ล ะ ก ลุ่ ม ค ว บ คุ ม
นักเรียนในกลุ่มควบคุมให้อ่านพร้อมฟังเสียงจากหนังสืออิเล็กทรอนิกส์และดูภาพเคลื่อนไหวผลการวิจัยพบ
ว่ า
นักเรียนทั้งหมดให้ความสนใจกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เพราะมีภาพเคลื่อนไหวและได้รับความรู้จากแบบท
ดสอบก่อนและหลังเรียนแตกต่างกัน
เพ็ ญ น ภ า พั ท ร ช น ม์ (2544: บ ท คัด ย่อ ) ไ ด้พั ฒ น าห นั ง สื อ อิ เล็ ก ท ร อ นิ ก ส์
เรื่ อ ง ก ร า ฟิ ก เบื้ อ ง ต้ น แ ล ะ ห า ป ร ะ สิ ท ธิ ภ าพ ข อ ง ห นั ง สื อ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์
กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาคณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี จานวน 30คน
ซึ่งเปรียบเทียบผลการทดสอบก่อนและหลังเรียน พบว่า คะแนนเฉลี่ยทดสอบหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
พิ เช ษ ฐ เพี ย ร เจ ริ ญ (2546: บ ท คัด ย่อ ) ไ ด้พั ฒ น า ห นั ง สื อ อิ เล็ ก ท ร อ นิ ก ส์
เรื่ อง สื่ อก ารสอน เพื่ อห าป ระ สิ ท ธิ ภ าพ ของ ห นั งสื ออิเล็กท รอ นิ กส์ ตามเกณ ฑ์ 80/80
แล ะ เป รี ย บ เที ย บ ผ ล สั มฤท ธิ์ ท าง ก ารเรี ย น ข อ ง นั ก ศึ ก ษ าที่ ไม่เค ยเรี ยน วิช า 263-
201เ ท ค โ น โ ล ยี ก า ร ศึ ก ษ า ม า ก่อ น จ า น ว น 55 ค น ผ ล ก า ร วิ จั ย พ บ ว่า
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เรื่องสื่อการสอนมีประสิทธิภาพ 82.0/82.5 สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 80/80
และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังจากเรียนด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
เรื่อง สื่อการสอน สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01
อดิศักดิ์ สามหมอ (2550: บทคัดย่อ) ศึกษาผลของการจัดการเรียนรู้ด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e -
book) ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์และความสามารถในการจัดทาแฟ้ มสะสมงาน
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3พบว่า นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วย
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทาง
สถิติที่ระดับ .01 และมีความสามารถในการจัดทาแฟ้ มสะสมงานหลังเรียนไม่ต่ากว่าระดับดี (3)
อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01
จะเห็นได้ว่าหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เป็นสื่อที่มีบทบาทสาคัญต่อการศึกษาในทั้งนี้
เนื่องมาจากเป็นเทคโนโลยีการศึกษาที่สามารถนามาจัดการเรียนรู้ได้อย่างกว้างขวางและยังเป็น
เทคโนโลยีที่น่าสนใจสาหรับผู้เรียนอีกด้วย
บทที่3
ขั้นตอนกำรดำเนินโครงงำน
ในการจัดทาโครงงานIS เรื่องวันวาเลนไทน์ ผู้จัดทาโครงงานมีวิธีดาเนินงานโครงงาน
ตามขั้นตอนดังต่อไปนี้
1. วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมหรือที่ใช้ในกำรพัฒนำ
1.3เครื่องคอมพิวเตอร์ พร้อมเชื่อมต่อระบบอินเตอร์เน็ต
1.2 ปากกา สมุดจดบันทึก ดินสอ
1.5 เว็บไซต์ที่ใช้ค้นคว้า http://th.wikipedia.org/wiki/วันวาเลนไทน์
2.ขั้นตอนกำรดำเนินงำน
1.ประชุมปรึกษาหารือ เสนอความคิดเห็น
และคัดเลือกเรื่องที่จะศึกษาและคิดหัวข้อเพื่อนาเสนอครูประจาวิชา
2.ศึกษาและค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับวันวาเลนไทน์
3.ทบทวนเรื่องที่ศึกษาจาก (IS1) เรื่องวันวาเลนไทน์
4.จัดทาโครงร่างต่อครูประจาวิชาเพื่อพิจารณาอนุมัติ
5.ศึกษาวิธีการจัดทารายงานทางวิชาการเป็นรูปเล่ม
6.นาเสนอความก้าวหน้าเป็นระยะๆ ตามระยะเวลาที่ครูประจาวิชากาหนด เพื่อตรวจสอบความก้าวหน้า
7.ศึกษาวิธีการเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรม
8.จัดทาร่างรายงานทางวิชาการและเป็นรูปเล่ม
9.ตรวจสอบความถูกต้องของร่างรายงานทางวิชาการ
10.นาเสนอร่างรายงานทางวิชาการเป็นรูปเล่มต่อครูประจาวิชาเพื่อตรวจสอบความถูกต้อง
11.จัดทารายงานเป็นรูปเล่มฉบับสมบูรณ์
12.จัดทา เพาว์เวอร์พอยต์ นาเสนอแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชั้นเรียน
13.เผยแพร่ผลงานสู่สาธารณชนผ่านสื่ออิเล็กทรอนิก เช่น โซเชีบลมิเดียออนไลน์ ออนเฟสบุ๊ค
บทที่ 4
ผลกำรดำเนินงำนโครงงำน
การจัดทาโครงงานIS เรื่อง วันวาเลนไทน์ผู้จัดทาโครงงานได้ศึกษาค้นคว้าเอกสารนี้
มีวัตถุประสงค์เพื่อได้ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับความสาคัญและที่มาของวันวาเลนไทน์ศึกษาเกี่ยวกับวัตถุประสง
ค์ของวันวาเลนไทน์
และให้คนรุ่นหลังได้ตระหนักถึงความสาคัญของวันวาเลนไทน์ซึ่งเป็นที่คนไทยนับว่าเป็นวันแห่งความรัก
เพื่อให้ผู้จัดทาโครงงานสามารถนามาประยุกต์ใช้ให้เข้ากับการเรียนรู้ของตนเองมากยิ่งขึ้น
ตลอดจนเป็นแหล่งเรียนรู้สาหรับเยาวชนและผู้สนใจทั่วไป ซึ่งมีผลการดาเนินงานโครงงาน ดังนี้
1. ผลกำรศึกษำ (ตอบปัญหำประเด็นที่เรำตั้งขึ้น ให้ตอบคำถำม)
ประวัติวันวาเลนไทน์เกิดขึ้นได้อย่างไร
นักบุญ วำเลนไทน์(Valentine) เป็นสงฆ์คาทอลิกองค์หนึ่งที่ได้ถูกประหารชีวิตในวันที่ 14กุมภาพันธ์
คริสตศักราช 270 ในสมัยพระเจ้าจักรพรรดิโรมัน เกลาดิอุส ที่ 2( Clanoius)
โดยแท้จริงแล้วท่านนักบุญไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับประเพณีการเลือกคู่ หรือหาคู่หรือหาแฟน หรือความรัก
ความสนใจระหว่างหนุ่มสาว ท่านก็ไม่ได้ไปเกี่ยวข้องด้วยเลย ถ้าเช่นนั้นแล้ว
ทาไมจึงเลือกนักบุญองค์นี้มาเป็นองค์อุปถัมภ์สาหรับผู้ที่กาลังหาคู่ เลือกคู่หรือเลือกแฟนกันได้เล่า ?
เหตุผลที่ค้นพบได้ก็คือ ที่มาของวันวาเลนไทน์ ไม่ขึ้นอยู่กับคนผู้นี้ แต่ขึ้นอยู่กับวันที่ 14 กุมภาพันธ์
ประเพณีเลือกคู่หรือหาคู่นี้มีมาแต่โบร่าโบราณในทุกชาติ
ดูเหมือนกับว่าได้เกิดขึ้นพร้อมกับวิวัฒนาการของมนุษย์ก็ว่าได้ ประเพณี วำเลนไทน์ นี้ก็มีต้นเหตุหรือ
ที่มาสมัยที่จักรวรรดิโรมันแผ่อิทธิพลไปทั่ว ชาวโรมันสมัย โบราณมีการฉลองเทพเจ้าองค์หนึ่งชื่อ ลูแปร์คูส
(Lupercus) ซึ่งตรงกับวันที่ 15กุมภาพันธ์ และถือว่าเป็นการฉลองใหญ่
ส่วนหนึ่งของการฉลองใหญ่นี้ก็จะเป็นการจัดงานหาคู่ของพวกหนุ่มสาว ซึ่งจัดขึ้นในวันก่อนวันฉลองใหญ่
1 วัน คือวันที่ 14กุมภาพันธ์ นี้จะถือโอกาสให้พวกหนุ่มสาวเสนอตัวเป็นคนรักกันชั่วระยะเวลา 1ปี
ช่วงนี้จะเรียกว่าเป็นช่วงทดลองมิตรภาพเพื่อดูว่าทั้งคู่จะมีนิสัยใจคอเข้ากันได้หรือไม่
ชาวโรมันเป็นคนศรัทธาในเทพเจ้า และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ต่าง ๆ
ก็มีความเชื่อกันว่าพวกตนมีเทพเจ้าองค์หนึ่งซึ่งเขาขอให้เป็นผู้ดูแลความรักของเขาในระหว่างช่วงระยะเวลา
การทดลองเป็นคู่รักกัน 1ปี นั้น เทพเจ้าองค์นี้เป็นหญิงชื่อเทพธิดา Juno Februataซึ่งตาม
เทพนิยายของชาวโรมันเป็นมเหสีของ Jupiter องค์มหาเทพเจ้าทั้งหลาย
บทที่ 5
สรุปผลกำรดำเนินงำน และข้อเสนอแนะ
การจัดทาโครงงานIS เรื่อง วันวาเลนไทน์นี้ สามารถสรุปผลการดาเนินโครงงาน และข้อเสนอแนะ
ดังนี้
1. กำรดำเนินงำนจัดทำโครงงำน
1.1 วัตถุประสงค์ของโครงงำน
1.ได้ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับความสาคัญและที่มาของวันลอยกระทง
2.ศึกษาเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของประเพณีลอยกระทง
3.ได้ตระหนักถึงความสาคัญของวันวาเลนไทน์ซึ่งเป็นวันแห่งความรัก
1.2 วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมหรือที่ใช้ในกำรพัฒนำ
1.เครื่องคอมพิวเตอร์ พร้อมเชื่อมต่อระบบอินเตอร์เน็ต
2. ปากกา สมุดจดบันทึกดินสอ
2. สรุปผลกำรดำเนินงำนโครงงำน
ประวัติของวันวำเลนไทน์
นักบุญ วำเลนไทน์(Valentine) เป็นสงฆ์คาทอลิกองค์หนึ่งที่ได้ถูกประหารชีวิตในวันที่ 14กุมภาพันธ์
คริสตศักราช 270 ในสมัยพระเจ้าจักรพรรดิโรมัน เกลาดิอุส ที่ 2( Clanoius)
โดยแท้จริงแล้วท่านนักบุญไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับประเพณีการเลือกคู่ หรือหาคู่หรือหาแฟน หรือความรัก
ความสนใจระหว่างหนุ่มสาว ท่านก็ไม่ได้ไปเกี่ยวข้องด้วยเลย ถ้าเช่นนั้นแล้ว
ทาไมจึงเลือกนักบุญองค์นี้มาเป็นองค์อุปถัมภ์สาหรับผู้ที่กาลังหาคู่ เลือกคู่หรือเลือกแฟนกันได้เล่า ?
เหตุผลที่ค้นพบได้ก็คือ ที่มาของวันวาเลนไทน์ ไม่ขึ้นอยู่กับคนผู้นี้ แต่ขึ้นอยู่กับวันที่ 14 กุมภาพันธ์
ประเพณีเลือกคู่หรือหาคู่นี้มีมาแต่โบร่าโบราณในทุกชาติ
ดูเหมือนกับว่าได้เกิดขึ้นพร้อมกับวิวัฒนาการของมนุษย์ก็ว่าได้ ประเพณี วำเลนไทน์ นี้ก็มีต้นเหตุหรือ
ที่มาสมัยที่จักรวรรดิโรมันแผ่อิทธิพลไปทั่ว ชาวโรมันสมัย โบราณมีการฉลองเทพเจ้าองค์หนึ่งชื่อ ลูแปร์คูส
(Lupercus) ซึ่งตรงกับวันที่ 15กุมภาพันธ์ และถือว่าเป็นการฉลองใหญ่
ส่วนหนึ่งของการฉลองใหญ่นี้ก็จะเป็นการจัดงานหาคู่ของพวกหนุ่มสาว ซึ่งจัดขึ้นในวันก่อนวันฉลองใหญ่
1 วัน คือวันที่ 14กุมภาพันธ์ นี้จะถือโอกาสให้พวกหนุ่มสาวเสนอตัวเป็นคนรักกันชั่วระยะเวลา 1ปี
ช่วงนี้จะเรียกว่าเป็นช่วงทดลองมิตรภาพเพื่อดูว่าทั้งคู่จะมีนิสัยใจคอเข้ากันได้หรือไม่
ชาวโรมันเป็นคนศรัทธาในเทพเจ้า และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ต่าง ๆ
ก็มีความเชื่อกันว่าพวกตนมีเทพเจ้าองค์หนึ่งซึ่งเขาขอให้เป็นผู้ดูแลความรักของเขาในระหว่างช่วงระยะเวลา
การทดลองเป็นคู่รักกัน 1ปี นั้น เทพเจ้าองค์นี้เป็นหญิงชื่อเทพธิดา Juno Februataซึ่งตาม
เทพนิยายของชาวโรมันเป็นมเหสีของ Jupiter องค์มหาเทพเจ้าทั้งหลาย
3. ข้อเสนอแนะ
ใ น ก า ร ท า โ ค ร ง ง า น IS เ รื่ อ ง วั น ว า เ ล น ไ ท น์
ที่ผู้จัดทาได้สร้างขึ้นนี้สามารถทาให้วันรุ่นของไทยมองวันวาเลนไทน์ในมุมมองที่ดี
3.1ปัญหำ อุปสรรค และแนวทำงในกำรพัฒนำ
1. นักเรียนไม่มีคอมพิวเตอร์ใช้ที่บ้าน จึงทาให้การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
(E-book) เกิดความล่าช้าตามไปด้วย
2. ระบบอินเตอร์เน็ต มีปัญหาบ่อยครั้ง
จึงทาให้การติดต่อครูที่ปรึกษาโครงงานและการสนทนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อนนักเรียน เกิดการสะดุด
ไม่ต่อเนื่องจึงทาให้การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ล่าช้ากว่าที่คาดหวังไว้

More Related Content

What's hot

โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2LeoBlack1017
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
เรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติ
เรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติเรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติ
เรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติDuangjai Boonmeeprasert
 
สารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยสารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยPoppy Nana
 
ความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหาร
ความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหารความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหาร
ความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหารrisa021040
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์Pimrada Seehanam
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
เล่มโครงงาน ม.5
เล่มโครงงาน ม.5เล่มโครงงาน ม.5
เล่มโครงงาน ม.5Peerada Ch
 
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวChainarong Maharak
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...Sircom Smarnbua
 
รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...
รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...
รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...Prawwe Papasson
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1Jutarat Bussadee
 
เรื่อง ขนมจีบ
 เรื่อง  ขนมจีบ เรื่อง  ขนมจีบ
เรื่อง ขนมจีบTook Kata
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้ารายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้าtanakit pintong
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1peter dontoom
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลGuntima NaLove
 
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาดโครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาดAraya Chiablaem
 
โครงงานสวมหมวกนิรภัย
โครงงานสวมหมวกนิรภัยโครงงานสวมหมวกนิรภัย
โครงงานสวมหมวกนิรภัยpanadda kingkaew
 

What's hot (20)

โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
เรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติ
เรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติเรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติ
เรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติ
 
สารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยสารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทย
 
ความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหาร
ความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหารความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหาร
ความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหาร
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
เล่มโครงงาน ม.5
เล่มโครงงาน ม.5เล่มโครงงาน ม.5
เล่มโครงงาน ม.5
 
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
 
โครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิโครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิ
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
 
รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...
รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...
รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1
 
เรื่อง ขนมจีบ
 เรื่อง  ขนมจีบ เรื่อง  ขนมจีบ
เรื่อง ขนมจีบ
 
ขนมไทย
ขนมไทยขนมไทย
ขนมไทย
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้ารายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้า
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผล
 
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาดโครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
 
โครงงานสวมหมวกนิรภัย
โครงงานสวมหมวกนิรภัยโครงงานสวมหมวกนิรภัย
โครงงานสวมหมวกนิรภัย
 

Similar to เรื่องวันวาเลนไทน์

วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57คมสัน คงเอี่ยม
 
แบบสอบถามการใช้โทรศัพท์มือถือ
แบบสอบถามการใช้โทรศัพท์มือถือแบบสอบถามการใช้โทรศัพท์มือถือ
แบบสอบถามการใช้โทรศัพท์มือถือchaimate
 
วารสาร มี.ค. เม.ย.2559
วารสาร มี.ค. เม.ย.2559วารสาร มี.ค. เม.ย.2559
วารสาร มี.ค. เม.ย.2559Yui Yuyee
 
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)Thakhantha
 
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 Thakhantha
 
9 9-1-อาเซียนมัลติมีเดีย
9 9-1-อาเซียนมัลติมีเดีย9 9-1-อาเซียนมัลติมีเดีย
9 9-1-อาเซียนมัลติมีเดียpatmalya
 
วารสารประดิพัทธ์ ฉบับที่ 53
วารสารประดิพัทธ์ ฉบับที่ 53วารสารประดิพัทธ์ ฉบับที่ 53
วารสารประดิพัทธ์ ฉบับที่ 53Somdetpittayakom Spk
 
วารสารประดิพัทธ์ ฉบับที่ 53
วารสารประดิพัทธ์ ฉบับที่ 53วารสารประดิพัทธ์ ฉบับที่ 53
วารสารประดิพัทธ์ ฉบับที่ 53Somdetpittayakom Spk
 
วารสารประดิพัทธ์ ฉบับที่ 53
วารสารประดิพัทธ์ ฉบับที่ 53วารสารประดิพัทธ์ ฉบับที่ 53
วารสารประดิพัทธ์ ฉบับที่ 53Somdetpittayakom Spk
 
ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
ครูประถมนนท์ 2 ฉบับที่ 5
ครูประถมนนท์ 2 ฉบับที่ 5ครูประถมนนท์ 2 ฉบับที่ 5
ครูประถมนนท์ 2 ฉบับที่ 5Sitthipong Boonmueang
 

Similar to เรื่องวันวาเลนไทน์ (20)

ปฏิทิน 11 2557
ปฏิทิน 11 2557ปฏิทิน 11 2557
ปฏิทิน 11 2557
 
We Will Go to The Zoo
We Will Go to The ZooWe Will Go to The Zoo
We Will Go to The Zoo
 
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57
 
Valentine Day
Valentine DayValentine Day
Valentine Day
 
แบบสอบถามการใช้โทรศัพท์มือถือ
แบบสอบถามการใช้โทรศัพท์มือถือแบบสอบถามการใช้โทรศัพท์มือถือ
แบบสอบถามการใช้โทรศัพท์มือถือ
 
วารสาร มี.ค. เม.ย.2559
วารสาร มี.ค. เม.ย.2559วารสาร มี.ค. เม.ย.2559
วารสาร มี.ค. เม.ย.2559
 
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)
 
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36
 
9 9-1-อาเซียนมัลติมีเดีย
9 9-1-อาเซียนมัลติมีเดีย9 9-1-อาเซียนมัลติมีเดีย
9 9-1-อาเซียนมัลติมีเดีย
 
วารสารประดิพัทธ์ ฉบับที่ 53
วารสารประดิพัทธ์ ฉบับที่ 53วารสารประดิพัทธ์ ฉบับที่ 53
วารสารประดิพัทธ์ ฉบับที่ 53
 
วารสารประดิพัทธ์ ฉบับที่ 53
วารสารประดิพัทธ์ ฉบับที่ 53วารสารประดิพัทธ์ ฉบับที่ 53
วารสารประดิพัทธ์ ฉบับที่ 53
 
วารสารประดิพัทธ์ ฉบับที่ 53
วารสารประดิพัทธ์ ฉบับที่ 53วารสารประดิพัทธ์ ฉบับที่ 53
วารสารประดิพัทธ์ ฉบับที่ 53
 
V 283
V 283V 283
V 283
 
Is3sharinglove
Is3sharingloveIs3sharinglove
Is3sharinglove
 
ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร างโครงงาน ท _มาสมบ_รณ_ว_ตถ_
โครงร างโครงงาน ท _มาสมบ_รณ_ว_ตถ_โครงร างโครงงาน ท _มาสมบ_รณ_ว_ตถ_
โครงร างโครงงาน ท _มาสมบ_รณ_ว_ตถ_
 
Pranitee present tahoma
Pranitee present tahomaPranitee present tahoma
Pranitee present tahoma
 
วรสารเดือนเม..ย. 59 สพป เขต 2
วรสารเดือนเม..ย. 59  สพป เขต 2วรสารเดือนเม..ย. 59  สพป เขต 2
วรสารเดือนเม..ย. 59 สพป เขต 2
 
ครูประถมนนท์ 2 ฉบับที่ 5
ครูประถมนนท์ 2 ฉบับที่ 5ครูประถมนนท์ 2 ฉบับที่ 5
ครูประถมนนท์ 2 ฉบับที่ 5
 
V 275
V 275V 275
V 275
 

เรื่องวันวาเลนไทน์

  • 1. เรื่อง วันวาเลนไทน์ คณะผู้จัดทำ เด็กหญิงพัชราภา หนูกึง เลขที่ 3 เด็กหญิงวริศรา สีหานาถ เลขที่ 23 เด็กหญิง ปาจรีย์ บุญพาเกิด เลขที่ 30 ชั้ ชั้นมัธยมศึกษาปีนี่ 2/1 เสนอ คุณครูอุไร ทองดี เอกสารเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการสื่อสารและการนาเสนอ (IS2) ภาคเรียนที่ 2ปีการศึกษา 2556 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนชุมแพศึกษา อาเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25 กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. เรื่อง วันวาเลนไทน์ ชื่อผู้ศึกษำคนคว้ำ เด็กหญิงพัชราภา หนูกึง เด็กหญิงวริศรา สีหานาถ เด็กหญิงปาจรีย์ บุญพาเกิด ชื่อผู้ที่ปรึกษำกำรค้นคว้ำ คุณครู อุไร ทองดี ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2/1 โรงเรียน โรงเรียนชุมแพศึกษา ปีกำรศึกษำ 2556 บทคัดย่อ การศึกษาค้นคว้าอิสระ(IS2) ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์คือเพื่อที่จะได้ทราบถึงประวัติความเป็นมาของวันวาเลนไทน์ว่ามีประวัติความเป็นมาอ ย่างไร และอยากให้ผู้คนรุ่นหลังได้รู้ถึงข้อมูลเกี่ยวกับวันวาเลนไทน์อย่างแท้จริง โดยคณะผู้จัดทาได้ศึกษาค้นคว้าโดยวีธีการหาข้อมูลจากแหล่งข้อมูลและอีกจากหลายๆแหล่งความรู้ ได้แก่ สืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต และสอบถามจากผู้รู้ เพื่อที่จะได้นาความรู้ที่ได้ศึกษามาใช้ให้เกิดประโยชน์ โดยการนาความรู้ที่ได้ศึกษามาปรับใช้ในชีวิตประจาวัน และเผยแพร่ความรู้ให้แก่บุคคลต่างๆ ผลการศึกษาพบว่า ประวัติความเป็นมาของวันวาเลนไทน์ คือ เป็นวันแห่งความรักที่ใครๆหลายๆคนก็รู้จักกันทั่วโลก แล้วความรักยังมีหลากหลายรูปแบบ เช่นการมอบความรักให้แก่ครอบครัว การมอบความรักให้แก่เพื่อน การมอบความรักให้กับต่างเพศ และในวันแห่งความรักนี้ยังมีการมอบของที่ระลึกต่างๆให้แก่กันอีกด้วย
  • 3. กิตติกรรมประกำศ รายงานศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (IS1) เรื่อง วันวาเลนไทน์ได้รวบรวมข้อมูลเสร็จสมบูรณ์พร้อมนาเสนอข้อมูลในการสื่อสารและการนาเสนอ (IS2) ในรูปแบบรายงานฉบับสาเร็จสมบูรณ์ซึ่งรายงานดังกล่าวได้รับความอนุเคราะห์อย่างสูงจากคุณครู จันจิรา โสติกะพันธ์, เพื่อนในห้องม.2/1 ที่ให้ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวันแห่งความรักหรือวันวาเลนไทน์และคุณครูประจาวิชา คือ คุณครู อุไร ทองดี ที่ให้ข้อเสนอแนะและความรู้เพิ่มเติมในการทารายงานเล่มนี้ให้มีความถูกต้อง ชัดเจนและสมบูรณ์ยิ่งขึ้น ขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดา ผู้เป็นกาลังอย่างยิ่งในการทารายงานเล่มนี้ คอยให้ความช่วยเหลือ ให้การสนับสนุนเป็นอย่างดีและให้ความสะดวกทางด้านสถานที่ และอาหาร จึงทาให้ทางคณะผู้จัดทาได้ข้อมูลเกี่ยวกับวันแห่งความรักหรือวันวาเลนไทน์ได้อย่างครบถ้วน คุณค่าและประโยชน์อันเกิดจากรายงานเล่มนี้ ทางคณะผู้จัดทาขอมอบบูชาพระคุณบิดา มารดา ตลอดจนพระผู้มีพระคุณทุกท่านที่มีส่วนร่วมในการช่วยเหลือ หาข้อมูล และขอน้อมบูชาท่านบูรพาจารย์ทุกท่านที่ได้ประสิทธิ์ประสานความรู้ด้วยความรักและเมตตา เด็กหญิง พัชราภา หนูกึง เด็กหญิง วริศรา สีหานาถ เด็กหญิง ปาจรีย์ บุญพาเกิด
  • 4. สำรบัญ บทที่ หน้ำ 1 บทนำ………………………………………………………………………………………. 1 ที่มาและความสาคัญ……………………………………………………………………. 1 วัตถุประสงค์....................................................................................................................... 1 สมติฐาน…………………………………………………………………………………. 1 ขอบเขตของการศึกษา………………………………………………………………….... 1 ผลที่คาดว่าจะได้รับ............................................................................................................ 2 2 เอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง............................................................................................. . 3 ประวัติและความเป็นมาของวันวาเลนไทน์........................................................................ 3 ของขวัญวันวาเลนไทน์ยอดนิยม………………………………………………………… 4 ธรรมเนียมที่ถือปฏิบัติในวันวาเลนไทน์ของแต่ละประเทศ................................................ 5 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง.............................................................................................................. 6-8 3 ขั้นตอนกำรดำเนินกำรศึกษำ……………………………………………………………..... 9 วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมหรือที่ใช้ในการพัฒนา……………………………. 9 ขั้นตอนดาเนินการศึกษา………………………………………………………………….. 9 4 ผลกำรดำเนินกำรศึกษำ……………………………………………………………………. 10 ผลการศึกษา……………………………………………………………………………… 10 5 สรุปผลกำรดำเนินกำรศึกษำ และข้อเสนอแนะ…………………………………………….. 11 การดาเนินการศึกษา………………………………………………………………………. 11 สรุปผลการดาเนินการศึกษา………………………………………………………………. 11-12 ข้อเสนอแนะ………………………………………………………………………………. 12 เอกสำรอ้ำงอิง......................................................................................................................... 13 ภาคผนวก............................................................................................................................ 14 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (IS1) เอกสารประกอบการสอน รายวิชา การสื่อสารและการนาเสนอ (IS2)
  • 5. ภาพประกอบการทาการศึกษาค้นคว้า.................................................................................. 15 ประวัติย่อของผู้ศึกษาค้นคว้า……………………………………………………………… 16 กิตติกรรมประกำศ รายงานศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (IS1) เรื่อง วันวาเลนไทน์ได้รวบรวมข้อมูลเสร็จสมบูรณ์พร้อมนาเสนอข้อมูลในการสื่อสารและการนาเสนอ (IS2) ในรูปแบบรายงานฉบับสาเร็จสมบูรณ์ซึ่งรายงานดังกล่าวได้รับความอนุเคราะห์อย่างสูงจากคุณครู จันจิรา โสติกะพันธ์ , เพื่อนในห้องที่ให้ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวันแห่งความรักหรือวันวาเลนไทน์และคุณครูประจาวิชา คือ คุณครู อุไร ทองดี ที่ให้ข้อเสนอแนะและความรู้เพิ่มเติมในการทารายงานเล่มนี้ให้มีความถูกต้อง ชัดเจนและสมบูรณ์ยิ่งขึ้น ขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดา ผู้เป็นกาลังอย่างยิ่งในการทารายงานเล่มนี้ คอยให้ความช่วยเหลือ ให้การสนับสนุนเป็นอย่างดีและให้ความสะดวกทางด้านสถานที่ และอาหาร จึงทาให้ทางคณะผู้จัดทาได้ข้อมูลเกี่ยวกับวันแห่งความรักหรือวันวาเลนไทน์ได้อย่างครบถ้วน คุณค่าและประโยชน์อันเกิดจากรายงานเล่มนี้ ทางคณะผู้จัดทาขอมอบบูชาพระคุณบิดา มารดา ตลอดจนพระผู้มีพระคุณทุกท่านที่มีส่วนร่วมในการช่วยเหลือ หาข้อมูล และขอน้อมบูชาท่านบูรพาจารย์ทุกท่านที่ได้ประสิทธิ์ประสานความรู้ด้วยความรักและเมตตา คณะผู้จัดทำ เด็กหญิง พัชราภา หนูกึง เด็กหญิง วริศรา สีหานาถ เด็กหญิง ปาจรีย์ บุญพาเกิด
  • 6. บทที่ 1 บทนำ วันวำเลนไทน์ (Valentine) คือวันที่ระลึกถึง นักบุญเซนต์วำเลนไทน์ ผู้เปี่ยมไปด้วยความรัก ความปรารถนาดี ต่อเพื่อนมนุษย์อย่างแท้จริง แต่สุดท้ายเขาต้องจบชีวิตลงด้วยการรับโทษประหารในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 270หรือเมื่อประมาณ 1,728 ปีล่วงเลยมาแล้ว ซึ่งเป็นยุคสมัยของจักรวรรดิโรมันที่ศาสนาคริสต์ยังไม่เป็นที่ยอมรับ ซ้าร้ายภายใต้การปกครองของกษัตริย์คลอดิอุสที่ 2ผู้ออกกฎหมายบีบบังคับให้ประชาชนเลิกนับถือ และห้ามให้มีแต่งงานของพวกคริสเตียนเกิดขึ้น แต่ยังคงมีผู้นาคริสเตียนคนหนึ่งชื่อ "วาเลนตินัส" หรือที่ได้รับการยกย่องเป็น เซนต์วาเลนไทน์ ในภายหลัง คอยลักลอบแอบจัดงานแต่งงานให้กับคู่รักคริสเตียนจนถูกจับขังและรับโทษทรมานแสนสาหัสอยู่ในคุก ในขณะที่ถูกคุมขังนั้น เขาก็พบรักกับสาวตาบอด ซึ่งเธอเป็นลูกสาวของผู้คุมในคุก ด้วยความรักและคาอธิษฐานของเขา พระเจ้าได้ทรงโปรดให้ตาของสาวคนรักหายเป็นปกติ เมื่อความนี้ล่วงรู้ถึงหูกษัตริย์คลอดิอุสที่ 2พระองค์จึงสั่งให้ลงโทษ วาเลนตินัส ด้วยการโบยและนาไปประหารชีวิตด้วยการตัดศีรษะ ในคืนสุดท้ายก่อนที่เขาจะถูกนาไปประหารนั้น ได้เขียนจดหมายสั้นๆ เป็นการอาลาส่งไปให้หญิงคนรักของเขา โดยลงท้ายในจดหมายว่า "...จากวาเลนไทน์ของเธอ (Love From Your Valentine) " ต่อมาเมื่อคนทั่วไปทราบเรื่องราวจึงเกิดความประทับใจในความรักของเขา ยึดถือเอาวันที่ 14กุมภาพันธ์ ของทุกปีเป็น "วันแห่งควำมรัก" หรือ "วันวำเลนไทน์" และได้นิยมแพร่หลายไปทั่วยุโรป อเมริกา รวมทั้งในทวีปเอเชียด้วย ในแต่ละประเทศจะมีประเพณีหรือการปฏิบัติที่แตกต่างกันบ้าง ในวันวาเลนไทน์ Valentine’s Day นี้ แต่โดยรวมแล้วจะมีการเฉลิมฉลองที่เป็นการแสดงถึงความรักที่มีระหว่างกัน ต่อมาเมื่อความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีทางด้าน การพิมพ์เข้ามาเกี่ยวข้องมีการพิมพ์บัตร อวยพรโดยเข้ามาแทนที่จดหมายที่ เขียนด้วยลายมือ และปัจจุบันในวันวาเลนไทน์ก็มีการส่งบัตรอวยพรทางออนไลน์เพื่อแสดงถึงความก้าวหน้าของเทคโนโลยี
  • 7. สารสนเทศที่ช่วยให้คนที่ต้องการแสดงความรักความห่วงใย ถึงคนที่รักได้อย่างรวดเร็วยิ่งขึ้นหรือ จะเป็นการส่งดอกกุหลาบสีแดง การมอบช็อคโกแลตให้แด่คนที่เรารักในวันวาเลนไทน์ นี่คือประเพณีส่วนใหญ่ที่นิยมปฏิบัติในวันวาเลนไทน์ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาและสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ด้วยโปรแกรม Desktop Author version 4.5.7 เรื่อง ท่องโลกอาเซียน ได้ด้วยตนเองและนามาประยุกต์ใช้ให้เข้ากับการเรียนรู้ของตนเองมากยิ่งขึ้น 2. เพื่อนาความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ 3. เพื่อศึกษาค้นคว้าเรื่องที่สนใจเกี่ยวกับอาเซียน 4. เพื่อส่งเสริมการอ่านโดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ขอบเขตของโครงงำน - จัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ด้วยโปรแกรม Desktop Author version 4.5.7 7 เรื่อง ท่องโลกอาเซียน - วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนา ได้แก่ - เครื่องคอมพิวเตอร์ พร้อมเชื่อมต่อระบบอินเตอร์เน็ต - ลาโพง - สมุดสาหรับทา Storyboard - โปรแกรมที่ใช้ในการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่Desktop Author version 4.5.7 - โปรแกรมที่ใช้ในการตัดต่อและตกแต่งรูปภาพ ได้แก่Adobe Photoshop CS5 - โปรแกรมที่ใช้ในการสร้างภาพเคลื่อนไหว ได้แก่Adobe Flash Professional CS5 - เว็บไซต์ที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร เช่น www.facebook.com, www.hotmail.com และ www.chiangpengwit.ac.th ผลที่คำดว่ำจะได้รับ
  • 8. 1. ได้รับความรู้เกี่ยวกับการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ด้วยโปรแกรม Desktop Author version 4.5.7 2. ได้รับความรู้เกี่ยวกับเรื่องที่นามาสร้างเป็นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) เรื่อง ท่องโลกอาเซียน 3. ได้นาเอาเทคโนโลยีสารสเทศยุคใหม่มาใช้ได้อย่างสร้างสรรค์ 4. เป็นแหล่งเรียนรู้ที่สามารถเรียนรู้ได้ไม่จากัดเวลา บทที่ 2 เอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง ใ น ก า ร จั ด ท า โ ค ร ง ง า น ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ เ รื่ อ ง วั น ว า เ ล น ไ ท น์ ผู้จัดทาโครงงานได้ศึกษาค้นคว้าเอกสารและจากเว็บไซต์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้ 1. เอกสารเกี่ยวกับหนังสือประวัติวันวาเลนไทน์ 2. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2.1 งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับวันวาเลนไทน์ 1. เอกสำรเกี่ยวกับหนังสือประวัติวันวำเลนไทน์ 1.1. ควำมเป็นมำของหนังสือประวัติวันวำเลนไทน์ วาเลนไทน์ (Valentine) คือวันที่ระลึกถึง นักบุญเซนต์วาเลนไทน์ (Saint Valentine) ผู้เปี่ยมไปด้วยเมตตา ความรัก และความปรารถนาดี ต่อเพื่อนมนุษย์อย่างแท้จริง แต่สุดท้ายเขาต้องจบชีวิตลงด้วยการรับโทษประหารในวันที่ 14กุมภาพันธ์ ค.ศ. 270 หรือเมื่อประมาณ 1,728 ปีล่วงเลยมาแล้ว ซึ่งเป็นยุคสมัยของจักรวรรดิโรมันที่ศาสนาคริสต์ยังไม่เป็นที่ยอมรับ ซ้าร้ายภายใต้การปกครองของกษัตริย์ "คลอดิอุสที่ 2" ผู้ออกกฎหมายบีบบังคับให้ประชาชนเลิกนับถือ และห้ามให้มีแต่งงานของพวกคริสเตียนเกิดขึ้น แต่ยังคงมีผู้นาคริสเตียนคนหนึ่งชื่อ "วาเลนตินัส" หรือที่ได้รับการยกย่องเป็น เซนต์วาเลนไทน์ ในภายหลัง คอยลักลอบแอบจัดงานแต่งงานให้กับคู่รักคริสเตียนจนถูกจับขังและรับโทษทรมานแสนสาหัสอยู่ในคุก ในขณะที่ถูกคุมขังนั้น เขาก็พบรักกับสาวตาบอด ซึ่งเธอเป็นลูกสาวของผู้คุมในคุก ด้วยความรักและคาอธิษฐานของเขา พระเจ้าได้ทรงโปรดให้ตาของสาวคนรักหายเป็นปกติ เมื่อความนี้ล่วงรู้ถึงหูกษัตริย์คลอดิอุสที่ 2พระองค์จึงสั่งให้ลงโทษ วาเลนตินัส
  • 9. ด้วยการโบยและนาไปประหารชีวิตด้วยการตัดศีรษะ ในคืนสุดท้ายก่อนที่เขาจะถูกนาไปประหารนั้น ได้เขียนจดหมายสั้น ๆ เป็นการอาลาส่งไปให้หญิงคนรักของเขา โดยลงท้ายในจดหมายว่า "...จากวาเลนไทน์ของเธอ (Love From Your Valentine)" ต่อมาเมื่อคนทั่วไปทราบเรื่องราวจึงเกิดความประทับใจในความรักของเขา ยึดถือเอาวันที่14 กุมภาพันธ์ ของทุกปีเป็น "วันแห่งความรัก" Saint Valentine’s Day หรือ Valentine’sDay และได้นิยมแพร่หลายไปทั่วยุโรป อเมริกา รวมทั้งในทวีปเอเชียด้วย 1.2 ควำมหมำยของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ มีนักวิชาการให้ความหมายของ E–Book ไว้ดังต่อไปนี้ เ บ เ ก อ ร์ (Baker. 1992: 139) ไ ด้ ก ล่ า ว ว่ า E–Book เป็นการนาเอาส่วนที่เป็นข้อเด่นที่มีอยู่ในหนังสือแบบเดิมมาผนวกกับศักยภาพของคอมพิวเตอร์ซึ่งมีความส ามารถในการนาเสนอเนื้อหาหรือองค์ความรู้ในรูปแบบสื่อประสมเนื้อหาหลายมิติสามารถเชื่อมโยงทั้งแหล่ งข้อมูลจากภายในและจากเครือข่าย หรือแบบเชื่อมโยง และการปฏิสัมพันธ์รูปแบบอื่นๆ กิ ด า นั น ท์ ม ลิ ท อ ง (2539: 12) ไ ด้ ก ล่ า ว ว่ า E–Book ห ม า ย ถึ ง สิ่ ง พิ ม พ์ ที่ ไ ด้ รั บ ก า ร แ ป ล ง ล ง บ น สื่ อ บั น ทึ ก ด้ ว ย ร ะ บ บ ดิ จิ ทั ล เ ช่ น ซี ดี – รอมหรือหนังสือที่พิมพ์ลงบนสื่อบันทึกด้วยระบบดิจิทัลแทนที่จะพิมพ์ลงบนกระดาษเหมือนสิ่งพิมพ์ธรรม ดา จิร ะ พั น ธ์ เด มะ (2545: 1) ได้ก ล่าวว่า ห นั ง สื อ อิ เล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ ห รื อ E–Book เป็นจะเป็นพัสดุห้องสมุดยุคใหม่ที่เปลี่ยนจากรูปแบบดั้งเดิมซึ่งเป็นหนังสือที่ผลิตจากการเขียนหรือพิมพ์ตัว อั ก ษ ร ห รื อ ภ า พ ก ร า ฟิ ก ล ง ใ น แ ผ่ น ก ร ะ ด า ษ ห รื อ วั ส ดุ ช นิ ด อื่ น ๆ เพื่ อ บั น ทึ ก เ นื้ อ ห า ส าร ะ ใ น รู ป ตั ว ห นั ง สื อ รู ป ภ า พ ห รื อ สั ญ ลั ก ษ ณ์ ต่า ง ๆ เช่นที่ใช้กันปกติทั่วไปจากอดีตถึงปัจจุบันเปลี่ยนมาบันทึกและนาเสนอเนื้อหาสาระทั้งหมดเป็นสัญญาณอิเล็ กทรอนิกส์ในรูปสัญญาณดิจิตอลลงในสื่ออิเล็กทรอนิกส์ประเภทต่าง ๆ เช่น แผ่นซีดีรอม ปาล์มบุก ประภาพรรณ หิรัญวัชรพฤกษ์ (2545:43-44)ได้กล่าวว่า E–Book เป็ นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ซึ่ ง ต้ อ ง อ า ศั ย เ ค รื่ อ ง มื อ ใ น ก า ร อ่ า น ห นั ง สื อ ป ร ะ เ ภ ท นี้ คื อ ฮ า ร์ ด แ ว ร์ อ า จ เป็ น เ ค รื่ อ ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ห รื อ อุ ป ก ร ณ์ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ พ ก พ า อื่ น ๆ พร้อมติดตั้งระบบปฏิบัติการหรือซอฟต์แวร์ที่สามารถอ่านข้อความต่าง ๆได้สาหรับการดึงข้อมูล E–Book ที่อยู่บนเว็บไซต์ที่ให้บริการทางด้านนี้มาอ่าน ยืน ภู่วรวรรณ และ สมช าย น าประ เสริฐชัย (2546: 51) ได้กล่าวว่า E–Book ห มายถึง การสร้างหนังสือหรือเอกสารในรูปแบบสิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์เพื่อใช้ประโยชน์กับระบบการเรียนการสอน บนเครือข่าย
  • 10. สุ ทิ น ท อ ง ไ ส ว (2547: 6) ก ล่าวไว้ว่า e-book ห รื อ ห นั ง สื อ อิ เล็ก ท รอ นิ ก ส์ คื อ เ อ ก ส า ร ที่ มี ข น า ด เ ห ม า ะ ส ม ซึ่งสามารถจัดเก็บเผยแพร่หรือจาหน่ายได้ด้วยอุปกรณ์และวิธีการอิเล็กทรอนิกส์โดยผู้ใช้สามารถอ่านหนังสื ออิเล็กทรอนิกส์นี้ผ่านทางหน้าจอคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ที่ใช้สาหรับอ่าน e-bookเรียกว่า “e-book Reader” จ า ก ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง ห นั ง สื อ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ ส า ม า ร ถ ส รุ ป ไ ด้ ว่า หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่มีการเปลี่ยนจากรูปแบบดั้งเดิมมาอยู่ในรูปดิจิตอลเนื้อหาสาระมีหลา ย มิ ติ ส า ม า ร ถ เ ชื่ อ ม โ ย ง ข้ อ มู ล ไ ด้ ทั้งจากข้อมูลภายในและจากเครือข่ายมีการจัดเก็บและเผยแพร่โดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ 1.3 ประเภทของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ Baker (จิ ร ะ พั น ธ์ เ ด ม ะ . 2545; 5 อ้ า ง อิ ง จ า ก Baker. 1992) ได้แบ่งประเภทของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ออกเป็น 10 ประเภท ดังนี้ 1.1 ห นั ง สื อ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ แ บ บ ห นั ง สื อ ห รื อ ต า ร า (Textbook) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ประเภทนี้เน้นการจัดเก็บและนาเสนอข้อมูลที่เป็นตัวหนังสือและภาพประกอบในรูป แ บ บ ห นั ง สื อ ป ก ติ ทั่ ว ไ ป หลักหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ชนิดนี้สามารถกล่าวได้ว่าเป็นการแปลงหนังสือจากสภาพสิ่งพิมพ์ปกติเป็นสัญญ าณดิจิตอลเพิ่มศักยภาพในการเติมการนาเสนอการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้อ่านกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ด้วยศักยภาพของคอมพิวเตอร์ขั้นพื้นฐาน เช่น การเปิดหน้าหนังสือการสืบค้น การคัดลอก เป็นต้น 1.2ห นังสื ออิเล็กทรอนิ กส์ แบบห นังสื ออ่าน เป็ น ห นัง สื อที่มีเสี ยงคาอ่าน เมื่อเปิ ดหนังสือจะมีเสียงอ่าน ห นังสืออิเล็กทรอนิ กส์ ประเภทนี้ เห มาะสาห รับเด็กเริ่มเรียน ห รื อ ส า ห รั บ ฝึ ก อ อ ก เ สี ย ง ห รื อ ฝึ ก พู ด (Talking Books) เ ป็ น ต้ น หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ชนิดนี้เป็นการเน้นคุณลักษณะด้านการนาเสนอเนื้อหาทั้งที่เป็นตัวอักษรและสียงเป็น คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ ห ลั ก นิ ย ม ใ ช้ กั บ ก ลุ่ ม ผู้ อ่ า น ที่ มี ร ะ ดั บ ทั ก ษ ะ ท า ง ภ า ษ า โดยเฉพาะด้านการฟังหรือการอ่านค่อนข้างต่าเหมาะสาห รับการเริ่มต้นเรียนภาษาของเด็ก ๆ หรือผู้ที่กาลังฝึกภาษาที่สองหรือฝึกภาษาใหม่เป็นต้น 1.3 หนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบหนังสือภาพนิ่งหรืออัลบั้มภาพ (Static Picture Books) เป็นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่มีคุณลักษณะหลักเน้นจัดเก็บข้อมูลและนาเสนอข้อมูลในรูปแบบภาพนิ่ง (StaticPicture) หรืออัลบั้มภาพเป็นหลัก เสริมด้วยการนาศักยภาพของคอมพิวเตอร์มาใช้ในการนาเสนอ เช่น การเลือกภาพที่ต้องการ การขยายหรือย่อขนาดของภาพหรือตัวอักษรการสาเนาหรือถ่ายโอนภาพ
  • 11. การแต่งเติมภาพ การเลือกเฉพาะส่วนของภาพ (Cropping) หรือเพิ่มข้อมูลเชื่อมโยงภายใน (Linking Information) เช่น เชื่อมข้อมูลอธิบายเพิ่มเติม เชื่อมข้อมูลเสียงประกอบ เป็นต้น 1.4ห นังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบห นังสือภาพเคลื่อนไห ว (Moving Picture Books) เป็นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่เน้นการนาเสนอข้อมูลในรูปแบบภาพวีดีทัศน์ (VideoClip) หรือภาพยนตร์สั้น (Films Clips) ผ น ว ก กับ ข้ อ มูล ส าร ส น เท ศ ที่ อ ยู่ใ น รู ป ตัว ห นั ง สื อ (Text information) ผู้อ่านสามารถเลือกชมศึกษาข้อมูลได้ ส่วนใหญ่นิยมนาเสนอข้อมูลเหตุการณ์ประวัติศาสตร์สาคัญ เช่น ภาพเหตุการณ์สงครามโลก ภาพการกล่าวสุนทรพจน์ของบุคคลสาคัญ ๆ ของโลก ในโอกาสต่าง ๆ ภาพเหตุการณ์ความสาเร็จหรือสูญเสียของโลก เป็นต้น 1.5 ห นั ง สื อ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ แ บ บ สื่ อ ป ร ะ ส ม (Multimedia Books) เป็นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่เน้นเสนอข้อมูลเนื้อหาสาระในลักษณะแบบสื่อประสมระหว่างสื่อภาพ (Visual Media) ที่เป็ นทั้งภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหวกับสื่อประเภทเสียง (AudioMedia) ในลักษณะต่าง ๆ ผนวกกับศักยภาพของคอมพิวเตอร์อื่นเช่นเดียวกันกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์อื่น ๆ ที่กล่าวมาแล้ว 1.6 ห นั ง สื ออิเล็กทรอนิ กส์ แบบ ห นั ง สื อสื่ อห ลากห ลาย (Polymedia Books) เป็นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่มีลักษณะเช่นเดียวกับหนังสือแบบสื่อประสมแต่มีความหลากหลายในคุณลักษ ณะด้านความเชื่อมโยงระหว่างข้อมูลภายในเล่มที่บันทึกในลักษณะต่าง ๆ เช่น ตัวหนังสือภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง ดนตรีและอื่น ๆ 1.7 ห นั ง สื อ อิ เล็ก ท รอ นิ ก ส์ แบ บ ห นั ง สื อ เชื่ อ มโ ยง (Hypermedia Books) เป็ นหนังสือที่มีคุณลักษณะ สามารถเชื่อมโยงเนื้อหาสาระภายในเล่ม (InternalInformation Linking) ซึ่งผู้อ่าน สามารถคลิกเพื่อเชื่อมโยงไปสู่เนื้ อห าสาระที่ออกแบบเชื่อมโยงกัน ภายใน เล่ม การเชื่อมโยงเช่นนี้ มีคุณลักษณะเช่นเดียวกับบทเรียนโปรแกรมแบบแตกกิ่ง (Branhing Programmeg Instruction) นอกจากนี้ ยังสามารถเชื่อมโยงกับแหล่งเอกสารภายนอก (ExternalInformation Linking) เมื่อเชื่อมต่อระบบอินเตอร์เน็ตหรืออินทราเน็ต 1.8ห นังสื ออิเล็กทรอนิ กส์ แบบห นัง สื ออัจฉริ ยะ (Intelligent Electronic Books) เป็นหนังสือสื่อประสมแต่มีการใช้โปรแกรมชั้นสูงที่สามารถมีปฏิกิริยาหรือปฏิสัมพันธ์กับผู้อ่านเสมือนกับ หนังสือมีสติปัญญา (อัจฉริยะ) ในการไตร่ตรองหรือคาดคะเนในการโต้ตอบหรือมีปฏิกิริยากับผู้อ่าน (ดังตัวอย่างการทางานของโปรแกรม Help ใน Microsoft Word) เป็นต้น 1.9ห นังสื ออิเล็กทรอนิ กส์ แบบสื่ อห นังสื อทางไกล (Teleedia Electronic Books) หนังสื ออิเล็กทรอนิ กส์ประเภ ทนี้ มีคุณลักษณะห ลัก ๆ คล้ายกับ Hypermedia Electronic Books แต่เน้นการเชื่อมโยงกับแห ล่งข้อมูลภายนอกผ่านระบบเครือข่าย (Online Information Resources) ทั้งที่เป็นเครือข่ายเปิดและเครือข่ายเฉพาะสมาชิกของเครือข่าย 1.10 หนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบหนังสือไซเบอร์สเปซ (Cyberspace Book)
  • 12. หนังสื ออิเล็กทรอนิกส์ประเภ ทนี้ มีลักษณะเห มือน กับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หลาย ๆ แบบ ที่ก ล่าวมาแล้วผส มกัน สามารถเชื่อ มโยง ข้อมู ลทั้ งจากแห ล่ง ภ ายใ น แล ะ ภ ายน อ ก สามารถนาเสนอข้อมูลในระบบสื่อที่หลากหลาย สามารถปฏิสัมพันธ์กับผู้อ่านได้หลากหลายมิติ น อ ก จ า ก ที่ ก ล่ า ว ม า แ ล้ ว หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ยังสามารถแบ่งประเภทตามชนิดของสื่อที่ใช้ในการนาเสนอและองค์ประกอบของเครื่ องอานวยความสะดวกภายในเล่ม สามารถแบ่งได้เป็น 4 ประเภทหลัก ๆดังต่อไปนี้ (Baker;$ Gill. 1992d) 1. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ประเภทบรรจุหรือบันทึกข้อมูล เนื้อหาสาระเป็นหมวดวิชาหรือ รวมวิชาโดยเฉพาะเป็นหลัก (SomeParticular Subject Area) 2. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ประเภทบรรจุข้อมูล เนื้อหาสาระเป็นหัวเรื่องหรือชื่อเรื่องเฉพาะ เรื่อง (aParticular Topic Area) เป็นหลัก หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ประเภทนี้จะมีเนื้อหาใกล้เคียง กับประเภทแรกแต่ขอบข่ายแคบกว่าหรือจาเพาะเจาะจงมากกว่า 3. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ประเภทบรรจุข้อมูล เนื้อหาสาระและเทคนิคการนาเสนอชั้นสูง ที่มุ่งเน้นเพื่อสนับสนุนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือการฝึกอบรม (Supportof Learning and training Activities) 4. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ประเภทบรรจุข้อมูล เนื้อหาสาระเน้นเพื่อการทดสอบหรือสอบ วัดผลเพื่อให้ผู้อ่านได้ศึกษาและตรวจสอบวัดระดับความรู้ หรือความสามารถของตนเองในเรื่องใด เรื่องหนึ่ง (tosupport testing, quizzing and assessment activities about any particular topic) นอกจากรูปแบบที่ได้กล่าวแล้ว หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ยังได้รับการพัฒนาให้มีศักยภาพใน การต อบ ส น อง ค วามต้อง ก ารข อง ผู้อ่าน ห รื อมีปฏิ กิริ ย ากับผู้อ่าน (End-user Interfaces) และสามารถเป็นแหล่งความรู้และสื่อการเรียนรู้ได้อย่างกว้างขวางอีกด้วย (Baker.1992a,1992c;Baker; & Gill. 1992.) 1.4 รูปแบบไฟล์ของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ในการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สามารถเลือกได้ 4รูปแบบ คือ Hyper markupLanguage (HTML) Portable Document Format(PDF) Peanut Makup Language (PML) และ Extensive Makup Language (XML) ซึ่งมีรายละเอียดของไฟล์แต่ละประเภท ดังนี้ HTML เป็นรูปแบบที่ได้รับความนิยมสูงสุด มักจะมีนามสกุลไฟล์หลาย ๆ แบบเช่น .htmหรือ .html เป็นต้น ซึ่งได้รับความนิยมอย่างสูง เนื่องจากบราวเซอร์ในการเข้าชมเว็บ เช่น InternetExplore หรือ Nets Communicator ที่ใช้กันทั่วโลกและสามาระอ่านไฟล์ HTML ได้
  • 13. XML ก็มีลักษณะเดียวกับไฟล์ประเภท HTML นั่นเองPDF ไฟล์ประเภท PDF หรือที่เรียกว่า Portable Document Format นี้ถูกพัฒนาโดยAdobe System Inc เพื่อจัดเก็บเอกสารให้อยู่ในรูปแบบที่เหมือนกับเอกสารพร้อมพิมพ์และสามารถอ่านได้โดยใช้ระบบปฏิบัติก ารจานวนมาก ซึ่งรวมถึงอุปกรณ์ e-book Reader ของ Adobe ด้วย PML พัฒนาโดย Peanut Press เพื่อใช้สาหรับสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์โดยเฉพาะอุปกรณ์พกพาต่าง ๆ ที่สนับสนุนไฟล์ประเภท PML นี้จะสนับสนุนไฟล์นามสกุล .pdb ด้วย 1.5 ซอฟแวร์ในกำรเขียนและอ่ำนหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ซอฟแวร์ที่จาเป็นสาหรับการทางานของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์จะแบ่งซอฟแวร์ออกเป็น 2 ประเภท คือ 1.1 ซอฟแวร์สาหรับเขียน 1.2 ซอฟแวร์สาหรับอ่าน ซอฟแวร์ที่ใช้สาหรับการอ่านจะถูกติดตั้งอยู่กับอุปกรณ์ของผู้ใช้ทั่วไปแต่ซอฟแวร์ที่ใช้สาหรับการเ ขี ย น มัก จ ะ ใ ช้ กัน เฉ พ า ะ ใ น ส า นั ก พิ ม พ์ ห รื อ ใ น ก ลุ่ม ข อ ง ผู้ เ ขี ย น เท่ า นั้ น การเลือกใช้ซอฟ แวร์ตัวใดจะขึ้ นอยู่กับลักษณะ การทางาน รวมไปถึง อุปกรณ์ที่ผู้ใช้มีอยู่ แ ล ะ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ส่ ว น ตั ว ข อ ง ผู้ ใ ช้ ผู้ใช้บางรายต้องการอ่านหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์หรืออาจต้องการผ่านอุปกรณ์พกพาซ อฟแวร์สาหรับการเขียนสามารถสั่งซื้อผ่านทางอินเตอร์เน็ตโดยการเลือกใช้จะต้องคานึงถึงข้อจากัดของฮาร์ ด แ ว ร์ ที่ ผู้ ใ ช้ มี อ ยู่ ใ น โ ป ร แ ก ร ม ExeBook Self-Publisher: มี ฟั ง ก์ ชั น ต่ า ง ๆ ตามมาตรฐาน ไม่ซับซ้อน มากนักเหมาะสาหรับมือใหม่ที่เริ่มหัดสร้างห นังสื ออิเล็กทรอนิ กส์ มี จ า ห น่ า ย ท า ง เ ว็ บ ไ ซ ต์ www.exebook.com ซึ่งทางเว็บไซต์จะรับเป็นตัวแทนจาหน่ายหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่เราเขียนด้วยโปรแกรม e-ditor: พัฒนาโดย www.editorail.com ซอฟแวร์ที่ใช้ในการอ่านหนังสืออิเล็กทรอนิกส์บนเครื่องคอมพิวเตอร์ ได้แก่Adobe Acrobat eBookReader และ MicrosoftReader แต่สาหรับอุปกรณ์พกพาอย่างปาล์มนั้นจะใช้ซอฟแวร์ตัวอื่นแทน เช่น Palm Reader 1.6 ฮำร์ดแวร์สำหรับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ฮาร์ดแวร์สาหรับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถแบ่งตามผู้ใช้ ออกเป็น 3 กลุ่ม คือ 1.1 กลุ่มผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ Desktop และเครื่องคอมพิวเตอร์ Notebook 1.2 กลุ่มผู้ใช้อุปกรณ์พกพาต่าง ๆ
  • 14. 1.3 กลุ่มผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ซีพียู (CPU) ระดับเพนเทียม (Pentium) ซึ่ง สามารถอ่านหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ได้แทบทั้งสิ้นเพียงแต่ให้ติดตั้งซอฟแวร์บางตัวเพิ่มเติมลงไปเท่านั้น 1.7 กระบวนกำรจัดทำและกำรสร้ำงหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ก่อนที่จะลงมือจัดทาหรือพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์นั้นควรคานึงถึงขั้นตอนและกระบวนการจัด ท า ที่ ถู ก ต้ อ ง แ ล ะ เ ห ม า ะ ส ม โดยศึกษาให้เข้าใจถึงขั้นตอนและกระบวนการจัดทาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่ถูกต้องว่ามีขั้นตอนการดาเนิน ก าร อ ย่าง ไ ร จ า ก นั้ น จึ ง น า ไ ป ใ ช้ เพื่ อ เ ป็ น แ น ว ท าง ใ น ก า ร ล ง มื อ ป ฏิ บั ติ จ ริ ง เมื่อ เร าต้อ ง ก าร จัด ท าห นั ง สื อ อิ เล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ ส าห รั บ ห นั ง สื อ เล่มใ ด เล่มห นึ่ ง จะมีกระบวนการจัดทาและพัฒนาดังโครงสร้างพอสังเขปต่อไปนี้ ภำพที่ 1กระบวนกำรจัดทำและพัฒนำหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 1.8 ข้อดีของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สุทิน ทองไสว (2547:47) กล่าวเกี่ยวกับข้อดีของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ไว้ในวารสารวิชาการ ดังนี้คือ 1. ประหยัดพื้นที่ในการเก็บเนื่องจากหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ได้สร้างขึ้นมาให้อยู่ในรูปของไฟล์ดิจิตอล ผู้ใช้สามารถจัดเก็บหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ได้หลายเล่มภายในเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องเดียวหรือบันทึกลงใ น แ ผ่ น ซี ดี -ร อ ม
  • 15. ที่มีขนาดกะทัดรัดได้ในขณะที่การจัดเก็บหนังสือจานวนมากนั้นจะต้องอาศัยชั้นวางหนังสือขนาดใหญ่ และสิ้นเปลืองพื้นที่ในการจัดเก็บมาก 2. ก า ร มี ร ะ บ บ เน วิเ ก ชั่ น (Navigation) แ ล ะ ไ ฮ เป อ ร์ ลิ ง ค์ (Hyperlinks) ทาให้ผู้ใช้ส ามารถค้น ห าข้อมูลและ เนื้ อห าสารถที่มีอยู่ภ ายใ น ห นั งสื ออิเล็กทรอนิ กส์ ได้ง่ายกว่าค้นจากหนังสือ 3. ห นั ง สื อ อิเล็ก ทรอ นิ กส์ บ าง เล่ม (ไฟ ล์) จะ อ้าง ถึง ชื่ อเว็บ ไซ ต์ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์เพื่อให้ผู้ใช้สามารถเข้าไปศึกษาค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมได้เมื่อผู้ใช้คลิกที่ลิงค์ (Link) หรือชื่อเว็บไซต์นั้น ๆ ก็สามารถเข้าสู่เว็บไซต์ได้ทันที 4. กระบวนการจัดทาและการผลิตนั้นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถจัดทาและผลิตได้รวดเร็วกว่าการจัดพิมพ์ หนังสือทั่วไปและในกรณีที่มีข้อผิดพลาดระหว่างจัดทาก็สามารถควบคุมและแก้ไขได้ง่าย จะเห็นได้ว่าหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เป็นสื่อที่มีประโยชน์และมีข้อดีหลายประการแต่การจะนาหนังสื อ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ ม า ใ ช้ ง า น ไ ด้ อ ย่ า ง มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ นั้ น ก็ ขึ้ น อ ยู่กับ ก ร ะ บ ว น ก า ร จั ด ท า แ ล ะ ก า ร ผ ลิ ต ห นั ง สื อ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ ว่า ผู้จัดทาจะสามารถสร้างสรรค์หนังสื ออิเล็กทรอนิ กส์นั้ น ๆ ให้มีคุณภ าพ มากน้อยเพียงใด สิ่งที่เป็นปัจจัยสาคัญในการผลิตหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ให้มีคุณภาพก็คือกระบวนการจัดทาที่เป็นระบบมีขั้น ต อ น การวางแผนและการดาเนินงานที่ชัดเจนรวมทั้งสามารถนาไปประยุกต์ใช้กับการทางานได้อย่างมีประสิทธิภ า พ ใ น ก า ร เ ลื อ ก สื่ อ แ ล ะ วิ ธี ก า ร น า เ ส น อ สื่ อ อ ย่ า ง เ ห ม า ะ ส ม จ ะ เ ป็ น ก า ร ช่ ว ย ส นั บ ส นุ น ใ ห้ ส า ม า ร ถ ถ่ า ย ท อ ด ค ว า ม รู้ ต่ า ง ๆ ได้อย่าง มีป ระ สิ ทธิ ภ าพ และ สามารถ กระ ตุ้น ค วามส น ใ จของ ผู้เรี ยน ได้เป็ น อย่าง ดี สื่อแต่ละชนิดจะมีจุดเด่นจุดด้อยแตกต่างกันออกไป ฉะนั้นในการเลือกสื่อเราต้องคานึงถึงปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ - คุณสมบัติของสื่อในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่สามารถนาไปใช้ในการเรียนการสอนได้ - บุคลิกลักษณะของผู้เรียนและสื่อที่ตอบสนองความต้องการของผู้เรียนได้ - สภาพแวดล้อมในการเรียนและอุปกรณ์ที่ช่วยสื่อให้ทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ สรุปได้ว่าหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มีอยู่ด้วยกันหลายรูปแบบซึ่งแต่ละรูปแบบก็ทีลักษณะแตกต่างกันไ ป หนังสืออิเล็กทรอนิกส์มีการพัฒนามาอย่างเป็นระบบและรวดเร็วทาให้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์มีการตอบสน องต่อความต้องการในการใช้งานได้มากและอย่างหลากหลายโดยเฉพาะนามาใช้ในการจัดการเรียนรู้ ที่สามารถตอบสนองความต้องการของผู้เรียนและผู้ทีมีหน้าที่ในการจัดการเรียนรู้ได้ดียิ่งขึ้น 2. งำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง
  • 16. 2.1 งำนวิจัยที่เกี่ยวข้องกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ฮิ ก กิ น ส์ แ ล ะ ฮี ส (Higgin; & Hess. 1998) ได้ศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเกี่ยวกับคาศัพท์จากบททกลอนหนึ่ง ชื่อว่า “My Incredible Headache” ใ น ซี ดี ร อ ม The New Kid on the box ซึ่ ง เ ป็ น ห นั ง สื อ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ ที่ ไ ด้ รั บ ค ว า ม นิ ย ม จ า ก นั ก เ รี ย น มีค าแ ล ะ ภ าพ เห มื อ น กับ ห นั ง สื อ ป ก ติ แ ต่ส ามา รถ อ่าน อ อ ก เสี ยง ดัง ๆ เ ป็ น ค า วลีและเรื่องราวรายบุคคลมีภาพเคลื่อนไหวและภาพที่ใช้เลือกวัสดุในภาพหนังสือ ของนักเรียนเกรด 3 จ า น ว น 15 ค น โ ด ย แ บ่ ง เ ป็ น ก ลุ่ ม ท ด ล อ ง แ ล ะ ก ลุ่ ม ค ว บ คุ ม นักเรียนในกลุ่มควบคุมให้อ่านพร้อมฟังเสียงจากหนังสืออิเล็กทรอนิกส์และดูภาพเคลื่อนไหวผลการวิจัยพบ ว่ า นักเรียนทั้งหมดให้ความสนใจกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เพราะมีภาพเคลื่อนไหวและได้รับความรู้จากแบบท ดสอบก่อนและหลังเรียนแตกต่างกัน เพ็ ญ น ภ า พั ท ร ช น ม์ (2544: บ ท คัด ย่อ ) ไ ด้พั ฒ น าห นั ง สื อ อิ เล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ เรื่ อ ง ก ร า ฟิ ก เบื้ อ ง ต้ น แ ล ะ ห า ป ร ะ สิ ท ธิ ภ าพ ข อ ง ห นั ง สื อ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาคณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี จานวน 30คน ซึ่งเปรียบเทียบผลการทดสอบก่อนและหลังเรียน พบว่า คะแนนเฉลี่ยทดสอบหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน พิ เช ษ ฐ เพี ย ร เจ ริ ญ (2546: บ ท คัด ย่อ ) ไ ด้พั ฒ น า ห นั ง สื อ อิ เล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ เรื่ อง สื่ อก ารสอน เพื่ อห าป ระ สิ ท ธิ ภ าพ ของ ห นั งสื ออิเล็กท รอ นิ กส์ ตามเกณ ฑ์ 80/80 แล ะ เป รี ย บ เที ย บ ผ ล สั มฤท ธิ์ ท าง ก ารเรี ย น ข อ ง นั ก ศึ ก ษ าที่ ไม่เค ยเรี ยน วิช า 263- 201เ ท ค โ น โ ล ยี ก า ร ศึ ก ษ า ม า ก่อ น จ า น ว น 55 ค น ผ ล ก า ร วิ จั ย พ บ ว่า หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เรื่องสื่อการสอนมีประสิทธิภาพ 82.0/82.5 สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังจากเรียนด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง สื่อการสอน สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 อดิศักดิ์ สามหมอ (2550: บทคัดย่อ) ศึกษาผลของการจัดการเรียนรู้ด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e - book) ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์และความสามารถในการจัดทาแฟ้ มสะสมงาน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3พบว่า นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วย หนังสืออิเล็กทรอนิกส์มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทาง สถิติที่ระดับ .01 และมีความสามารถในการจัดทาแฟ้ มสะสมงานหลังเรียนไม่ต่ากว่าระดับดี (3) อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 จะเห็นได้ว่าหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เป็นสื่อที่มีบทบาทสาคัญต่อการศึกษาในทั้งนี้ เนื่องมาจากเป็นเทคโนโลยีการศึกษาที่สามารถนามาจัดการเรียนรู้ได้อย่างกว้างขวางและยังเป็น เทคโนโลยีที่น่าสนใจสาหรับผู้เรียนอีกด้วย
  • 17. บทที่3 ขั้นตอนกำรดำเนินโครงงำน ในการจัดทาโครงงานIS เรื่องวันวาเลนไทน์ ผู้จัดทาโครงงานมีวิธีดาเนินงานโครงงาน ตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1. วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมหรือที่ใช้ในกำรพัฒนำ 1.3เครื่องคอมพิวเตอร์ พร้อมเชื่อมต่อระบบอินเตอร์เน็ต 1.2 ปากกา สมุดจดบันทึก ดินสอ 1.5 เว็บไซต์ที่ใช้ค้นคว้า http://th.wikipedia.org/wiki/วันวาเลนไทน์ 2.ขั้นตอนกำรดำเนินงำน 1.ประชุมปรึกษาหารือ เสนอความคิดเห็น และคัดเลือกเรื่องที่จะศึกษาและคิดหัวข้อเพื่อนาเสนอครูประจาวิชา 2.ศึกษาและค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับวันวาเลนไทน์ 3.ทบทวนเรื่องที่ศึกษาจาก (IS1) เรื่องวันวาเลนไทน์ 4.จัดทาโครงร่างต่อครูประจาวิชาเพื่อพิจารณาอนุมัติ 5.ศึกษาวิธีการจัดทารายงานทางวิชาการเป็นรูปเล่ม 6.นาเสนอความก้าวหน้าเป็นระยะๆ ตามระยะเวลาที่ครูประจาวิชากาหนด เพื่อตรวจสอบความก้าวหน้า 7.ศึกษาวิธีการเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรม 8.จัดทาร่างรายงานทางวิชาการและเป็นรูปเล่ม 9.ตรวจสอบความถูกต้องของร่างรายงานทางวิชาการ 10.นาเสนอร่างรายงานทางวิชาการเป็นรูปเล่มต่อครูประจาวิชาเพื่อตรวจสอบความถูกต้อง 11.จัดทารายงานเป็นรูปเล่มฉบับสมบูรณ์
  • 19. บทที่ 4 ผลกำรดำเนินงำนโครงงำน การจัดทาโครงงานIS เรื่อง วันวาเลนไทน์ผู้จัดทาโครงงานได้ศึกษาค้นคว้าเอกสารนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อได้ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับความสาคัญและที่มาของวันวาเลนไทน์ศึกษาเกี่ยวกับวัตถุประสง ค์ของวันวาเลนไทน์ และให้คนรุ่นหลังได้ตระหนักถึงความสาคัญของวันวาเลนไทน์ซึ่งเป็นที่คนไทยนับว่าเป็นวันแห่งความรัก เพื่อให้ผู้จัดทาโครงงานสามารถนามาประยุกต์ใช้ให้เข้ากับการเรียนรู้ของตนเองมากยิ่งขึ้น ตลอดจนเป็นแหล่งเรียนรู้สาหรับเยาวชนและผู้สนใจทั่วไป ซึ่งมีผลการดาเนินงานโครงงาน ดังนี้ 1. ผลกำรศึกษำ (ตอบปัญหำประเด็นที่เรำตั้งขึ้น ให้ตอบคำถำม) ประวัติวันวาเลนไทน์เกิดขึ้นได้อย่างไร นักบุญ วำเลนไทน์(Valentine) เป็นสงฆ์คาทอลิกองค์หนึ่งที่ได้ถูกประหารชีวิตในวันที่ 14กุมภาพันธ์ คริสตศักราช 270 ในสมัยพระเจ้าจักรพรรดิโรมัน เกลาดิอุส ที่ 2( Clanoius) โดยแท้จริงแล้วท่านนักบุญไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับประเพณีการเลือกคู่ หรือหาคู่หรือหาแฟน หรือความรัก ความสนใจระหว่างหนุ่มสาว ท่านก็ไม่ได้ไปเกี่ยวข้องด้วยเลย ถ้าเช่นนั้นแล้ว ทาไมจึงเลือกนักบุญองค์นี้มาเป็นองค์อุปถัมภ์สาหรับผู้ที่กาลังหาคู่ เลือกคู่หรือเลือกแฟนกันได้เล่า ? เหตุผลที่ค้นพบได้ก็คือ ที่มาของวันวาเลนไทน์ ไม่ขึ้นอยู่กับคนผู้นี้ แต่ขึ้นอยู่กับวันที่ 14 กุมภาพันธ์ ประเพณีเลือกคู่หรือหาคู่นี้มีมาแต่โบร่าโบราณในทุกชาติ ดูเหมือนกับว่าได้เกิดขึ้นพร้อมกับวิวัฒนาการของมนุษย์ก็ว่าได้ ประเพณี วำเลนไทน์ นี้ก็มีต้นเหตุหรือ ที่มาสมัยที่จักรวรรดิโรมันแผ่อิทธิพลไปทั่ว ชาวโรมันสมัย โบราณมีการฉลองเทพเจ้าองค์หนึ่งชื่อ ลูแปร์คูส (Lupercus) ซึ่งตรงกับวันที่ 15กุมภาพันธ์ และถือว่าเป็นการฉลองใหญ่ ส่วนหนึ่งของการฉลองใหญ่นี้ก็จะเป็นการจัดงานหาคู่ของพวกหนุ่มสาว ซึ่งจัดขึ้นในวันก่อนวันฉลองใหญ่ 1 วัน คือวันที่ 14กุมภาพันธ์ นี้จะถือโอกาสให้พวกหนุ่มสาวเสนอตัวเป็นคนรักกันชั่วระยะเวลา 1ปี ช่วงนี้จะเรียกว่าเป็นช่วงทดลองมิตรภาพเพื่อดูว่าทั้งคู่จะมีนิสัยใจคอเข้ากันได้หรือไม่ ชาวโรมันเป็นคนศรัทธาในเทพเจ้า และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ต่าง ๆ ก็มีความเชื่อกันว่าพวกตนมีเทพเจ้าองค์หนึ่งซึ่งเขาขอให้เป็นผู้ดูแลความรักของเขาในระหว่างช่วงระยะเวลา
  • 20. การทดลองเป็นคู่รักกัน 1ปี นั้น เทพเจ้าองค์นี้เป็นหญิงชื่อเทพธิดา Juno Februataซึ่งตาม เทพนิยายของชาวโรมันเป็นมเหสีของ Jupiter องค์มหาเทพเจ้าทั้งหลาย บทที่ 5 สรุปผลกำรดำเนินงำน และข้อเสนอแนะ การจัดทาโครงงานIS เรื่อง วันวาเลนไทน์นี้ สามารถสรุปผลการดาเนินโครงงาน และข้อเสนอแนะ ดังนี้ 1. กำรดำเนินงำนจัดทำโครงงำน 1.1 วัตถุประสงค์ของโครงงำน 1.ได้ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับความสาคัญและที่มาของวันลอยกระทง 2.ศึกษาเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของประเพณีลอยกระทง 3.ได้ตระหนักถึงความสาคัญของวันวาเลนไทน์ซึ่งเป็นวันแห่งความรัก 1.2 วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมหรือที่ใช้ในกำรพัฒนำ 1.เครื่องคอมพิวเตอร์ พร้อมเชื่อมต่อระบบอินเตอร์เน็ต 2. ปากกา สมุดจดบันทึกดินสอ 2. สรุปผลกำรดำเนินงำนโครงงำน ประวัติของวันวำเลนไทน์ นักบุญ วำเลนไทน์(Valentine) เป็นสงฆ์คาทอลิกองค์หนึ่งที่ได้ถูกประหารชีวิตในวันที่ 14กุมภาพันธ์ คริสตศักราช 270 ในสมัยพระเจ้าจักรพรรดิโรมัน เกลาดิอุส ที่ 2( Clanoius) โดยแท้จริงแล้วท่านนักบุญไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับประเพณีการเลือกคู่ หรือหาคู่หรือหาแฟน หรือความรัก ความสนใจระหว่างหนุ่มสาว ท่านก็ไม่ได้ไปเกี่ยวข้องด้วยเลย ถ้าเช่นนั้นแล้ว ทาไมจึงเลือกนักบุญองค์นี้มาเป็นองค์อุปถัมภ์สาหรับผู้ที่กาลังหาคู่ เลือกคู่หรือเลือกแฟนกันได้เล่า ? เหตุผลที่ค้นพบได้ก็คือ ที่มาของวันวาเลนไทน์ ไม่ขึ้นอยู่กับคนผู้นี้ แต่ขึ้นอยู่กับวันที่ 14 กุมภาพันธ์ ประเพณีเลือกคู่หรือหาคู่นี้มีมาแต่โบร่าโบราณในทุกชาติ ดูเหมือนกับว่าได้เกิดขึ้นพร้อมกับวิวัฒนาการของมนุษย์ก็ว่าได้ ประเพณี วำเลนไทน์ นี้ก็มีต้นเหตุหรือ ที่มาสมัยที่จักรวรรดิโรมันแผ่อิทธิพลไปทั่ว ชาวโรมันสมัย โบราณมีการฉลองเทพเจ้าองค์หนึ่งชื่อ ลูแปร์คูส
  • 21. (Lupercus) ซึ่งตรงกับวันที่ 15กุมภาพันธ์ และถือว่าเป็นการฉลองใหญ่ ส่วนหนึ่งของการฉลองใหญ่นี้ก็จะเป็นการจัดงานหาคู่ของพวกหนุ่มสาว ซึ่งจัดขึ้นในวันก่อนวันฉลองใหญ่ 1 วัน คือวันที่ 14กุมภาพันธ์ นี้จะถือโอกาสให้พวกหนุ่มสาวเสนอตัวเป็นคนรักกันชั่วระยะเวลา 1ปี ช่วงนี้จะเรียกว่าเป็นช่วงทดลองมิตรภาพเพื่อดูว่าทั้งคู่จะมีนิสัยใจคอเข้ากันได้หรือไม่ ชาวโรมันเป็นคนศรัทธาในเทพเจ้า และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ต่าง ๆ ก็มีความเชื่อกันว่าพวกตนมีเทพเจ้าองค์หนึ่งซึ่งเขาขอให้เป็นผู้ดูแลความรักของเขาในระหว่างช่วงระยะเวลา การทดลองเป็นคู่รักกัน 1ปี นั้น เทพเจ้าองค์นี้เป็นหญิงชื่อเทพธิดา Juno Februataซึ่งตาม เทพนิยายของชาวโรมันเป็นมเหสีของ Jupiter องค์มหาเทพเจ้าทั้งหลาย 3. ข้อเสนอแนะ ใ น ก า ร ท า โ ค ร ง ง า น IS เ รื่ อ ง วั น ว า เ ล น ไ ท น์ ที่ผู้จัดทาได้สร้างขึ้นนี้สามารถทาให้วันรุ่นของไทยมองวันวาเลนไทน์ในมุมมองที่ดี 3.1ปัญหำ อุปสรรค และแนวทำงในกำรพัฒนำ 1. นักเรียนไม่มีคอมพิวเตอร์ใช้ที่บ้าน จึงทาให้การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) เกิดความล่าช้าตามไปด้วย 2. ระบบอินเตอร์เน็ต มีปัญหาบ่อยครั้ง จึงทาให้การติดต่อครูที่ปรึกษาโครงงานและการสนทนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อนนักเรียน เกิดการสะดุด ไม่ต่อเนื่องจึงทาให้การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ล่าช้ากว่าที่คาดหวังไว้