SlideShare a Scribd company logo
1 of 39
แผ่น ซับ เสีย งจากเส้น ใยธรรมชาติ
จัด ทำา โดย
1. น.ส. กชกร

ยัง ให้ผ ล เลขที่ 8

2. น.ส. ณัฏ ฐิก า

ปกป้อ ง เลขที่ 12

3. น.ส. ณัฐ พรรณ

หมั่น การ เลขที่ 13

ชั้น มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 6/2
วิช าโครงงานเพื่อ ประโยชน์ต อ สาธารณะ
่
ประโยชน์ ว 30265
ภาคเรีย นที่ 2 ปีก ารศึก ษา 2556
กลุม สาระการเรีย นรู้ว ท ยาศาสตร์โ รงเรีย นมกุฎ
่
ิ
เมือ งราชวิท ยาลัย
สำา นัก งานเขตพื้น ที่ก ารศึก ษามัธ ยมศึก ษาเขต 18
แผ่น ซับ เสีย งจากเส้น ใยธรรมชาติ
จัด ทำา โดย
1. น.ส. กชกร

ยัง ให้ผ ล เลขที่ 8

2. น.ส. ณัฏ ฐิก า

ปกป้อ ง เลขที่ 12

3. น.ส. ณัฐ พรรณ

หมั่น การ เลขที่ 13

ชั้น มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 6/2

ครูท ี่ป รึก ษาโครงงาน
ครูศ ุภ พงศ์ คล้า ยคลึง

ชื่อ โครงงาน
ผู้จ ัด ทำา โครงงาน

แผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
1.

นางสาว กชกร ยังให้ผล ม.6/2 เลขที่

8
2.

นางสาว ณัฏฐิกา ปกป้อง ม.6/2 เลขที่

3.

นางสาว ณัฐพรรณ หมั่นการ ม.6/2 เลขที่

ครูท ี่ป รึก ษาโครงงาน

12
13

อาจารย์ศุภพงศ์ คล้ายคลึง

โรงเรีย นมกุฎ เมือ งราชวิท ยาลัย
ปีก ารศึก ษา

2556

บทคัด ย่อ
โครงงานเพื่อประโยชน์ต่อสาธารณะประโยชน์ เรื่องแผ่นซับเสียง
จากเส้นใยธรรมชาติมีจุดประสงค์เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของเส้นใย
จากธรรมชาติ ให้มีประสิทธิภาพใกล้เคียงกับแผ่นซับเสียงมาตรฐาน
โดยเลือกใช้เส้นใยที่หาได้ในท้องถิ่น คือเส้นใยมะพร้าว เส้นใยไหม
ข้าวโพดและเส้นใยบวบ ในการทดลองแบ่งเป็น 3 ขั้นตอน ตอนที่ 1
ขั้นตอนการเตรียมเส้นใยมะพร้าว เส้นใยไหมข้าวโพด และเส้นใยบวบ
เตรียมอุปกรณ์และส่วนผสมต่างๆ ได้แก่ กระดาษหนังสือพิมพ์ กาว
TOA นำ้า กรอบไม้สี่เหลี่ยมสำาหรับขึงผ้า และเครื่องปั่น ตอนที่ 2 ขัน
้
ตอนการผสม แยกผสมเส้นใยทั้ง 3 ชนิด โดยการเติมนำ้า กาว TOA
และกระดาษหนังสือพิมพ์ปั่น ใส่ในปริมาณที่กำาหนด ทำาให้เข้ากัน หลัง
จากนั้นนำาส่วนผสมไปเทใส่กรอบสำาหรับขึงผ้า รอให้ส่วนผสมของ
เส้นใยแต่ละชนิดแห้ง เป็นเวลา 3 วัน ตอนที่ 3 ขั้นตอนการทดสอบ
ประสิทธิภาพในการซับเสียงของเส้นใยธรรมชาติแต่ละชนิด จากผลการ
ทดลองวัดค่าความดังภายนอกกล่อง 3 ครั้งและได้ค่าเฉลี่ยออกมาสรุป
ได้ว่า แผ่นซับเสียงที่ทำาจากเส้นใยมะพร้าวมีประสิทธิภาพดีกว่าเส้นใย
ไหมข้าวโพดและเส้นใยบวบ
กิต ติก รรมประกาศ
โครงงานสาธารณะประโยชน์ เรื่องแผ่นซับเสียงจากเส้นใย
ธรรมชาติ สำาเร็จลงด้วยความกรุณาของ อาจารย์ศุภพงศ์ คล้ายคลึง ซึ่ง
เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ที่ได้ให้คำาแนะนำา และคำาปรึกษา เกี่ยว
กับการทำาโครงงานตลอดจนการแก้ไขข้อบกพร่องของการทำาโครงงาน
ให้สำาเร็จและบรรลุเป้าหมาย จึงขอกราบขอบคุณไว้ ณ ที่นี้เป็นอย่างสูง
คณะผู้จัดทำา

สารบัญ
เรื่อ ง

หน้า
บทคัดย่อ………………………………………………………………
………………………….ก
กิตติกรรมประกาศ……………………………………………………
…………………………..ข
บทที่ 1 ที่มาและความสำาคัญ
ที่มาและความ
สำาคัญ…………………………………………………………………
…..1
วัตถุประสงค์……………………………………………………
………………………..1
สมมติฐาน………………………………………………………
………………………..1
ขอบเขตการ
ศึกษา…………………………………………………………………
……..2
ตัวแปรที่
ศึกษา……………………………………………………………….....
..............2
สถานที่ทำาโครง
งาน………………………………………………………………........
...2
ระยะเวลา……………….............……………….............
……………….........................2
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
เส้นใย…………………………………………………………………
………………….3
ประเภทของเครื่องวัด
เสียง..................................................................................
..............12
วัสดุดดซับ
ู
เสียง…………………………………………………………………...
……..16
บทที่ 3 วิธีการดำาเนินงาน
วัสดุ
อุปกรณ์…………………………………………………………………
…….……18
วิธีดำาเนิน
การ……………………………………………………………………
……….18
บทที่ 4 ผลการดำาเนิน
การ…………………………………………………………………..
…......20
บทที่ 5 สรุป อภิปราย ข้อเสนอ
แนะ……………………………………………………………....21
บรรณานุกรม…………………………………………………………
………………………......22
ภาค
ผนวก…………………………………………………………………
………………………23

บทที่ 1
บทนำา
ที่ม าและความสำา คัญ
เนื่องจากมีผู้นิยมเล่นดนตรีเป็นจำานวนมาก แต่ขาดสถานที่ในการ
ฝึกซ้อม ในการฝึกซ้อมแต่ละครั้งทำาให้ต้องเสียค่าใช้จ่ายเป็นจำานวน
มากเพื่อเช่าห้องฝึกซ้อม ในปัจจุบันมีแผ่นซับเสียงมากมายหลากหลาย
ชนิด ทั้งที่ตั้งใจผลิตเพื่อออกมาเป็นแผ่นซับเสียงโดยตรงและวัสดุที่สาม
รถซับเสียงได้เองตามธรรมชาติ ทั้งนี้การจะซื้อแผ่นซับเสียงเพื่อนำามา
ใช้สร้างห้องสำาหรับฝึกซ้อมดนตรีนั้นมีราคาค่อนข้างสูง ดังนั้นกลุ่มของ
ข้าพเจ้าจึงคิดว่าจะทำาการประดิษฐ์แผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
เพื่อเป็นการลดต้นทุนในการซื้อแผ่นซับเสียงเพื่อนำามาสร้างห้องฝึกซ้อม
ดนตรีและสามารถนำาสิ่งที่อยู่ในธรรมชาติมาประยุกต์ใช้ให้เกิด
ประโยชน์สูงที่สุด โดยเล็งเห็นว่า ตามธรรมชาติทั่วไปมีเส้นใยธรรมชาติ
มากมายที่มีคุณสมบัติสามารถซับเสียงได้ อาทิเช่น ไหมข้าวโพด กาก
มะพร้าวและใยบวบ ซึ่งไหมข้าวโพดสามารถหาได้ทั่วไป เพราะมีการ
เพาะปลูกกันอย่างกว้างขวางและเมื่อนำาข้าวโพดไปแปรรูปทำาให้เหลือ
ไหมข้าวโพดที่ไม่สามารถนำาไปใช้ประโยชน์ได้แล้ว ส่วนกากมะพร้าว
และใยบวบก็สามารถหาได้ง่ายเช่นเดียวกัน กลุ่มของข้าพเจ้าจึงได้คิด
จะประดิษฐ์แผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติที่มีประสิทธิภาพใกล้เคียง
และมีราคาตำ่ากว่าท้องตลาด
นอกจากแผ่นซับเสียงจะช่วยลดการ
สะท้อนของเสียงแล้ว ยังช่วยลดขยะในสังคมและเป็นการนำา
ทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
จุด ประสงค์ก ารศึก ษาค้น คว้า
เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของเส้นใยแต่ละชนิดที่มีผลต่อความดัง
ของเสียง
ตัว แปรที่ศ ึก ษาค้น คว้า
ตัวแปรต้น ชนิดของเส้นใย
ตัวแปรตามระดับความดังของเสียง
ตัวแปรควบคุม 1. ขนาดของแม่พิมพ์
2. ปริมาณชนิดของเส้นใย
สมมติฐ านการศึก ษาค้น คว้า
แผ่นซับเสียงที่ทำาจากใยบวบมีประสิทธิภาพดีที่สุด
นิย ามเชิง ปฏิบ ัต ิก าร
ระดับความดังของเสียง หมายถึงนำาลำาโพงที่เปิดเสียงไปใส่ใน
กล่องที่มีแผ่นซับเสียงแปะอยู่ ปิดกล่องและวัดความดังของเสียงภายนอก
กล่อง
ระยะเวลาที่ศ ึก ษาค้น คว้า
7 พฤศจิกายน 2556 – 13 กุมภาพันธ์ 2557
ผลประโยชน์ท ี่ค าดว่า จะได้ร ับ
ได้แผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติที่มีประสิทธิภาพและสามารถ
นำาไปใช้ในห้องประชุม ห้องสัมมนาหรือสตูดิโอ เป็นต้น

บทที่ 2
เอกสารที่เ กี่ย วข้อ ง
วิท ยาศาสตร์ส ิ่ง ทอ : เส้น ใย (Fibers)
ตามนิยามแล้ว เส้นใยหมายถึงวัสดุหรือสารใดๆทั้งที่เกิดจาก
ธรรมชาติและมนุษย์สร้างขึ้น ที่มอัตราส่วนระหว่างความยาวต่อเส้นผ่าน
ี
ศูนย์กลางเท่ากับหรือมากกว่า 100 สามารถขึ้นรูปเป็นผ้าได้ และต้อง
เป็นองค์ประกอบที่เล็กที่สุดของผ้า ไม่สามารถแยกย่อยในเชิงกลได้อีก
ประเภทของเส้น ใย
เราสามารถแยกประเภทของเส้นใยได้หลายแบบขึ้นอยู่กับลักษณะ
การแบ่ง ในที่นี้เราแบ่งตามแหล่งกำาเนิดของเส้นใยซึ่งจะแบ่งได้เป็นสอง
ประเภทใหญ่ๆ คือ เส้นใยธรรมชาติและเส้นใยประดิษฐ์ ในกลุ่มของ
เส้นใยธรรมชาติก็ยังแบ่งย่อยได้อีกเป็นเส้นใยที่มาจากพืช จากสัตว์
และจากแร่ ส่วนเส้นใยประดิษฐ์สามารถแยกเป็นเส้นใยที่ประดิษฐ์จาก
ธรรมชาติ เส้นใยสังเคราะห์ และเส้นใยที่ประดิษฐ์จากวัสดุอื่นๆ
1. เส้น ใยธรรมชาติ (Natural fibers)
เส้นใยพืช เช่น ฝ้าย ลินิน ปอ รามี ป่าน นุ่นเส้นใยสัตว์ เช่น ขน
สัตว์ (wool) ไหม (silk) ผม (hair)
แร่ เช่น แร่ใยหิน (asbestos)
2. เส้น ใยประดิษ ฐ์ (Man-made fibers)
ประดิษฐ์จากธรรมชาติ เช่น เรยอน อะซิเทตไตรอะซีเทตเส้นใย
สังเคราะห์ เช่น โอเลฟินส์ โพลีเอสเทอร์ โพลีอรามิด ไนลอนแร่และ
เหล็ก เช่น โลหะ แก้ว เซรามิกกราไฟต์
สมบัต ิข องเส้น ใย
สมบัติของเส้นใยมีผลโดยตรงต่อสมบัติของผ้าที่ทำาขึ้นจากเส้นใย
นั้นๆ ผ้าที่ทำาจากเส้นใยที่แข็งแรงก็จะมีความแข็งแรงทนทานด้วย หรือ
เส้นใยที่สามารถดูดซับนำ้าได้ดีจะส่งผลให้ผ้าสามารถดูดซับนำ้าและ
ความชื้นได้ดี เหมาะสำาหรับการนำาไปใช้ในส่วนที่มีการสัมผัสกับผิวและ
ดูดซับนำ้า เช่น ผ้าเช็ดตัว ผ้าอ้อม เป็นต้น
ดังนั้นการที่เราเข้าใจสมบัติของเส้นใย จะช่วยทำาให้สามารถ
ทำานายสมบัติของผ้าที่มีเส้นใยนั้นๆ เป็นองค์ประกอบ รวมไปถึง
ผลิตภัณฑ์สดท้ายได้ ซึ่งจะช่วยให้สามารถเลือกชนิดของผลิตภัณฑ์ใน
ุ
เบื้องต้น ได้ถูกต้องตามความต้องการ ของการนำาไปใช้งาน โดยการ
คาดเดาจากองค์ประกอบที่แจ้งไว้ในป้ายสินค้า
ความแตกต่างของเส้นใยขึ้นอยู่กับโครงสร้างทางกายภาพ องค์ประกอบ
ทางเคมี และการเรียงตัวของโมเลกุล ซึ่งส่วนผสมและความแตกต่างใน
ปัจจัยทั้งสามนี้ ทำาให้เส้นใยมีสมบัติที่หลากหลายและแตกต่างกัน ซึ่ง
สมบัติของเส้นใยก็จะมีผลต่อสมบัติของผ้าหรือผลิตภัณฑ์ที่ผลิตจาก
เส้นใยนั้น ทั้งในส่วนที่เป็นที่ต้องการและไม่ต้องการต่อการนำาไปใช้งาน
ยกตัวอย่างเช่น ในเส้นใยที่สามารถดูดซับนำ้าได้น้อย จะส่งผลให้ผ้าที่
ทำาจากเส้นใยชนิดนี้มีสมบัติดังนี้
- เกิดไฟฟ้าสถิตย์ (Static build-up) บนเนื้อผ้าได้ง่าย ทำาให้ผ้า
ลีบติดตัว
- ผ้าแห้งเร็ว เนื่องจากมีปริมาณนำ้าที่ดูดซับน้อยและไม่มีพันธะ
(bond) ระหว่างเส้นใยและ โมเลกุลของนำ้า
- ย้อมติดสียาก เนื่องจากการย้อมสีส่วนใหญ่อาศัยนำ้าเป็นตัวกลาง
พาโมเลกุลของสีเข้าไปในเนื้อผ้า ผ้าที่ไม่ดูดซับนำ้าจึงติดสีย้อมได้ยาก
กว่า
- สวมใส่สบายน้อยกว่า เนื่องจากการเหงื่อที่อยู่บนผิวถูกดูดซับ
น้อยทำาให้รู้สึกเปียกชื้นได้
- คงรูปได้ขณะเปียก (หรือขณะซัก) และผ้ายับน้อย ทั้งนี้เนื่องจาก
ปริมาณนำ้าที่ถูกดูดซับมีน้อย และไม่เกิดพันธะระหว่างเส้นใย และ
โมเลกุลของนำ้า ที่จะทำาให้โครงสร้างเปลี่ยนแปลงไปปัจจัยทั้งสามที่มีผล
ต่อสมบัตของเส้นใย คือ โครงสร้างทางกายภาพ องค์ประกอบทางเคมี
ิ
และการจัดเรียงตัวของโมเลกุล
โครงสร้า งทางกายภาพ
โครงสร้างทางกายภาพหรือโครงสร้างทางสัณฐาน
(morphology) ของเส้นใย สามารถสังเกตได้จากกล้องจุลทรรศน์
(microscope) ที่มีกำาลังขยาย 250-1000 เท่า โครงสร้างทาง
กายภาพนั้นครอบคลุมถึง
ความยาว ขนาดหรือเส้นผ่าศูนย์กลาง รูปร่างภาคตัดขวาง (crosssectional shape) รูปร่างของผิวเส้นใย และความหยักของเส้นใย
ความยาวเส้น ใย (Fiber length)
เส้นใยมีทั้งชนิดสั้นและยาว ซึ่งความยาวของเส้นใยจะมีผลต่อ
สมบัติและการนำาไปใช้งานของผลิตภัณฑ์สิ่งทอ ก่อนอื่นเรามาทำาความ
รู้จักกับชนิดของเส้นใยทั้งสองนี้ก่อน
เส้น ใยสั้น (Staple fiber)
เป็นเส้นใยที่มีความยาวอยู่ในช่วง 2 ถึง 46 เซนติเมตร (หรือ 1
ถึง 18 นิ้ว) เส้นใยธรรมชาติทั้งหมดยกเว้นไหมเป็นเส้นใยสั้น ยก
ตัวอย่างเช่น เส้นใยฝ้าย นุ่น ขนสัตว์ เส้นใยสั้นที่มาจากเส้นใยประดิษฐ์
มักทำาเป็นเส้นยาวก่อนแล้วตัด (chop) เป็นเส้นใยสั้นตามความยาวที่
กำาหนด
เส้น ใยยาว (Filament fiber)
เป็นเส้นใยที่มีความยาวต่อเนื่องไม่สิ้นสุด มีหน่วยวัดเป็นเมตรหรือ
หลา เส้นใยยาวส่วนใหญ่เป็นเส้นใยประดิษฐ์ ยกเว้นไหมซึ่งเป็นเส้นใย
ยาวที่มาจากธรรมชาติ เส้นใยยาวอาจเป็นชนิดเส้นยาวเดี่ยว
(monofilament) ที่มีเส้นใยเพียงเส้นเดียว หรือเส้นใยยาวกลุ่ม
(multifilament) ซึ่งจะมีเส้นใยมากกว่า 1 เส้นรวมอยู่ด้วยกันตลอด
ความยาว เส้นยาวที่ออกมาจากหัวฉีด (spinnerets) จะมีลักษณะเรียบ
ซึ่งมีลักษณะเรียบคล้ายเส้นใยไหม หากต้องการลักษณะเส้นใยที่หยักก็
จะต้องนำาไปผ่านกระบวนการทำาหยัก (crimp) ซึ่งเส้นใยที่ได้จะมี
ลักษณะคล้ายเส้นใยฝ้าย หรือขนสัตว์ ซึ่งส่วนมากเส้นใยที่ทำาหยักมักจะ
นำาไปตัดเพื่อทำาเป็น
เส้นใยสั้น
ขนาดเส้น ใย
ขนาดของเส้นใยมีผลต่อสมรรถนะการใช้งานและสมบัติทางผิวสัมผัส
(hand properties) เส้นใยที่มีขนาดใหญ่จะให้ความรู้สึกที่หยาบและ
แข็งของเนื้อผ้า แต่ในขณะเดียวกันก็ให้ความแข็งแรงมากกว่าเมื่อเทียบ
กับเส้นใยชนิดเดียวกันที่มีขนาดเล็กกว่า ผ้าที่ทำาจากเส้นใยที่มีขนาด
เล็กหรือมีความละเอียดก็จะให้ความนุ่มต่อสัมผัส และจัดเข้ารูป (drape)
ได้ง่ายกว่าเส้นใยธรรมชาตินั้นมักมีขนาดที่ไม่สมำ่าเสมอ คุณภาพของ
เส้นใยธรรมชาติมักจะวัดจากความละเอียดของเส้นใย เส้นใยที่มีความ
ละเอียดมาก (ขนาดเล็ก) จะมีคุณภาพที่ดีกว่า การวัดความละเอียดมัก
วัดจากเส้นผ่าศูนย์กลางของเส้นใย (ภายใต้กล้องจุลทรรศน์) ในหน่วย
ของไมโครเมตร (1 ไมโครเมตรเท่ากับ 1/1000 มิลลิเมตร) ซึ่งโดย
ทั่วไปขนาดของเส้น
เส้นใยฝ้าย 16-20 ไมโครเมตร
ขนสัตว์
(แกะ)

10-50 ไมโครเมตร

เส้นใยลินิน 12-16 ไมโครเมตร
ไหม

11-12 ไมโครเมตร

สำาหรับเส้นใยประดิษฐ์ที่ผลิตในอุตสาหกรรม ขนาดของเส้นใยจะขึ้นอยู่
กับปัจจัยหลายอย่างเช่น ขนาดของรูในหัวฉีด (spinneret holes)
การดึงยืดขณะที่ปั่นเส้นใยและหลังการการปั่นเส้นใย รวมไปถึงปริมาณ
และความเร็วของการอัดนำ้าพลาสติกผ่านหัวฉีดในกระบวนการปั่น
เส้นใย เส้นใยประดิษฐ์ที่ได้สามารถควบคุมความสมำ่าเสมอได้ดีกว่า
เส้นใยธรรมชาติ แต่ก็ยังมีส่วนที่ไม่สมำ่าเสมอบ้างเนื่องจากความไม่คงที่
(irregularity) ของกระบวนการผลิต หน่วยที่มักใช้วัดความละเอียด
ของเส้นใยประดิษฐ์คือดีเนียร์ และ เท็กซ์
ดีเนียร์ (Denier) เป็นหน่วยการวัดขนาดของเส้นใย โดยเป็นนำ้าหนัก
ในหน่วยกรัมของเส้นใยที่มีความยาว 9,000 เมตร เส้นใยที่มีค่าดีเนียร์
ตำ่าจึงมีความละเอียดมากกว่า เส้นใยที่มีค่าดีเนียร์สูงเนื่องจากมีนำ้าหนัก
น้อยกว่าในความยาวที่เท่ากันเท็กซ์ (Tex) เป็นหน่วยการวัดขนาดของ
เส้นใยคล้ายกับดีเนียร์ แต่เป็นนำ้าหนักในหน่วยกรัมของเส้นใยที่มี
ความยาว 1,000 เมตรดีเนียร์ต่อฟิลาเมนต์ (Denier per filament,
DPF) เป็นค่าที่วัดความละเอียดของเส้นใยที่อยู่ในเส้นด้ายซึ่งมีจำานวน
เส้นใยตั้งแต่ 2 ขึ้นไป ดังนั้นค่าดีเนียร์ต่อฟิลาเมนต์จึงเท่ากับดีเนียร์ของ
ฟิลาเมนต์นั้นหารด้วยจำานวนฟิลาเมนต์ (หรือจำานวนเส้นใย) ทั้งหมด
โดยทั่วไปเส้นใยที่ใช้สำาหรับเสื้อผ้ามีขนาดอยู่ในช่วง 1 ถึง 7 ดีเนียร์
เส้นใยสำาหรับทำาพรมมีขนาดใหญ่อยู่ในช่วง 15 ถึง 24 ดีเนียร์ เส้นใย
ขนาดเท่ากันไม่ได้หมายความว่าจะมีความเหมาะสมต่อการนำาไปใช้งาน
ชนิดเดียวกันได้ เส้นใยที่ใช้สำาหรับเสื้อผ้ามักจะนิ่มและละเอียดเกินกว่า
ที่จะทนต่อแรงกดได้ดีเหมือนเส้นใยที่ใช้ทำาพรม ในทางกลับกันเส้นใยที่
ใช้ทำาพรมก็ให้ความรู้สึกต่อผิวสัมผัสที่ละเอียดน้อยกว่าเส้นใยที่ใช้ทำา
เสื้อผ้า
รูป ร่า งหน้า ตัด ขวางของเส้น ใย
รูปร่างหน้าตัดขวางของเส้นใยมีผลต่อความเป็นมันวาว ลักษณะเนื้อผ้า
และสมบัติต่อผิวสัมผัส เส้นใยมีรูปร่างหน้าตัดที่หลากหลายกัน เช่น
วงกลม สามเหลี่ยม ทรงคล้ายกระดูก (dog bone) ทรงรูปถั่ว
(bean-shaped) เป็นต้น

รูปที่ 1 รูปร่างหน้าตัดขวางของเส้นใย
ความแตกต่างของรูปร่างหน้าตัดขวางของเส้นใยธรรมชาติ เกิดจาก
ลักษณะการสร้างเซลลูโลสในขณะที่พืชเติบโต เช่นในเส้นใยฝ้าย หรือ
การกระบวนการสร้างโปรตีนในสัตว์ เช่น ขนสัตว์ หรือรูปร่างของช่อง
(orifice) ในตัวไหมที่ทำาหน้าที่ฉีดเส้นใยไหมออกมา สำาหรับเส้นใย
ประดิษฐ์รูปร่างของหน้าตัดของเส้นใยขึ้นอยู่กับรูปร่างของรูในหัวฉีด
ลัก ษณะผิว ภายนอกของเส้น ใย
ลักษณะผิวของเส้นใยมีทั้งแบบเรียบ เป็นแฉก หรือขรุขระ ซึ่ง
ลักษณะผิวนี้มีผลต่อความเป็นมันวาว สมบัติตอผิวสัมผัส เนื้อผ้า และ
่
การเปื้อนง่ายหรือยาก
ความหยัก (crimp)
ความหยักในเส้นใยช่วยเพิ่มความสามารถในการยึดเกาะ
(cohesiveness) ระหว่างเส้นใย ทำาให้สามารถคืนตัวจากแรงอัด
(resilience) ได้ดี ทนต่อแรงเสียดสี (resistance to abrasion) มี
ความยืดหยุ่น
มีเนื้อเต็ม (bulk) และให้ความอบอุ่น (warmth)

องค์ป ระกอบทางเคมีแ ละการเรีย งตัว ของโมเลกุล
เส้นใยประกอบด้วยโมเลกุลจำานวนมาก โมเลกุลเหล่านี้มีลักษณะ
เป็นเส้นยาวเรียกว่าโพลิเมอร์ (polymer) ที่เกิดจากการเรียงตัวของ
หน่วยโมเลกุลเล็กๆคือมอนอเมอร์ (monomer) และเชื่อมต่อกันด้วย
พันธะเคมีด้วยกระบวนการสังเคราะห์ที่เรียกว่า โพลิเมอไรเซชัน
(polymerization) ขนาดของโพลิเมอร์ขึ้นอยู่กับความยาวของ
โมเลกุลซึ่งบอกได้จากจำานวนของมอนอเมอร์ที่อยู่ในโพลิเมอร์นั้น
(degree of polymerization) โพลิเมอร์ที่มีเส้นโมเลกุลยาวจะมีนำ้า
หนักโมเลกุล มากกว่าโพลิเมอร์ที่มีเส้นโมเลกุลสั้นเนื่องจากจำานวนมอ
นอเมอร์ที่มากกว่านั่นเอง ซึ่งจะมีผลต่อความแข็งแรงของเส้นใยที่
โพลิเมอร์นั้นเป็นองค์ประกอบอยู่โมเลกุลหรือโพลิเมอร์ที่อยู่ในเส้นใยจะ
มีการเรียงตัวแตกต่างกัน เมื่อแต่ละโมเลกุลมีการเรียงตัวอย่างไร้ทิศทาง
(random) ก็จะทำาให้เส้นใยบริเวณนั้นมีความเป็นอสัณฐาน
(amorphous) ส่วนในบริเวณที่โมเลกุลมีการเรียงซ้อนขนานอย่างเป็น
ระเบียบก็จะมีความเป็นผลึก (crystalline) เกิดขึ้น เส้นใยที่มีความเป็น
ผลึกมากก็จะมีความแข็งแรงมากกว่าเส้นใยที่มีความเป็นผลึกน้อย
อย่างไรก็ตามปริมาณความเป็นผลึกไม่ใช่ปัจจัยที่กำาหนดความแข็งแรง
ของเส้นใย หากรวมไปถึงทิศทางการจัดเรียงตัวของโมเลกุลที่เป็น
ระเบียบเหล่านี้ด้วย ถ้าโมเลกุลมีการจัดเรียงตัวอยู่ในทิศทางที่ขนานกับ
แกนตามความยาวของเส้นใย ก็จะช่วยให้เส้นใยมีความแข็งแรงมาก
เนื่องจากโมเลกุลเรียงตัวในทิศทางเดียวกับแรงที่กระทำาต่อเส้นใย(ตาม
ความยาว) ทำาให้สามารถมีส่วนช่วยในการรับแรงเต็มที่ เรียกว่าเส้นใย
นั้นมีการจัดเรียงตัวของโมเลกุลที่ดี (oriented fiber) ในอีกกรณีหนึ่ง
แม้เส้นใยจะมีบริเวณที่เป็นผลึกมาก แต่มีทิศทางการจัดเรียงตัวที่ไม่
ขนานกับแกนตามยาวของเส้นใย โมเลกุลก็ไม่สามารถรับแรงในทิศทาง
การดึงเส้นใยได้เต็มที่ทำาให้มีความแข็งแรงน้อยกว่าในกรณีแรก ดังนั้น
ในกระบวนการผลิตเส้นใยประดิษฐ์ จึงต้องมีการดึงยืดเส้นใยที่ออกมา
จากหัวฉีด เพื่อเพิ่มความเป็นผลึกโดยการจัดเรียงโมเลกุลให้เป็น
ระเบียบ และทำาการจัดเรียงโมเลกุลที่เป็นระเบียบเหล่านี้ให้อยู่ในทิศทาง
เดียวกับแกนตามยาวของเส้นใย กระบวนการนี้เรียกว่าการดึงยืด
(stretching หรือ drawing)
สมบัต ิข องเส้น ใยที่ม ีผ ลต่อ สมบัต ิผ ้า
1. สมบัต ิร ูป ลัก ษณ์ (Aesthetic properties)
รูปลักษณ์ภายนอกของผ้ามักเป็นปัจจัยหนึ่ง ที่ผู้บริโภคใช้ในการตัดสิน
ใจเลือกซื้อผลิตภัณฑ์สิ่งทอว่ามีความเหมาะสมต่อการนำาไปใช้หรือไม่
สมบัติเหล่านี้ได้แก่ความเป็นมันวาว การทิ้งตัวของผ้า เนื้อผ้า และสัมผัส
1.1 สมบัต ิค วามเป็น มัน วาว (Luster) สมบัตินี้เกี่ยวข้องกับปริมาณ
แสงที่ถูกสะท้อนกลับโดยผิวหน้าของผ้า ซึ่งผ้าที่สะท้อนแสงกลับออกมา
มากก็จะมีความเป็นมันวาวมาก สมบัตินี้ขึ้นอยู่กับลักษณะผิวหน้าของ
เส้นใย ด้าย สารเติมแต่ง และโครงสร้างผ้า ผ้าไหมเป็นตัวอย่างหนึ่งที่มี
ความมันวาวสูงเนื่องจากเส้นใยไหมมีผิวหน้าที่เรียบและเป็นเส้นยาวต่อ
เนื่อง (filament) การเลือกระดับของความมันวาวของผ้ามักขึ้นอยู่กับ
การนำาไปใช้งาน
1.2 การทิ้ง ตัว ของผ้า (Drape) สมบัติการทิ้งตัวของผ้าเกี่ยวข้องกับ
ลักษณะที่ผ้าตกลงบนรูปร่างที่เป็น 3 มิติ เช่นบนร่างกาย หรือบนโต๊ะ ว่า
สามารถโค้งงอตามรูปทรงที่ผ้าวางอยู่ได้มากน้อยเพียงใด ผ้าที่สามารถ
ทิ้งตัวได้ดีก็จะดูอ่อนนุ่ม สามารถจัดเข้ากับรูปทรงได้ง่าย ส่วนผ้าที่ทิ้งตัว
ได้น้อยมักจะมีความแข็ง สมบัติเหล่านี้ขึ้นอยู่กับความละเอียดของเส้นใย
รวมทั้งลักษณะของเส้นด้ายและโครงสร้าง (การถักทอ)ของผ้าด้วย
1.3 เนื้อ ผ้า (Texture) เป็นสมบัติที่เกี่ยวข้องทั้งด้านที่มองเห็นด้วยตา
และที่สัมผัสด้วยมือ ผ้าอาจจะมีผิวที่ดูเรียบ หรือขรุขระ ผ้าที่ทำาจาก
เส้นใยธรรมชาติมักจะมีผิวที่ดูไม่สมำ่าเสมอเมื่อเทียบกับผ้าที่ทำาจาก
เส้นใยประดิษฐ์ที่มีผิวเรียบ สมบัตของเนื้อผ้าขึ้นอยู่กับความเรียบของผิว
ิ
หน้าของเส้นใยและเส้นด้าย ลักษณะการถักทอผ้าและการตกแต่งสำาเร็จ
ก็มีผลต่อสมบัติเนื้อผ้าเช่นกัน
1.4 สมบัต ิต ่อ ผิว สัม ผัส (Hand) สมบัติต่อผิวสัมผัสเกี่ยวข้องกับความ
รู้สึกต่อผิวเมื่อสัมผัสกับเนื้อผ้า ผ้าแต่ละชนิดอาจให้ความรู้สึกเย็น อุน
่
หนา บาง ลื่น หรือนุ่ม แตกต่างกันไป สมบัตินี้ขึ้นอยู่กับสมบัติผิวหน้า
ของเส้นใย และเส้นด้าย รวมทั้งโครงสร้าง (การถักทอ) ของผ้าด้วย
2. สมบัต ิค วามทนทาน
สมบัติความทนทานของผ้ามีผลต่ออายุการใช้งานของผลิตภัณฑ์สิ่ง
ทอที่ทำาจากผ้านั้นๆ สมบัติความทนทานของผ้าครอบคลุมทั้งสมบัติการ
ทนต่อแรงเสียดสี (abrasion resistance) ทนต่อแรงดึง (tenacity)
2.1 สมบัต ิก ารทนต่อ แรงเสีย ดสี เป็นสมบัติที่บอกถึงความ
สามารถของผ้าที่ทนต่อแรงขัดถู หรือเสียดสี ที่มักเกิดขึ้นตลอดเวลาการ
ใช้งานของสิ่งทอ โดยเฉพาะเสื้อผ้า นอกจากนี้ความสามารถในการพับ
งอไปมาโดยไม่ขาด (flexibility) ก็เป็นสมบัติสำาคัญที่เกี่ยวข้องกับ
สมบัติความทนของผ้า
2.2 สมบัต ิค วามทนต่อ แรงดึง เป็นความสามารถของผ้าในการทน
ต่อแรงดึง ซึ่งความแข็งแรงนี้นอกจากจะขึ้นอยู่กับความแข็งแรงของ
เส้นใยแล้ว ยังขึ้นอยู่กับลักษณะของเส้นด้ายและการขึ้นรูปเป็นผ้าอีก
ด้วย
3. สมบัต ิค วามใส่ส บาย (Comfort properties)
สมบัติความใส่สบายเกี่ยวข้องกับการที่ผู้สวมใส่รู้สึกเมื่อสวมใส่สิ่งทอ
ภายใต้สภาวะสิ่งแวดล้อมและกิจกรรมต่างๆ สมบัตินี้มีความซับซ้อน
เพราะนอกจากจะขึ้นอยู่กับสมบัติของผ้าที่เกี่ยวข้องจริงต่อความรู้สึก
สบายในการสวมใส่แล้ว ยังขั้นอยู่กับอีกปัจจัยหนึ่งซึ่งสำาคัญมากคือ
ความรู้สึกพึงพอใจของผู้สวมใส่ที่มีต่อผลิตภัณฑ์สิ่งทอนั้นๆ ซึ่งอาจก่อ
ให้เกิดความแตกต่างหลากหลายขึ้นอยู่กับรสนิยมส่วนตัว และทัศนคติที่
ผู้สวมใส่มีต่อผลิตภัณฑ์ ในที่นี้จะขอกล่าวถึงเฉพาะปัจจัยกลุ่มแรกที่เกิด
จากตัวผลิตภัณฑ์เอง
3.1 สมบัต ิก ารดูด ซับ นำ้า (Absorbency) เป็นสมบัติที่เกี่ยวข้องกับ
ความสามารถของเส้นใยที่จะดูดซับโมเลกุลของนำ้าจากร่างกาย
(ผิวหนัง) หรือจากอากาศรอบๆ จากที่กล่าวมาแล้วนี้ เราจะเห็นได้ว่า
สมบัติของผ้าไม่ได้ขึ้นอยู่กับสมบัติของเส้นใยเพียงอย่างเดียว หากแต่
ขึ้นอยู่กับปัจจัยอื่นอีกหลายอย่าง เช่น ชนิดและโครงสร้างของเส้นด้าย
กระบวนการผลิตผ้า เป็นต้น ซึ่งปัจจัยเหล่านี้มีผลต่อรูปลักษณ์ เนื้อผ้า
ราคา สมรรถนะการใช้งาน รวมไปถึงการดูแลรักษา สารเติมแต่งก็มีผล
ต่อสมบัตด้านสัมผัส (hand properties) รูปลักษ์และสมรรถนะการใช้
ิ
งานของผ้าด้วยเช่นกัน
กระบวนการผลิต เส้น ใย (Fiber manufacturing)
ในที่นี้จะกล่าวถึงตัวอย่างกระบวนการผลิตเส้นใยธรรมชาติและ
เส้นใยประดิษฐ์บางประเภท
เส้น ใยธรรมชาติ
1. ฝ้า ย (cotton)
ดอกฝ้ายที่แก่เต็มที่จะถูกเก็บเกี่ยวแล้วนำามาแยกสิ่งปลอมปนที่ไม่
ต้องการ (trash) ออก แล้วทำาการแยกเมล็ดออกจากเส้นใยฝ้ายดัง
แสดงในรูปข้างล่าง จากนั้นทำาการสางใยและหวีเส้นใย (combing)
เพื่อแยกเส้นใยที่สั้นเกินไปออก

2. ขนสัต ว์ (wool)
กระบวนการผลิตเส้นใยขนสัตว์ เริ่มจากการนำาขนที่ได้จากการเล็ม
จากแกะ มาทำาการแบ่งเกรดตามคุณภาพของเส้นใย จากนั้นนำาขนสัตว์
เกรดเดียวกันที่คัดได้มาผสมให้ทั่ว (uniform) นำาไปล้างไขมันและสิ่ง
สกปรกด้วยสบู่ แล้วทำาการสางเส้นใย เส้นใยที่ได้จะถูกนำาไปขึ้นรูปเป็น
เส้นด้ายต่อไปเรียกว่า woolen yarn แต่ถ้าภายหลังการสางเส้นใยยังมี
กระบวนการหวี (combing) เพื่อกำาจัดเส้นใยสั้นออก แล้วทำาการรีดปุย
ก่อนนำาไปขึ้นรูป เป็นเส้นด้าย เส้นด้ายที่ได้นี้เรียกว่า worst yarn ซึ่ง
จะมีคุณภาพดีกว่า woolen yarn เนื่องจากมีปริมาณเส้นใยสั้นน้อยกว่า
เส้น ใยประดิษ ฐ์ (man-made fibers)
กระบวนการผลิตเส้นใยประดิษฐ์แบ่งได้เป็นสองส่วนใหญ่ๆ คือ
การเตรียมโพลิเมอร์ตั้งต้น และการขึ้นรูปเป็นเส้นใย

1. การเตรีย มโพลิเ มอร์ต ั้ง ต้น
ในการผลิตเส้นใยจากวัตถุธรรมชาติที่มีโครงสร้างโมเลกุลโพลิเมอร์
อยู่แล้ว เช่นเส้นใยเรยอน ขันตอนการเตรียมโพลิเมอร์ตั้งต้นจะประกอบ
้
ด้วยการย่อยวัตถุดิบเช่นไม้ ให้เป็นชิ้นเล็กๆโดยใช้แรงกลและสารเคมี
แล้วทำาให้อยู่ในรูปของสารละลายเข้มข้น (polymer viscous) ส่วน
ในกรณีที่เป็นเส้นใยสังเคราะห์ ขั้นตอนการเตรียมโพลิเมอร์ก็จะเริ่มจาก
การสังเคราะห์โพลิเมอร์จากโมโนเมอร์ ซึ่งอาจเป็นแบบการรวมตัว
(addition polymerization) หรือแบบกลั่น (condensation
polymerization) ขึนอยู่กับชนิดของโมโนเมอร์ที่สังเคราะห์
้
2. การขึ้น รูป เป็น เส้น ใย (fiber spinning)
กระบวนการขึ้นรูปเป็นเส้นใยสามารถทำาได้หลายวิธีขึ้นอยู่กับชนิด
ของโพลิเมอร์ตั้งต้น กระบวนการขึ้นรูปพื้นฐานมี 3 แบบคือ แบบปั่น
แห้ง (dry spinning) แบบปั่นเปียก (wet spinning) และแบบปั่น
หลอม (melt spinning)
1. การผลิต เส้น ใยแบบปั่น แห้ง (dry spinning)
เริ่มต้นโดยการเตรียมโพลิเมอร์ให้อยู่ในรูปสารละลาย แล้วฉีด
ผ่านหัวฉีด (spinnerets) ทำาการระเหยตัวทำาลายส่วนที่เหลือในเส้นใย
ที่ฉีดออกมาโดยการใช้ลมร้อน (hot air) เป่า จากนั้นทำาการดึงยืดเพื่อ
เพิ่มความแข็งแรงของเส้นใย ตัวอย่างเส้นใยที่ขึ้นรูปโดยวิธีนี้ได้แก่ โพ
ลิอะซิเทต โพลีไตรอะซิเทต และโพลีอะไครลิค
2. การผลิต เส้น ใยแบบปั่น เปีย ก (wet spinning)
เริ่มจากการเตรียมสารละลายโพลิเมอร์แล้วฉีดผ่านหัวฉีด
(spinnerets) ที่จุ่มอยู่ในอ่างของสารละลายตกตะกอน (coagulation
bath) เส้นใยที่ตกตะกอนออกมาจากสารละลาย จะถูกดึงยืดเพื่อเพิ่ม
ความแข็งแรง แล้วทำาให้แห้งโดยการใช้ลมร้อนเป่า ตัวอย่างเส้นใยที่
ผลิตโดยวิธีนี้คือ เรยอน
3. การผลิต เส้น ใยแบบปั่น หลอม (melt spinning)
เริ่มจากการหลอมโพลิเมอร์ในเครื่องปั่นหลอม (melt extruder)
แล้วทำาการฉีดผ่านหัวฉีด (spinnerets) เส้นใยที่ได้ที่เริ่มแข็งตัวจะถูก
ดึงยืดเพื่อเพิ่มความแข็งแรง เส้นใยสังเคราะห์ส่วนใหญ่ผลิตโดยวิธีนี้
เช่น ไนลอน โพลีเอสเทอร์ โพลิเอทิลีน เป็นต้น
รูปที่ 4 แสดงกระบวนการขึ้นรูปเส้นใยแบบปั่นเปียก (wet spinning)
ที่มา : http://www.mtec.or.th/laboratory/textiles/index.php/knowlegde/18-fibers ,
ค้นหาวันที่ 8 ธันวาคม 2556
ประเภทของเครื่อ งวัด เสีย ง
เครื่องมือและอุปกรณ์ในการตรวจวัดเสียงมีหลายชนิด ควรเลือก
ใช้ให้ถูกต้องเหมาะสมกับลักษณะเสียงที่ต้องการประเมิน ดังนี้
1.เครื่อ งวัด ระดับ ความดัง ของเสีย ง (Sound Level Meter)

เป็นเครื่องมือในการวัดระดับเสียง สามารถวัดระดับเสียงได้ตั้งแต่
40 – 140 เดซิเบล โดยทั่วไปผู้ผลิตจะผลิตเครื่องวัดเสียงที่สามารถวัด
ระดับเสียงได้ 3 ข่ายถ่วงนำ้า หนัก (Weighting Networks) คือ A ,B
และ C ข่า ยที่ ใ ช้ กั น อย่ า งกว้ า งขวาง คื อ ข่ า ย A เพราะเป็ น ข่ า ยตอบ
สนองต่อเสียงคล้ายคลึงกับหูคนมากที่สุด หน่วยวัดของเสียงที่วัดด้วย
ข่ าย A คือ เดซิเ บลเอ (dBA)เครื่ อ งวั ด ระดั บ เสี ย งที่ ใ ช้ ใ นการประเมิ น
ระดั บ เสี ย งในสถานประกอบกิ จ การตามกฏหมายอย่ า งน้ อ ยต้ อ ง
ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ม า ต ร ฐ า น IEC 651 Type 2 (International
electrotechnical Commission 651 type 2) หรื อ เที ย บเท่ า เช่ น
ANSI S 1.4 , BS EN 60651 , AS/NZS 1259.1 เป็ น ต้ น หรื อ ดี
ก ว่ า เ ช่ น IEC 804 , IEC 61672 , BS EN 60804 , AS/NZS
1259.2 เป็นต้น
2.เครื่อ งวัด เสีย งกระทบหรือ กระแทก ( Impulse or Impact
Noise Meter)
เสียงกระทบหรือกระแทกเป็นเสียงที่เกิดขึ้นในระยะเวลาสั้นๆ แล้ว
หายไปเหมือนกับเสียงปืน เช่น เสียงตอกเสาเข็ม เครื่องวัดระดับเสียง
โดยทั่วไป อาจมีความไวไม่เพียงพอในการตอบสนองต่อเสียงกระแทก
จึงควรใช้เครื่องวัดเสียงกระทบหรือกระแทกโดยเฉพาะเครื่องวัดเสียง
กระทบหรือกระแทก ต้องมีคุณลักษณะสอดคล้องกับมาตรฐาน IEC
61672 หรือ IEC 60804 หรือ ANSI S 1.43 หรือเทียบเท่า หรือดี
กว่า

3.เครื่อ งวัด ปริม าณเสีย งสะสม (Noise Dosimeter)

เป็นเครื่องมือที่ถูกออกแบบมาอำานวยความสะดวกในการประเมิน
การสัมผัสเสียงที่มีระดับความดังเปลี่ยนแปลงไม่คงที่ตลอดระยะเวลาการ
ทำางาน โดยเครื่องวัดชนิดนี้ จะทำาการบันทึกระดับเสียง ระยะเวลาที่ได้
สัมผัสที่ระดับความดังต่างๆ ตลอดเวลาที่พนักงานได้รับ พร้อมคำานวณ
ปริมาณเสียงสะสมที่ผู้ปฏิบัติงานได้รับ(ค่า D มีหน่วยเป็นร้อยละ)และ
หรือค่าเฉลี่ยของระดับความดังตลอดเวลา ที่เครื่องวัดนี้ทำางานเครื่องวัด
ปริมาณเสียงสะสม ต้องมีคุณลักษณะสอดคล้องกับมาตรฐาน IEC
61252 หรือเทียบเท่า หรือดีกว่า
4.เครื่อ งวิเ คราะห์ค วามถี่เ สีย ง (Frequency Analyzer)
เนื่องจากเครื่องมือวัดระดับเสียงทั่วไป ไม่สามารถบอกความดังเสียง
ในช่วงความถี่ต่างๆได้ แต่เครื่อวิเคราะห์ความถี่เสียง สามารถวิเคราะห์
ความดังเสียงในแต่ละความถี่ได้ แล้วนำาผลการตรวจวัดไปใช้ประโยชน์
ในการวางแผนการควบคุมเสียง (Noise Control) เช่น การเลือกใช้
วัสดุดดซับเสียงหรือการปิดกั้นทางผ่านของเสียง และการเลือกปลั๊กอุดหู
ู
หรือที่ครอบหูที่เหมาะสมได้ เป็นต้นเครื่องวิเคราะห์ความถี่เสียงต้องมี
คุณลักษณะสอดคล้องกับมาตรฐาน IEC 61260 หรือเทียบเท่า หรือดี
กว่านอกจากในส่วนของเครื่องมือในการตรวจวัดเสียงแล้ว อุปกรณ์
ประกอบการตรวจวัดเสียงก็มีความสำาคัญ เพื่อให้ได้ค่าการวัดที่ถูกต้อง
แม่นยำา
อุป กรณ์ป ระกอบการตรวจวัด เสีย ง
1. อุปกรณ์ปรับความถูกต้องของเครื่องวัดเสียง (Noise
Calibrator)
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการปรับเทียบความถูกต้องของเครื่องวัดเสียง
โดยปฏิบัติตามวิธีการที่ระบุในคู่มือการใช้งานของบริษัทผู้ผลิต ก่อน
การใช้งานทุกครั้งอุปกรณ์ปรับความถูกต้องของเครื่องวัดเสียง ต้องมี
คุณลักษณะสอดคล้องกบมาตรฐาน IEC 60942 หรือ เทียบเท่า หรือดี
กว่า
2. ฟองนำ้ากันลม (wind Screen)

กระแสลมแรงมีผลทำาให้การวัดระดับเสียงเกิดความคลาดเคลื่อน
จากความเป็นจริง ดังนั้นขณะตรวจวัดระดับเสียงในบริเวณที่มีลมพัด
เช่น ใกล้กับพัดลม ต้องสวมฟองนำ้ากันลมที่ไมโครโฟนทุกครั้งและตลอด
เวลาการตรวจวัด ฟองนำ้านี้นอกจากจะป้องกันกระแสลมแล้วยังสามารถ
ป้องกันฝุ่น หรือละอองนำ้าหรือสารเคมีอื่นไม่ให้เกิดความเสียหายต่อ
ไมโครโฟรของเครื่องวัดระดับเสียงด้วย
3. ขาตั้ง (Tripod)
มีลักษณะเหมือนขาตั้งกล้องถ่ายรูป สำาหรับใช้ในกรณีเครื่องวัด
ระดับเสียงมีขนาดใหญ่หรือต้องใช้ระยะเวลานานในการตรวจวัดแต่ละ
จุด
ข้อ ควรระวัง ในการใช้เ ครื่อ งวัด เสีย ง
เครื่องวัดเสียงเป็นเครื่องมือที่ประกอบด้วยวงจรไฟฟ้า
อิเล็กทรอนิกส์ มีความบอบบางต่อแรงกระแทก ดังนั้นจะต้องระมัดระวัง
ในการใช้งานไม่ให้ตกหล่น หรือกระแทกกับสิ่งหนึ่งสิ่งใดการนำาไปใช้
งานในภาคสนาม ต้องบรรจุเครื่องมือในกระเป๋าบรรจุเครื่องวัดระดับ
เสียงโดยเฉพาะ หลังจากใช้งานแล้วต้องเช็ดทำาความสะอาดและถอด
แบตเตอรี่ออกทุกครั้ง ป้องกันแบตเตอรี่เสื่อมสภาพหรือมีของเหลวไหล
จากแบตเตอรี่ทำาให้วงจรไฟฟ้าภายในเครื่องวัดเสียงเสียหายนอกจากนี้
การเก็บเครื่องวัดเสียงจะต้องไม่เก็บไว้ในที่มีอุณหภูมิสูง และควรศึกษา
รายละเอียดของเครื่องวัดระดับเสียงในคู่มือการใช้เครื่องมือ เพื่อให้
ทราบข้อจำากัดในการใช้งาน เช่น ข้อจำากัดในเรื่องของอุณหภูมิ และ
ความชื้น เป็นต้น
ที่มา : http://www.engineerthailand.com/soundmeter.html , ค้นหาวันที่ 8 ธันวาคม 2556

วัส ดุก ัน เสีย ง -ดูด ซับ เสีย ง
-แนวทางการศึกษา : เพื่อให้รู้ลักษณะและการนำาวัสดุดูดซับเสียง
ไปใช้ใช้งานให้เหมาะสม กับประเภทและความต้องการของอาคาร
-วัตถุประสงค์ : ต้องการเรียนรู้ลักษณะต่างๆและวิธีการนำาไปใช้
ของวัสดุดูดซับเสียง
- เหตุผล : เพราะว่าในบางโครงการ เช่น Project Design ที่
ทำาอยู่นี้ จำาเป็นต้องนำาเข้ามาใช้เนื่องจากเป็นห้องพักอยู่รวมกันและ
site อยู่ติดถนนซึ่งต้องมีเสียงรบกวนจากภายนอกอยู่แล้ว ดังนั้น
การนำาวัสดุดูดซับ-กันเสียงเข้ามาใช้ช่วยเพิ่มความพึงพอใจให้ผู้อยู่
อาศัย
วัสดุดดซับเสียงที่ใช้กับอยู่ทั่วไปมีหลายลักษณะ แต่แบ่งออกได้
ู
เป็น 3 ลักษณะ คือ

1) วัสดุดูดซับเสียงที่โปร่งเบาเป็นฝอยเป็นรูพรุน (อาทิ ฉนวนใย
แก้ว ฉนวนใยหิน ฉนวนเซลลูโลส โฟมประเภทต่างๆ) คุณสมบัติก็แตก
ต่างกันไป ตามความแข็งแรง ความหนาแน่น และการใช้งาน เหมาะ
สำาหรับสียงที่มีความถี่สูง
2)วัสดุดดซับเสียงที่มีผิวปรุเป็นรู (อาทิ แผ่นดูดซับเสียงยิบซับ
ู
บอร์ดที่มีรู แผ่นชานอ้อยแผ่นไม้คอร์ก) สำาหรับเพิ่มพื้นที่ผิวในการรับ
เสียง

3)วัสดุดดซับเสียงที่เป็นเยื่อแผ่น (อาทิ ผนังที่มีหลายชั้นกระจก
ู
สองชั้น หรือการติดผ้าม่านให้กับผนัง/ช่องเปิด) สำาหรับเสียงที่มีความถี่
ตำ่า

วัสดุดดซับเสียงที่พื้นผิวมาก ที่ช่วยลดเสียงสะท้อน (อาทิ ผนังที่มี
ู
การออกแบบ เป็นช่องๆ รูปแบบต่างๆ) ซึ่งลักษณะการใช้งานก็แตกต่าง
กันไปตามการใช้งาน อาจมีหลายลักษณะประกอบกันไปเพื่อ
ประสิทธิภาพการควบคุมเสียงที่เหมาะสม อาจจะหุ้มฉนวนใยแก้วด้วย
แผ่นอลูมิเนียมฟอยล์เพื่อป้องกันความชื้น ที่จะทำาให้คุณสมบัติการ
ป้องกันเสียงลดลง หรือจะใช้วัสดุที่มีพื้นผิวมากประกอบกับวัสดุที่เป็นรู
พรุน
ที่มา :

http://jagkhapong.wordpress.com/2009/11/12/%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%AA
%E0%B8%94%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%AA
%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%87-%E0%B8%94%E0%B8%B9%E0%B8%94%E0%B8%8B
%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%B5/

, ค้นหาวันที่ 18

ธันวาคม 2556

บทที่ 3
วิธ ีด ำา เนิน งาน
วัส ดุ/อุป กรณ์ท ี่ใ ช้
1. ลำาโพง

จำานวน 1 ชุด

2. กรอบไม้สี่เหลี่ยมสำาหรับขึงผ้า
1 อัน

จำานวน

3. กล่องลังเบียร์ขนาด 23*32*27 ซม.
3 กล่อง

จำานวน

4. กระดาษหนังสือพิมพ์
ฉบับ

จำานวน 20

5. เครื่องปั่น

จำานวน 1 ตัว

6. กาว TOA

จำานวน 2 กระปุก

7. เส้นใยไหมข้าวโพด
กิโลกรัม

จำานวน 1

8. เส้นใยมะพร้าว
กิโลกรัม

จำานวน 1

9. เส้นใยบวบ
10.
กะละมัง
1 ใบ
11.

ถุงมือ

12.

เครื่องวัดระดับความดังของเสียง
จำานวน 1 เครื่อง

จำานวน 1 กิโลกรัม
จำานวน
จำานวน 3 คู่
วิธ ีด ำา เนิน งาน
1. ฉีกกระดาษหนังสือพิมพ์เป็นชิ้นเล็กๆ เติมนำ้าใส่ลงไปปั่นในเครื่อง
ปั่น
2. สับไหมข้าวโพดและใส่ลงในเครื่องปั่น ปั่นให้เข้ากัน
3. เทใส่กรอบไม้สี่เหลี่ยมสำาหรับทำาแผ่นซับเสียงนำาไปตากแดดรอจน
แห้ง
4. นำาแผ่นซับเสียงที่ได้จากไหมข้าวโพดไปติดใส่ในกล่องลังเบียร์
5. ใส่ลำาโพงเข้าไปในกล่องขนาด 23*32*27 ซม.ใบที่ 1 ปิดฝาก
ล่อง และวัดความดังเสียงภายนอก
กล่อง
6. ฉีกกระดาษหนังสือพิมพ์เป็นชิ้นเล็กๆ เติมนำ้าใส่ลงไปปั่นในเครื่อง
ปั่น
7. สับกากมะพร้าวและใส่ลงในเครื่องปั่น ปั่นให้เข้ากัน
8. เทใส่กรอบไม้สี่เหลี่ยมสำาหรับทำาแผ่นซับเสียงนำาไปตากแดดรอจน
แห้ง
9. นำาแผ่นซับเสียงที่ได้จากกากมะพร้าวไปติดใส่ในกล่องลังเบียร์
10.
ใส่ลำาโพงเข้าไปในกล่องขนาด 23*32*27 ซม. ใบที่ 2 ปิด
ฝากล่อง และวัดความดังเสียงภายนอกกล่อง
11.
ฉีกกระดาษหนังสือพิมพ์เป็นชิ้นเล็กๆ เติมนำ้าใส่ลงไปปั่นใน
เครื่องปั่น
12.

สับใยบวบและใส่ลงในเครื่องปั่น ปั่นให้เข้ากัน

13.
เทใส่กรอบไม้สี่เหลี่ยมสำาหรับทำาแผ่นซับเสียงนำาไปตากแดด
รอจนแห้ง
14.

นำาแผ่นซับเสียงที่ได้จากใยบวบไปติดใส่ในกล่องลังเบียร์

15.
ใส่ลำาโพงเข้าไปในกล่องขนาด 23*32*27 ซม.ใบที่ 3 ปิด
ฝากล่อง และวัดความดังเสียงภายนอกกล่อง
บทที่ 4
ผลการทดลอง
ตารางที่ 1: ตารางแสดงชนิดของเส้นใยที่มีผลต่อความดังของเสียง
ภายนอกกล่อง
ชนิด ของ
เส้น ใย

ความดัง ของเสีย งภายนอกกล่อ ง
(dB)
ครั้ง
ครั้ง ที่1
ครั้ง ที่3 เฉลี่ย
ที่2
เส้นใย
มะพร้าว

76

74

75

75

เส้นใยบวบ

77

76

77

76.66

เส้นใยไหม
ข้าวโพด

82

85

83

83.33

จากตารางเมื่อนำาเส้นใยมะพร้าวไปทดสอบความดังโดยการนำา
ลำาโพงไว้ในกล่องและวัดค่าความดังภายนอกกล่องค่าเฉลี่ยที่ได้คือ 75
dB ส่วนเส้นใยบวบวัดค่าความดังภายนอกกล่องค่าเฉลี่ยคือ 76.66 dB
และเส้นใยไหมข้าวโพดวัดค่าความดังภายนอกกล่องค่าเฉลี่ยคือ 83.33
dB สรุปได้ว่าเส้นใยมะพร้าวซับเสียงได้ดีกว่าเส้นใยบวบและเส้นใยไหม
ข้าวโพดตามลำาดับ

บทที่ 5
สรุป และอภิป รายผลการศึก ษา
สรุป ผลการศึก ษา
1.จากการศึกษาการทดสอบประสิทธิภาพของเส้นใยแต่ละชนิดที่มี
ผลต่อความดังของเสียง พบว่าแผ่นซับเสียงที่ทำาจากเส้นใยมะพร้าวมี
คุณภาพดีสุดรองลงมาคือเส้นใยบวบและเส้นใยไหมข้าวโพด
อภิป รายผลการศึก ษา
1.จากการศึกษาการทดสอบประสิทธิภาพของเส้นใยแต่ละชนิดที่มี
ผลต่อความดังของเสียง พบว่าแผ่นซับเสียงที่ทำาจากเส้นใยมะพร้าวมี
คุณภาพดีสุดรองลงมาคือเส้นใยบวบและเส้นใยไหมข้าวโพด สามารถ
อภิปรายได้ดังนี้ แบบใยมะพร้าวดีที่สุดเพราะเป็นเส้นใยที่หยุ่นเหนียว
แข็งแรง ทนทานและมีลักษณะเป็นรูพรุนที่เป็นเซลล์เปิดอยู่ภายใน
เส้นใย เมื่อคลื่นเสียงตกกระทบที่ผิวของวัสดุจะเกิดการดูดกลืนผ่าน
เข้าไปตามช่องว่างรูพรุนของเส้นใยและเกิดการสลายพลังงานเสียงให้
เปลี่ยนรูปพลังงานเป็นพลังงานความร้อนส่งผลให้เสียงที่ส่งผ่านเส้นใย
มะพร้าวออกมานั้นเบาลง
ข้อ เสนอแนะ
ในขั้นตอนการดำาเนินงานการทำาแผ่นซับเสียงโดยใช้ใยจาก
มะพร้าวต้องใช้เวลานานเนื่องจากใยมะพร้าวสามารถดูดซับนำ้าได้ดีและ
ละเอียดจึงใช้เวลาในการแห้งมากกว่า

บรรณานุก รม
กรมควบคุมมลพิษ. (28 มกราคม 2555). เครื่องมือวัดเสียง. 18
ธันวาคม 2556, จาก
http://www.engineerthailand.com/soundmeter.html
JAGKHAPONG'S BLOG. (12 พฤศจิกายน 2552). วัสดุกัน
เสียง-ดูดซับเสียง.
18 ธันวาคม 2556,
จาก http://jagkhapong.wordpress.com/2009/11/12/%E0%
B8%A7%
ASTV ผู้จัดการออนไลน์. (16 กุมภาพันธ์ 2554). มทร.ธัญบุรี
โชว์แผ่นดูดซับเสียงใยมะพร้าว รักษ์สิ่งแวดล้อม.18 ธันวาคม 2556.
จาก
http://www2.manager.co.th/CyberBiz/ViewNews.aspx?
NewsID=9540000018295
ภาคผนวก

วัส ดุอ ุป กรณ์
กาว

กรอบไม้สี่เหลี่ยม

กากมะพร้าว
ไหมข้าวโพด

เครื่องปั่น

ใยบวบ
กระดาษหนังสือพิมพ์
ลำาโพง,เครื่องวัดระดับความดังเสียง

กะละมัง

วิธ ีด ำา เนิน งาน

1.ฉีกกระดาษหนังสือพิมพ์เป็นชิ้นเล็ก
ปั่น
3.สับไหมข้าวโพดแล้วนำาไปปั่น

2.นำากระดาษที่ฉีกไปปั่นในเครื่อง
4.ผสมกระดาษ,ไหมข้าวโพด,กาว แล้วขยำาให้เข้ากัน
ข้าวโพดที่ได้ไปตากแดดรอจนแห้ง

5. นำาไหม

6.ปั่นกระดาษหนังสือพิมพ์ 7.นำาใยบวบที่หั่นไว้ไปปั่น
กระดาษ,ใยบวบ,กาว แล้วขยำาให้เข้ากัน

8.ผสม
9.นำาใยบวบที่ได้ไปตากแดดจนแห้ง 10.นำากระดาษหนังสือพิมพ์
ไปปั่น 11.สับกากมะพร้าวแล้วนำาไปปั่น
12.ผสมกระดาษ,กากมะพร้าว,กาว ขยำาให้เข้ากัน
กากมะพร้าวที่ได้ไปตากแดดจนแห้ง

13.นำา

แผ่นซับเสียงจากไหมข้าวโพด
แผ่นซับเสียงจากกาก
มะพร้าว
แผ่นซับเสียงจากใยบวบ
14.นำาแผ่นซับเสียงที่ได้จากเส้นใยทั้ง 3 ชนิดมาตัดแล้วติดในกล่อง
ขนาด 12*22.6*8 ซม.
15. เมื่อติดแผ่นซับเสียงกับกล่องเสร็จแล้วประกอบกล่องให้เป็นรูปแบบ
เดิม

16.นำาลำาโพงใส่ไปในกล่อง
ความดังของเสียงภายนอกกล่อง

17.วัดระดับ
18.ผลงานสู่สาธารณะประโยชน์ สามารถดูได้ที่
http://www.slideshare.net/slideshow/embed_code/3148
2314

More Related Content

What's hot

โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนKruthai Kidsdee
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือSAKANAN ANANTASOOK
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013Kruthai Kidsdee
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยทศวรรษ โตเสือ
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1prayut2516
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพกึม จันทิภา
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาkrudow14
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465YingZaa TK
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก Jeerapob Seangboonme
 

What's hot (20)

ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
การกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่ายการกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่าย
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
 
โครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิโครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิ
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก
 

Similar to โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ

โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1Lift Ohm'
 
ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัต2
ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัต2ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัต2
ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัต2Natsima Chaisuttipat
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11Mint Zy
 
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1teerachon
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์Nutchuda Somphun
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์Nutchuda Somphun
 
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16Lekleklek Jongrak
 
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16Anny Na Sonsawan
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์Nutchuda Somphun
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานnook868640
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานnook868640
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์Nutchuda Somphun
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมLift Ohm'
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีอาภัสรา ยิ่งคำแหง
 
ข้อสอบ O net การงานฯ ม.3 ชุด 2
ข้อสอบ O net การงานฯ ม.3 ชุด 2ข้อสอบ O net การงานฯ ม.3 ชุด 2
ข้อสอบ O net การงานฯ ม.3 ชุด 2Manas Panjai
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์Nutchuda Somphun
 

Similar to โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ (20)

ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11
 
Com
ComCom
Com
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 
ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัต2
ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัต2ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัต2
ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัต2
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11
 
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
 
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
ข้อสอบ O net การงานฯ ม.3 ชุด 2
ข้อสอบ O net การงานฯ ม.3 ชุด 2ข้อสอบ O net การงานฯ ม.3 ชุด 2
ข้อสอบ O net การงานฯ ม.3 ชุด 2
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11
 

โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ

  • 1. แผ่น ซับ เสีย งจากเส้น ใยธรรมชาติ จัด ทำา โดย 1. น.ส. กชกร ยัง ให้ผ ล เลขที่ 8 2. น.ส. ณัฏ ฐิก า ปกป้อ ง เลขที่ 12 3. น.ส. ณัฐ พรรณ หมั่น การ เลขที่ 13 ชั้น มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 6/2 วิช าโครงงานเพื่อ ประโยชน์ต อ สาธารณะ ่ ประโยชน์ ว 30265 ภาคเรีย นที่ 2 ปีก ารศึก ษา 2556 กลุม สาระการเรีย นรู้ว ท ยาศาสตร์โ รงเรีย นมกุฎ ่ ิ เมือ งราชวิท ยาลัย สำา นัก งานเขตพื้น ที่ก ารศึก ษามัธ ยมศึก ษาเขต 18
  • 2. แผ่น ซับ เสีย งจากเส้น ใยธรรมชาติ จัด ทำา โดย 1. น.ส. กชกร ยัง ให้ผ ล เลขที่ 8 2. น.ส. ณัฏ ฐิก า ปกป้อ ง เลขที่ 12 3. น.ส. ณัฐ พรรณ หมั่น การ เลขที่ 13 ชั้น มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 6/2 ครูท ี่ป รึก ษาโครงงาน ครูศ ุภ พงศ์ คล้า ยคลึง ชื่อ โครงงาน ผู้จ ัด ทำา โครงงาน แผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ 1. นางสาว กชกร ยังให้ผล ม.6/2 เลขที่ 8
  • 3. 2. นางสาว ณัฏฐิกา ปกป้อง ม.6/2 เลขที่ 3. นางสาว ณัฐพรรณ หมั่นการ ม.6/2 เลขที่ ครูท ี่ป รึก ษาโครงงาน 12 13 อาจารย์ศุภพงศ์ คล้ายคลึง โรงเรีย นมกุฎ เมือ งราชวิท ยาลัย ปีก ารศึก ษา 2556 บทคัด ย่อ โครงงานเพื่อประโยชน์ต่อสาธารณะประโยชน์ เรื่องแผ่นซับเสียง จากเส้นใยธรรมชาติมีจุดประสงค์เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของเส้นใย จากธรรมชาติ ให้มีประสิทธิภาพใกล้เคียงกับแผ่นซับเสียงมาตรฐาน โดยเลือกใช้เส้นใยที่หาได้ในท้องถิ่น คือเส้นใยมะพร้าว เส้นใยไหม ข้าวโพดและเส้นใยบวบ ในการทดลองแบ่งเป็น 3 ขั้นตอน ตอนที่ 1 ขั้นตอนการเตรียมเส้นใยมะพร้าว เส้นใยไหมข้าวโพด และเส้นใยบวบ เตรียมอุปกรณ์และส่วนผสมต่างๆ ได้แก่ กระดาษหนังสือพิมพ์ กาว TOA นำ้า กรอบไม้สี่เหลี่ยมสำาหรับขึงผ้า และเครื่องปั่น ตอนที่ 2 ขัน ้ ตอนการผสม แยกผสมเส้นใยทั้ง 3 ชนิด โดยการเติมนำ้า กาว TOA และกระดาษหนังสือพิมพ์ปั่น ใส่ในปริมาณที่กำาหนด ทำาให้เข้ากัน หลัง จากนั้นนำาส่วนผสมไปเทใส่กรอบสำาหรับขึงผ้า รอให้ส่วนผสมของ เส้นใยแต่ละชนิดแห้ง เป็นเวลา 3 วัน ตอนที่ 3 ขั้นตอนการทดสอบ ประสิทธิภาพในการซับเสียงของเส้นใยธรรมชาติแต่ละชนิด จากผลการ ทดลองวัดค่าความดังภายนอกกล่อง 3 ครั้งและได้ค่าเฉลี่ยออกมาสรุป ได้ว่า แผ่นซับเสียงที่ทำาจากเส้นใยมะพร้าวมีประสิทธิภาพดีกว่าเส้นใย ไหมข้าวโพดและเส้นใยบวบ
  • 4. กิต ติก รรมประกาศ โครงงานสาธารณะประโยชน์ เรื่องแผ่นซับเสียงจากเส้นใย ธรรมชาติ สำาเร็จลงด้วยความกรุณาของ อาจารย์ศุภพงศ์ คล้ายคลึง ซึ่ง เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ที่ได้ให้คำาแนะนำา และคำาปรึกษา เกี่ยว กับการทำาโครงงานตลอดจนการแก้ไขข้อบกพร่องของการทำาโครงงาน ให้สำาเร็จและบรรลุเป้าหมาย จึงขอกราบขอบคุณไว้ ณ ที่นี้เป็นอย่างสูง คณะผู้จัดทำา สารบัญ เรื่อ ง หน้า
  • 5. บทคัดย่อ……………………………………………………………… ………………………….ก กิตติกรรมประกาศ…………………………………………………… …………………………..ข บทที่ 1 ที่มาและความสำาคัญ ที่มาและความ สำาคัญ………………………………………………………………… …..1 วัตถุประสงค์…………………………………………………… ………………………..1 สมมติฐาน……………………………………………………… ………………………..1 ขอบเขตการ ศึกษา………………………………………………………………… ……..2 ตัวแปรที่ ศึกษา………………………………………………………………..... ..............2 สถานที่ทำาโครง งาน………………………………………………………………........ ...2 ระยะเวลา……………….............………………............. ……………….........................2 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง เส้นใย………………………………………………………………… ………………….3 ประเภทของเครื่องวัด เสียง.................................................................................. ..............12
  • 6. วัสดุดดซับ ู เสียง…………………………………………………………………... ……..16 บทที่ 3 วิธีการดำาเนินงาน วัสดุ อุปกรณ์………………………………………………………………… …….……18 วิธีดำาเนิน การ…………………………………………………………………… ……….18 บทที่ 4 ผลการดำาเนิน การ………………………………………………………………….. …......20 บทที่ 5 สรุป อภิปราย ข้อเสนอ แนะ……………………………………………………………....21 บรรณานุกรม………………………………………………………… ………………………......22 ภาค ผนวก………………………………………………………………… ………………………23 บทที่ 1 บทนำา ที่ม าและความสำา คัญ เนื่องจากมีผู้นิยมเล่นดนตรีเป็นจำานวนมาก แต่ขาดสถานที่ในการ ฝึกซ้อม ในการฝึกซ้อมแต่ละครั้งทำาให้ต้องเสียค่าใช้จ่ายเป็นจำานวน มากเพื่อเช่าห้องฝึกซ้อม ในปัจจุบันมีแผ่นซับเสียงมากมายหลากหลาย ชนิด ทั้งที่ตั้งใจผลิตเพื่อออกมาเป็นแผ่นซับเสียงโดยตรงและวัสดุที่สาม
  • 7. รถซับเสียงได้เองตามธรรมชาติ ทั้งนี้การจะซื้อแผ่นซับเสียงเพื่อนำามา ใช้สร้างห้องสำาหรับฝึกซ้อมดนตรีนั้นมีราคาค่อนข้างสูง ดังนั้นกลุ่มของ ข้าพเจ้าจึงคิดว่าจะทำาการประดิษฐ์แผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ เพื่อเป็นการลดต้นทุนในการซื้อแผ่นซับเสียงเพื่อนำามาสร้างห้องฝึกซ้อม ดนตรีและสามารถนำาสิ่งที่อยู่ในธรรมชาติมาประยุกต์ใช้ให้เกิด ประโยชน์สูงที่สุด โดยเล็งเห็นว่า ตามธรรมชาติทั่วไปมีเส้นใยธรรมชาติ มากมายที่มีคุณสมบัติสามารถซับเสียงได้ อาทิเช่น ไหมข้าวโพด กาก มะพร้าวและใยบวบ ซึ่งไหมข้าวโพดสามารถหาได้ทั่วไป เพราะมีการ เพาะปลูกกันอย่างกว้างขวางและเมื่อนำาข้าวโพดไปแปรรูปทำาให้เหลือ ไหมข้าวโพดที่ไม่สามารถนำาไปใช้ประโยชน์ได้แล้ว ส่วนกากมะพร้าว และใยบวบก็สามารถหาได้ง่ายเช่นเดียวกัน กลุ่มของข้าพเจ้าจึงได้คิด จะประดิษฐ์แผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติที่มีประสิทธิภาพใกล้เคียง และมีราคาตำ่ากว่าท้องตลาด นอกจากแผ่นซับเสียงจะช่วยลดการ สะท้อนของเสียงแล้ว ยังช่วยลดขยะในสังคมและเป็นการนำา ทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด จุด ประสงค์ก ารศึก ษาค้น คว้า เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของเส้นใยแต่ละชนิดที่มีผลต่อความดัง ของเสียง ตัว แปรที่ศ ึก ษาค้น คว้า ตัวแปรต้น ชนิดของเส้นใย ตัวแปรตามระดับความดังของเสียง ตัวแปรควบคุม 1. ขนาดของแม่พิมพ์ 2. ปริมาณชนิดของเส้นใย สมมติฐ านการศึก ษาค้น คว้า แผ่นซับเสียงที่ทำาจากใยบวบมีประสิทธิภาพดีที่สุด นิย ามเชิง ปฏิบ ัต ิก าร ระดับความดังของเสียง หมายถึงนำาลำาโพงที่เปิดเสียงไปใส่ใน กล่องที่มีแผ่นซับเสียงแปะอยู่ ปิดกล่องและวัดความดังของเสียงภายนอก กล่อง
  • 8. ระยะเวลาที่ศ ึก ษาค้น คว้า 7 พฤศจิกายน 2556 – 13 กุมภาพันธ์ 2557 ผลประโยชน์ท ี่ค าดว่า จะได้ร ับ ได้แผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติที่มีประสิทธิภาพและสามารถ นำาไปใช้ในห้องประชุม ห้องสัมมนาหรือสตูดิโอ เป็นต้น บทที่ 2 เอกสารที่เ กี่ย วข้อ ง วิท ยาศาสตร์ส ิ่ง ทอ : เส้น ใย (Fibers) ตามนิยามแล้ว เส้นใยหมายถึงวัสดุหรือสารใดๆทั้งที่เกิดจาก ธรรมชาติและมนุษย์สร้างขึ้น ที่มอัตราส่วนระหว่างความยาวต่อเส้นผ่าน ี ศูนย์กลางเท่ากับหรือมากกว่า 100 สามารถขึ้นรูปเป็นผ้าได้ และต้อง เป็นองค์ประกอบที่เล็กที่สุดของผ้า ไม่สามารถแยกย่อยในเชิงกลได้อีก
  • 9. ประเภทของเส้น ใย เราสามารถแยกประเภทของเส้นใยได้หลายแบบขึ้นอยู่กับลักษณะ การแบ่ง ในที่นี้เราแบ่งตามแหล่งกำาเนิดของเส้นใยซึ่งจะแบ่งได้เป็นสอง ประเภทใหญ่ๆ คือ เส้นใยธรรมชาติและเส้นใยประดิษฐ์ ในกลุ่มของ เส้นใยธรรมชาติก็ยังแบ่งย่อยได้อีกเป็นเส้นใยที่มาจากพืช จากสัตว์ และจากแร่ ส่วนเส้นใยประดิษฐ์สามารถแยกเป็นเส้นใยที่ประดิษฐ์จาก ธรรมชาติ เส้นใยสังเคราะห์ และเส้นใยที่ประดิษฐ์จากวัสดุอื่นๆ 1. เส้น ใยธรรมชาติ (Natural fibers) เส้นใยพืช เช่น ฝ้าย ลินิน ปอ รามี ป่าน นุ่นเส้นใยสัตว์ เช่น ขน สัตว์ (wool) ไหม (silk) ผม (hair) แร่ เช่น แร่ใยหิน (asbestos) 2. เส้น ใยประดิษ ฐ์ (Man-made fibers) ประดิษฐ์จากธรรมชาติ เช่น เรยอน อะซิเทตไตรอะซีเทตเส้นใย สังเคราะห์ เช่น โอเลฟินส์ โพลีเอสเทอร์ โพลีอรามิด ไนลอนแร่และ เหล็ก เช่น โลหะ แก้ว เซรามิกกราไฟต์ สมบัต ิข องเส้น ใย สมบัติของเส้นใยมีผลโดยตรงต่อสมบัติของผ้าที่ทำาขึ้นจากเส้นใย นั้นๆ ผ้าที่ทำาจากเส้นใยที่แข็งแรงก็จะมีความแข็งแรงทนทานด้วย หรือ เส้นใยที่สามารถดูดซับนำ้าได้ดีจะส่งผลให้ผ้าสามารถดูดซับนำ้าและ ความชื้นได้ดี เหมาะสำาหรับการนำาไปใช้ในส่วนที่มีการสัมผัสกับผิวและ ดูดซับนำ้า เช่น ผ้าเช็ดตัว ผ้าอ้อม เป็นต้น ดังนั้นการที่เราเข้าใจสมบัติของเส้นใย จะช่วยทำาให้สามารถ ทำานายสมบัติของผ้าที่มีเส้นใยนั้นๆ เป็นองค์ประกอบ รวมไปถึง ผลิตภัณฑ์สดท้ายได้ ซึ่งจะช่วยให้สามารถเลือกชนิดของผลิตภัณฑ์ใน ุ เบื้องต้น ได้ถูกต้องตามความต้องการ ของการนำาไปใช้งาน โดยการ คาดเดาจากองค์ประกอบที่แจ้งไว้ในป้ายสินค้า ความแตกต่างของเส้นใยขึ้นอยู่กับโครงสร้างทางกายภาพ องค์ประกอบ ทางเคมี และการเรียงตัวของโมเลกุล ซึ่งส่วนผสมและความแตกต่างใน ปัจจัยทั้งสามนี้ ทำาให้เส้นใยมีสมบัติที่หลากหลายและแตกต่างกัน ซึ่ง สมบัติของเส้นใยก็จะมีผลต่อสมบัติของผ้าหรือผลิตภัณฑ์ที่ผลิตจาก เส้นใยนั้น ทั้งในส่วนที่เป็นที่ต้องการและไม่ต้องการต่อการนำาไปใช้งาน ยกตัวอย่างเช่น ในเส้นใยที่สามารถดูดซับนำ้าได้น้อย จะส่งผลให้ผ้าที่ ทำาจากเส้นใยชนิดนี้มีสมบัติดังนี้ - เกิดไฟฟ้าสถิตย์ (Static build-up) บนเนื้อผ้าได้ง่าย ทำาให้ผ้า ลีบติดตัว - ผ้าแห้งเร็ว เนื่องจากมีปริมาณนำ้าที่ดูดซับน้อยและไม่มีพันธะ (bond) ระหว่างเส้นใยและ โมเลกุลของนำ้า
  • 10. - ย้อมติดสียาก เนื่องจากการย้อมสีส่วนใหญ่อาศัยนำ้าเป็นตัวกลาง พาโมเลกุลของสีเข้าไปในเนื้อผ้า ผ้าที่ไม่ดูดซับนำ้าจึงติดสีย้อมได้ยาก กว่า - สวมใส่สบายน้อยกว่า เนื่องจากการเหงื่อที่อยู่บนผิวถูกดูดซับ น้อยทำาให้รู้สึกเปียกชื้นได้ - คงรูปได้ขณะเปียก (หรือขณะซัก) และผ้ายับน้อย ทั้งนี้เนื่องจาก ปริมาณนำ้าที่ถูกดูดซับมีน้อย และไม่เกิดพันธะระหว่างเส้นใย และ โมเลกุลของนำ้า ที่จะทำาให้โครงสร้างเปลี่ยนแปลงไปปัจจัยทั้งสามที่มีผล ต่อสมบัตของเส้นใย คือ โครงสร้างทางกายภาพ องค์ประกอบทางเคมี ิ และการจัดเรียงตัวของโมเลกุล โครงสร้า งทางกายภาพ โครงสร้างทางกายภาพหรือโครงสร้างทางสัณฐาน (morphology) ของเส้นใย สามารถสังเกตได้จากกล้องจุลทรรศน์ (microscope) ที่มีกำาลังขยาย 250-1000 เท่า โครงสร้างทาง กายภาพนั้นครอบคลุมถึง ความยาว ขนาดหรือเส้นผ่าศูนย์กลาง รูปร่างภาคตัดขวาง (crosssectional shape) รูปร่างของผิวเส้นใย และความหยักของเส้นใย ความยาวเส้น ใย (Fiber length) เส้นใยมีทั้งชนิดสั้นและยาว ซึ่งความยาวของเส้นใยจะมีผลต่อ สมบัติและการนำาไปใช้งานของผลิตภัณฑ์สิ่งทอ ก่อนอื่นเรามาทำาความ รู้จักกับชนิดของเส้นใยทั้งสองนี้ก่อน เส้น ใยสั้น (Staple fiber) เป็นเส้นใยที่มีความยาวอยู่ในช่วง 2 ถึง 46 เซนติเมตร (หรือ 1 ถึง 18 นิ้ว) เส้นใยธรรมชาติทั้งหมดยกเว้นไหมเป็นเส้นใยสั้น ยก ตัวอย่างเช่น เส้นใยฝ้าย นุ่น ขนสัตว์ เส้นใยสั้นที่มาจากเส้นใยประดิษฐ์ มักทำาเป็นเส้นยาวก่อนแล้วตัด (chop) เป็นเส้นใยสั้นตามความยาวที่ กำาหนด เส้น ใยยาว (Filament fiber) เป็นเส้นใยที่มีความยาวต่อเนื่องไม่สิ้นสุด มีหน่วยวัดเป็นเมตรหรือ หลา เส้นใยยาวส่วนใหญ่เป็นเส้นใยประดิษฐ์ ยกเว้นไหมซึ่งเป็นเส้นใย ยาวที่มาจากธรรมชาติ เส้นใยยาวอาจเป็นชนิดเส้นยาวเดี่ยว (monofilament) ที่มีเส้นใยเพียงเส้นเดียว หรือเส้นใยยาวกลุ่ม (multifilament) ซึ่งจะมีเส้นใยมากกว่า 1 เส้นรวมอยู่ด้วยกันตลอด ความยาว เส้นยาวที่ออกมาจากหัวฉีด (spinnerets) จะมีลักษณะเรียบ ซึ่งมีลักษณะเรียบคล้ายเส้นใยไหม หากต้องการลักษณะเส้นใยที่หยักก็ จะต้องนำาไปผ่านกระบวนการทำาหยัก (crimp) ซึ่งเส้นใยที่ได้จะมี
  • 11. ลักษณะคล้ายเส้นใยฝ้าย หรือขนสัตว์ ซึ่งส่วนมากเส้นใยที่ทำาหยักมักจะ นำาไปตัดเพื่อทำาเป็น เส้นใยสั้น ขนาดเส้น ใย ขนาดของเส้นใยมีผลต่อสมรรถนะการใช้งานและสมบัติทางผิวสัมผัส (hand properties) เส้นใยที่มีขนาดใหญ่จะให้ความรู้สึกที่หยาบและ แข็งของเนื้อผ้า แต่ในขณะเดียวกันก็ให้ความแข็งแรงมากกว่าเมื่อเทียบ กับเส้นใยชนิดเดียวกันที่มีขนาดเล็กกว่า ผ้าที่ทำาจากเส้นใยที่มีขนาด เล็กหรือมีความละเอียดก็จะให้ความนุ่มต่อสัมผัส และจัดเข้ารูป (drape) ได้ง่ายกว่าเส้นใยธรรมชาตินั้นมักมีขนาดที่ไม่สมำ่าเสมอ คุณภาพของ เส้นใยธรรมชาติมักจะวัดจากความละเอียดของเส้นใย เส้นใยที่มีความ ละเอียดมาก (ขนาดเล็ก) จะมีคุณภาพที่ดีกว่า การวัดความละเอียดมัก วัดจากเส้นผ่าศูนย์กลางของเส้นใย (ภายใต้กล้องจุลทรรศน์) ในหน่วย ของไมโครเมตร (1 ไมโครเมตรเท่ากับ 1/1000 มิลลิเมตร) ซึ่งโดย ทั่วไปขนาดของเส้น เส้นใยฝ้าย 16-20 ไมโครเมตร ขนสัตว์ (แกะ) 10-50 ไมโครเมตร เส้นใยลินิน 12-16 ไมโครเมตร ไหม 11-12 ไมโครเมตร สำาหรับเส้นใยประดิษฐ์ที่ผลิตในอุตสาหกรรม ขนาดของเส้นใยจะขึ้นอยู่ กับปัจจัยหลายอย่างเช่น ขนาดของรูในหัวฉีด (spinneret holes) การดึงยืดขณะที่ปั่นเส้นใยและหลังการการปั่นเส้นใย รวมไปถึงปริมาณ และความเร็วของการอัดนำ้าพลาสติกผ่านหัวฉีดในกระบวนการปั่น เส้นใย เส้นใยประดิษฐ์ที่ได้สามารถควบคุมความสมำ่าเสมอได้ดีกว่า เส้นใยธรรมชาติ แต่ก็ยังมีส่วนที่ไม่สมำ่าเสมอบ้างเนื่องจากความไม่คงที่ (irregularity) ของกระบวนการผลิต หน่วยที่มักใช้วัดความละเอียด ของเส้นใยประดิษฐ์คือดีเนียร์ และ เท็กซ์ ดีเนียร์ (Denier) เป็นหน่วยการวัดขนาดของเส้นใย โดยเป็นนำ้าหนัก ในหน่วยกรัมของเส้นใยที่มีความยาว 9,000 เมตร เส้นใยที่มีค่าดีเนียร์ ตำ่าจึงมีความละเอียดมากกว่า เส้นใยที่มีค่าดีเนียร์สูงเนื่องจากมีนำ้าหนัก
  • 12. น้อยกว่าในความยาวที่เท่ากันเท็กซ์ (Tex) เป็นหน่วยการวัดขนาดของ เส้นใยคล้ายกับดีเนียร์ แต่เป็นนำ้าหนักในหน่วยกรัมของเส้นใยที่มี ความยาว 1,000 เมตรดีเนียร์ต่อฟิลาเมนต์ (Denier per filament, DPF) เป็นค่าที่วัดความละเอียดของเส้นใยที่อยู่ในเส้นด้ายซึ่งมีจำานวน เส้นใยตั้งแต่ 2 ขึ้นไป ดังนั้นค่าดีเนียร์ต่อฟิลาเมนต์จึงเท่ากับดีเนียร์ของ ฟิลาเมนต์นั้นหารด้วยจำานวนฟิลาเมนต์ (หรือจำานวนเส้นใย) ทั้งหมด โดยทั่วไปเส้นใยที่ใช้สำาหรับเสื้อผ้ามีขนาดอยู่ในช่วง 1 ถึง 7 ดีเนียร์ เส้นใยสำาหรับทำาพรมมีขนาดใหญ่อยู่ในช่วง 15 ถึง 24 ดีเนียร์ เส้นใย ขนาดเท่ากันไม่ได้หมายความว่าจะมีความเหมาะสมต่อการนำาไปใช้งาน ชนิดเดียวกันได้ เส้นใยที่ใช้สำาหรับเสื้อผ้ามักจะนิ่มและละเอียดเกินกว่า ที่จะทนต่อแรงกดได้ดีเหมือนเส้นใยที่ใช้ทำาพรม ในทางกลับกันเส้นใยที่ ใช้ทำาพรมก็ให้ความรู้สึกต่อผิวสัมผัสที่ละเอียดน้อยกว่าเส้นใยที่ใช้ทำา เสื้อผ้า รูป ร่า งหน้า ตัด ขวางของเส้น ใย รูปร่างหน้าตัดขวางของเส้นใยมีผลต่อความเป็นมันวาว ลักษณะเนื้อผ้า และสมบัติต่อผิวสัมผัส เส้นใยมีรูปร่างหน้าตัดที่หลากหลายกัน เช่น วงกลม สามเหลี่ยม ทรงคล้ายกระดูก (dog bone) ทรงรูปถั่ว (bean-shaped) เป็นต้น รูปที่ 1 รูปร่างหน้าตัดขวางของเส้นใย ความแตกต่างของรูปร่างหน้าตัดขวางของเส้นใยธรรมชาติ เกิดจาก
  • 13. ลักษณะการสร้างเซลลูโลสในขณะที่พืชเติบโต เช่นในเส้นใยฝ้าย หรือ การกระบวนการสร้างโปรตีนในสัตว์ เช่น ขนสัตว์ หรือรูปร่างของช่อง (orifice) ในตัวไหมที่ทำาหน้าที่ฉีดเส้นใยไหมออกมา สำาหรับเส้นใย ประดิษฐ์รูปร่างของหน้าตัดของเส้นใยขึ้นอยู่กับรูปร่างของรูในหัวฉีด ลัก ษณะผิว ภายนอกของเส้น ใย ลักษณะผิวของเส้นใยมีทั้งแบบเรียบ เป็นแฉก หรือขรุขระ ซึ่ง ลักษณะผิวนี้มีผลต่อความเป็นมันวาว สมบัติตอผิวสัมผัส เนื้อผ้า และ ่ การเปื้อนง่ายหรือยาก ความหยัก (crimp) ความหยักในเส้นใยช่วยเพิ่มความสามารถในการยึดเกาะ (cohesiveness) ระหว่างเส้นใย ทำาให้สามารถคืนตัวจากแรงอัด (resilience) ได้ดี ทนต่อแรงเสียดสี (resistance to abrasion) มี ความยืดหยุ่น มีเนื้อเต็ม (bulk) และให้ความอบอุ่น (warmth) องค์ป ระกอบทางเคมีแ ละการเรีย งตัว ของโมเลกุล เส้นใยประกอบด้วยโมเลกุลจำานวนมาก โมเลกุลเหล่านี้มีลักษณะ เป็นเส้นยาวเรียกว่าโพลิเมอร์ (polymer) ที่เกิดจากการเรียงตัวของ หน่วยโมเลกุลเล็กๆคือมอนอเมอร์ (monomer) และเชื่อมต่อกันด้วย พันธะเคมีด้วยกระบวนการสังเคราะห์ที่เรียกว่า โพลิเมอไรเซชัน (polymerization) ขนาดของโพลิเมอร์ขึ้นอยู่กับความยาวของ โมเลกุลซึ่งบอกได้จากจำานวนของมอนอเมอร์ที่อยู่ในโพลิเมอร์นั้น (degree of polymerization) โพลิเมอร์ที่มีเส้นโมเลกุลยาวจะมีนำ้า หนักโมเลกุล มากกว่าโพลิเมอร์ที่มีเส้นโมเลกุลสั้นเนื่องจากจำานวนมอ นอเมอร์ที่มากกว่านั่นเอง ซึ่งจะมีผลต่อความแข็งแรงของเส้นใยที่ โพลิเมอร์นั้นเป็นองค์ประกอบอยู่โมเลกุลหรือโพลิเมอร์ที่อยู่ในเส้นใยจะ มีการเรียงตัวแตกต่างกัน เมื่อแต่ละโมเลกุลมีการเรียงตัวอย่างไร้ทิศทาง (random) ก็จะทำาให้เส้นใยบริเวณนั้นมีความเป็นอสัณฐาน (amorphous) ส่วนในบริเวณที่โมเลกุลมีการเรียงซ้อนขนานอย่างเป็น ระเบียบก็จะมีความเป็นผลึก (crystalline) เกิดขึ้น เส้นใยที่มีความเป็น ผลึกมากก็จะมีความแข็งแรงมากกว่าเส้นใยที่มีความเป็นผลึกน้อย อย่างไรก็ตามปริมาณความเป็นผลึกไม่ใช่ปัจจัยที่กำาหนดความแข็งแรง ของเส้นใย หากรวมไปถึงทิศทางการจัดเรียงตัวของโมเลกุลที่เป็น ระเบียบเหล่านี้ด้วย ถ้าโมเลกุลมีการจัดเรียงตัวอยู่ในทิศทางที่ขนานกับ แกนตามความยาวของเส้นใย ก็จะช่วยให้เส้นใยมีความแข็งแรงมาก
  • 14. เนื่องจากโมเลกุลเรียงตัวในทิศทางเดียวกับแรงที่กระทำาต่อเส้นใย(ตาม ความยาว) ทำาให้สามารถมีส่วนช่วยในการรับแรงเต็มที่ เรียกว่าเส้นใย นั้นมีการจัดเรียงตัวของโมเลกุลที่ดี (oriented fiber) ในอีกกรณีหนึ่ง แม้เส้นใยจะมีบริเวณที่เป็นผลึกมาก แต่มีทิศทางการจัดเรียงตัวที่ไม่ ขนานกับแกนตามยาวของเส้นใย โมเลกุลก็ไม่สามารถรับแรงในทิศทาง การดึงเส้นใยได้เต็มที่ทำาให้มีความแข็งแรงน้อยกว่าในกรณีแรก ดังนั้น ในกระบวนการผลิตเส้นใยประดิษฐ์ จึงต้องมีการดึงยืดเส้นใยที่ออกมา จากหัวฉีด เพื่อเพิ่มความเป็นผลึกโดยการจัดเรียงโมเลกุลให้เป็น ระเบียบ และทำาการจัดเรียงโมเลกุลที่เป็นระเบียบเหล่านี้ให้อยู่ในทิศทาง เดียวกับแกนตามยาวของเส้นใย กระบวนการนี้เรียกว่าการดึงยืด (stretching หรือ drawing) สมบัต ิข องเส้น ใยที่ม ีผ ลต่อ สมบัต ิผ ้า 1. สมบัต ิร ูป ลัก ษณ์ (Aesthetic properties) รูปลักษณ์ภายนอกของผ้ามักเป็นปัจจัยหนึ่ง ที่ผู้บริโภคใช้ในการตัดสิน ใจเลือกซื้อผลิตภัณฑ์สิ่งทอว่ามีความเหมาะสมต่อการนำาไปใช้หรือไม่ สมบัติเหล่านี้ได้แก่ความเป็นมันวาว การทิ้งตัวของผ้า เนื้อผ้า และสัมผัส 1.1 สมบัต ิค วามเป็น มัน วาว (Luster) สมบัตินี้เกี่ยวข้องกับปริมาณ แสงที่ถูกสะท้อนกลับโดยผิวหน้าของผ้า ซึ่งผ้าที่สะท้อนแสงกลับออกมา มากก็จะมีความเป็นมันวาวมาก สมบัตินี้ขึ้นอยู่กับลักษณะผิวหน้าของ เส้นใย ด้าย สารเติมแต่ง และโครงสร้างผ้า ผ้าไหมเป็นตัวอย่างหนึ่งที่มี ความมันวาวสูงเนื่องจากเส้นใยไหมมีผิวหน้าที่เรียบและเป็นเส้นยาวต่อ เนื่อง (filament) การเลือกระดับของความมันวาวของผ้ามักขึ้นอยู่กับ การนำาไปใช้งาน 1.2 การทิ้ง ตัว ของผ้า (Drape) สมบัติการทิ้งตัวของผ้าเกี่ยวข้องกับ ลักษณะที่ผ้าตกลงบนรูปร่างที่เป็น 3 มิติ เช่นบนร่างกาย หรือบนโต๊ะ ว่า สามารถโค้งงอตามรูปทรงที่ผ้าวางอยู่ได้มากน้อยเพียงใด ผ้าที่สามารถ ทิ้งตัวได้ดีก็จะดูอ่อนนุ่ม สามารถจัดเข้ากับรูปทรงได้ง่าย ส่วนผ้าที่ทิ้งตัว ได้น้อยมักจะมีความแข็ง สมบัติเหล่านี้ขึ้นอยู่กับความละเอียดของเส้นใย รวมทั้งลักษณะของเส้นด้ายและโครงสร้าง (การถักทอ)ของผ้าด้วย 1.3 เนื้อ ผ้า (Texture) เป็นสมบัติที่เกี่ยวข้องทั้งด้านที่มองเห็นด้วยตา และที่สัมผัสด้วยมือ ผ้าอาจจะมีผิวที่ดูเรียบ หรือขรุขระ ผ้าที่ทำาจาก เส้นใยธรรมชาติมักจะมีผิวที่ดูไม่สมำ่าเสมอเมื่อเทียบกับผ้าที่ทำาจาก เส้นใยประดิษฐ์ที่มีผิวเรียบ สมบัตของเนื้อผ้าขึ้นอยู่กับความเรียบของผิว ิ หน้าของเส้นใยและเส้นด้าย ลักษณะการถักทอผ้าและการตกแต่งสำาเร็จ ก็มีผลต่อสมบัติเนื้อผ้าเช่นกัน 1.4 สมบัต ิต ่อ ผิว สัม ผัส (Hand) สมบัติต่อผิวสัมผัสเกี่ยวข้องกับความ รู้สึกต่อผิวเมื่อสัมผัสกับเนื้อผ้า ผ้าแต่ละชนิดอาจให้ความรู้สึกเย็น อุน ่
  • 15. หนา บาง ลื่น หรือนุ่ม แตกต่างกันไป สมบัตินี้ขึ้นอยู่กับสมบัติผิวหน้า ของเส้นใย และเส้นด้าย รวมทั้งโครงสร้าง (การถักทอ) ของผ้าด้วย 2. สมบัต ิค วามทนทาน สมบัติความทนทานของผ้ามีผลต่ออายุการใช้งานของผลิตภัณฑ์สิ่ง ทอที่ทำาจากผ้านั้นๆ สมบัติความทนทานของผ้าครอบคลุมทั้งสมบัติการ ทนต่อแรงเสียดสี (abrasion resistance) ทนต่อแรงดึง (tenacity) 2.1 สมบัต ิก ารทนต่อ แรงเสีย ดสี เป็นสมบัติที่บอกถึงความ สามารถของผ้าที่ทนต่อแรงขัดถู หรือเสียดสี ที่มักเกิดขึ้นตลอดเวลาการ ใช้งานของสิ่งทอ โดยเฉพาะเสื้อผ้า นอกจากนี้ความสามารถในการพับ งอไปมาโดยไม่ขาด (flexibility) ก็เป็นสมบัติสำาคัญที่เกี่ยวข้องกับ สมบัติความทนของผ้า 2.2 สมบัต ิค วามทนต่อ แรงดึง เป็นความสามารถของผ้าในการทน ต่อแรงดึง ซึ่งความแข็งแรงนี้นอกจากจะขึ้นอยู่กับความแข็งแรงของ เส้นใยแล้ว ยังขึ้นอยู่กับลักษณะของเส้นด้ายและการขึ้นรูปเป็นผ้าอีก ด้วย 3. สมบัต ิค วามใส่ส บาย (Comfort properties) สมบัติความใส่สบายเกี่ยวข้องกับการที่ผู้สวมใส่รู้สึกเมื่อสวมใส่สิ่งทอ ภายใต้สภาวะสิ่งแวดล้อมและกิจกรรมต่างๆ สมบัตินี้มีความซับซ้อน เพราะนอกจากจะขึ้นอยู่กับสมบัติของผ้าที่เกี่ยวข้องจริงต่อความรู้สึก สบายในการสวมใส่แล้ว ยังขั้นอยู่กับอีกปัจจัยหนึ่งซึ่งสำาคัญมากคือ ความรู้สึกพึงพอใจของผู้สวมใส่ที่มีต่อผลิตภัณฑ์สิ่งทอนั้นๆ ซึ่งอาจก่อ ให้เกิดความแตกต่างหลากหลายขึ้นอยู่กับรสนิยมส่วนตัว และทัศนคติที่ ผู้สวมใส่มีต่อผลิตภัณฑ์ ในที่นี้จะขอกล่าวถึงเฉพาะปัจจัยกลุ่มแรกที่เกิด จากตัวผลิตภัณฑ์เอง 3.1 สมบัต ิก ารดูด ซับ นำ้า (Absorbency) เป็นสมบัติที่เกี่ยวข้องกับ ความสามารถของเส้นใยที่จะดูดซับโมเลกุลของนำ้าจากร่างกาย (ผิวหนัง) หรือจากอากาศรอบๆ จากที่กล่าวมาแล้วนี้ เราจะเห็นได้ว่า สมบัติของผ้าไม่ได้ขึ้นอยู่กับสมบัติของเส้นใยเพียงอย่างเดียว หากแต่ ขึ้นอยู่กับปัจจัยอื่นอีกหลายอย่าง เช่น ชนิดและโครงสร้างของเส้นด้าย กระบวนการผลิตผ้า เป็นต้น ซึ่งปัจจัยเหล่านี้มีผลต่อรูปลักษณ์ เนื้อผ้า ราคา สมรรถนะการใช้งาน รวมไปถึงการดูแลรักษา สารเติมแต่งก็มีผล ต่อสมบัตด้านสัมผัส (hand properties) รูปลักษ์และสมรรถนะการใช้ ิ งานของผ้าด้วยเช่นกัน กระบวนการผลิต เส้น ใย (Fiber manufacturing) ในที่นี้จะกล่าวถึงตัวอย่างกระบวนการผลิตเส้นใยธรรมชาติและ เส้นใยประดิษฐ์บางประเภท
  • 16. เส้น ใยธรรมชาติ 1. ฝ้า ย (cotton) ดอกฝ้ายที่แก่เต็มที่จะถูกเก็บเกี่ยวแล้วนำามาแยกสิ่งปลอมปนที่ไม่ ต้องการ (trash) ออก แล้วทำาการแยกเมล็ดออกจากเส้นใยฝ้ายดัง แสดงในรูปข้างล่าง จากนั้นทำาการสางใยและหวีเส้นใย (combing) เพื่อแยกเส้นใยที่สั้นเกินไปออก 2. ขนสัต ว์ (wool) กระบวนการผลิตเส้นใยขนสัตว์ เริ่มจากการนำาขนที่ได้จากการเล็ม จากแกะ มาทำาการแบ่งเกรดตามคุณภาพของเส้นใย จากนั้นนำาขนสัตว์ เกรดเดียวกันที่คัดได้มาผสมให้ทั่ว (uniform) นำาไปล้างไขมันและสิ่ง สกปรกด้วยสบู่ แล้วทำาการสางเส้นใย เส้นใยที่ได้จะถูกนำาไปขึ้นรูปเป็น เส้นด้ายต่อไปเรียกว่า woolen yarn แต่ถ้าภายหลังการสางเส้นใยยังมี กระบวนการหวี (combing) เพื่อกำาจัดเส้นใยสั้นออก แล้วทำาการรีดปุย ก่อนนำาไปขึ้นรูป เป็นเส้นด้าย เส้นด้ายที่ได้นี้เรียกว่า worst yarn ซึ่ง จะมีคุณภาพดีกว่า woolen yarn เนื่องจากมีปริมาณเส้นใยสั้นน้อยกว่า เส้น ใยประดิษ ฐ์ (man-made fibers) กระบวนการผลิตเส้นใยประดิษฐ์แบ่งได้เป็นสองส่วนใหญ่ๆ คือ การเตรียมโพลิเมอร์ตั้งต้น และการขึ้นรูปเป็นเส้นใย 1. การเตรีย มโพลิเ มอร์ต ั้ง ต้น
  • 17. ในการผลิตเส้นใยจากวัตถุธรรมชาติที่มีโครงสร้างโมเลกุลโพลิเมอร์ อยู่แล้ว เช่นเส้นใยเรยอน ขันตอนการเตรียมโพลิเมอร์ตั้งต้นจะประกอบ ้ ด้วยการย่อยวัตถุดิบเช่นไม้ ให้เป็นชิ้นเล็กๆโดยใช้แรงกลและสารเคมี แล้วทำาให้อยู่ในรูปของสารละลายเข้มข้น (polymer viscous) ส่วน ในกรณีที่เป็นเส้นใยสังเคราะห์ ขั้นตอนการเตรียมโพลิเมอร์ก็จะเริ่มจาก การสังเคราะห์โพลิเมอร์จากโมโนเมอร์ ซึ่งอาจเป็นแบบการรวมตัว (addition polymerization) หรือแบบกลั่น (condensation polymerization) ขึนอยู่กับชนิดของโมโนเมอร์ที่สังเคราะห์ ้ 2. การขึ้น รูป เป็น เส้น ใย (fiber spinning) กระบวนการขึ้นรูปเป็นเส้นใยสามารถทำาได้หลายวิธีขึ้นอยู่กับชนิด ของโพลิเมอร์ตั้งต้น กระบวนการขึ้นรูปพื้นฐานมี 3 แบบคือ แบบปั่น แห้ง (dry spinning) แบบปั่นเปียก (wet spinning) และแบบปั่น หลอม (melt spinning) 1. การผลิต เส้น ใยแบบปั่น แห้ง (dry spinning) เริ่มต้นโดยการเตรียมโพลิเมอร์ให้อยู่ในรูปสารละลาย แล้วฉีด ผ่านหัวฉีด (spinnerets) ทำาการระเหยตัวทำาลายส่วนที่เหลือในเส้นใย ที่ฉีดออกมาโดยการใช้ลมร้อน (hot air) เป่า จากนั้นทำาการดึงยืดเพื่อ เพิ่มความแข็งแรงของเส้นใย ตัวอย่างเส้นใยที่ขึ้นรูปโดยวิธีนี้ได้แก่ โพ ลิอะซิเทต โพลีไตรอะซิเทต และโพลีอะไครลิค 2. การผลิต เส้น ใยแบบปั่น เปีย ก (wet spinning) เริ่มจากการเตรียมสารละลายโพลิเมอร์แล้วฉีดผ่านหัวฉีด (spinnerets) ที่จุ่มอยู่ในอ่างของสารละลายตกตะกอน (coagulation bath) เส้นใยที่ตกตะกอนออกมาจากสารละลาย จะถูกดึงยืดเพื่อเพิ่ม ความแข็งแรง แล้วทำาให้แห้งโดยการใช้ลมร้อนเป่า ตัวอย่างเส้นใยที่ ผลิตโดยวิธีนี้คือ เรยอน 3. การผลิต เส้น ใยแบบปั่น หลอม (melt spinning) เริ่มจากการหลอมโพลิเมอร์ในเครื่องปั่นหลอม (melt extruder) แล้วทำาการฉีดผ่านหัวฉีด (spinnerets) เส้นใยที่ได้ที่เริ่มแข็งตัวจะถูก ดึงยืดเพื่อเพิ่มความแข็งแรง เส้นใยสังเคราะห์ส่วนใหญ่ผลิตโดยวิธีนี้ เช่น ไนลอน โพลีเอสเทอร์ โพลิเอทิลีน เป็นต้น
  • 18. รูปที่ 4 แสดงกระบวนการขึ้นรูปเส้นใยแบบปั่นเปียก (wet spinning) ที่มา : http://www.mtec.or.th/laboratory/textiles/index.php/knowlegde/18-fibers , ค้นหาวันที่ 8 ธันวาคม 2556
  • 19. ประเภทของเครื่อ งวัด เสีย ง เครื่องมือและอุปกรณ์ในการตรวจวัดเสียงมีหลายชนิด ควรเลือก ใช้ให้ถูกต้องเหมาะสมกับลักษณะเสียงที่ต้องการประเมิน ดังนี้ 1.เครื่อ งวัด ระดับ ความดัง ของเสีย ง (Sound Level Meter) เป็นเครื่องมือในการวัดระดับเสียง สามารถวัดระดับเสียงได้ตั้งแต่ 40 – 140 เดซิเบล โดยทั่วไปผู้ผลิตจะผลิตเครื่องวัดเสียงที่สามารถวัด ระดับเสียงได้ 3 ข่ายถ่วงนำ้า หนัก (Weighting Networks) คือ A ,B และ C ข่า ยที่ ใ ช้ กั น อย่ า งกว้ า งขวาง คื อ ข่ า ย A เพราะเป็ น ข่ า ยตอบ สนองต่อเสียงคล้ายคลึงกับหูคนมากที่สุด หน่วยวัดของเสียงที่วัดด้วย ข่ าย A คือ เดซิเ บลเอ (dBA)เครื่ อ งวั ด ระดั บ เสี ย งที่ ใ ช้ ใ นการประเมิ น ระดั บ เสี ย งในสถานประกอบกิ จ การตามกฏหมายอย่ า งน้ อ ยต้ อ ง ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ม า ต ร ฐ า น IEC 651 Type 2 (International electrotechnical Commission 651 type 2) หรื อ เที ย บเท่ า เช่ น ANSI S 1.4 , BS EN 60651 , AS/NZS 1259.1 เป็ น ต้ น หรื อ ดี ก ว่ า เ ช่ น IEC 804 , IEC 61672 , BS EN 60804 , AS/NZS 1259.2 เป็นต้น 2.เครื่อ งวัด เสีย งกระทบหรือ กระแทก ( Impulse or Impact Noise Meter) เสียงกระทบหรือกระแทกเป็นเสียงที่เกิดขึ้นในระยะเวลาสั้นๆ แล้ว หายไปเหมือนกับเสียงปืน เช่น เสียงตอกเสาเข็ม เครื่องวัดระดับเสียง โดยทั่วไป อาจมีความไวไม่เพียงพอในการตอบสนองต่อเสียงกระแทก จึงควรใช้เครื่องวัดเสียงกระทบหรือกระแทกโดยเฉพาะเครื่องวัดเสียง กระทบหรือกระแทก ต้องมีคุณลักษณะสอดคล้องกับมาตรฐาน IEC
  • 20. 61672 หรือ IEC 60804 หรือ ANSI S 1.43 หรือเทียบเท่า หรือดี กว่า 3.เครื่อ งวัด ปริม าณเสีย งสะสม (Noise Dosimeter) เป็นเครื่องมือที่ถูกออกแบบมาอำานวยความสะดวกในการประเมิน การสัมผัสเสียงที่มีระดับความดังเปลี่ยนแปลงไม่คงที่ตลอดระยะเวลาการ ทำางาน โดยเครื่องวัดชนิดนี้ จะทำาการบันทึกระดับเสียง ระยะเวลาที่ได้ สัมผัสที่ระดับความดังต่างๆ ตลอดเวลาที่พนักงานได้รับ พร้อมคำานวณ ปริมาณเสียงสะสมที่ผู้ปฏิบัติงานได้รับ(ค่า D มีหน่วยเป็นร้อยละ)และ หรือค่าเฉลี่ยของระดับความดังตลอดเวลา ที่เครื่องวัดนี้ทำางานเครื่องวัด ปริมาณเสียงสะสม ต้องมีคุณลักษณะสอดคล้องกับมาตรฐาน IEC 61252 หรือเทียบเท่า หรือดีกว่า 4.เครื่อ งวิเ คราะห์ค วามถี่เ สีย ง (Frequency Analyzer)
  • 21. เนื่องจากเครื่องมือวัดระดับเสียงทั่วไป ไม่สามารถบอกความดังเสียง ในช่วงความถี่ต่างๆได้ แต่เครื่อวิเคราะห์ความถี่เสียง สามารถวิเคราะห์ ความดังเสียงในแต่ละความถี่ได้ แล้วนำาผลการตรวจวัดไปใช้ประโยชน์ ในการวางแผนการควบคุมเสียง (Noise Control) เช่น การเลือกใช้ วัสดุดดซับเสียงหรือการปิดกั้นทางผ่านของเสียง และการเลือกปลั๊กอุดหู ู หรือที่ครอบหูที่เหมาะสมได้ เป็นต้นเครื่องวิเคราะห์ความถี่เสียงต้องมี คุณลักษณะสอดคล้องกับมาตรฐาน IEC 61260 หรือเทียบเท่า หรือดี กว่านอกจากในส่วนของเครื่องมือในการตรวจวัดเสียงแล้ว อุปกรณ์ ประกอบการตรวจวัดเสียงก็มีความสำาคัญ เพื่อให้ได้ค่าการวัดที่ถูกต้อง แม่นยำา อุป กรณ์ป ระกอบการตรวจวัด เสีย ง 1. อุปกรณ์ปรับความถูกต้องของเครื่องวัดเสียง (Noise Calibrator)
  • 22. เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการปรับเทียบความถูกต้องของเครื่องวัดเสียง โดยปฏิบัติตามวิธีการที่ระบุในคู่มือการใช้งานของบริษัทผู้ผลิต ก่อน การใช้งานทุกครั้งอุปกรณ์ปรับความถูกต้องของเครื่องวัดเสียง ต้องมี คุณลักษณะสอดคล้องกบมาตรฐาน IEC 60942 หรือ เทียบเท่า หรือดี กว่า 2. ฟองนำ้ากันลม (wind Screen) กระแสลมแรงมีผลทำาให้การวัดระดับเสียงเกิดความคลาดเคลื่อน จากความเป็นจริง ดังนั้นขณะตรวจวัดระดับเสียงในบริเวณที่มีลมพัด เช่น ใกล้กับพัดลม ต้องสวมฟองนำ้ากันลมที่ไมโครโฟนทุกครั้งและตลอด เวลาการตรวจวัด ฟองนำ้านี้นอกจากจะป้องกันกระแสลมแล้วยังสามารถ ป้องกันฝุ่น หรือละอองนำ้าหรือสารเคมีอื่นไม่ให้เกิดความเสียหายต่อ ไมโครโฟรของเครื่องวัดระดับเสียงด้วย 3. ขาตั้ง (Tripod)
  • 23. มีลักษณะเหมือนขาตั้งกล้องถ่ายรูป สำาหรับใช้ในกรณีเครื่องวัด ระดับเสียงมีขนาดใหญ่หรือต้องใช้ระยะเวลานานในการตรวจวัดแต่ละ จุด ข้อ ควรระวัง ในการใช้เ ครื่อ งวัด เสีย ง เครื่องวัดเสียงเป็นเครื่องมือที่ประกอบด้วยวงจรไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ มีความบอบบางต่อแรงกระแทก ดังนั้นจะต้องระมัดระวัง ในการใช้งานไม่ให้ตกหล่น หรือกระแทกกับสิ่งหนึ่งสิ่งใดการนำาไปใช้ งานในภาคสนาม ต้องบรรจุเครื่องมือในกระเป๋าบรรจุเครื่องวัดระดับ เสียงโดยเฉพาะ หลังจากใช้งานแล้วต้องเช็ดทำาความสะอาดและถอด แบตเตอรี่ออกทุกครั้ง ป้องกันแบตเตอรี่เสื่อมสภาพหรือมีของเหลวไหล จากแบตเตอรี่ทำาให้วงจรไฟฟ้าภายในเครื่องวัดเสียงเสียหายนอกจากนี้ การเก็บเครื่องวัดเสียงจะต้องไม่เก็บไว้ในที่มีอุณหภูมิสูง และควรศึกษา รายละเอียดของเครื่องวัดระดับเสียงในคู่มือการใช้เครื่องมือ เพื่อให้ ทราบข้อจำากัดในการใช้งาน เช่น ข้อจำากัดในเรื่องของอุณหภูมิ และ ความชื้น เป็นต้น ที่มา : http://www.engineerthailand.com/soundmeter.html , ค้นหาวันที่ 8 ธันวาคม 2556 วัส ดุก ัน เสีย ง -ดูด ซับ เสีย ง -แนวทางการศึกษา : เพื่อให้รู้ลักษณะและการนำาวัสดุดูดซับเสียง ไปใช้ใช้งานให้เหมาะสม กับประเภทและความต้องการของอาคาร
  • 24. -วัตถุประสงค์ : ต้องการเรียนรู้ลักษณะต่างๆและวิธีการนำาไปใช้ ของวัสดุดูดซับเสียง - เหตุผล : เพราะว่าในบางโครงการ เช่น Project Design ที่ ทำาอยู่นี้ จำาเป็นต้องนำาเข้ามาใช้เนื่องจากเป็นห้องพักอยู่รวมกันและ site อยู่ติดถนนซึ่งต้องมีเสียงรบกวนจากภายนอกอยู่แล้ว ดังนั้น การนำาวัสดุดูดซับ-กันเสียงเข้ามาใช้ช่วยเพิ่มความพึงพอใจให้ผู้อยู่ อาศัย วัสดุดดซับเสียงที่ใช้กับอยู่ทั่วไปมีหลายลักษณะ แต่แบ่งออกได้ ู เป็น 3 ลักษณะ คือ 1) วัสดุดูดซับเสียงที่โปร่งเบาเป็นฝอยเป็นรูพรุน (อาทิ ฉนวนใย แก้ว ฉนวนใยหิน ฉนวนเซลลูโลส โฟมประเภทต่างๆ) คุณสมบัติก็แตก ต่างกันไป ตามความแข็งแรง ความหนาแน่น และการใช้งาน เหมาะ สำาหรับสียงที่มีความถี่สูง
  • 25. 2)วัสดุดดซับเสียงที่มีผิวปรุเป็นรู (อาทิ แผ่นดูดซับเสียงยิบซับ ู บอร์ดที่มีรู แผ่นชานอ้อยแผ่นไม้คอร์ก) สำาหรับเพิ่มพื้นที่ผิวในการรับ เสียง 3)วัสดุดดซับเสียงที่เป็นเยื่อแผ่น (อาทิ ผนังที่มีหลายชั้นกระจก ู สองชั้น หรือการติดผ้าม่านให้กับผนัง/ช่องเปิด) สำาหรับเสียงที่มีความถี่ ตำ่า วัสดุดดซับเสียงที่พื้นผิวมาก ที่ช่วยลดเสียงสะท้อน (อาทิ ผนังที่มี ู การออกแบบ เป็นช่องๆ รูปแบบต่างๆ) ซึ่งลักษณะการใช้งานก็แตกต่าง กันไปตามการใช้งาน อาจมีหลายลักษณะประกอบกันไปเพื่อ ประสิทธิภาพการควบคุมเสียงที่เหมาะสม อาจจะหุ้มฉนวนใยแก้วด้วย แผ่นอลูมิเนียมฟอยล์เพื่อป้องกันความชื้น ที่จะทำาให้คุณสมบัติการ ป้องกันเสียงลดลง หรือจะใช้วัสดุที่มีพื้นผิวมากประกอบกับวัสดุที่เป็นรู พรุน ที่มา : http://jagkhapong.wordpress.com/2009/11/12/%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%AA %E0%B8%94%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%AA %E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%87-%E0%B8%94%E0%B8%B9%E0%B8%94%E0%B8%8B
  • 26. %E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%B5/ , ค้นหาวันที่ 18 ธันวาคม 2556 บทที่ 3 วิธ ีด ำา เนิน งาน วัส ดุ/อุป กรณ์ท ี่ใ ช้ 1. ลำาโพง จำานวน 1 ชุด 2. กรอบไม้สี่เหลี่ยมสำาหรับขึงผ้า 1 อัน จำานวน 3. กล่องลังเบียร์ขนาด 23*32*27 ซม. 3 กล่อง จำานวน 4. กระดาษหนังสือพิมพ์ ฉบับ จำานวน 20 5. เครื่องปั่น จำานวน 1 ตัว 6. กาว TOA จำานวน 2 กระปุก 7. เส้นใยไหมข้าวโพด กิโลกรัม จำานวน 1 8. เส้นใยมะพร้าว กิโลกรัม จำานวน 1 9. เส้นใยบวบ 10. กะละมัง 1 ใบ 11. ถุงมือ 12. เครื่องวัดระดับความดังของเสียง จำานวน 1 เครื่อง จำานวน 1 กิโลกรัม จำานวน จำานวน 3 คู่
  • 27. วิธ ีด ำา เนิน งาน 1. ฉีกกระดาษหนังสือพิมพ์เป็นชิ้นเล็กๆ เติมนำ้าใส่ลงไปปั่นในเครื่อง ปั่น 2. สับไหมข้าวโพดและใส่ลงในเครื่องปั่น ปั่นให้เข้ากัน 3. เทใส่กรอบไม้สี่เหลี่ยมสำาหรับทำาแผ่นซับเสียงนำาไปตากแดดรอจน แห้ง 4. นำาแผ่นซับเสียงที่ได้จากไหมข้าวโพดไปติดใส่ในกล่องลังเบียร์ 5. ใส่ลำาโพงเข้าไปในกล่องขนาด 23*32*27 ซม.ใบที่ 1 ปิดฝาก ล่อง และวัดความดังเสียงภายนอก กล่อง 6. ฉีกกระดาษหนังสือพิมพ์เป็นชิ้นเล็กๆ เติมนำ้าใส่ลงไปปั่นในเครื่อง ปั่น 7. สับกากมะพร้าวและใส่ลงในเครื่องปั่น ปั่นให้เข้ากัน 8. เทใส่กรอบไม้สี่เหลี่ยมสำาหรับทำาแผ่นซับเสียงนำาไปตากแดดรอจน แห้ง 9. นำาแผ่นซับเสียงที่ได้จากกากมะพร้าวไปติดใส่ในกล่องลังเบียร์ 10. ใส่ลำาโพงเข้าไปในกล่องขนาด 23*32*27 ซม. ใบที่ 2 ปิด ฝากล่อง และวัดความดังเสียงภายนอกกล่อง 11. ฉีกกระดาษหนังสือพิมพ์เป็นชิ้นเล็กๆ เติมนำ้าใส่ลงไปปั่นใน เครื่องปั่น 12. สับใยบวบและใส่ลงในเครื่องปั่น ปั่นให้เข้ากัน 13. เทใส่กรอบไม้สี่เหลี่ยมสำาหรับทำาแผ่นซับเสียงนำาไปตากแดด รอจนแห้ง 14. นำาแผ่นซับเสียงที่ได้จากใยบวบไปติดใส่ในกล่องลังเบียร์ 15. ใส่ลำาโพงเข้าไปในกล่องขนาด 23*32*27 ซม.ใบที่ 3 ปิด ฝากล่อง และวัดความดังเสียงภายนอกกล่อง
  • 28. บทที่ 4 ผลการทดลอง ตารางที่ 1: ตารางแสดงชนิดของเส้นใยที่มีผลต่อความดังของเสียง ภายนอกกล่อง ชนิด ของ เส้น ใย ความดัง ของเสีย งภายนอกกล่อ ง (dB) ครั้ง ครั้ง ที่1 ครั้ง ที่3 เฉลี่ย ที่2
  • 29. เส้นใย มะพร้าว 76 74 75 75 เส้นใยบวบ 77 76 77 76.66 เส้นใยไหม ข้าวโพด 82 85 83 83.33 จากตารางเมื่อนำาเส้นใยมะพร้าวไปทดสอบความดังโดยการนำา ลำาโพงไว้ในกล่องและวัดค่าความดังภายนอกกล่องค่าเฉลี่ยที่ได้คือ 75 dB ส่วนเส้นใยบวบวัดค่าความดังภายนอกกล่องค่าเฉลี่ยคือ 76.66 dB และเส้นใยไหมข้าวโพดวัดค่าความดังภายนอกกล่องค่าเฉลี่ยคือ 83.33 dB สรุปได้ว่าเส้นใยมะพร้าวซับเสียงได้ดีกว่าเส้นใยบวบและเส้นใยไหม ข้าวโพดตามลำาดับ บทที่ 5 สรุป และอภิป รายผลการศึก ษา สรุป ผลการศึก ษา
  • 30. 1.จากการศึกษาการทดสอบประสิทธิภาพของเส้นใยแต่ละชนิดที่มี ผลต่อความดังของเสียง พบว่าแผ่นซับเสียงที่ทำาจากเส้นใยมะพร้าวมี คุณภาพดีสุดรองลงมาคือเส้นใยบวบและเส้นใยไหมข้าวโพด อภิป รายผลการศึก ษา 1.จากการศึกษาการทดสอบประสิทธิภาพของเส้นใยแต่ละชนิดที่มี ผลต่อความดังของเสียง พบว่าแผ่นซับเสียงที่ทำาจากเส้นใยมะพร้าวมี คุณภาพดีสุดรองลงมาคือเส้นใยบวบและเส้นใยไหมข้าวโพด สามารถ อภิปรายได้ดังนี้ แบบใยมะพร้าวดีที่สุดเพราะเป็นเส้นใยที่หยุ่นเหนียว แข็งแรง ทนทานและมีลักษณะเป็นรูพรุนที่เป็นเซลล์เปิดอยู่ภายใน เส้นใย เมื่อคลื่นเสียงตกกระทบที่ผิวของวัสดุจะเกิดการดูดกลืนผ่าน เข้าไปตามช่องว่างรูพรุนของเส้นใยและเกิดการสลายพลังงานเสียงให้ เปลี่ยนรูปพลังงานเป็นพลังงานความร้อนส่งผลให้เสียงที่ส่งผ่านเส้นใย มะพร้าวออกมานั้นเบาลง ข้อ เสนอแนะ ในขั้นตอนการดำาเนินงานการทำาแผ่นซับเสียงโดยใช้ใยจาก มะพร้าวต้องใช้เวลานานเนื่องจากใยมะพร้าวสามารถดูดซับนำ้าได้ดีและ ละเอียดจึงใช้เวลาในการแห้งมากกว่า บรรณานุก รม
  • 31. กรมควบคุมมลพิษ. (28 มกราคม 2555). เครื่องมือวัดเสียง. 18 ธันวาคม 2556, จาก http://www.engineerthailand.com/soundmeter.html JAGKHAPONG'S BLOG. (12 พฤศจิกายน 2552). วัสดุกัน เสียง-ดูดซับเสียง. 18 ธันวาคม 2556, จาก http://jagkhapong.wordpress.com/2009/11/12/%E0% B8%A7% ASTV ผู้จัดการออนไลน์. (16 กุมภาพันธ์ 2554). มทร.ธัญบุรี โชว์แผ่นดูดซับเสียงใยมะพร้าว รักษ์สิ่งแวดล้อม.18 ธันวาคม 2556. จาก http://www2.manager.co.th/CyberBiz/ViewNews.aspx? NewsID=9540000018295
  • 34. กระดาษหนังสือพิมพ์ ลำาโพง,เครื่องวัดระดับความดังเสียง กะละมัง วิธ ีด ำา เนิน งาน 1.ฉีกกระดาษหนังสือพิมพ์เป็นชิ้นเล็ก ปั่น 3.สับไหมข้าวโพดแล้วนำาไปปั่น 2.นำากระดาษที่ฉีกไปปั่นในเครื่อง