SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
รายวิชา การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนตามแนว
เศรษฐกิจพอเพียง
รหัสวิชา 2533310
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
สัปดาห์ที่ 5-6
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
การบริหารเศรษฐกิจส่วนรวม เศรษฐกิจรายสาขาการเมืองการปกครอง
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม วิถีชีวิตและวัฒนธรรม
▪ ตัวอย่างการประยุกต์เศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในด้านต่างๆ
▪ 1) การประยุกต์แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงในการศึกษา ซึ่งเป็ นการวางพื้นฐานแป
ลูกจิตสานึกทั้ง
▪ ด้าน คุณธรรม จริยธรรม การรู้จักใช้ประโยชน์จากความรู้ที่ดารงอยู่ในภายใน
สังคม การทาความเข้าใจต่อลักษณะทุนทางสังคม ภูมิปัญญาที่เป็ นประโยชน์
ภายในชุมชนและท้องถิ่น
การศึกษา
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็ นการดาเนินการจัดการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโดยใช้
กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research: PAR) มี 4 ขั้นตอนคือ ขั้นที่ 1 วางแผน (Planning) ผู้บริหารและผู้มี
ส่วนเกี่ยวข้องร่วมกันกาหนดนโยบาย วางแผนการจัดการเรียนรู้ โดยครูผู้สอนสร้างสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผู้บริหาร
วางระบบการนิเทศภายใน ขอความร่วมมือกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ขั้นที่ 2 ปฏิบัติการ (Action) ครูผู้สอนดาเนินการจัดการเรียนรู้ ขั้นที่ 3 สังเกตการณ์
(Observation) ด้วยกระบวนการนิเทศภายในและภายนอก ขั้นที่ 4 สะท้อนผลปรับปรุงแก้ไข (Reflection) ด้วยการประชุมผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง นาข้อมูล
จากการตรวจสอบสะท้อนผลแล้วปรับปรุงแก้ไขแล้วร่วมกันวางแผนดาเนินการในวงรอบปฏิบัติการต่อไป ผลจากการ ดาเนินการจัดการเรียนรู้ตามแนว
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนพบว่า ทั้ง 3 โรงเรียนรวมมีสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นบูรณาการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จานวน 59 หลักสูตร
จานวนครูที่ร่วมโครงการ 59 คน จานวนแผนการจัดการเรียนรู้ 593 แผน จานวนนักเรียนที่ได้รับการพัฒนา 3,076 คน ผลที่เกิดขึ้นกับครูพบว่า ครูที่
เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจมากขึ้น สามารถจัดทาสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เขียนแผนการจัดการเรียนรู้โดย
ใช้วิธีการสอนในหลายรูปแบบ และพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้ทรัพยากรใกล้ตัว และมีอยู่ในท้องถิ่น สามารถจัดการเรียนรู้เหมาะสมกับท้องถิ่น
และมีความรู้ในการนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการในการจัดการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ตนรับผิดชอบมีความรู้ความเข้าใจด้านการ
สร้างสื่อในการจัดการเรียนรู้ที่เป็ นนวัตกรรมใหม่ๆมาใช้ และ การทาวิจัยในชั้นเรียน มีความพึงพอใจในการเข้ารับการอบรมอยู่ในระดับมากที่สุด และผล
ที่เกิดขึ้นกับนักเรียนพบว่า นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการเรียน และมีความสนใจในการเรียนมากขึ้น นักเรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้งสามารถนาความรู้ด้านปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับใช้ในชีวิตประจาวัน และมีความรู้
ความเข้าใจ ตระหนัก หวงแหนภูมิปัญญา แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่นของตนเอง เห็นคุณค่าของการดารงชีวิตตามหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียงบนพื้นฐานของภูมิปัญญาท้องถิ่น
การประยุกต์แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงในการศึกษา ซึ่งเป็ นการวางพื้นฐานแปลูกจิตสานึกทั้ง
ด้าน คุณธรรม จริยธรรม การรู้จักใช้ประโยชน์จากความรู้ที่ดารงอยู่ในภายในสังคม การทาความ
เข้าใจต่อลักษณะทุนทางสังคม ภูมิปัญญาที่เป็ นประโยชน์ภายในชุมชนและท้องถิ่น ทั้งนี้การจัดทา
แผนและขั้นตอนการปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียน สามารถสะท้อนให้เห็นถึงสิ่งดังที่
ได้กล่าวข้างต้น
การบรรจุเนื้อหาแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในระดับมัธยมปลายและระดับอุดมศึกษา
มีลักษณะการผสมผสานเข้าไปในเนื้อหาวิชาของแต่ละสาขาเพียงผิวเผิน เนื่องจากเน้นวิชาชีพ
การศึกษาในระดับอุดมศึกษาจึงเป็ นการปลูกฝังระดับจิตสานึกที่ไม่หนักแน่นนัก อย่างไรก็ตาม สถาบัน
ในระดับอุดมศึกษาบางแห่งได้เปิ ดหลักสูตรที่นาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็ นแกนหลักของ
สาขาวิชา เช่น มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ซึ่งได้ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็ นแกนหลักใน
สาขาวิชาการบริหารศาสตร์ระดับปริญญาตรี
การประยุกต์แนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการพัฒนาเศรษฐกิจ
ส่วนรวม ถูกจัดกระทาขึ้นโดยบรรจุเข้าไว้เป็ นแนวนโยบายเพื่อนาไปสู่การ
ปฏิบัติ ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติฉบับที่ 11 (2555 – 2559) ทั้งนี้
แผนพัฒนาได้วางแนวทางสาหรับการสร้างภูมิคุ้มกัน ให้กับระบบเศรษฐกิจ
และสังคมที่อาจเกิดจากความเสี่ยงของการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว อันเป็ น
ผลจากปัจจัยภายนอกที่ไม่อาจควบคุมได้ ทั้งยังคานึงถึงการปลูกฝั่งและ
เชื่อมต่อวัฒนธรรมทางสังคมเพื่อเป็ นกลไกในการพัฒนาไปสู่ความมั่นคง
และความมีเสถียรภาพ
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ภายใต้
สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงที่จะมีผลต่อทิศทางการพัฒนาประเทศในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ สะท้อนให้เห็นว่าประเทศไทยยัง
ต้องเผชิญกระแสการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในและภายนอกประเทศที่ผันผวน ซับซ้อนและคาดการณ์ผลกระทบได้ยาก แม้ว่าในภาพรวม
สังคมไทยมีภูมิคุ้มกันเพิ่มขึ้น และมีภูมิคุ้มกันที่แข็งแกร่งแตกต่างกันไปทั้งในระดับปัจเจก ครอบครัว ชุมชนและสังคม แต่ก็ยังไม่เพียง
พอที่จะรองรับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงในอนาคตได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้ประเทศต้องเผชิญกับความเสี่ยงในหลายมิติ
โดยเฉพาะความเสี่ยงจากการบริหารภาครัฐที่อ่อนแอ โครงสร้างเศรษฐกิจที่ไม่สามารถรองรับการเติบโตอย่างยั่งยืน ทั้งความเสี่ยงจาก
ความเสื่อมถอยของค่านิยมที่ดีงามในสังคมไทย ความเสื่อมโทรมของฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และความเสี่ยงด้าน
ความมั่นคงของประเทศ จึงจาเป็นต้องนาภูมิคุ้มกันที่มีอยู่พร้อมทั้งสร้างภูมิคุ้มกันในประเทศให้เข้มแข็งขึ้นภายใต้หลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง โดยเสริมสร้างทุนที่มีอยู่ของประเทศให้เข้มแข็งทั้งทุนทางสังคม ทุนทางเศรษฐกิจ และทุนทางทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม รวมทั้งใช้ประโยชน์อย่างมีประสิทธิภาพและเป็นธรรมเพื่อเตรียมพร้อมให้ประเทศสามารถปรับตัวรองรับผลกระทบ
จากการเปลี่ยนแปลงในอนาคตได้อย่างยั่งยืน การพัฒนาประเทศในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ จึงมีแนวคิดที่มีความต่อเนื่องจาก
แนวคิดของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๘-๑๐ โดยยังคงยึดหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” และ “คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา”
กรณีศึกษาการนาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่11 (2555 – 2559)
รวมทั้ง “สร้างสมดุลการพัฒนา” ในทุกมิติ และขับเคลื่อนให้บังเกิดผลในทางปฏิบัติที่ชัดเจนยิ่งขึ้นในทุกระดับ เพื่อให้การ
พัฒนาและบริหารประเทศเป็นไปบนทางสายกลาง เชื่อมโยงทุกมิติของการพัฒนาอย่างบูรณาการ ทั้งคน สังคม เศรษฐกิจ
สิ่งแวดล้อมและการเมือง โดยมีการวิเคราะห์อย่าง “มีเหตุผล” และใช้หลัก “ความพอประมาณ” ให้เกิดความสมดุล
ระหว่างมิติทางวัตถุกับจิตใจของคนในชาติ ความสมดุล ระหว่างความสามารถในการพึ่งตนเอง กับการแข่งขันในเวทีโลก
ความสมดุลระหว่างสังคมชนบทกับเมือง เตรียม “ระบบภูมิคุ้มกัน” ด้วยการบริหารจัดการความเสี่ยงให้เพียงพอ พร้อมรับ
ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายในประเทศ ทั้งนี้ การขับเคลื่อนกระบวนการพัฒนาทุกขั้นตอนต้องใช้
“ความรอบรู้” ในการพัฒนาด้านต่างๆ ด้วยความรอบคอบ เป็นไปตามลาดับขั้นตอน และสอดคล้องกับวิถีชีวิตของ
สังคมไทย รวมทั้งเสริมสร้างศีลธรรมและสานึกใน “คุณธรรม” จริยธรรมในการปฏิบัติหน้าที่และดาเนินชีวิตด้วย “ความ
เพียร”จะเป็นภูมิคุ้มกันที่ดีให้พร้อมเผชิญการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้งในระดับปัจเจก ครอบครัว ชุมชน สังคม และ
ประเทศชาติการกาหนดทิศทางและยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศในระยะของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ จึงต้องเร่งสร้าง
ภูมิคุ้มกันเพิ่มขึ้นในมิติการพัฒนาด้านต่างๆ เพื่อป้ องกันปัจจัยเสี่ยงที่สังคมไทยต้องเผชิญ และเสริมรากฐานของประเทศ
ด้านต่างๆ ให้เข้มแข็ง ควบคู่ไปกับการให้ความสาคัญกับการพัฒนาคนและสังคมไทยให้มีคุณภาพ ก้าวทันต่อการ
เปลี่ยนแปลง มีโอกาสเข้าถึงทรัพยากรและได้รับประโยชน์จากการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมอย่างเป็นธรรม รวมทั้งสร้าง
โอกาสทางเศรษฐกิจด้วยฐานความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม และความคิดสร้างสรรค์บนพื้นฐานการผลิตและการบริโภคที่
เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมนาไปสู่การพัฒนาประเทศที่มั่นคงและยั่งยืน
กรณีศึกษาการนาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่11 (2555 – 2559)
• การประยุกต์แนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการพัฒนาเศรษฐกิจรายสาขาให้สอดรับกับ
การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมโดยรวม โดยมีพื้นฐานของการสร้างภูมิคุ้มกันแก่ระบบเศรษฐกิจ
สังคมทั้งในระดับฐานรากไปจนถึงระดับเศรษฐกิจและสังคมในระดับภูมิภาค และรวมถึงการดารง
รักษาสภาพแวด ล้อมทางสังคม ทรัพยากรธรรมชาติรวมทั้งระบบนิเวศน์ ให้สามารถนามาใช้
ประโยชน์อย่างมีเสถียรภาพ
• การพัฒนาให้เกิดความยั่งยืนไม่ได้เป็ นประเด็นสาคัญ ของแนวคิดดังกล่าว แต่การกล่าวถึง
ความยั่งยืนในที่นี้คือ การสร้างความมั่นคงและความมีเสถียรภาพให้กับระบบเศรษฐกิจและสังคม
ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของปัจจัยต่างๆ จากภายนอก
กรณีศึกษาการนาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที11
(2555 – 2559) รายสาขา ทั้งการพัฒนาคนเศรษฐกิจและทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาเศรษฐกิจรายสาขา
๑. การพัฒนาคนและสังคมไทยสู่สังคมคุณภาพ มุ่งสร้างภูมิคุ้มกันตั้งแต่ระดับปัจเจก ครอบครัว และชุมชนสู่สังคมที่มีคุณภาพ สามารถจัดการความเสี่ยง
และปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลง รวมทั้งมีส่วนร่วมในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองของประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประกอบด้วย
๑.๑ การสร้างความเป็นธรรมในสังคม ให้ความสาคัญกับการสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคมให้ทุกคนในสังคมไทยสามารถเข้าถึงบริการทาง
สังคมที่มีคุณภาพ มีโอกาสเข้าถึงทรัพยากรและโครงสร้างพื้นฐานในการสร้างอาชีพและรายได้ที่มั่นคง สามารถเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมอย่างเสมอภาค
และสามารถดารงชีวิตอยู่ได้อย่างมีศักดิ์ศรีภายใต้ระบบบริหารจัดการภาครัฐที่โปร่งใส ยึดประโยชน์ส่วนรวม และเปิดโอกาสการมีส่วนร่วมของประชาชน
ทุกภาคส่วนในกระบวนการพัฒนาประเทศ
๑.๒ การพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต ให้ความสาคัญกับการพัฒนาคุณภาพคนไทยทุกช่วงวัยให้มีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง มีความ
พร้อมทั้งด้านร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง มีสติปัญญาที่รอบรู้ และมีจิตใจที่สานึกในคุณธรรม จริยธรรม มีความเพียร มีโอกาสและสามารถเรียนรู้ตลอดชีวิต
ควบคู่กับการเสริมสร้างสภาพแวดล้อมในสังคมและสถาบันทางสังคมให้เข้มแข็งและเอื้อต่อการพัฒนาคน
กรณีศึกษาการนาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที11 (2555 – 2559)
รายสาขา ทั้งการพัฒนาคนเศรษฐกิจและทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
๒. การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่ทิศทางการเติบโตในรูปแบบใหม่ ที่มุ่งพัฒนาเศรษฐกิจภายในประเทศให้เข้มแข็ง เพื่อลดการพึ่งพาปัจจัยภายนอก โดยการสร้างความเข้มแข็งให้กับผู้ประกอบการ
ในภาคการผลิตและบริการ โดยเฉพาะวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ผู้ประกอบการหนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ และผู้ประกอบการในภาคเกษตร ให้ใช้ภูมิปัญญา วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
นวัตกรรม และความคิดสร้างสรรค์ เพื่อยกระดับสู่การผลิตและการให้บริการบนฐานความรู้ และที่เป็ นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ตลอดจนให้มีการเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาคต่างๆ บนพื้นฐานการพึ่งพา
ซึ่งกันและกัน รวมทั้งสร้างภูมิคุ้มกันต่อกระแสการเปลี่ยนแปลงจากภายนอก ประกอบด้วย
๒.๑ การสร้างความเข้มแข็งภาคเกษตร ความมั่นคงของอาหารและพลังงาน ให้ความสาคัญกับการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่เป็ นฐานการผลิตภาคเกษตรให้เข้มแข็งและสามารถใช้ประโยชน์
ได้อย่างยั่งยืน เพื่อให้ภาคเกษตรเป็ นฐานการผลิตอาหารและพลังงานที่มีความมั่นคง โดยการเพิ่มประสิทธิภาพและศักยภาพการผลิตภาคเกษตร การสร้างความมั่นคงในอาชีพและรายได้ให้แก่
เกษตรกรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ขณะเดียวกัน ให้ความสาคัญกับการสร้างความมั่นคงด้านอาหารและพลังงานชีวภาพทั้งในระดับครัวเรือน ชุมชน และประเทศ เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้
ภาคเกษตรสามารถพึ่งตนเองและเผชิญกับปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ได้อย่างมั่นคง
๒.๒ การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่การเติบโตอย่างมีคุณภาพและยั่งยืน ให้ความสาคัญกับการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจบนฐานความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ และภูมิปัญญา ภายใต้ปัจจัยสนับสนุนที่
เอื้ออานวยและระบบการแข่งขันที่เป็ นธรรม มุ่งปรับโครงสร้างการค้าและการลงทุนให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดทั้งภายในและต่างประเทศ สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสาขาบริการที่มีศักยภาพ
พัฒนาภาคอุตสาหกรรมสู่อุตสาหกรรมฐานความรู้เชิงสร้างสรรค์และเป็ นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ ควบคู่ไปกับการปฏิรูปกฎหมายและกฎ ระเบียบต่างๆ และ
บริหารจัดการเศรษฐกิจส่วนรวมอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้เป็ นฐานเศรษฐกิจของประเทศที่เข้มแข็งและขยายตัวอย่างมีคุณภาพ
๒.๓ การสร้างความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาคเพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม ให้ความสาคัญกับการเชื่อมโยงการพัฒนาเศรษฐกิจภายในประเทศกับความร่วมมือระหว่างประเทศใน
ภูมิภาคต่างๆ บนพื้นฐานของการพึ่งพาซึ่งกันและกัน และมีภูมิคุ้มกันต่อกระแสการเปลี่ยนแปลงจากภายนอก ให้ความสาคัญกับการพัฒนาความร่วมมือแบบหุ้นส่วนการพัฒนาที่ยั่งยืนและยึด
ผลประโยชน์ร่วมกันทั้งในระดับอนุภูมิภาคและภูมิภาค สร้างปฏิสัมพันธ์ในความร่วมมือระหว่างประเทศอย่างสร้างสรรค์ เตรียมความพร้อมของประเทศไทยในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน และ
เสริมสร้างความเข้มแข็งของภาคีการพัฒนาภายในประเทศตั้งแต่ระดับชุมชนท้องถิ่นให้ก้าวทันการเปลี่ยนแปลง
๓. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ให้ความสาคัญกับการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้เพียงพอต่อการรักษาสมดุลของระบบนิเวศบนพื้นฐานของการ
มีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแล รักษาและใช้ประโยชน์ การปรับกระบวนทัศน์การพัฒนาและขับเคลื่อนประเทศไปสู่การเป็ นเศรษฐกิจและสังคมคาร์บอนต่าและเป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ควบคู่ไปกับ
การเตรียมความพร้อมรองรับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศและภัยพิบัติทางธรรมชาติ สร้างภูมิคุ้มกันด้านการค้าจากเงื่อนไขด้านสิ่งแวดล้อมและเพิ่มบทบาทของไทยในเวทีประชาคมโลกเพื่อให้สังคมมี
ภูมิคุ้มกัน สามารถสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจและยกระดับคุณภาพชีวิตให้คนในสังคมไทย
แนวทางในการประยุกต์เศรษฐกิจพอเพียงในระดับรายสาขา เป็ นการวางแนวทางให้ตอบสนอง
แนวนโยบายในภาพรวม ทั้งนี้เพื่อลดปัญหาที่เกิดจากความล้มเหลวของแนวทางการพัฒนาตามแนวคิด
กระแสหลัก เมื่อพิจารณาแนวนโยบายดังกล่าวจะเห็นว่าแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงสามาถนามา
ประยุกต์ให้เกิดความสอดคล้องต่อแนวทางการพัฒนาตามแนวคิดกระแสหลักได้เป็ นอย่างดี ทั้งนี้
ความสาเร็จและความล้มเหลวของการนานโยบายไปปฏิบัติ ขึ้นอยู่กับความสามารถในการปลูกฝังและ
จิตสานึกในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้เกี่ยวข้องทั้งในระดับรัฐบาล ข้าราชการ ผู้มีส่วนได้เสีย
รวมทั้งประชาชนการประยุกต์แนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปในด้านการเมืองการปกครอง มีวัตถุประสงค์
เพื่อสนองตอบต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมรวมทั้งการพัฒนา การดารงรักษา
ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม ลดปัญหาความขัดแย้งทางเศรษฐกิจสังคม โดยนาหลักพื้นฐาน
สาคัญของแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์เป็ นแนวทางเพื่อดึงกลไกทางวัฒนธรรม
และทางสังคมมาเป็ นเครื่องมือผลักดันให้เกิดระบบการเมือง การบริหารและ/หรือการปกครอง
ภายใต้หลักทศพิธราชธรรม
กรณีศึกษาการนาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในด้านการเมืองการปกครองบ้านพุคาจาน จ. สระบุรี
การเมืองการปกครอง
“เศรษฐกิจพอเพียง เป็ นปรัชญาชี้ถึงแนวการดารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนา
และบริหารประเทศให้ดาเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ
ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็ นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน
ทั้งนี้จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่ง ในการนาวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการดาเนินการทุกขั้นตอน และขณะ
เดียวกัน จะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับให้มีสานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต
และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดาเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลง
อย่างรวดเร็วและกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็ นอย่างดี”
กรณีศึกษาบ้านพุคาจาน จะเห็นว่าเป็ นแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อสนองตอบเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งจะต้องมีศูนย์กลางอยู่ที่ “ตัวคน” เป็ นสาคัญ กล่าวคือ คนจะต้องมี
ชีวิตความเป็ นอยู่ที่ดีขึ้น และอยู่ในสังคมที่เป็ นธรรม การแสดงให้เห็นถึงพลังของบุคคลในชุมชน ตัวอย่างที่ดีงามของกลุ่มผู้นา “ที่พอมีอันจะกิน” ที่ช่วยเสริมสร้างพลังชุมชนให้
เข้มแข็งยิ่งขึ้น แนวทางของเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาคนต่าง ก็เน้นการให้คนเป็ นศูนย์กลางของการพัฒนา คนต้อง การมีครอบครัวและชีวิตชุมชนที่ดี
การติดต่อสัมพันธ์กับผู้อื่น การมีส่วนร่วมในฐานะสมาชิกของชุมชนนาไปสู่การมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างกว้างขวาง หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงขององค์พระประมุข
ป้ องกันไม่ให้เกิดความไม่เท่าเทียมกันของรายได้ ป้ องกันการเสื่อมโทรมของสภาพแวดล้อม ทาให้สังคมไม่ล่มสลาย และประชาชนยังมีความสามารถในการควบคุมวิถีชีวิตของ
ตนเอง การเรียนรู้จากการปฏิบัติและการแบ่งปัน การใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการ
แก้ไขปัญหาโดยใช้ทรัพยากรและความรู้ในท้องถิ่น การทางานกับธรรมชาติโดยใช้หลักพอประมาณ การพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชน การส่งเสริมกิจกรรมสร้างรายได้ที่มีความ
ยั่งยืนในระยะยาว และการพัฒนาศักยภาพให้ชุมชนสามารถช่วยเหลือตนเองได้ ซึ่งถ้าทุกชุมชนสามารถดาเนินตามแนวความคิดและหลักปฏิบัติของชาวบ้านพุคาจานแล้ว ทุก
ชุมชนก็จะเข้มแข็งการซื้อสิทธิขายเสียง การคอร์รัปชันจะลดลง เมื่อคนในชุมชนมีความสุข มีกินมีใช้ก็ไม่ต้องไปเป็ นลูกหนี้นักการเมืองท้องถิ่น ก็จะเกิดพลังอานาจของชุมชน
และพัฒนาศักยภาพชุมชนให้เข้มแข็ง เพื่อเป็ นฐานรากของการพัฒนาประเทศต่อไป

More Related Content

Similar to การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5

เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงDaungthip Pansomboon
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKruwaw-ru Kan
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงWongduean Phumnoi
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...freelance
 
4. development plane
4. development plane4. development plane
4. development planechanok
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptpronprom11
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมjirapom
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงENooilada
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิตรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิตWichai Likitponrak
 
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015Silpakorn University
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..Pornthip Tanamai
 
ทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบ
ทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบ
ทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบChalermpon Dondee
 

Similar to การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5 (20)

เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
 
4. development plane
4. development plane4. development plane
4. development plane
 
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
 
002
002002
002
 
แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11
แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11
แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Microsoft word สัปดาห์ที่6
Microsoft word   สัปดาห์ที่6Microsoft word   สัปดาห์ที่6
Microsoft word สัปดาห์ที่6
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิตรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
 
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
มรนว ค่านิยม 12 ประการ
มรนว ค่านิยม 12 ประการมรนว ค่านิยม 12 ประการ
มรนว ค่านิยม 12 ประการ
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
 
ทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบ
ทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบ
ทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบ
 

More from ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์

มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนมคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 

More from ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์ (20)

มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนมคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
 
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
 
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
 
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการองค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
 
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัยมคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
 
Microsoft word สารบัญ
Microsoft word   สารบัญMicrosoft word   สารบัญ
Microsoft word สารบัญ
 
Microsoft word สัปดาห์ที่15
Microsoft word   สัปดาห์ที่15Microsoft word   สัปดาห์ที่15
Microsoft word สัปดาห์ที่15
 
Microsoft word สัปดาห์ที่14
Microsoft word   สัปดาห์ที่14Microsoft word   สัปดาห์ที่14
Microsoft word สัปดาห์ที่14
 
Microsoft word สัปดาห์ที่13
Microsoft word   สัปดาห์ที่13Microsoft word   สัปดาห์ที่13
Microsoft word สัปดาห์ที่13
 
Microsoft word สัปดาห์ที่12
Microsoft word   สัปดาห์ที่12Microsoft word   สัปดาห์ที่12
Microsoft word สัปดาห์ที่12
 
Microsoft word สัปดาห์ที่10
Microsoft word   สัปดาห์ที่10Microsoft word   สัปดาห์ที่10
Microsoft word สัปดาห์ที่10
 
Microsoft word สัปดาห์ที่8
Microsoft word   สัปดาห์ที่8Microsoft word   สัปดาห์ที่8
Microsoft word สัปดาห์ที่8
 
Microsoft word สัปดาห์ที่1
Microsoft word   สัปดาห์ที่1Microsoft word   สัปดาห์ที่1
Microsoft word สัปดาห์ที่1
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 11
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 11Microsoft word   สัปดาห์ที่ 11
Microsoft word สัปดาห์ที่ 11
 

การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5

  • 3. การบริหารเศรษฐกิจส่วนรวม เศรษฐกิจรายสาขาการเมืองการปกครอง การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม วิถีชีวิตและวัฒนธรรม ▪ ตัวอย่างการประยุกต์เศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในด้านต่างๆ ▪ 1) การประยุกต์แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงในการศึกษา ซึ่งเป็ นการวางพื้นฐานแป ลูกจิตสานึกทั้ง ▪ ด้าน คุณธรรม จริยธรรม การรู้จักใช้ประโยชน์จากความรู้ที่ดารงอยู่ในภายใน สังคม การทาความเข้าใจต่อลักษณะทุนทางสังคม ภูมิปัญญาที่เป็ นประโยชน์ ภายในชุมชนและท้องถิ่น
  • 4. การศึกษา การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็ นการดาเนินการจัดการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโดยใช้ กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research: PAR) มี 4 ขั้นตอนคือ ขั้นที่ 1 วางแผน (Planning) ผู้บริหารและผู้มี ส่วนเกี่ยวข้องร่วมกันกาหนดนโยบาย วางแผนการจัดการเรียนรู้ โดยครูผู้สอนสร้างสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผู้บริหาร วางระบบการนิเทศภายใน ขอความร่วมมือกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ขั้นที่ 2 ปฏิบัติการ (Action) ครูผู้สอนดาเนินการจัดการเรียนรู้ ขั้นที่ 3 สังเกตการณ์ (Observation) ด้วยกระบวนการนิเทศภายในและภายนอก ขั้นที่ 4 สะท้อนผลปรับปรุงแก้ไข (Reflection) ด้วยการประชุมผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง นาข้อมูล จากการตรวจสอบสะท้อนผลแล้วปรับปรุงแก้ไขแล้วร่วมกันวางแผนดาเนินการในวงรอบปฏิบัติการต่อไป ผลจากการ ดาเนินการจัดการเรียนรู้ตามแนว ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนพบว่า ทั้ง 3 โรงเรียนรวมมีสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นบูรณาการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จานวน 59 หลักสูตร จานวนครูที่ร่วมโครงการ 59 คน จานวนแผนการจัดการเรียนรู้ 593 แผน จานวนนักเรียนที่ได้รับการพัฒนา 3,076 คน ผลที่เกิดขึ้นกับครูพบว่า ครูที่ เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจมากขึ้น สามารถจัดทาสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เขียนแผนการจัดการเรียนรู้โดย ใช้วิธีการสอนในหลายรูปแบบ และพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้ทรัพยากรใกล้ตัว และมีอยู่ในท้องถิ่น สามารถจัดการเรียนรู้เหมาะสมกับท้องถิ่น และมีความรู้ในการนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการในการจัดการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ตนรับผิดชอบมีความรู้ความเข้าใจด้านการ สร้างสื่อในการจัดการเรียนรู้ที่เป็ นนวัตกรรมใหม่ๆมาใช้ และ การทาวิจัยในชั้นเรียน มีความพึงพอใจในการเข้ารับการอบรมอยู่ในระดับมากที่สุด และผล ที่เกิดขึ้นกับนักเรียนพบว่า นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการเรียน และมีความสนใจในการเรียนมากขึ้น นักเรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้งสามารถนาความรู้ด้านปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับใช้ในชีวิตประจาวัน และมีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนัก หวงแหนภูมิปัญญา แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่นของตนเอง เห็นคุณค่าของการดารงชีวิตตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงบนพื้นฐานของภูมิปัญญาท้องถิ่น
  • 5. การประยุกต์แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงในการศึกษา ซึ่งเป็ นการวางพื้นฐานแปลูกจิตสานึกทั้ง ด้าน คุณธรรม จริยธรรม การรู้จักใช้ประโยชน์จากความรู้ที่ดารงอยู่ในภายในสังคม การทาความ เข้าใจต่อลักษณะทุนทางสังคม ภูมิปัญญาที่เป็ นประโยชน์ภายในชุมชนและท้องถิ่น ทั้งนี้การจัดทา แผนและขั้นตอนการปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียน สามารถสะท้อนให้เห็นถึงสิ่งดังที่ ได้กล่าวข้างต้น การบรรจุเนื้อหาแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในระดับมัธยมปลายและระดับอุดมศึกษา มีลักษณะการผสมผสานเข้าไปในเนื้อหาวิชาของแต่ละสาขาเพียงผิวเผิน เนื่องจากเน้นวิชาชีพ การศึกษาในระดับอุดมศึกษาจึงเป็ นการปลูกฝังระดับจิตสานึกที่ไม่หนักแน่นนัก อย่างไรก็ตาม สถาบัน ในระดับอุดมศึกษาบางแห่งได้เปิ ดหลักสูตรที่นาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็ นแกนหลักของ สาขาวิชา เช่น มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ซึ่งได้ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็ นแกนหลักใน สาขาวิชาการบริหารศาสตร์ระดับปริญญาตรี
  • 6. การประยุกต์แนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการพัฒนาเศรษฐกิจ ส่วนรวม ถูกจัดกระทาขึ้นโดยบรรจุเข้าไว้เป็ นแนวนโยบายเพื่อนาไปสู่การ ปฏิบัติ ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติฉบับที่ 11 (2555 – 2559) ทั้งนี้ แผนพัฒนาได้วางแนวทางสาหรับการสร้างภูมิคุ้มกัน ให้กับระบบเศรษฐกิจ และสังคมที่อาจเกิดจากความเสี่ยงของการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว อันเป็ น ผลจากปัจจัยภายนอกที่ไม่อาจควบคุมได้ ทั้งยังคานึงถึงการปลูกฝั่งและ เชื่อมต่อวัฒนธรรมทางสังคมเพื่อเป็ นกลไกในการพัฒนาไปสู่ความมั่นคง และความมีเสถียรภาพ
  • 7. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ภายใต้ สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงที่จะมีผลต่อทิศทางการพัฒนาประเทศในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ สะท้อนให้เห็นว่าประเทศไทยยัง ต้องเผชิญกระแสการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในและภายนอกประเทศที่ผันผวน ซับซ้อนและคาดการณ์ผลกระทบได้ยาก แม้ว่าในภาพรวม สังคมไทยมีภูมิคุ้มกันเพิ่มขึ้น และมีภูมิคุ้มกันที่แข็งแกร่งแตกต่างกันไปทั้งในระดับปัจเจก ครอบครัว ชุมชนและสังคม แต่ก็ยังไม่เพียง พอที่จะรองรับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงในอนาคตได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้ประเทศต้องเผชิญกับความเสี่ยงในหลายมิติ โดยเฉพาะความเสี่ยงจากการบริหารภาครัฐที่อ่อนแอ โครงสร้างเศรษฐกิจที่ไม่สามารถรองรับการเติบโตอย่างยั่งยืน ทั้งความเสี่ยงจาก ความเสื่อมถอยของค่านิยมที่ดีงามในสังคมไทย ความเสื่อมโทรมของฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และความเสี่ยงด้าน ความมั่นคงของประเทศ จึงจาเป็นต้องนาภูมิคุ้มกันที่มีอยู่พร้อมทั้งสร้างภูมิคุ้มกันในประเทศให้เข้มแข็งขึ้นภายใต้หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง โดยเสริมสร้างทุนที่มีอยู่ของประเทศให้เข้มแข็งทั้งทุนทางสังคม ทุนทางเศรษฐกิจ และทุนทางทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม รวมทั้งใช้ประโยชน์อย่างมีประสิทธิภาพและเป็นธรรมเพื่อเตรียมพร้อมให้ประเทศสามารถปรับตัวรองรับผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงในอนาคตได้อย่างยั่งยืน การพัฒนาประเทศในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ จึงมีแนวคิดที่มีความต่อเนื่องจาก แนวคิดของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๘-๑๐ โดยยังคงยึดหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” และ “คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา” กรณีศึกษาการนาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่11 (2555 – 2559)
  • 8. รวมทั้ง “สร้างสมดุลการพัฒนา” ในทุกมิติ และขับเคลื่อนให้บังเกิดผลในทางปฏิบัติที่ชัดเจนยิ่งขึ้นในทุกระดับ เพื่อให้การ พัฒนาและบริหารประเทศเป็นไปบนทางสายกลาง เชื่อมโยงทุกมิติของการพัฒนาอย่างบูรณาการ ทั้งคน สังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อมและการเมือง โดยมีการวิเคราะห์อย่าง “มีเหตุผล” และใช้หลัก “ความพอประมาณ” ให้เกิดความสมดุล ระหว่างมิติทางวัตถุกับจิตใจของคนในชาติ ความสมดุล ระหว่างความสามารถในการพึ่งตนเอง กับการแข่งขันในเวทีโลก ความสมดุลระหว่างสังคมชนบทกับเมือง เตรียม “ระบบภูมิคุ้มกัน” ด้วยการบริหารจัดการความเสี่ยงให้เพียงพอ พร้อมรับ ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายในประเทศ ทั้งนี้ การขับเคลื่อนกระบวนการพัฒนาทุกขั้นตอนต้องใช้ “ความรอบรู้” ในการพัฒนาด้านต่างๆ ด้วยความรอบคอบ เป็นไปตามลาดับขั้นตอน และสอดคล้องกับวิถีชีวิตของ สังคมไทย รวมทั้งเสริมสร้างศีลธรรมและสานึกใน “คุณธรรม” จริยธรรมในการปฏิบัติหน้าที่และดาเนินชีวิตด้วย “ความ เพียร”จะเป็นภูมิคุ้มกันที่ดีให้พร้อมเผชิญการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้งในระดับปัจเจก ครอบครัว ชุมชน สังคม และ ประเทศชาติการกาหนดทิศทางและยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศในระยะของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ จึงต้องเร่งสร้าง ภูมิคุ้มกันเพิ่มขึ้นในมิติการพัฒนาด้านต่างๆ เพื่อป้ องกันปัจจัยเสี่ยงที่สังคมไทยต้องเผชิญ และเสริมรากฐานของประเทศ ด้านต่างๆ ให้เข้มแข็ง ควบคู่ไปกับการให้ความสาคัญกับการพัฒนาคนและสังคมไทยให้มีคุณภาพ ก้าวทันต่อการ เปลี่ยนแปลง มีโอกาสเข้าถึงทรัพยากรและได้รับประโยชน์จากการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมอย่างเป็นธรรม รวมทั้งสร้าง โอกาสทางเศรษฐกิจด้วยฐานความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม และความคิดสร้างสรรค์บนพื้นฐานการผลิตและการบริโภคที่ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมนาไปสู่การพัฒนาประเทศที่มั่นคงและยั่งยืน กรณีศึกษาการนาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่11 (2555 – 2559)
  • 9. • การประยุกต์แนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการพัฒนาเศรษฐกิจรายสาขาให้สอดรับกับ การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมโดยรวม โดยมีพื้นฐานของการสร้างภูมิคุ้มกันแก่ระบบเศรษฐกิจ สังคมทั้งในระดับฐานรากไปจนถึงระดับเศรษฐกิจและสังคมในระดับภูมิภาค และรวมถึงการดารง รักษาสภาพแวด ล้อมทางสังคม ทรัพยากรธรรมชาติรวมทั้งระบบนิเวศน์ ให้สามารถนามาใช้ ประโยชน์อย่างมีเสถียรภาพ • การพัฒนาให้เกิดความยั่งยืนไม่ได้เป็ นประเด็นสาคัญ ของแนวคิดดังกล่าว แต่การกล่าวถึง ความยั่งยืนในที่นี้คือ การสร้างความมั่นคงและความมีเสถียรภาพให้กับระบบเศรษฐกิจและสังคม ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของปัจจัยต่างๆ จากภายนอก
  • 10. กรณีศึกษาการนาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที11 (2555 – 2559) รายสาขา ทั้งการพัฒนาคนเศรษฐกิจและทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การพัฒนาเศรษฐกิจรายสาขา ๑. การพัฒนาคนและสังคมไทยสู่สังคมคุณภาพ มุ่งสร้างภูมิคุ้มกันตั้งแต่ระดับปัจเจก ครอบครัว และชุมชนสู่สังคมที่มีคุณภาพ สามารถจัดการความเสี่ยง และปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลง รวมทั้งมีส่วนร่วมในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองของประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประกอบด้วย ๑.๑ การสร้างความเป็นธรรมในสังคม ให้ความสาคัญกับการสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคมให้ทุกคนในสังคมไทยสามารถเข้าถึงบริการทาง สังคมที่มีคุณภาพ มีโอกาสเข้าถึงทรัพยากรและโครงสร้างพื้นฐานในการสร้างอาชีพและรายได้ที่มั่นคง สามารถเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมอย่างเสมอภาค และสามารถดารงชีวิตอยู่ได้อย่างมีศักดิ์ศรีภายใต้ระบบบริหารจัดการภาครัฐที่โปร่งใส ยึดประโยชน์ส่วนรวม และเปิดโอกาสการมีส่วนร่วมของประชาชน ทุกภาคส่วนในกระบวนการพัฒนาประเทศ ๑.๒ การพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต ให้ความสาคัญกับการพัฒนาคุณภาพคนไทยทุกช่วงวัยให้มีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง มีความ พร้อมทั้งด้านร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง มีสติปัญญาที่รอบรู้ และมีจิตใจที่สานึกในคุณธรรม จริยธรรม มีความเพียร มีโอกาสและสามารถเรียนรู้ตลอดชีวิต ควบคู่กับการเสริมสร้างสภาพแวดล้อมในสังคมและสถาบันทางสังคมให้เข้มแข็งและเอื้อต่อการพัฒนาคน
  • 11. กรณีศึกษาการนาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที11 (2555 – 2559) รายสาขา ทั้งการพัฒนาคนเศรษฐกิจและทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๒. การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่ทิศทางการเติบโตในรูปแบบใหม่ ที่มุ่งพัฒนาเศรษฐกิจภายในประเทศให้เข้มแข็ง เพื่อลดการพึ่งพาปัจจัยภายนอก โดยการสร้างความเข้มแข็งให้กับผู้ประกอบการ ในภาคการผลิตและบริการ โดยเฉพาะวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ผู้ประกอบการหนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ และผู้ประกอบการในภาคเกษตร ให้ใช้ภูมิปัญญา วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัตกรรม และความคิดสร้างสรรค์ เพื่อยกระดับสู่การผลิตและการให้บริการบนฐานความรู้ และที่เป็ นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ตลอดจนให้มีการเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาคต่างๆ บนพื้นฐานการพึ่งพา ซึ่งกันและกัน รวมทั้งสร้างภูมิคุ้มกันต่อกระแสการเปลี่ยนแปลงจากภายนอก ประกอบด้วย ๒.๑ การสร้างความเข้มแข็งภาคเกษตร ความมั่นคงของอาหารและพลังงาน ให้ความสาคัญกับการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่เป็ นฐานการผลิตภาคเกษตรให้เข้มแข็งและสามารถใช้ประโยชน์ ได้อย่างยั่งยืน เพื่อให้ภาคเกษตรเป็ นฐานการผลิตอาหารและพลังงานที่มีความมั่นคง โดยการเพิ่มประสิทธิภาพและศักยภาพการผลิตภาคเกษตร การสร้างความมั่นคงในอาชีพและรายได้ให้แก่ เกษตรกรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ขณะเดียวกัน ให้ความสาคัญกับการสร้างความมั่นคงด้านอาหารและพลังงานชีวภาพทั้งในระดับครัวเรือน ชุมชน และประเทศ เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้ ภาคเกษตรสามารถพึ่งตนเองและเผชิญกับปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ได้อย่างมั่นคง ๒.๒ การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่การเติบโตอย่างมีคุณภาพและยั่งยืน ให้ความสาคัญกับการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจบนฐานความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ และภูมิปัญญา ภายใต้ปัจจัยสนับสนุนที่ เอื้ออานวยและระบบการแข่งขันที่เป็ นธรรม มุ่งปรับโครงสร้างการค้าและการลงทุนให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดทั้งภายในและต่างประเทศ สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสาขาบริการที่มีศักยภาพ พัฒนาภาคอุตสาหกรรมสู่อุตสาหกรรมฐานความรู้เชิงสร้างสรรค์และเป็ นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ ควบคู่ไปกับการปฏิรูปกฎหมายและกฎ ระเบียบต่างๆ และ บริหารจัดการเศรษฐกิจส่วนรวมอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้เป็ นฐานเศรษฐกิจของประเทศที่เข้มแข็งและขยายตัวอย่างมีคุณภาพ ๒.๓ การสร้างความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาคเพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม ให้ความสาคัญกับการเชื่อมโยงการพัฒนาเศรษฐกิจภายในประเทศกับความร่วมมือระหว่างประเทศใน ภูมิภาคต่างๆ บนพื้นฐานของการพึ่งพาซึ่งกันและกัน และมีภูมิคุ้มกันต่อกระแสการเปลี่ยนแปลงจากภายนอก ให้ความสาคัญกับการพัฒนาความร่วมมือแบบหุ้นส่วนการพัฒนาที่ยั่งยืนและยึด ผลประโยชน์ร่วมกันทั้งในระดับอนุภูมิภาคและภูมิภาค สร้างปฏิสัมพันธ์ในความร่วมมือระหว่างประเทศอย่างสร้างสรรค์ เตรียมความพร้อมของประเทศไทยในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน และ เสริมสร้างความเข้มแข็งของภาคีการพัฒนาภายในประเทศตั้งแต่ระดับชุมชนท้องถิ่นให้ก้าวทันการเปลี่ยนแปลง ๓. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ให้ความสาคัญกับการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้เพียงพอต่อการรักษาสมดุลของระบบนิเวศบนพื้นฐานของการ มีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแล รักษาและใช้ประโยชน์ การปรับกระบวนทัศน์การพัฒนาและขับเคลื่อนประเทศไปสู่การเป็ นเศรษฐกิจและสังคมคาร์บอนต่าและเป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ควบคู่ไปกับ การเตรียมความพร้อมรองรับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศและภัยพิบัติทางธรรมชาติ สร้างภูมิคุ้มกันด้านการค้าจากเงื่อนไขด้านสิ่งแวดล้อมและเพิ่มบทบาทของไทยในเวทีประชาคมโลกเพื่อให้สังคมมี ภูมิคุ้มกัน สามารถสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจและยกระดับคุณภาพชีวิตให้คนในสังคมไทย
  • 12. แนวทางในการประยุกต์เศรษฐกิจพอเพียงในระดับรายสาขา เป็ นการวางแนวทางให้ตอบสนอง แนวนโยบายในภาพรวม ทั้งนี้เพื่อลดปัญหาที่เกิดจากความล้มเหลวของแนวทางการพัฒนาตามแนวคิด กระแสหลัก เมื่อพิจารณาแนวนโยบายดังกล่าวจะเห็นว่าแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงสามาถนามา ประยุกต์ให้เกิดความสอดคล้องต่อแนวทางการพัฒนาตามแนวคิดกระแสหลักได้เป็ นอย่างดี ทั้งนี้ ความสาเร็จและความล้มเหลวของการนานโยบายไปปฏิบัติ ขึ้นอยู่กับความสามารถในการปลูกฝังและ จิตสานึกในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้เกี่ยวข้องทั้งในระดับรัฐบาล ข้าราชการ ผู้มีส่วนได้เสีย รวมทั้งประชาชนการประยุกต์แนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปในด้านการเมืองการปกครอง มีวัตถุประสงค์ เพื่อสนองตอบต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมรวมทั้งการพัฒนา การดารงรักษา ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม ลดปัญหาความขัดแย้งทางเศรษฐกิจสังคม โดยนาหลักพื้นฐาน สาคัญของแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์เป็ นแนวทางเพื่อดึงกลไกทางวัฒนธรรม และทางสังคมมาเป็ นเครื่องมือผลักดันให้เกิดระบบการเมือง การบริหารและ/หรือการปกครอง ภายใต้หลักทศพิธราชธรรม
  • 13. กรณีศึกษาการนาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในด้านการเมืองการปกครองบ้านพุคาจาน จ. สระบุรี การเมืองการปกครอง “เศรษฐกิจพอเพียง เป็ นปรัชญาชี้ถึงแนวการดารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนา และบริหารประเทศให้ดาเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็ นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่ง ในการนาวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการดาเนินการทุกขั้นตอน และขณะ เดียวกัน จะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับให้มีสานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดาเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็วและกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็ นอย่างดี” กรณีศึกษาบ้านพุคาจาน จะเห็นว่าเป็ นแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อสนองตอบเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งจะต้องมีศูนย์กลางอยู่ที่ “ตัวคน” เป็ นสาคัญ กล่าวคือ คนจะต้องมี ชีวิตความเป็ นอยู่ที่ดีขึ้น และอยู่ในสังคมที่เป็ นธรรม การแสดงให้เห็นถึงพลังของบุคคลในชุมชน ตัวอย่างที่ดีงามของกลุ่มผู้นา “ที่พอมีอันจะกิน” ที่ช่วยเสริมสร้างพลังชุมชนให้ เข้มแข็งยิ่งขึ้น แนวทางของเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาคนต่าง ก็เน้นการให้คนเป็ นศูนย์กลางของการพัฒนา คนต้อง การมีครอบครัวและชีวิตชุมชนที่ดี การติดต่อสัมพันธ์กับผู้อื่น การมีส่วนร่วมในฐานะสมาชิกของชุมชนนาไปสู่การมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างกว้างขวาง หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงขององค์พระประมุข ป้ องกันไม่ให้เกิดความไม่เท่าเทียมกันของรายได้ ป้ องกันการเสื่อมโทรมของสภาพแวดล้อม ทาให้สังคมไม่ล่มสลาย และประชาชนยังมีความสามารถในการควบคุมวิถีชีวิตของ ตนเอง การเรียนรู้จากการปฏิบัติและการแบ่งปัน การใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการ แก้ไขปัญหาโดยใช้ทรัพยากรและความรู้ในท้องถิ่น การทางานกับธรรมชาติโดยใช้หลักพอประมาณ การพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชน การส่งเสริมกิจกรรมสร้างรายได้ที่มีความ ยั่งยืนในระยะยาว และการพัฒนาศักยภาพให้ชุมชนสามารถช่วยเหลือตนเองได้ ซึ่งถ้าทุกชุมชนสามารถดาเนินตามแนวความคิดและหลักปฏิบัติของชาวบ้านพุคาจานแล้ว ทุก ชุมชนก็จะเข้มแข็งการซื้อสิทธิขายเสียง การคอร์รัปชันจะลดลง เมื่อคนในชุมชนมีความสุข มีกินมีใช้ก็ไม่ต้องไปเป็ นลูกหนี้นักการเมืองท้องถิ่น ก็จะเกิดพลังอานาจของชุมชน และพัฒนาศักยภาพชุมชนให้เข้มแข็ง เพื่อเป็ นฐานรากของการพัฒนาประเทศต่อไป