SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Group หมูหมี
GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ดัชนีชี้วัดการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศไทยโดยใช้แนวคิด I. Serageldin
กลุ่มหมูหมี
54210912 นายณัฐดนัย ธรรมประเสริฐดี
54210922 นายพงษ์ศักดิ์ เสาร์แดน
54210958 นายณัฐพล อมรเวชยกุล
54210947 นายสุวัฒน์ เอื้อวีระวัฒน์
54210969 นายพลชัย เสวกราชสวัสดิ์
54210930 นางสาวพิม เลิศทนุพงศ์
54210921 นายพงศสุภัค แดงสอน
54210959 นายณัฐวุฒิ เอี่ยมอ่อน
54210977 นายศศิพงษ์ สุนทรวิภาต
Group หมูหมี
เรื่อง ดัชนีชี้วัดการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศไทยโดยใช้แนวคิด I. Serageldin
1. การสรุปสาระสาคัญจากหนังสือ
ที่ ม า แ ล ะ ค ว า ม ส า คั ญ ข อ ง ห นั ง สื อ เ ล่ ม นี้ คื อ
ให้ความสาคัญกับการเติบโตทางด้านเศรษฐกิจเป็นหลัก โดยใช้ดัชนีชี้วัดที่ใช้กันทั่วไปคือ
ผลิตภัณฑ์มวลภายในประเทศ (Gross Domestic Product: GDP)และ ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ
(Gross National Product: GNP)
ซึ่งดัชนีชี้วัดที่ได้กล่าวสร้างขึ้นมาเพื่อพิจารณาถึงมูลค่าสินค้าและบริการในช่วงระยะเวลาหนึ่ง
ซึ่งเป็นที่ยอมรับว่าเป็นดัชนีชี้วัดถึงการมีชีวิตที่ดี (Well-being)
อย่างไรก็ตามการพิจารณาวัดระดับการพัฒนาประเทศนั้นไม่สามารถชี้วัดเศรษฐกิจด้านเดียวคง
ไ ม่ เ พี ย ง พ อ
แต่กระบวนการบางอย่างในการผลิตนั้นวัดได้ไม่ครบถ้วนเพราะกิจกรรมการผลิตบางอย่างไม่ได้ผ่านระบ
บตลาดหรือเป็นกิจกรรมที่ผิดกฎหมายซึ่งไม่ได้วัดออกมาในรูปของตัวชี้วัดด้านเศรษฐกิจอีกทั้งความควา
มแตกต่างระหว่างสินค้าที่ผลิตในระบบบัญ ชีประชาชาติของแต่ละประเทศก็แตกต่างกัน
ป ร ะ ช า ก ร ข อ ง แ ต่ ล ะ ป ร ะ เ ท ศ ก็ ไ ด้ รั บ ค ว า ม พ อ ใ จ ที่ แ ต ก ต่ า ง กั น
ที่สาคัญ ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมนั้นเป็นผลสืบเนื่องจากกระบวนการผลิตต่างๆ
ใ น ก ร ร ม วิ ธี ก า ร ผ ลิ ต สิ น ค้ า ที่ ไ ม่ เ ห ม า ะ ส ม ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด ม ล ภ า ว ะ
ซึ่งการวัดและตีค่าผลกระทบเหล่านี้สามรถทาได้ยากเป็นผลให้การนาตัวชี้วัดทางเศรษฐกิจเพียงอย่างเดี
ยวมาพิจารณาบ่งชี้ระดับการพัฒนาประเทศอาจยังไม่ถูกต้องสมบูรณ์มากนัก
แต่การศึกษาและวิจัยในอีกด้านหนึ่งกลับพบว่าผลการพัฒนาไม่สอดคล้องกับดัชนีชี้วัดการพัฒน
า ด้ า น อื่ น ๆ เ ช่ น จ า น ว น อ า ช ญ า ก ร ร ม ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น
จานวนพื้นที่ป่าไม้ที่ลดลงแสดงให้เห็นว่าการใช้ดัชนีชี้วัดการพัฒนาด้านเศรษฐกิจเพียงด้านเดียวนั้นไม่ส
า ม า ร ถ ชี้ วั ด ไ ด้ ว่ า ป ร ะ เ ท ศ มี ก า ร พั ฒ น า
ทั้งที่ผ่านมาการเร่งการขยายตัวทางเศรษฐกิจในเชิงปริมาณโดยการขยายตัวทางการผลิตอย่างรวดเร็วทั้
งในด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรมและบริการ พบว่าได้ก่อปัญหามากกว่าจะเกิดการพัฒนา เช่น
การอพยพถิ่นฐานย้ายถิ่นของประชากรจากเขตชนบทเข้าสู่พื้นที่เมืองใหญ่ ก่อให้เกิดปัญหาสังคมตามา
อ า ทิ ปั ญ ห า ค ว า ม แ อ อั ด ใน ชุ ม ช น ร ว ม ถึ ง ส ภ า พ แ ว ด ล้อ ม ม ล พิ ษ ต่ า ง ๆ
ซึ่งจะนาไปสู่ความขัดแย้งทางสังคมความไม่เท่าเทียมกันในการครอบครองทรัพยากรระหว่างคนในสังคม
เมื่อพิจารณาจากสถานะของประเทศซึ่งไม่ใช่เป็นเพียงแค่หน่วยเศรษฐกิจที่มีหน้าที่ทากิจกรรมท
างเศรษฐกิจ แต่ประเทศยังมีหน้าที่อื่นอีก เช่น การบริโภค การผลิต เพื่อแสวงหาเงินตรา
และกาไรสูงสุดเพียงเท่านั้น แต่ประเทศยังมีหน้าที่อื่นอีก เช่น การสร้างความสุขให้กับประชาชนในสังคม
แ ล ะ ก า ร รั ก ษ า ดู แ ล สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ใ ห้ เ ห ม า ะ ส ม
Group หมูหมี
ซึ่งห มาย ถึง การข ย าย ห รือเพิ่มศั กย ภ าพ ในการน าไป สู่สถานภ าพ ที่ดีกว่ าม นุ ษ ย์
ซึ่ ง เ ป็ น ก า ร เ พิ่ ม ขึ้ น ข อ ง ปั จ จั ย ท า ง ด้ า น ป ริ ม า ณ เ ท่ า นั้ น
ฉะนั้นการวัดระดับ การพัฒ นาป ระเท ศด้วยการใช้ผลิตภัณ ฑ์มวลรว มภายในป ระเท ศ
หรือผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ เป็นเครื่องชี้วัดการพัฒนาเพียงด้านเดียวอาจยังไม่ครอบคลุม
หากแต่ควรวิเคราะห์ถึงปัจจัยด้านสังคมและด้านสิ่งแวดล้อมด้วย เพราะการพัฒนาในหลายๆ
ด้านประกอบกันนั้น ก่อให้เกิดเป็นแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน
ซึ่งจากการพัฒนาในรูปแบบดังกล่าวทาให้เกิดกระแสความต้องการการพัฒนาที่ยั่งยืน หมายถึง
รูปแบบการพัฒนาที่ตอบสนองต่อความต้องการของคนในรุ่นปัจจุบันโดยไม่ทาให้คนรุ่นต่อไปในอนาคตต้
องประนีประนอมยอมลดทอนความสามารถในการที่จะตอบสนองค วามต้องการของตน
โดย ที่ ก ารพัฒ นาที่ ยั่ง ยืนจะต้อง มีลัก ษณ ะบู รณ าการ คือท าให้เกิ ดเป็ นอ ง ค์รว ม
โดยองค์ประกอบต้องมาประสานกันครบองค์แลมีดุลยภาพหรือทาให้กิจกรรมของมนุษย์สอดคล้องกับกฎ
เ ก ณ ฑ์ ข อ ง ธ ร ร ม ช า ติ
ดังนั้นแนวคิดแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนคงจะไม่ตอบสนองการพัฒนาด้านเศรษฐกิจเพียงด้านเดียวเท่านั้
น ยั ง ต้ อ ง มี ก า ร พั ฒ น า ท า ง ด้ า น สั ง ค ม แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ด้ ว ย
ฉะนั้นจึงจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการศึกษารูปแบบการพัฒนาที่ยั่งยืนนี้อย่างเป็นระบบและสร้างเครื่องมื
อชี้วัดการพัฒนาที่ยั่งยืนเพื่อนามาประเมินได้ว่าประเทศได้พัฒนาอย่างยั่งยืนหรือไม่
ดังนั้นหนังสือเล่มนี้จึงสนใจที่จะศึกษา พัฒนา และรวบรวมตัวชี้วัดเชิงเดี่ยวที่มีอ ยู่
เพื่อจะได้เป็นประโยชน์ในการดาเนินการกาหนดทิศทางกรอบนโยบายการพัฒนาในระดับประเทศ
และจะช่วยในการวางแผนพัฒนาประเทศในรูปแบบที่สอดคล้องกับการพัฒนาที่ยั่งยืนต่อไปได้
ซึ่ง ห นัง สือเล่มนี้มีวัตถุป ระสงค์คือ เพื่อคัดเลือกตัว ชี้วัดการพัฒ นาเศ รษ ฐกิจ
เพื่อคัดเลือกตัวชี้วัดการพัฒ นาท างสังคม เพื่อคัดเลือกตัวชี้วัดการพัฒ นาสิ่งแวดล้อม
เ พื่ อ จั ด ท า ดั ช นี ชี้ วั ด ก า ร พั ฒ น า ที่ ยั่ ง ยื น ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย
ซึ่งขอบเขตจะกระทาอยู่ภายใต้กรอบแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนโดยการทาให้เกิดดุลยาภาพในประเด็นกา
รพัฒนา 3 มิติ คือ มิติการพัฒนาเศรษฐกิจ มิติการพัฒนาสังคม และมิติการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
แนว คิด การพัฒ นาที่ ยั่งยืน และท ฤษ ฏีเศ รษฐศ าสต ร์กับ การพัฒ นาที่ ยั่งยื น
เป็นการศึกษาแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนจาเป็นจะต้องศึกษาทาความเข้าใจความหมายของคาสองคาคือ
คาว่า “การพัฒนา” และคาว่า ”ยั่งยืน” เป็นอันดับแรก อันเนื่องมาจากเป็นแนวคิดที่เป็นพื้นฐานที่สาคัญ
ที่ จ ะ น า ไ ป สู่ แ น ว คิ ด ก า ร พั ฒ น า ที่ ยั่ ง ยื น ไ ด้ อ ย่ า ง เ ข้ า ใ จ
ถ้าหากไม่สามารถทาความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของการพัฒนาและยั่งยืนได้อย่างเข้าใจแล้วก็จาทา
ให้เกิดปัญหาเมื่อนาเข้าไปสู่การศึกษาเพื่อทาความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนได้
สาหรับความหมายของการพัฒนาก็มีหลายความหมายตามมุมมองที่มุ่งเน้นการพัฒนาในแต่ละด้าน
Group หมูหมี
เมื่ อได้ศึกษ าถึง ค ว ามห ม าย ข อง การพัฒ นาไป แล้ว นั้นต่ อไป จะได้กล่าว ถึง
ความหมายของคาว่ายั่งยืน โดยได้รวบรวมไว้ได้ดังต่อไปนี้คาว่า ยั่งยืน มีการให้คานิยามอยู่ 3 แนวทาง
คือ
ก า ร พั ฒ น า คื อ ก ร ะ บ ว น ก า ร ห ล า ย มิ ติ
ซึ่งประกอบด้วยการเปลี่ยนแปลงในด้านโครงสร้างทางสังคม ท่าทีของประชาชน สถาบันต่างๆ ของชาติ
ก า ร เ ร่ ง รั ด ค ว า ม เ จ ริ ญ เ ติ บ โ ต
การลดความไม่เท่าเทียมกันและขจัดความยากจนนั่นคือการเปลี่ยนแปลงต่อระบบสังคมทั้งระบบ
แ ล ะ มุ่ ง สู่ ก า ร ส น อ ง ต อ บ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ขั้ น พื้ น ฐ า น ข อ ง ก ลุ่ ม ช น ต่ า ง ๆ
ในสังคมภายในระบบนั้นเป็นการก้าวออกจากสภาพชีวิตที่ไม่น่าพึงพอใจไปสู่สภาพชีวิตที่ดีกว่าทั้งในด้า
นวัตถุและรู้สึกนึกคิด
แ น ว สั ง ค ม ห ม า ย ถึ ง
เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการตอบสนองความต้องการขึ้นพื้นฐานอย่างต่อเนื่องซึ่งมนุษย์จะต้องได้รับคือปัจจัยสี่
และหมายถึงการสนองตอบความต้องการระดับสูง เช่น ความมั่นคง เสรีภาพ การมีงานทา
ความยั่งยืนทางสังคมจะเน้นเรื่องการส่งเสริมความสุขสมบูรณ์ของมวลชนส่วนใหญ่เป้าหมายสาคัญ
คือการรักษาคุณภาพชีวิตให้มีระดับสูงอย่างยาวนาน
แ น ว นิ เ ว ศ
เน้นความยั่งยืนของการทางานและประสิทธิภาพของระบบนิเวศเพื่อก่อให้เกิดความยั่งยืนทางนิเวศในระ
ยะเวลายาวจาเป็นต้องมีการคุ้มครองทรัพยากรทางพันธุกรรมและการอนุรักษ์ความหลากหลายทางธรร
ม ช า ติ
ซึ่งเป้าหมายที่สาคัญที่สุดคือการจัดการและการรักษาระบบนิเวศรวมทั้งการสนับสนุนให้ชีวิตทั้งหลายอยู่
รอด
แนว เศ รษ ฐกิจ เน้ นเรื่อง การข ย าย ตัว ท าง เศ รษ ฐกิ จอย่ าง ยั่ง ยื นย าว น าน
ในอัตราที่สูงแต่นักเศรษฐศาสตร์สีเขียวซึ่งเป็นนักเศรษฐศาสตร์ที่คานึงถึงสิ่งแวดล้อมและนิเวศวิทยา
มีแนวคิดอีกแบบ กล่าวคือ เศรษฐกิจยั่งยืน หมายถึงเศรษฐกิจที่คานึงถึงระบบนิเวศและโลก
ธรรมชาติคุณค่าทางชีวิตจิตใจมากว่าคานึงถึงความเจริญทางเศรษฐกิจ
การพัฒ นาที่ยั่งยืน เป็นรูป แบบ ของการพัฒ นาที่ตอบสนองต่อเป้ าห มายของ 3
ระบบหลักด้วยกันคือ ระบบทางชีววิทยาหรือระบบนิเวศ ระบบเศรษฐกิจและระบบสังคม
โดยแต่ละระบบสามารถพัฒนาไปสู่เป้าหมายของตนเองได้ ซึ่งเป้าหมายของแต่ละระบบเป็นดังนี้
1. เป้ าห มาย ข อง ระ บ บ นิเว ศ คือ ก ารนาไป สู่ค ว าม ห ลาก ห ลาย ท างพัน ธุก รรม
ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใน ก า ร ก ลั บ สู่ ส ม ดุ ล ใ น ก ร ณี ถู ก ร บ ก ว น ห รื อ ถู ก ใช้ ไ ป
ความสามารถในการกลับคืนสู่สมดุลให้ผลผลิตทางชีวภาพ
Group หมูหมี
2, เป้าหมายของระบบเศรษฐกิจ คือ การนาไปสู่การได้รับความต้องการขึ้นพื้นอย่างพอเพียง
ส่งเสริมให้เกิดการเท่าเทียมกันและมีสินค้าและบริการเพิ่มขึ้น
3. เป้าหมายของระบบสังคม คือ การนาไปสู่ความหลากหลายทางวัฒนธรรม มีสถาบันที่ยั่งยืนยาวนาน
การพัฒนาที่ยั่งยืนในอดีตจะเน้นเฉพาะด้านเศรษฐกิจเท่านั้นแต่จากการศึกษาและประมวลความ
หมายการพัฒนาที่ยั่งยืนจะได้นิยามของการพัฒนาที่ยั่งยืน คือ เป็นรูปแบบการพัฒนาที่ดาเนินไป
โดยพิจารณาทั้งด้านป ริมาณ และคุณภาพอีกทั้งยังคานึงถึงมิติเวลามาพิจารณ าด้ว ย
นั้นคือการพัฒนาที่ยั่งยืนต้องมีการพัฒนาแบบองค์รวมผสมผสานการพัฒนาด้านเศรษฐกิจด้านสังคมและ
ด้ า น สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม เ ข้ า ไ ว้ ด้ ว ย กั น อ ย่ า ง ส ม ดุ ล
ไม่เกิดความขัดแย้งซึ่งกันและกันและสามารถยกระดับคุณภาพชีวิตของมนุษย์ให้สูงขึ้นได้
รวมทั้งสนองความต้องการในปัจจุบันโดยไม่ส่งผลเสียต่อความต้องการของคนในอนาคตด้วย
แ น ว คิ ด ก า ร วั ด ร ะ ดั บ ก า ร พั ฒ น า ที่ ยั่ ง ยื น
จะพิจารณาแนวคิดบาโรมิเตอร์สาหรับการวัดระดับพัฒนาที่ยั่งยืน เป็นรูปแบบการรวมดัชนีชี้วัด 2 ระบบ
คื อ ร ะ บ บ นิ เ ว ศ แ ล ะ ร ะ บ บ ม นุ ษ ย์ โ ด ย ให้ ค่ า ร ะ ดั บ ก า ร พั ฒ น า ทั้ ง 2
ระบบล้วนนามารวมเป็นระดับหรือดัชนีการวัดการพัฒ นาที่ยั่งยืน การวัดการพัฒนาทั้ง 2
ระบ บ เป็ น การวัดโดย ที่ ทั้ง สอง ระบ บ ไม่ส าม ารถ น าม าท ดแ ท นกั นได้ ก ล่าว คือ
แ ม้ ว่ า ร ะ บ บ ม นุ ษ ย์ จ ะ ไ ด้ รั บ ก า ร พั ฒ น า ดี ขึ้ น
แต่ถ้าระบบนิเวศไม้ได้รับการพัฒนาโดยถูกปล่อยปะละเลยระบบโดยรวมก็ไม่เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนได้
ในทางตรงกันข้ามถ้าดูแลรักษาแต่ระบบนิเวศแต่ไม่ดูแลระบบมนุษย์ละก็ไม่เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนเช่นกั
น
ท ฤ ษ ฏี ท า ง เ ศ ร ษ ฐ ศ า ส ต ร์ กั บ แ น ว คิ ด ก า ร พั ฒ น า ที่ ยั่ ง ยื น
เพื่อให้สนับสนุนแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนในการศึกษาครั้งนี้พิจารณาภายใต้การเลือกใช้หรือการบริโภค
ระหว่างช่วงเวลา ในทฤษฏีเศรษฐศาสตร์จุลภาค โดยอาศัยความรู้ในเรื่องความพอใจในการบริโภค
โดยหลักทฤษฏีการบริโภคระหว่างช่วงเวลาเมื่อประยุกต์กับการพัฒนาที่ยั่งยืนจะเป็นการพัฒนาที่เน้นคว
ามเท่าเทียมของการบริโภคของมนุษย์ระหว่างเวลาปัจจุบันและเวลาในอนาคตภายใต้ทรัพยากรที่มีอยู่จา
กั ด แ ล ะ แ ส ด ง ใ ห้ เ ห็ น ไ ด้ เ ส้ น ค ว า ม พ อ ใ จ เ ท่ า กั น
โดยที่ลักษณะของเส้นความพอใจเท่ากันจะสะท้อนถึงรสนิยมของผู้บริโภค ณ เวลาต่างๆ
กั น ใน ที่ นี้ คื อ พั ฒ น า ก า ร ท า ง สั ง ค ม แ ล ะ ก า ร เ ติ บ โ ต ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ
ภายใต้ทรัพยากรที่เป็นปัจจัยการผลิตที่สาคัญที่เป็นข้อจากัดคือ ทรัพยากรธรรมชาติ
จากการตรวจสอบเอกสารงานวิจัยหรือผลการศึกษาของนักวิชาการหลายท่านที่พิจารณาการพั
ฒ น า ใน ลัก ษ ณ ะ ห ล า ย มิ ติ ซึ่ ง ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ แ น ว คิ ด ก า ร พั ฒ น า ที่ ยั่ง ยื น
แ ล ะ มี บ า ง ส่ ว น ที่ ศึ ก ษ า ห รือ มี แ น ว คิ ด ก า ร พั ฒ น า เ พี ย ง บ า ง ด้ า น เ ท่ า นั้ น
Group หมูหมี
อย่ าง ไรก็ตามผลจากการตรวจสอบ เอกสารที่ ผ่านมาผู้วิจัย สามารถนาค ว ามรู้ที่ ได้
เพื่อนาไปทาการศึกษาต่อไป
ก า ร เ ก็ บ ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล ข อ ง ห นั ง สื อ เ ล่ ม นี้ คื อ
การศึกษาดัชนีชี้วัดการพัฒ นาที่ยั่งยืนของป ระเทศไทยโดยใช้แนวคิดของ I. Serageldin
จะท า ก ารจัด ท าดัช นีชี้ วั ด ก ารพั ฒ น าที่ ยั ง ยื น โด ย จะรว บ รว ม ข้ อมู ล ทุ ติย ภู มิ
จากแห ล่งข้อมูลคือสานักงานค ณะกรรมการพัฒ นาการเศ รษฐกิจและสังค มแห่ งชาติ
ธนาคารแห่งประเทศไทย สานักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ก ร ะ ท ร ว ง ส า ธ า ร ณ สุ ข ก ร ม ค ว บ คุ ม ม ล พิ ษ เ ป็ น ต้ น
การจัดทาดัชนีชี้วัดการพัฒนาที่ยั่งยืนครั้งนี้จะจัดทาในลักษณะดัชนีเชิงรวมที่ประกอบไปด้วย
มิติการพัฒนา 3 มิติ คือ มิติการพัฒนาเศรษฐกิจ มิติการพัฒนาสังคม มิติการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
โด ย ก า ร พั ฒ น า ที่ ยั ง ยื น เ ป็ น ก า ร ผ ส ม ผ ส า น ก า ร พั ฒ น า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ สั ง ค ม
สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม เ ข้ า ไ ว้ ด้ ว ย กั น อ ย่ า ง ส ม ดุ ล โ ด ย ไ ม่ ก่ อ ค ว า ม ขั ด แ ย้ ง
แ ล ะ จ ะ พิ จ า ร ณ า ก า ร พั ฒ น า ที่ ยั่ ง ยื น เ พี ย ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย เ ท่ า นั้ น
การรวบรวมตัวชี้วัดเพื่อจัดทาดัชนีชี้วัดการพัฒนาที่ยั่งยืนจะใช้กรอบแนวคิดวัตถุประสงค์ของการพัฒนา
ที่ยั่งยืนของ I. Serageldinซึ่งการพัฒนาที่ยั่งยืนในแต่ละด้านของการพัฒนาเพื่อจัดทาดัชนีรวมดังต่อไปนี้
1. การพัฒนาเศรษฐกิจ วัตถุประสงค์หลักของการพัฒนาเศรษฐกิจ คือ
การทาให้สวัสดิการของสังคมสูงสุด ภายใต้ทรัพยากรและเทคโนโลยีที่มีอยู่
โดยทั่วไปการพัฒนาเศรษฐกิจให้บรรลุได้มีวัตถุประสงค์องค์ประกอบที่สาคัญ ประกอบด้วย
ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความเสมอภาค และความมีประสิทธิภาพ
2. การพัฒนาสังคม วัตถุประสงค์หลักของการพัฒนาสังคมคือ
เน้นการพัฒนาคนและสังคมเป็นสาคัญโดยมีขอบข่ายความจาเป็นและความต้องการของคน
ทั้งระดับบุคคลและระดับส่วนรวมของสังคมเป็นเครื่องชี้วัด
โดยทั่วไปการพัฒนาสังคมให้บรรลุได้มีวัตถุประสงค์องค์ประกอบสาคัญ ประกอบด้วย
ความเข้มแข็ง การมีส่วนร่วม การเลื่อนชั้นทางสังคม
ความสามัคคีของคนในสังคมการมีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม การพัฒนาของสถาบันในสังคม
3. การพัฒนาสิ่งแวดล้อม วัตถุประสงค์หลักของการพัฒนาสิ่งแวดล้อม คือ
เน้นการพัฒนาอนุรักษ์ความสมบูรณ์และคุณภาพของสิ่งแวดล้อม
ทั้งในด้านโครงสร้างและหน้าที่ของระบบการรักษาองค์ประกอบและปฏิสัมพันธ์ระหว่างองค์
ประกอบต่างๆ ของระบบ ซึ่งจะมีความสาคัญต่อความเสถียรภาพของระบบนิเวศน์ของโลก
ความสามารถในการรองรับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ความหลากหลายทางชีวภาพ
และประเด็นทางด้านสิ่งแวดล้อมของโลกโดยทั่วไปการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อมให้บรรลุได้มีวั
ตถุประสงค์องค์ประกอบที่สาคัญ ประกอบด้วย ความสมบูรณ์ของระบบนิเวศ
Group หมูหมี
ความสามารถในการรองรับ ความหลากหลายทางชีวภาพ
ประเด็นทางด้านสิ่งแวดล้อมของโลก
โดยแสดงวัตถุองค์ประกอบการพัฒนาที่ยั่งยืนในแต่ละด้าน
ผ ล ก า ร วิ จั ย ใ น ห นั ง สื อ นี้ จ ะ แ บ่ ง อ อ ก เ ป็ น 3 ส่ ว น คื อ 1.
การคัดเลือก ตัว ชี้ วัดในมิติก ารพัฒ น าเพื่ อจัด ท าดัช นี ชี้วัด การพัฒ นาที่ ยั่ง ยืน 2.
ก า รวิ เ ค ร า ะ ห์ แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร พั ฒ น า จ า ก ตั ว ชี้ วั ด ที่ คั ด เ ลือ ก แ ล ะ 3.
การวิเคราะห์ค่าดัชนีชี้วัดการพัฒนาในมิติต่างๆและค่าดัชนีชี้วัดการพัฒนาที่ยังยืน
การคัดเลือกตัวชี้วัดในแต่ละมิติการพัฒนา เมื่อพิจารณาความหมายของตัวชี้วัด ซึ่งหมายถึง
วิธีการวัด การบ่งชี้ หรือการระบุเกี่ยวกับความชัดเจนของสิ่งต่างๆ หรือ สิ่งที่เป็นสัญญาณ เครื่องหมาย
อ า ก า ร สิ่ ง ที่ ใช้ แ ส ด ง เ งื่ อ น ไ ข ที่ ส า ม า ร ถ บ อ ก ใ ห้ เ ห็ น ไ ด้ ข อ ง ร ะ บ บ
เพราะฉะนั้นการสร้างตัวชี้วัดเพื่อวัดระดับการพัฒนาที่ยั่งยืนนั้นตัวชี้วัดต้องแสดงให้เห็นถึงความเกี่ยวพั
นเชื่อมย งป ระเด็นการพัฒ น าเศ รษฐกิจ การพัฒ นาสังค มและการพัฒ นาสิ่งแวดล้อม
ซึ่ลัก ษ ณ ะข อ ง ตั ว ชี้ วั ด ที่ ดี ที่ จ ะเ ป็ น เ ก ณ ฑ์ ทั่ว ไป ใน ก าร จัด ท าดั ช นี ชี้ วั ด นั้ น
บ่งบอกถึงความสามารถในการรองรับ ดัชนีชี้วัดการพัฒนาที่ยั่งยืนจะต้องมีความสามารถในการรองรับ
Group หมูหมี
การชุมชนจะใช้ทรัพยากรในอัตราที่เร็วกว่าการฟื้นตัวหรือสร้างขึ้นใหม่ หรือชุมชนนั้นใช้ทุน
นั้นห รือชุ มช นนั้นใช้ผลป ระโย ชน์ที่งอกเงย จากการใช้ท รัพย ากรห รือมีการสร้างทุ น
เ พิ่ ม ใ ห้ กั บ ชุ ม ช น ห รื อ ไ ม่ ใ น ห ล า ย ก ร ณี
สิ่งนี้ไม่ได้หมายถึงการวัดในรูปแบบของเงินมันไม่ได้หมายถึงมูลค่ารวมในชุมชนที่มีความสาคัญกับการ
พัฒนาที่ยั่งยืนแต่สิ่งเหล่านี้หมายถึงการที่ประชาชนมีทุนแหล่งนี้เพียงพอที่จะใช้ในอนาคต
ส า ม า ร ถ ท า ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ไ ด้ ง่ า ย
การคัดเลือกดัชนีชี้วัดการพัฒ นาที่ยั่งยืนการคัดเลือกดัชนีชี้วัดที่สามารถเข้าใจได้ง่าย
ป ระ ช าช นส าม ารถเข้ าใจ สาเห ตุ ข อง ปัญ ห าและ ขั้นต อน ในก ารแก้ ปัญ ห าต่ าง ๆ
รวมทั้งการเป็ นส่วนหนึ่งของการแก้ปัญหา นอกจากนั้นความเข้าใจดังกล่าวจะทาให้ประชาชน
โดยทั่วไปเข้าใจถึงกฎระเบียนต่างๆ ซึ่งจะทาให้ลดแรงต้านต่อกฎระเบียบต่างๆ ที่ออกมากได้
น า ไ ป ใ ช้ ง า น ไ ด้
ถ้าดัชนีชี้วัดไม่สามารถนามาใช้ในชุมชนได้มันจะไม่มีทางส่งผลถึงสิ่งที่ประชาชนไดจัดทาดัชนีชี้ วัด
สาม ารถ ช่ ว ย ป ระช าช น เช้ าใจถึง ค ว าม จ าเป็ น ใน ก ารเป ลี่ย นแ ป ล ง พ ฤ ติกรร ม
เพื่อที่จะส่งผลถึงการพัฒนาที่ยั่งยืนของชุมชน
แสดงถึงแนวโน้มระย ะย าว ก ารพัฒ นาที่ยั่งยืนค วรมีเป้ าห มายระย ะย าวดังนั้น
ดัชนีชี้วัดที่ใช้วัดการพัฒนาที่ยั่งยืนจาเป็นจะต้องมีระยะยาว ประมาณ 25-50 ปี ไม่ใช่เพียงแค่ 5-10 ปี
แสดงถึงความเกี่ยวพันเชื่อมโยงในด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคมและด้านสิ่งแวดล้อม
ดัชนีชี้วัดแบบดั้งเดิมมีแนวโน้มที่จะชี้ลงไปถึงปัญหาเพียงด้านใดด้านหนึ่งของชุมชน ตัวอย่างเช่น
หากมองถึงประเด็นการเพิ่มงานโดยไม่ได้พิจารณารายละเอียดอื่น ๆ เช่น ประเภทของงาน ระยะเวลา
เหล่านี้อาจจะเป็นการสร้างปัญหาอื่นให้ชุมชน
การคัดเลือกตัวชี้วัดการพัฒ นาเศรษฐกิจ โดยสรุป จากกรอบแนวคิด I. serageldin
และนักวิชาการรวมทั้งหน่วยงานภาครัฐ เช่น สศช. ที่ได้เสนอแนวคิดการพัฒนาเศรษฐกิจ ดังข้างต้น
จึงสามารถสรุปได้ว่าประเด็นสาหรับการคัดเลือกตัวชี้วัดการพัฒนาที่ยั่งยืน มิติการพัฒนาเศรษฐกิจ
แบ่งเป็ น 3 องค์ป ระกอบ คือ 1. การเจริญ เติบโตท างเศรษฐกิจ 2. คว ามเสมอภาค 3.
ความมีประสิทธิภาพ
1. การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ คือ
ภาวการณ์ทางเศรษฐกิจที่มีการเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่องและมีความมั่นคงไม่ทาให้ราคาสินค้าเพิ่มสูงขึ้น
Group หมูหมี
มากกว่ารายได้ของประชาชนที่เพิ่มสูงขึ้นโดยตัวชี้วัดที่จะคัดเลือกมาเพื่อใช้เป็นเครื่องมือบ่งชี้การเจริญเ
ติบโตทางเศรษฐกิจจะพิจารณาจากตัวชี้วัดซึ่งแสดงอัตราการเติบโตของการผลิตสินค้าและบริการที่เกิดขึ้
นในประเทศหรือผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ
เป็นอัตราการเปลี่ยนแปลงของปริมาณการผลิตสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายที่สามารถผลิตขึ้นได้ของระบ
บเศรษฐกิจภายในประเทศโดยไม่คานึงถึงว่าทรัพยากรที่ใช้ในการลิตสินค้าและบริการจะเป็นทรัพยากรข
องพลเมืองในประเทศหรือขาวต่างประเทศ
2. ความเสมอภาค
ในทางเศรษฐกิจมักจะให้ความสาคัญกับการกระจายรายได้ซึ่งเป็นการกระจายผลประโยชน์ของการพัฒ
นาเศรษฐกิจให้ไปสู่ประชาชนส่วนใหญ่อย่างทั่วถึงเพื่อลดช่องว่าง
ด้านรายได้ของประชาชนหรือการสร้างความเท่าเทียมกันในด้านรายได้ให้ประชาชนลดความยากจนและ
ลดปัญหาการว่างงานโดยการทาให้ประชาชนมีงานทา
หากประเทศใดมีความไม่เสมอภาคของการกระจายรายได้นั้นแสดงให้เห็นถึงว่าประเทศนั้นเป็นประเทศ
ที่กาลังพัฒนา
ความไม่เสมอภาคทางเศรษฐกิจเนื่องจากกลุ่มที่มีรายได้สูงมักจะเป็นคนกลุ่มน้อยที่สามรถเพิ่มพูนรายได้
ให้ตนเองได้สูงมากขึ้นมีความเป็นอยู่ที่ดี
ซึ่งสามารถคัดเลือกตัวชี้วัดความเสมอภาคทางเศรษฐกิจได้ตามประเด็นดังนี้
2.1 การวัดความยากจน ตัวชี้วัดที่นิยมใช้คือ สัดส่วนคนจนเป็นดัชนีชี้วัด
ที่แสดงถึงการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศว่ามีการกระจายไปสู่ประชากรอย่างเท่าเทียมหรือไม่
2.2 การวัดความเหลื่อมล้าในการกระจายรายได้ มีตัวชี้วัดที่นิยมใช้ได้แก่
สัมประสิทธิ์การกระจายรายได้หรือจากสัมประสิทธิ์
ใช้วัดความไม่เท่าเทียมกันในส่วนแบ่งรายได้ของกลุ่มคนที่แบ่งตามระดับรายได้ของกลุ่มคนที่แบ่งตามระ
ดับรายได้ และเนื่องจากการกระจ่ายรายได้ จะมีผลต่ออัตราความยากขนของประเทศ
ถ้ามีการกระจายรายได้ที่เป็นธรรมก็จะทาให้มีโอกาสในการศึกษาเพิ่มขึ้นทาให้คนมีโอกาสทางานมีรายไ
ด้ คนจนลดลง
2.3 การวัดปัญหาการว่างงาน
ตัวชี้วัดที่สาคัญและนิยมใช้เพื่อบ่งชี้สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจมหภาคที่รู้จักกันทั่วไป คือ
อัตราการว่างงาน หรืออัตราการไม่มีงานทา หมายถึง ค่าร้อยละของผู้ที่ไม่มีงานทาในกาลังแรงงาน
Group หมูหมี
แสดงให้ทราบถึง จานวนประชากรวัยแรงงานที่มีความต้องการงาน แต่ไม่สามารถหางานทาได้
ซึ่งบ่งชี้ถึงการกระจายการพัฒนาอย่างเป็นธรรมและความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างมีเสถียรภาพข
องประเทศ อัตราการว่างงานจะผันแปรไปในทิศตรงข้ามกับ GDP
3. ความมีประสิทธิภาพ การพิจารณาประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจนั้นตามความหมายที่ของคาว่า
ประสิทธิภาพ ไว้อย่างชัดเจน คือ การจัดสรรทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพในสังคมเป็นสิ่งที่พึงประสงค์
คาว่าประสิทธิภาพของสังคมโดยรวมหมายความรวมถึง
หน่วยธุรกิจหรือครัวเรือนจะมีประสิทธิภาพถ้าสามารถผลิตสินค้าได้มากที่สุดหรือบริโภคสินค้าหรือบริกา
รได้มากที่สุด ณ ระดับใดระดับหนึ่งของทรัพยากรที่มีอยู่
หรือการผลิตสินค้าอย่างมีประสิทธิภาพสอดคล้องกับศักยภาพของประเทศและความต้องการของตลาดมี
การใช้ปัจจัยการผลิตที่มีประสิทธิภาพ
โดยสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแก่งชาติได้คัดเลือก
ประสิทธิภาพการผลิตโดยรวมเป็นเครื่องบ่งชี้ความมีประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ
โดยวัดผลิตภาพการผลิตรวมของประเทศเพราะประสิทธิภาพการผลิตรวมที่ดีจะช่วยส่งเสริมให้เกิดการข
ยายตัวทางเศรษฐกิจ
Group หมูหมี
การคัดเลือกตัวชี้วัดการพัฒนาทางสังคมให้คาจากัดความไว้มากมาย
ซึ่งในมิติของการพัฒนาสังคมจะเน้นการพัฒนาประชาชนเป็นหลัก
โดยมีขอบข่ายของความจาเป็นและความต้องการของประชาชนเป็นตัวชี้วัดโดยวัตถุประสงค์ที่ต้องการบ
รรลุการพัฒนาสังคมได้แก่ ความแข้มแข็งของสังคม การมีส่วนร่วม การเลื่อนขั้นทางสังคม
ความสามัคคีของคนในสังคม การมีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม
โดยจะต้องมีการพัฒนาสังคมให้บรรลุในระดับบุคคลและความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเพื่อให้ครอบคลุมใน
ทุกภาคส่วนของสังคมด้วย
Group หมูหมี
การคัดเลือกตัวชี้วัดการพัฒนาสิ่งแวดล้อม เป็นการศึกษาการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
ยังคงอาศัยกรอบแนวคิดของ I. Serageldin
และแนวคิดการพัฒนาสิ่งแวดล้อมของนักวิชาการและหน่วยงานรัฐ เช่น
คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ซึ่งได้อธิบายถึงวัตถุประสงค์ของการพัฒนาที่ยั่งยืน
ประเด็นสิ่งแวดล้อม คือเน้นการพัฒนาอนุรักษ์ความสมบูรณ์และคุณภาพของสิ่งแวดล้อม
ทั้งในด้านโครงสร้างและหน้าที่ของระบบ
การรักษาองค์ประกอบและปฏิสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบต่างๆ ของระบบ
ซึ่งจะมีความสาคัญต่อความเสถียรภาพของระบบนิเวศของโลกความสารถในการรองรับทรัพยากรธรรม
ชาติและสิ่งแวดล้อมความหลากหลายทางชีวภาพและประเด็นทางด้านสิ่งแวดล้อมของโลก
โดยทั่วไปการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อมให้บรรลุได้มีวัตถุประสงค์องค์ประกอบสาคัญประกอบด้วย
ความสมบูรณ์ของระบบนิเวศ ความสามารถในการรองรับ ความหลากหลายทางชีวภาพ
ประเด็นทางด้านสิ่งแวดล้อมของโลก
หนังสือเล่มนี้ได้ให้ข้อเสนอแนะจากผลการวิจัยว่า
จากการวิจัยสามารถให้เห็นถึงภาพรวมของการจัดทาดัชนีชี้วัดการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศไทยและทิ
ศทางการพัฒนาตามแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนได้ชัดเจนมากขึ้น
Group หมูหมี
และสามารถนาไปสู่ข้อเสนอแนะซึ่งจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อไป โดยแบ่งการพิจารณาเป็นสองส่วนคือ
ข้อเสนอแนะจากผลการวิจัยและข้อเสนอแนะสาหรับการวิจัยครั้งต่อไป
2.การสรุปความเชื่อมโยงระหว่างสาระสาคัญของหนังสือกับแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน
2.1 มิติด้านสังคม
ก า ร ยั่ ง ยื น ใ น แ น ว ท า ง สั ง ค ม ห ม า ย ถึ ง
เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐานอย่างตอเนื่องซึ้งมนุษย์จะต้องได้รับคือปัจจัยสี่
และห ม าย ถึง การสน อง ต อบ ค ว ามต้อง ก ารระดับ สูง เช่ นค ว าม มั่น ค ง เ สรีภ าพ
การมีงานทาความยั่งยืนทางสังค มจะเน้นเรื่องการส่งเสริมความสุข สมบู รณ์ของมวลช น
ส่วนใหญ่เป้าหมายสาคัญ คือการรักษาคุณภาพชีวิตให้มีระดับสูงอย่างยาวนาน
แนวคิดการพัฒนาด้านสังคม
ก า ร พั ฒ น า สั ง ค ม วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ห ลั ก ข อ ง ก า ร พั ฒ น า สั ง ค ม คื อ
เน้ น ก า ร พั ฒ น า ค น แ ล ะ สั ง ค ม เ ป็ น ส า คั ญ โ ด ย มี ข อ บ ข่ า ย ค ว า ม จ า เ ป็ น
และความต้องการข องคนทั้งระดับ บุค คลและระดับ ส่วนรวมข องสังคมเป็นเครื่องชี้วัด
โดยทั่วไปการพัฒนาสังคมให้บรรลุได้มีวัตถุประสงค์องค์ประกอบที่สาคัญ ประกอบด้วยความเข้มแข็ง
(Empowerment) การมีส่วนร่วม (Participation) การเลื่อนชั้นท างสังค ม (Social mobility)
ความสามัคคีของคนในสังคม (Social Cohesion)
ดัชนีตัวชี้วัดการพัฒนาด้านสังคม
การพัฒนาสังคมได้มีการให้คาจากัดความไว้มากมาย บ้างก็ให้ความหมายในกรอบที่แคบ ๆเช่น
เป็นการพัฒนาเพียงด้านการศึกษาการสาธารณสุขและการสังคมสงเคราะห์บ้างก็ให้ความหมายอย่างกว้
า ง ข ว า ง ที่ ค ร อ บ ค ลุ ม ก า ร พั ฒ น า ไ ว้ เ กื อ บ ทุ ก ด้ า น
โดยมีการให้ความหมายของการพัฒนาสังคมไว้ว่าคือการกระทาเพื่อมุ่งปรับปรุงส่งเสริมให้คนที่อยู่ร่วมกั
น มี ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ไ ป ใน ท า ง ที่ ดี ขึ้ น ทั้ ง ใ น ด้ า น วั ต ถุ แ ล ะ จิ ต ใ จ
อันจะทาให้การดารงชีวิตอยู่ร่วมกันนั้นมีความเจริญรุ่งเรืองและสงบสุขแต่การที่บุคคลจะดารงชีวิตอยู่ได้อ
ย่างมีความสุขจะต้องอาศัยปัจจัยหลายอย่างประกอบกันอย่างน้อยที่สุดจะต้องมีปัจจัยขั้นพื้นฐานที่ดีพอส
ม ค ว ร ก ล่ า ว คื อ
มีที่อยู่อาศัยมีอาหารเพียงพอต่อการเลี้ยงชีพมีรายได้เพียงพอแก่ค่าใช้จ่ายในการครองชีพ
มี ค ว า ม รั ก ใ ค ร่ ส ม า น ส า มั ค คี กั น ข อ ง ส ม า ชิ ก ใ น สั ง ค ม
สิ่งเหล่านี้จะเกิดขึ้นได้ต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายฝ่ายโดยอาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตร์และเทคโน
โลยีเข้าช่วย เพื่อให้เกิดความเจริญก้าวหน้าและอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข (นิรนาม.) แต่อย่างไรก็ตาม
การศึกษากรอบความหมายของการพัฒนาที่ยั่งยืนนั้น ครั้งนี้จะศึกษาการพัฒนาสังคมเน้นในเชิงคุณภาพ
คือก ารป รับ ป รุงคุณ ภ าพ ชีวิตและการอยู่ ร่ว มกันข อง ค นในสังค มอย่ างมีค ว ามสุข
ส่วนการพัฒนาด้านเศรษฐกิจนั้นจะพิจารณาเน้นในเชิงปริมาณและการบริการเป็ นสาคัญ
และจากกรอบวัตถุประสงค์การพัฒนาที่ยั่งยืนของ I. Serageldin (I. Serageldin อ้างถึงใน สุมาลี,
Group หมูหมี
ม.ป .ป .) และแนว คิดการพัฒ นาสังค ม ข องนักวิช าการและห น่ ว ย งานภาค รัฐเช่ น
ส ศ ช .ก ร ม ก าร พั ฒ น า ชุ ม ช น ,ก ร ม ป ร ะช าส ง เค รา ะ ห์ แ ล ะมู ล นิ ธิเ พื่ อ น ห ญิ ง
ซึ่ ง ใ น มิ ติ ข อ ง ก า ร พั ฒ น า สั ง ค ม จ ะ เ น้ น ก า ร พั ฒ น า ป ร ะ ช า ช น เ ป็ น ห ลั ก
โดยมีขอบข่ายของความจาเป็นและความต้องการของประชาชนเป็นตัวชี้วัดโดยวัตถุประสงค์ที่ต้องการบ
รรลุการพัฒนาสังคมได้แก่
1) ความเข้มแข็งของสังคม (Empowerment)
ก า ร ส ร้ า ง ค ว า ม เ ข้ ม แ ข็ ง ให้ สั ง ค ม นั้ น จ ะ เ กิ ด ขึ้ น จ า ก ร ะ ดั บ บุ ค ค ล
ซึ่ง บุ ค ค ล เ ป็ น อ ง ค์ ป ระก อ บ ที่ ส าคั ญ ข อ ง สัง ค ม เ มื่ อ บุ ค ค ล ใน สัง ค ม เข้ ม แ ข็ ง
โ ด ย มี สุ ข ภ า พ พ ล า น า มั ย แ ข็ ง แ ร ง ส ม บู ร ณ์
มีชีวิตที่สดใสจิตใจเข็มแข็งไม่มีความเครียดในการดารงชีวิตก็จะทาให้สังคมเข้มแข็งได้ตัวชี้วัดที่คัดเลือก
ม าเพื่ อ แส ด ง ถึง ค ว าม เข้ ม แ ข็ ง ข อ ง สัง ค ม ได้แ ก่ 47 อ ายุ ขั ย เฉ ลี่ย เมื่ อ แรก เกิ ด
การที่ประชากรของประเทศมีอายุขัยเฉลี่ยเมื่อแรกเกิดยืนยาวบ่งบอกถึงความสามารถในการบริหารจัดก
ารของรัฐในการให้บริการทางสาธารณสุข ภาวะโภชนาการ และการเข้าถึงบริการพื้นฐาน
ด้านสุขภาพของประชากรอย่างทั่วถึง ซึ่งคนเป็นทรัพยากรที่สาคัญและเป็นเป้าหมายของการพัฒนา
อีกทั้งเมื่อประชากรมีอายุขัยยืนยาวย่อมเป็นทุนทางสังคมสาหรับการพัฒนาประเทศไทยไปสู่ความยั่งยืน
ได้
2) การมีส่วนร่วม (Participation)
การกระจายโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางการเมืองและการบริหารเกี่ยวกับการตั
ด สิ น ใ จ ใ น เ รื่ อ ง ต่ า ง ๆ ร ว ม ทั้ ง 48
การจัดสรรทรัพยากรของชุมชนและของชาติซึ่งส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชนโด
ย ก า ร ใ ช้ ข้ อ มู ล แ ส ด ง ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ใ ห้ ค า ป รึ ก ษ า ร่ ว ม ว า ง แ ผ น
ร่ ว ม ป ฏิ บั ติ ง า น ต ล อ ด จ น ก า ร ค ว บ คุ ม โ ด ย ต ร ง จ า ก ป ร ะ ช า ช น
(ค ณ ะผู้ วิจัย โค รง ก ารแ น ว ท า ง ก ารส ร้าง เ สริม ป ระช า ธิป ไต ย แบ บ มีส่ ว น ร่ว ม
ต า ม รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ แ ห่ ง ร า ช อ า ณ า จั ก ร ไ ท ย , 2540)
โด ย ตั ว ชี้ วั ด ที่ คั ด เ ลื อ ก เ พื่ อ ใช้ วั ด ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม ข อ ง ค น ใน สั ง ค ม คื อ
สั ด ส่ ว น ข อ ง ผู้ ม า ใ ช้ สิ ท ธิ เ ลื อ ก ตั้ ง ต่ อ ค น ที่ มี สิ ท ธิ ทั้ ง ห ม ด
ซึ่งตัวชี้วัดดังกล่าวสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติใช้เป็นตัวชี้วัดตัวหนึ่ง
ในดัชนีรวมความอยู่ดีมีสุขของประเทศไทย
3) การเลื่อนชั้นทางสังคม (Social mobility)
เป็นการเปลี่ยนฐานะหรือตาแหน่งในทางสูงขึ้นหรือต่าลงของบุคคลในโครงสร้างสังคม
ตามการเปลี่ยนอาชีพ รายได้ระดับการศึกษา หรือถิ่นที่อยู่ ( ราชบัณฑิตยสถาน, 2524 : 352)
Group หมูหมี
จากความหมายดังกล่าวเมื่อพิจารณาพบว่าการคัดเลือกตัวชี้วัดอาจจะซ้าซ้อนกับการพัฒนาด้านเศรษฐกิ
จฉะนั้น จึง คัด เลือก ตัว ชี้ วัดด้านก ารศึ กษ าเพื่ อแสด ง ถึง การเลื่อน ชั้น ท าง สัง ค ม
ซึ่งตัวชี้วัดที่ใช้บ่งชี้เสมอได้แก่ อัตราการเข้าศึกษาต่อรวมทุกระดับของประชากรอายุ 3-21 ปี
และอัตราการอ่านออกเขียนได้ของประชากร ซึ่งหมายถึงอัตราส่วนของคนที่มีอายุ 6 ปีขึ้นไป
ที่ สาม ารถอ่ านแ ละเขี ย นได้อย่ าง น้อ ย ห นึ่ งภ าษ าต่อ จาน ว น ป ระช ากรทั้ ง ห ม ด
ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการได้รับการศึกษาของคนไทยอย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกันจะส่งผลให้ประเทศมีทุนท
างสังคมเพิ่มขึ้นทาให้ประเทศเกิดการพัฒนามากยิ่งขึ้น
4) ความสามัคคีของคนในสังคม (Social Cohesion)
ตั ว ชี้ วั ด ที่ แ ส ด ง ถึ ง ค ว า ม ส า มั ค คี ข อ ง ค น ใน สั ง ค ม ที่ คั ด เ ลื อ ก คื อ
สัดส่วนสถิติการรับแจ้งคดีอาญาต่อประชากรแสนคน ซึ่งบ่งชี้ถึงความสามัคคีของคนในสังคม
และสภาพแวดล้อมและความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนเป็นเป้าหมายอย่างหนึ่ง
ของการพัฒนาที่ยั่งยืนเมื่อคนในสังคมสามัคคีและมีความมั่นคงในชีวิตและทรัพย์สินแล้วก็จะสามารถนา
ป ร ะ เ ท ศ ไ ป สู่ ก า ร พั ฒ น า ไ ด้
สามารถวัดโดยการหาสัดส่วนส่วนของจานวนการรับแจ้งคดีอาญาโดยเทียบต่อประชากรแสนคนโดยคดี
อาญาพิจารณาจากประเภทความผิดที่สานักงานตารวจแห่งชาติได้เก็บรวบรวมข้อมูลสถิติคดีอาญาที่น่า
สนใจ
5) การมีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม (Cultural Identity)
วั ฒ น ธ ร ร ม
หมายถึงทุกสิ่งทุกอย่างที่แสดงออกถึงวิถีชีวิตของมนุษย์ในสังคมของกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งหรือสังคมใดสังคม
ห นึ่ ง ที่ ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย ค ว า ม รู้ ค ว า ม เ ชื่ อ ศิ ล ป ะ ศี ล ธ ร ร ม ก ฎ ห ม า ย
ป ระเพ ณีวิท ย าการและทุ กสิ่งทุ กอย่ าง ที่คิดและท าในฐานะเป็ นสมาชิกข องสังค ม
วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างหรือกาหนดขึ้นและเป็นสิ่งที่ทาให้เห็นความแตกต่างของคนในสังคม
(สุพัตรา, 2545: 35) โดยเฉพาะอย่างยิ่งในแต่ละวัฒ นธรรมจะมีเอกลักษณ์ของ ตนเอง เช่น
วัฒ นธรรมท างอาหาร ชาวยุโรป ดื่มนมตลอดชีพ แต่ชาวไท ยนิยมให้เด็กดื่มนมเท่ านั้น
โ ด ย ผู้ ใ ห ญ่ ค ว ร ดื่ ม น้ า
ชาวยุโรปชอบกินเนื้อสัตว์ในขณะที่ชาวฮินดูเห็นว่าสัตว์เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์สิ่งเหล่านี้คือเอกลักษณ์ทางวัฒน
ธ ร ร ม ข อ ง แ ต่ ล ะ ป ร ะ ท ศ แ ต่ ล ะ สั ง ค ม
หากประเทศไทยมีสิ่งที่แสดงถึงเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมให้ชาวโลกได้ประจักษ์คนทั่วไปก็จะรู้จักประเท
ศไทยดียิ่งขึ้นและจะส่งผลต่อการพัฒนาประเทศ ไม่ว่าจะเป็นด้านการท่องเที่ยวด้านการลงทุน
เป็นต้นแต่อย่างไรก็ตามในประเด็นดังกล่าวนี้ไม่สามารถคัดเลือกตัวชี้วัดเชิงเดี่ยวที่จะมาเป็นตัวแทนในก
า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ไ ด้
เนื่องจากมีข้อจากัดในเรื่องข้อมูลเพราะว่าประเด็นนี้ลักษณะข้อมูลจะเป็นเชิงคุณภาพตัวชี้วัดที่มีข้อมูลเชิ
Group หมูหมี
งปริมาณกลับไม่สามารถที่จะนามาวิเคราะห์ไดเนื่องจากข้อมูลไม่สามารถนามาวิเคราะห์แนวโน้มได้จึง
ทาให้ไม่สามารถคัดเลือกตัวชี้วัดเชิงเดี่ยวได้
6) การพัฒนาของสถาบันในสังคม (Institutional Development)
โดยจะต้องมีการพัฒนาสังคมให้บรรลุในระดับบุคคลและความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเพื่อให้ครอ
บคลุมในทุกภาคส่วนของสังคมด้วย
ก็คือการทาให้กลุ่มคนที่รวมกันแน่นอนด้วยจุดประสงค์ที่จะกระทาการต่อกันระหว่างกันและร่วม
กัน ให้ เจ ริญ ก้ าว ห น้ ามั่น ค ง ม า ก ขึ้ น โด ย ส ถ าบั น ท าง สัง ค ม มีอยู่ ม าก ม าย เ ช่ น
สถาบันครอบ ครัวและการสมรส สถาบันการปกครอง สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา
ส ถ า บั น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ส ถ า บั น นั น ท น า ก า ร เ ป็ น ต้ น
โดยสถาบันครอบครัวและการสมรสเป็นสถาบันที่สาคัญที่สุดคงทนที่สุดและยังไม่เคยปรากฏว่าสังคมมนุ
ษ ย์ ใ ด ไ ม่ มี ส ถ า บั น ค ร อ บ ค รั ว ป ร า ก ฏ อ ยู่
เพราะมนุษย์ทุกคนต้องอยู่ในสถาบันแห่งนี้ซึ่งครอบครัวหมายถึงกลุ่มบุคคลที่มารวมกันโดยการสมรส
โดยทางสายโลหิตหรือโดยการรับเลี้ยงดูมีการก่อตั้งขึ้นเป็นครอบครัวมีปฏิกิริยาโต้ตอบซึ่งกันและกันในฐ
า น ะ ที่ เ ป็ น ส า มี ภ ร ร ย า ห รื อ เ ป็ น พ่ อ แ ม่ เ ป็ น ลู ก เ ป็ น พี่ น้ อ ง
เพราะฉะนั้นการพัฒนาครอบครัวให้มีความสุขมีความสามัคคีก็จะทาให้สังคมใหญ่ในภาพรวมเกิดการพั
ฒนาในทางที่ดีขึ้นได้ด้วย (สุพัตรา, 2545: 65) โดยในที่นี้ตัวชี้วัดที่คัดเลือกมาบ่งชี้ในประเด็นนี้
คืออัตราการหย่าร้าง นั้นเอง
ตารางที่ 1 ผลการคัดเลือกตัวชี้วัดมิติการพัฒนาสังคม
มิติการพัฒนา
และองค์ประกอบ
ตัวชี้วัด
Group หมูหมี
การพัฒนาสังคม
1. ความเข้มแข็ง (Empowerment)
1. อายุขัยเฉลยเมื่อแรกเกิด (ปี)
2. อัตราการฆ่าตัวตาย(ต่อประชากรแสนคน )
3. สัดส่วนบุคลากรทางการแพทย์ต่อประชากรพันคน
4. สัดส่วนประชากรที่มีหลักประกันสุขภาพ
2. การมีส่วนร่วม (Participation) 5. สัดส่วนของผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
3. การเลื่อนชั้นทางสังคม (Social
mobility)
6.
อัตราการเข้าศึกษาต่อรวมทุกระดับของประชากรอายุตั้งแต่3-
21 ปี
7. อัตราการอ่านออกเขียนได้ของประชากร
4. ความสามัคคีของคนในสังคม (Social
Cohesion)
8. สัดส่วนสถิติการรับแจ้งคดีอาญาต่อประชากรแสนคน
5. การมีเอกลักษณะทางวัฒนธรรม
(CulturalIdentity)
ไม่มีตัวชี้วัด
6. การพัฒนาของสถาบันในสังคม
(InstitutionalDevelopment)
9. อัตราการหย่าร้างต่อประชากร
สรุป
การพัฒ นาสังคม พบ ว่าบ างด้านก็ได้รับป ระโยชน์จากการพัฒ นาเศ รษฐกิจเช่ น
ด้านการศึกษ าและด้านสาธารณ สุข ซึ่งได้รับ การผลักดันให้เกิดการพัฒ นามากขึ้น
แต่อย่างไรก็ตามการพัฒนาดังกล่าวกลับไม่ส่งผลต่อการลดปัญหาความไม่สามัคคีของคนในสังคม
นั้ น คื อ แ น ว โ น้ ม ปั ญ ห า อ า ช ญ า ก ร ร ม เ พิ่ ม ขึ้ น
ถึงแม้จะมีปัญหาดังกล่าวแต่ในช่วงเวลาที่ทาการศึกษาก็ยังมีแนวโน้มไปในทิศทางที่ดีขึ้น
2.2 มิติด้านสิ่งแวดล้อม
Group หมูหมี
จากเดิมนั้นการพัฒนาของประเทศใช้ดัชนีชี้วัดการเจริญเฉพาะทางด้านเศรษฐกิจเพียงอย่างเดีย
ว แต่จากหนังสือ “ ดัชนีชี้วัดการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศไทยโดยใช้แนวคิด I. Serageldin ”
ซึ่ง จะเน้นไป ที่การพัฒ นาที่ ยั่ง ยืน โดย การพัฒ นาที่ยังยืนตามแนวคิด I. Serageldin
จะรวมถึงมิติการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อมอยู่ด้วยเพื่อให้เกิดสมดุลในการพัฒนาของประเทศ
ทั้งด้านเศ รษฐกิจ ด้านสังคม และด้านสิ่งแวดล้อม ให้มีการพัฒนาไปในทิศทางเดีย วกัน
มิติด้านสิ่งแวดล้อมนั้นใช้ในการติดตามประเมินผลการดาเนินงานตามเป้าหมายที่ตั้งไว้เพื่อใช้เป็นแนวท
างและกรอบการบริหารการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมของประเทศตามนโยบาย 6 ประการ
คื อ น โ ย บ า ย ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ น โ ย บ า ย ป้ อ ง กั น แ ล ะ ข จั ด ม ล พิ ษ
น โย บ าย แ ห ล่ ง ธ รร ม ช า ติแ ล ะแ ห ล่ ง ศิ ล ป ก รร ม น โย บ าย สิ่ง แว ด ล้อ ม ชุ ม ช น
นโยบายการศึกษาและประชาสัมพันธ์เพื่อสิ่งแวดล้อม และนโยบายเทคโนโลยีเพื่อสิ่งแวดล้อม
โดยสถานะด้านสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติอยู่ในภาวะที่ต้องบาบัดฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมที่จัดสร้างขึ้นยังอยู่ในภ
า ว ะ ข า ด แ ค ล น ใน ห ล า ย ๆ ด้ า น เ ช่ น ก า ร ค ม น า ค ม แ ล ะ ก า ร สื่ อ ส า ร
แ ล ะ สิ่ ง อ า น ว ย ค ว า ม ส ะ ด ว ก ด้ า น ส า ธ า ร ณ สุ ข เ ป็ น ต้ น
สาหรับด้านสิ่งแวดล้อมนั้นประชาชนมีแนวโน้มที่จะรับรู้และตระหนักถึงปัญหาสิ่งแวดล้อมในบางประเด็น
มีทั ศ น ค ติที่ค่ อนข้ าง ถู กต้อง แต่ ยัง มีส่ว น ร่ว ม ในก ารรักษ าสิ่งแว ด ล้ อมน้ อย ม าก
จึงควรรณรงค์ให้ประชาชนปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมเน้นการมีส่วนร่วมให้มากขึ้น
กลยุทธ์ในการพัฒนาประเทศในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมาเนื่องจากแนวทางในการพัฒนาประเทศใ
นช่วงเวลาดังกล่าวมุ่งเน้นการพัฒนาเศรษฐกิจเป็นหลักโดยให้ความสาคัญของการพัฒนาสังคมและสิ่งแว
ด ล้ อ ม เ ป็ น เ รื่ อ ง ร อ ง
จึงพบว่าแม้ประเทศไทยมีการเติบโตทางเศรษฐกิจค่อนข้างต่อเนื่องแต่ภาพรวมของการพัฒนาด้านสิ่งแว
ดล้อมกลับไม่ได้เป็นไปในทิศทางเดียวกันการพัฒนาสิ่งแวดล้อมวัตถุประสงค์หลักของการพัฒนาสิ่งแวด
ล้อ ม คือเ น้ น ก า รพั ฒ น าอ นุ รัก ษ์ ค ว าม ส ม บู รณ์ แ ละ คุ ณ ภ าพ ข อ ง สิ่ง แ ว ด ล้อ ม
ทั้งในด้านโครงสร้างและหน้าที่ของระบบการรักษาองค์ประกอบและปฏิสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบต่าง
ๆ ข อ ง ร ะ บ บ
ซึ่งจะมีความสาคัญต่อความเสถียรภาพของระบบนิเวศของโลกความสามารถในการรองรับทรัพยากรธรร
ม ช า ติ แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ค ว า ม ห ล า ก ห ล า ย ท า ง ชี ว ภ า พ
และประเด็นทางด้านสิ่งแวดล้อมของโลกโดยทั่วไปการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อมให้บรรลุได้มีวัตถุประสงค์อ
งค์ป ระกอบที่สาคัญ ป ระกอบ ด้วย ค วามสมบู รณ์ข องระบ บ นิเว ศ (Ecosystem Integrity)
ความสามารถในการรองรับ (Carrying Capacity) ความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity)
ป ร ะ เ ด็ น ท า ง ด้ า น สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ข อ ง โ ล ก (Global issues)
โดยแสดงวัตถุประสงค์องค์ประกอบการพัฒนาที่ยั่งยืนในแต่ละด้าน
ป ร ะ เ ด็ น ด้ า น สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ข อ ง โ ล ก ( Global issues)
ปั จ จุ บั น ป ร ะ เ ด็ น ปั ญ ห า สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ที่ ส า คั ญ ข อ ง โ ล ก คื อ
Group หมูหมี
ภาวะโลกร้อนวิกฤติสิ่งแวดล้อมโลกได้แก่ปัญหาภาวะโลกร้อนซึ่งเกิดจากการที่มนุษย์ทากิจกรรมในการ
ผลิตและการบ ริโภ ค จนมาก เกิ นไป โด ย เฉ พาะการใช้ เชื้อเพ ลิงอย่ าง ล้างผ ลาญ
โดย มีราย งานก ารศึก ษาที่ร่ว มจัดท าขึ้นระห ว่ างองค์ก รเฝ้ าระวังโลก (World Watch)
กับ สถาบันวิจัย สิ่ง แวด ล้อมห ลาย ช าติระบุ ว่ าข อง เสีย และมลพิษ ที่ป ระเท ศ ต่ าง ๆ
ป ล่ อ ย ทิ้ ง ม า ก ที่ สุ ด ไ ด้ แ ก่ ก๊ า ซ ค า ร์ บ อ น ไ ด อ อ ก ไ ซ ด์ ( CO2)
ซึ่งเป็นก๊าซที่ทาให้เกิดปรากฎการณ์เรือนกระจกก๊าซเรือนกระจกที่เพิ่มขึ้นในบรรยากาศที่ทาให้อุณหภูมิ
ที่พื้นผิวโลกสูงขึ้นและก๊าซเรือนกระจกก็มีคาร์บอนไดออกไซด์เป็ นส่วนประกอบ ฉะนั้น
ตั ว ชี้ วั ด ที่ คั ด เ ลื อ ก เ พื่ อ บ่ ง ชี้ ถึ ง ปั ญ ห า สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม โ ล ก คื อ
ป ริ ม า ณ ก า ร ป ล่ อ ย ก๊ า ซ ค า ร์ บ อ น ไ ด อ อ ก ไ ซ ด์ เ ฉ ลี่ ย ต่ อ ป ร ะ ช า ก ร
เพราะแสดงให้เห็นว่าเมื่อมีก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มากๆก็จะทาให้มีก๊าซเรือนกระจกมากแสดงให้เห็นวิ
กฤติสิ่งแวดล้อมโลกได้อย่างชัดเจน
ประเทศที่มีการพัฒนาที่ยั่งยืนจะต้องมีการพัฒนาโดยไม่ทาให้ทุนทั้งหมด ( Capital Stock –
ซึ่งประกอบด้วยทุนทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม) ของประเทศนั้นลดลงเมื่อเวลาเปลี่ยนไป
ซึ่งหลักการนี้อาจแบ่งการพิจารณาได้เป็น 2 ลักษณะคือการพัฒนาที่ยั่งยืนระยะสั้น (Weak
Sustainability) แ ล ะ ก า ร พั ฒ น า ที่ ยั่ ง ยื น ร ะ ย ะ ย า ว (Strong Sustainability)
โดยลักษณะของแนวคิดที่แตกต่างกันของรูปแบบก ารพัฒนาที่ยั่งยืนของ 2 แนวคิดนี้คือ
ก า ร พั ฒ น า ที่ ยั่ ง ยื น ร ะ ย ะ สั้ น ( Weak Sustainability)
ตามแนว คิดนี้ไม่ได้ให้ค วามสาคัญ กับ เรื่องทุ นธรรมช าติ ( Natural Capital) เป็ นพิเศ ษ
เพื่อจะให้มีการพัฒนาที่ยั่งยืน จาเป็นจะต้องส่งมอบทุนทั้งหมด ( Aggregate Capital Stock)
ไปให้อนาคตในปริมาณที่ไม่ต่ากว่าระดับปัจจุบันสาหรับแนวคิดนี้ใช้กฎที่เรียกว่า Constant Capital
Rule โด ย อ าจ มี สิ่ง แ ว ด ล้อ ม น้ อ ย ล ง แ ต่ ก็ ส า ม า รถ ส ร้าง สิ่ง อื่ น ขึ้ น ม าแ ท น ที่ ได้
ในท างกลับ กันถ้ามีทุ นกาย ภาพน้อยลงก็สามารถสร้างสิ่งแวดล้อมขึ้นมาแท นที่ ได้
สรุปไม่ว่าจะเกิดอะไรขึ้นโดยรวม ทุนทั้งหมดยังคงมีอยู่ระดับ เดิม และทุนประเภทต่างๆ
ส า ม า ร ถ ท ด แ ท น กั น ไ ด้ อ ย่ า ง ส ม บู ร ณ์ ( Perfect Substitutability)
เศรษฐกิจจึงยั่งยืนได้แต่ธรรมชาติอาจหายไป
เป้าหมายและตัวชี้วัดการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อม
เป้าหมาย ดัชนีชีวัด
การรักษาคุณภาพน้าแล
ะแหล่งน้า
 สัดส่วนของน้าจืดผิวดนที่ใช้ไปเทียบกับปริมาณน้าจืดผิวดินทั้งหมดที่
มีอยู่ในแต่ละปี
 ปริมาณการใช้น้าต่อคนต่อวันปริมาณน้าสารองใต้ดินสัดส่วนของแหล่
งน้าจืดที่มีความเข้มข้นของ Faecal
coliformเกินกว่ามาตรฐานขององค์การอนามัยโลก
Group หมูหมี
 ค่าปริมาณออกซิเจนในน้า (BOD)
สัดส่วนของน้าเสียที่ได้รับการบาบัดจานวนสถานี hydrological
ต่อตารางกิโลเมตร
เป้าหมาย ดัชนีชีวัด
การป้องกันทะเลมหาสมุทร
และชายฝั่ง
 อัตราการเพิ่มของประชากรในพื้นที่ชายฝั่งทะเล
 ปริมาณน้ามันที่ถูกปล่อยสู่ทะเลและมหาสมุทร
 ปริมาณการปล่อยสารไนโตรเจนและฟอสฟอรัสสู่ทะเลแล
ะมหาสมุทร
 สัดส่วนของมูลค่าสูงสุดของการประมงแบบยั่งยืนเทียบกับ
มูลค่าที่ได้จาการประมงที่เกดขึ้นจริง
 ดัชนีแอลจี (Algae index)
การวางแผนและบริหารจัดการการใ
ช้ประโยชน์จากผืนดิน
 การเปลี่ยนการใช้ประโยชน์จากที่ดิน
 การเปลี่ยนสภาพของผืนดิน
 การกระจายอานาจการบริหารจัดการทรัพยากรให้ท้องถิ่น
การจัดการระบบนิเวศน์ :
การพัฒนาพื้นที่ภูเขาอย่างยั่งยืน
 การเปลี่ยนแปลงของประชากรในเขตภูเขา
 การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรในเขตภูเขา
 สวัสดิการของประชากรในเขตภูเขา
การส่งเสริมการพัฒนาชนบทและก
ารเกษตรอย่างยั่งยืน
 ปริมาณการใช้สารเคมีในการเกษตรกรรม
 ปริมาณการใช้ปุ๋ยในการเกษตรกรรม
 สัดส่วนของพื้นที่ที่ไม่เหมาะสมแก่การเพาะปลูก
 การใช้พลังงานในการเกษตรกรรม
 พื้นที่ที่เหมาะสมแก่การเพาะปลูกต่อหัวประชากร
Group หมูหมี
2.3 มิติด้านเทคโนโลยีและพลังงาน
มนุ ษย์ได้นาเท ค โนโลยีมาใช้เป็ นเค รื่องมือในการพัฒ นาชีวิต ค วามเป็ นอยู่
ให้มีความสะดวกสะบายยิ่งขึ้น ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีเติบโตขึ้นเป็นอย่างมาก
เมื่อมีเท ค โนโลยีก็จะต้องมีพลังงานต่างๆที่จะใช้เป็ นตัว ขับ เค ลื่อนเท ค โนโลยีนั้นๆ
มนุษย์มุ่งเน้นในการเสาะแสวงหา และพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆ จนลืมที่จะตระหนักถึงพลังงาน
ที่นับวันจะมีแต่หมดสลายหายไป
วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ข อ ง ก า ร พั ฒ น า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ข อ ง I. Serageldin
ซึ่ ง ไ ด้ ก ล่ า ว ว่ า วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ข อ ง ก า ร พั ฒ น า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ
คือก ารท าให้ สวัส ดิการข อง สัง ค ม สูง สุดภ าย ใต้ ท รัพ ย าก รและเท ค โนโลยีที่ มีอ ยู่
ซึ่ ง ก็ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ นิ ย า ม ก า ร พั ฒ น า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ
ของสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ที่ได้นิยามการพัฒนา
เศรษฐกิจให้ยั่งยืน ไว้วา การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศให้เจริญเติบโตอย่างต่อเนื่องมีคุณภาพ
มีเสถียรภาพ ต้องเป็นการเติบโตที่ไม่ทาลายสิ่งแวดล้อมและยั่งยืนได้ในระยะยาวและมีการกระจาย
ความมั่งคั่งทั่วถึง อานวยประโยชน์ตอคนสวนใหญ่ โดยการพัฒนาที่มีคุณภาพนั้นก็คือ การผลิตและ
การใช้ปัจจัยการผลิตอย่างมีประสิทธิภาพนั้นเอง
มิ ติ ก า ร พั ฒ น า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ด้ า น ก า ร เ จ ริ ญ เ ติ บ โ ต ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ
การที่ประเท ศจะมีความเจริญ เติบโตด้านเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่ องและมีค วามมั่นคงนั้น
ส่ ว น ห นึ่ ง ก็ ม า จ า ก เ ท ค โ น โ ล ยี ที่ ทั น ส มั ย
ตัวชี้วัดซึ่งแสดงอัตราการเติบโตของการผลิตสินคาและบริการที่เกิดขึ้นในประเทศหรือผลิตภัณฑ์
มวลรวมภายในประเทศ (Gross Domestic Product : GDP) เป็นอัตราการเปลี่ยนแปลงของปริมาณ
การผลิตสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายที่สามารถผลิตขึ้นได้ของระบบเศรษฐกิจภายในประเทศ
โดยไม่คานึงถึงว่าทรัพยากรและพลังงานที่ใช้ในการผลิตสินคาและบริการจะเป็นแหล่งพลังงานของพลเมื
องในประเทศหรือ ชาวต่างประเทศ
มิ ติ ก า ร พั ฒ น า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ด้ า น ค ว า ม เ ส ม อ ภ า ค ( Equity)
ใน ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ มั ก จ ะ ใ ห้ ค ว า ม ส า คั ญ กั บ ก า ร ก ร ะ จ า ย ร า ย ไ ด้ ซึ่ ง
เป็นการกระจายผลประโยชนของการพัฒนาเศรษฐกิจให้ไปสู่ประชาชนส่วนใหญ่อย่างทั่วถึงเพื่อลดช่องว่
างด้านรายได้ของประชาชนหรือการสร้างความเท่ าเทียมกันในด้านรายได้ให้ประชาชนลด
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

More Related Content

What's hot

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง  เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
jaebarae
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
Guntima NaLove
 
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์
ออร์คิด คุง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
pentanino
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
Kowin Butdawong
 

What's hot (13)

จุ๊
จุ๊จุ๊
จุ๊
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง  เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียง1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
 
ประสบการณ์ปฏิรูปเศรษฐกิจของจีนและบทเรียน
ประสบการณ์ปฏิรูปเศรษฐกิจของจีนและบทเรียนประสบการณ์ปฏิรูปเศรษฐกิจของจีนและบทเรียน
ประสบการณ์ปฏิรูปเศรษฐกิจของจีนและบทเรียน
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยงกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
 
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นเศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 

Viewers also liked

Viewers also liked (9)

รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี สึนามิ
รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี สึนามิรวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี สึนามิ
รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี สึนามิ
 
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยงผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
 
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรากลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
 
กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2
กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2
กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2
 
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
 
กลุ่มไหน -- สิ่งแวดล้อมกับความมั่นคง
กลุ่มไหน -- สิ่งแวดล้อมกับความมั่นคงกลุ่มไหน -- สิ่งแวดล้อมกับความมั่นคง
กลุ่มไหน -- สิ่งแวดล้อมกับความมั่นคง
 
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขปกลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
 
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
 
วงรอบภัยพิบัติ บางขุนเทียน
วงรอบภัยพิบัติ บางขุนเทียนวงรอบภัยพิบัติ บางขุนเทียน
วงรอบภัยพิบัติ บางขุนเทียน
 

Similar to กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
sudza
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
sapay
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
Jiraprapa Suwannajak
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
Daungthip Pansomboon
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
freelance
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ENooilada
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
Pornthip Tanamai
 
ไอเอส1
ไอเอส1ไอเอส1
ไอเอส1
0866589628
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
Sawittri Phaisal
 
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์
ออร์คิด คุง
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
Suriyakan Yunin
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
IFon Lapthavon
 

Similar to กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (20)

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
 
183356
183356183356
183356
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหา
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหากลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหา
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหา
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาบริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
 
รายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seekerรายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seeker
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
 
ไอเอส1
ไอเอส1ไอเอส1
ไอเอส1
 
5
55
5
 
Crumu
CrumuCrumu
Crumu
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
 
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 

More from freelance

More from freelance (20)

International disaster management
International disaster management  International disaster management
International disaster management
 
Policy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionPolicy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reduction
 
geo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsgeo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systems
 
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsWeek 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
 
Week14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classWeek14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education class
 
Disaster education game
Disaster education gameDisaster education game
Disaster education game
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triage
 
Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessment
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informatics
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster education
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessment
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazard
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazard
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reduction
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survival
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medical
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systems
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reduction
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informatics
 

กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

  • 1. Group หมูหมี GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ดัชนีชี้วัดการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศไทยโดยใช้แนวคิด I. Serageldin กลุ่มหมูหมี 54210912 นายณัฐดนัย ธรรมประเสริฐดี 54210922 นายพงษ์ศักดิ์ เสาร์แดน 54210958 นายณัฐพล อมรเวชยกุล 54210947 นายสุวัฒน์ เอื้อวีระวัฒน์ 54210969 นายพลชัย เสวกราชสวัสดิ์ 54210930 นางสาวพิม เลิศทนุพงศ์ 54210921 นายพงศสุภัค แดงสอน 54210959 นายณัฐวุฒิ เอี่ยมอ่อน 54210977 นายศศิพงษ์ สุนทรวิภาต
  • 2. Group หมูหมี เรื่อง ดัชนีชี้วัดการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศไทยโดยใช้แนวคิด I. Serageldin 1. การสรุปสาระสาคัญจากหนังสือ ที่ ม า แ ล ะ ค ว า ม ส า คั ญ ข อ ง ห นั ง สื อ เ ล่ ม นี้ คื อ ให้ความสาคัญกับการเติบโตทางด้านเศรษฐกิจเป็นหลัก โดยใช้ดัชนีชี้วัดที่ใช้กันทั่วไปคือ ผลิตภัณฑ์มวลภายในประเทศ (Gross Domestic Product: GDP)และ ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (Gross National Product: GNP) ซึ่งดัชนีชี้วัดที่ได้กล่าวสร้างขึ้นมาเพื่อพิจารณาถึงมูลค่าสินค้าและบริการในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ซึ่งเป็นที่ยอมรับว่าเป็นดัชนีชี้วัดถึงการมีชีวิตที่ดี (Well-being) อย่างไรก็ตามการพิจารณาวัดระดับการพัฒนาประเทศนั้นไม่สามารถชี้วัดเศรษฐกิจด้านเดียวคง ไ ม่ เ พี ย ง พ อ แต่กระบวนการบางอย่างในการผลิตนั้นวัดได้ไม่ครบถ้วนเพราะกิจกรรมการผลิตบางอย่างไม่ได้ผ่านระบ บตลาดหรือเป็นกิจกรรมที่ผิดกฎหมายซึ่งไม่ได้วัดออกมาในรูปของตัวชี้วัดด้านเศรษฐกิจอีกทั้งความควา มแตกต่างระหว่างสินค้าที่ผลิตในระบบบัญ ชีประชาชาติของแต่ละประเทศก็แตกต่างกัน ป ร ะ ช า ก ร ข อ ง แ ต่ ล ะ ป ร ะ เ ท ศ ก็ ไ ด้ รั บ ค ว า ม พ อ ใ จ ที่ แ ต ก ต่ า ง กั น ที่สาคัญ ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมนั้นเป็นผลสืบเนื่องจากกระบวนการผลิตต่างๆ ใ น ก ร ร ม วิ ธี ก า ร ผ ลิ ต สิ น ค้ า ที่ ไ ม่ เ ห ม า ะ ส ม ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด ม ล ภ า ว ะ ซึ่งการวัดและตีค่าผลกระทบเหล่านี้สามรถทาได้ยากเป็นผลให้การนาตัวชี้วัดทางเศรษฐกิจเพียงอย่างเดี ยวมาพิจารณาบ่งชี้ระดับการพัฒนาประเทศอาจยังไม่ถูกต้องสมบูรณ์มากนัก แต่การศึกษาและวิจัยในอีกด้านหนึ่งกลับพบว่าผลการพัฒนาไม่สอดคล้องกับดัชนีชี้วัดการพัฒน า ด้ า น อื่ น ๆ เ ช่ น จ า น ว น อ า ช ญ า ก ร ร ม ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น จานวนพื้นที่ป่าไม้ที่ลดลงแสดงให้เห็นว่าการใช้ดัชนีชี้วัดการพัฒนาด้านเศรษฐกิจเพียงด้านเดียวนั้นไม่ส า ม า ร ถ ชี้ วั ด ไ ด้ ว่ า ป ร ะ เ ท ศ มี ก า ร พั ฒ น า ทั้งที่ผ่านมาการเร่งการขยายตัวทางเศรษฐกิจในเชิงปริมาณโดยการขยายตัวทางการผลิตอย่างรวดเร็วทั้ งในด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรมและบริการ พบว่าได้ก่อปัญหามากกว่าจะเกิดการพัฒนา เช่น การอพยพถิ่นฐานย้ายถิ่นของประชากรจากเขตชนบทเข้าสู่พื้นที่เมืองใหญ่ ก่อให้เกิดปัญหาสังคมตามา อ า ทิ ปั ญ ห า ค ว า ม แ อ อั ด ใน ชุ ม ช น ร ว ม ถึ ง ส ภ า พ แ ว ด ล้อ ม ม ล พิ ษ ต่ า ง ๆ ซึ่งจะนาไปสู่ความขัดแย้งทางสังคมความไม่เท่าเทียมกันในการครอบครองทรัพยากรระหว่างคนในสังคม เมื่อพิจารณาจากสถานะของประเทศซึ่งไม่ใช่เป็นเพียงแค่หน่วยเศรษฐกิจที่มีหน้าที่ทากิจกรรมท างเศรษฐกิจ แต่ประเทศยังมีหน้าที่อื่นอีก เช่น การบริโภค การผลิต เพื่อแสวงหาเงินตรา และกาไรสูงสุดเพียงเท่านั้น แต่ประเทศยังมีหน้าที่อื่นอีก เช่น การสร้างความสุขให้กับประชาชนในสังคม แ ล ะ ก า ร รั ก ษ า ดู แ ล สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ใ ห้ เ ห ม า ะ ส ม
  • 3. Group หมูหมี ซึ่งห มาย ถึง การข ย าย ห รือเพิ่มศั กย ภ าพ ในการน าไป สู่สถานภ าพ ที่ดีกว่ าม นุ ษ ย์ ซึ่ ง เ ป็ น ก า ร เ พิ่ ม ขึ้ น ข อ ง ปั จ จั ย ท า ง ด้ า น ป ริ ม า ณ เ ท่ า นั้ น ฉะนั้นการวัดระดับ การพัฒ นาป ระเท ศด้วยการใช้ผลิตภัณ ฑ์มวลรว มภายในป ระเท ศ หรือผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ เป็นเครื่องชี้วัดการพัฒนาเพียงด้านเดียวอาจยังไม่ครอบคลุม หากแต่ควรวิเคราะห์ถึงปัจจัยด้านสังคมและด้านสิ่งแวดล้อมด้วย เพราะการพัฒนาในหลายๆ ด้านประกอบกันนั้น ก่อให้เกิดเป็นแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน ซึ่งจากการพัฒนาในรูปแบบดังกล่าวทาให้เกิดกระแสความต้องการการพัฒนาที่ยั่งยืน หมายถึง รูปแบบการพัฒนาที่ตอบสนองต่อความต้องการของคนในรุ่นปัจจุบันโดยไม่ทาให้คนรุ่นต่อไปในอนาคตต้ องประนีประนอมยอมลดทอนความสามารถในการที่จะตอบสนองค วามต้องการของตน โดย ที่ ก ารพัฒ นาที่ ยั่ง ยืนจะต้อง มีลัก ษณ ะบู รณ าการ คือท าให้เกิ ดเป็ นอ ง ค์รว ม โดยองค์ประกอบต้องมาประสานกันครบองค์แลมีดุลยภาพหรือทาให้กิจกรรมของมนุษย์สอดคล้องกับกฎ เ ก ณ ฑ์ ข อ ง ธ ร ร ม ช า ติ ดังนั้นแนวคิดแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนคงจะไม่ตอบสนองการพัฒนาด้านเศรษฐกิจเพียงด้านเดียวเท่านั้ น ยั ง ต้ อ ง มี ก า ร พั ฒ น า ท า ง ด้ า น สั ง ค ม แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ด้ ว ย ฉะนั้นจึงจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการศึกษารูปแบบการพัฒนาที่ยั่งยืนนี้อย่างเป็นระบบและสร้างเครื่องมื อชี้วัดการพัฒนาที่ยั่งยืนเพื่อนามาประเมินได้ว่าประเทศได้พัฒนาอย่างยั่งยืนหรือไม่ ดังนั้นหนังสือเล่มนี้จึงสนใจที่จะศึกษา พัฒนา และรวบรวมตัวชี้วัดเชิงเดี่ยวที่มีอ ยู่ เพื่อจะได้เป็นประโยชน์ในการดาเนินการกาหนดทิศทางกรอบนโยบายการพัฒนาในระดับประเทศ และจะช่วยในการวางแผนพัฒนาประเทศในรูปแบบที่สอดคล้องกับการพัฒนาที่ยั่งยืนต่อไปได้ ซึ่ง ห นัง สือเล่มนี้มีวัตถุป ระสงค์คือ เพื่อคัดเลือกตัว ชี้วัดการพัฒ นาเศ รษ ฐกิจ เพื่อคัดเลือกตัวชี้วัดการพัฒ นาท างสังคม เพื่อคัดเลือกตัวชี้วัดการพัฒ นาสิ่งแวดล้อม เ พื่ อ จั ด ท า ดั ช นี ชี้ วั ด ก า ร พั ฒ น า ที่ ยั่ ง ยื น ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ซึ่งขอบเขตจะกระทาอยู่ภายใต้กรอบแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนโดยการทาให้เกิดดุลยาภาพในประเด็นกา รพัฒนา 3 มิติ คือ มิติการพัฒนาเศรษฐกิจ มิติการพัฒนาสังคม และมิติการพัฒนาสิ่งแวดล้อม แนว คิด การพัฒ นาที่ ยั่งยืน และท ฤษ ฏีเศ รษฐศ าสต ร์กับ การพัฒ นาที่ ยั่งยื น เป็นการศึกษาแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนจาเป็นจะต้องศึกษาทาความเข้าใจความหมายของคาสองคาคือ คาว่า “การพัฒนา” และคาว่า ”ยั่งยืน” เป็นอันดับแรก อันเนื่องมาจากเป็นแนวคิดที่เป็นพื้นฐานที่สาคัญ ที่ จ ะ น า ไ ป สู่ แ น ว คิ ด ก า ร พั ฒ น า ที่ ยั่ ง ยื น ไ ด้ อ ย่ า ง เ ข้ า ใ จ ถ้าหากไม่สามารถทาความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของการพัฒนาและยั่งยืนได้อย่างเข้าใจแล้วก็จาทา ให้เกิดปัญหาเมื่อนาเข้าไปสู่การศึกษาเพื่อทาความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนได้ สาหรับความหมายของการพัฒนาก็มีหลายความหมายตามมุมมองที่มุ่งเน้นการพัฒนาในแต่ละด้าน
  • 4. Group หมูหมี เมื่ อได้ศึกษ าถึง ค ว ามห ม าย ข อง การพัฒ นาไป แล้ว นั้นต่ อไป จะได้กล่าว ถึง ความหมายของคาว่ายั่งยืน โดยได้รวบรวมไว้ได้ดังต่อไปนี้คาว่า ยั่งยืน มีการให้คานิยามอยู่ 3 แนวทาง คือ ก า ร พั ฒ น า คื อ ก ร ะ บ ว น ก า ร ห ล า ย มิ ติ ซึ่งประกอบด้วยการเปลี่ยนแปลงในด้านโครงสร้างทางสังคม ท่าทีของประชาชน สถาบันต่างๆ ของชาติ ก า ร เ ร่ ง รั ด ค ว า ม เ จ ริ ญ เ ติ บ โ ต การลดความไม่เท่าเทียมกันและขจัดความยากจนนั่นคือการเปลี่ยนแปลงต่อระบบสังคมทั้งระบบ แ ล ะ มุ่ ง สู่ ก า ร ส น อ ง ต อ บ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ขั้ น พื้ น ฐ า น ข อ ง ก ลุ่ ม ช น ต่ า ง ๆ ในสังคมภายในระบบนั้นเป็นการก้าวออกจากสภาพชีวิตที่ไม่น่าพึงพอใจไปสู่สภาพชีวิตที่ดีกว่าทั้งในด้า นวัตถุและรู้สึกนึกคิด แ น ว สั ง ค ม ห ม า ย ถึ ง เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการตอบสนองความต้องการขึ้นพื้นฐานอย่างต่อเนื่องซึ่งมนุษย์จะต้องได้รับคือปัจจัยสี่ และหมายถึงการสนองตอบความต้องการระดับสูง เช่น ความมั่นคง เสรีภาพ การมีงานทา ความยั่งยืนทางสังคมจะเน้นเรื่องการส่งเสริมความสุขสมบูรณ์ของมวลชนส่วนใหญ่เป้าหมายสาคัญ คือการรักษาคุณภาพชีวิตให้มีระดับสูงอย่างยาวนาน แ น ว นิ เ ว ศ เน้นความยั่งยืนของการทางานและประสิทธิภาพของระบบนิเวศเพื่อก่อให้เกิดความยั่งยืนทางนิเวศในระ ยะเวลายาวจาเป็นต้องมีการคุ้มครองทรัพยากรทางพันธุกรรมและการอนุรักษ์ความหลากหลายทางธรร ม ช า ติ ซึ่งเป้าหมายที่สาคัญที่สุดคือการจัดการและการรักษาระบบนิเวศรวมทั้งการสนับสนุนให้ชีวิตทั้งหลายอยู่ รอด แนว เศ รษ ฐกิจ เน้ นเรื่อง การข ย าย ตัว ท าง เศ รษ ฐกิ จอย่ าง ยั่ง ยื นย าว น าน ในอัตราที่สูงแต่นักเศรษฐศาสตร์สีเขียวซึ่งเป็นนักเศรษฐศาสตร์ที่คานึงถึงสิ่งแวดล้อมและนิเวศวิทยา มีแนวคิดอีกแบบ กล่าวคือ เศรษฐกิจยั่งยืน หมายถึงเศรษฐกิจที่คานึงถึงระบบนิเวศและโลก ธรรมชาติคุณค่าทางชีวิตจิตใจมากว่าคานึงถึงความเจริญทางเศรษฐกิจ การพัฒ นาที่ยั่งยืน เป็นรูป แบบ ของการพัฒ นาที่ตอบสนองต่อเป้ าห มายของ 3 ระบบหลักด้วยกันคือ ระบบทางชีววิทยาหรือระบบนิเวศ ระบบเศรษฐกิจและระบบสังคม โดยแต่ละระบบสามารถพัฒนาไปสู่เป้าหมายของตนเองได้ ซึ่งเป้าหมายของแต่ละระบบเป็นดังนี้ 1. เป้ าห มาย ข อง ระ บ บ นิเว ศ คือ ก ารนาไป สู่ค ว าม ห ลาก ห ลาย ท างพัน ธุก รรม ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใน ก า ร ก ลั บ สู่ ส ม ดุ ล ใ น ก ร ณี ถู ก ร บ ก ว น ห รื อ ถู ก ใช้ ไ ป ความสามารถในการกลับคืนสู่สมดุลให้ผลผลิตทางชีวภาพ
  • 5. Group หมูหมี 2, เป้าหมายของระบบเศรษฐกิจ คือ การนาไปสู่การได้รับความต้องการขึ้นพื้นอย่างพอเพียง ส่งเสริมให้เกิดการเท่าเทียมกันและมีสินค้าและบริการเพิ่มขึ้น 3. เป้าหมายของระบบสังคม คือ การนาไปสู่ความหลากหลายทางวัฒนธรรม มีสถาบันที่ยั่งยืนยาวนาน การพัฒนาที่ยั่งยืนในอดีตจะเน้นเฉพาะด้านเศรษฐกิจเท่านั้นแต่จากการศึกษาและประมวลความ หมายการพัฒนาที่ยั่งยืนจะได้นิยามของการพัฒนาที่ยั่งยืน คือ เป็นรูปแบบการพัฒนาที่ดาเนินไป โดยพิจารณาทั้งด้านป ริมาณ และคุณภาพอีกทั้งยังคานึงถึงมิติเวลามาพิจารณ าด้ว ย นั้นคือการพัฒนาที่ยั่งยืนต้องมีการพัฒนาแบบองค์รวมผสมผสานการพัฒนาด้านเศรษฐกิจด้านสังคมและ ด้ า น สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม เ ข้ า ไ ว้ ด้ ว ย กั น อ ย่ า ง ส ม ดุ ล ไม่เกิดความขัดแย้งซึ่งกันและกันและสามารถยกระดับคุณภาพชีวิตของมนุษย์ให้สูงขึ้นได้ รวมทั้งสนองความต้องการในปัจจุบันโดยไม่ส่งผลเสียต่อความต้องการของคนในอนาคตด้วย แ น ว คิ ด ก า ร วั ด ร ะ ดั บ ก า ร พั ฒ น า ที่ ยั่ ง ยื น จะพิจารณาแนวคิดบาโรมิเตอร์สาหรับการวัดระดับพัฒนาที่ยั่งยืน เป็นรูปแบบการรวมดัชนีชี้วัด 2 ระบบ คื อ ร ะ บ บ นิ เ ว ศ แ ล ะ ร ะ บ บ ม นุ ษ ย์ โ ด ย ให้ ค่ า ร ะ ดั บ ก า ร พั ฒ น า ทั้ ง 2 ระบบล้วนนามารวมเป็นระดับหรือดัชนีการวัดการพัฒ นาที่ยั่งยืน การวัดการพัฒนาทั้ง 2 ระบ บ เป็ น การวัดโดย ที่ ทั้ง สอง ระบ บ ไม่ส าม ารถ น าม าท ดแ ท นกั นได้ ก ล่าว คือ แ ม้ ว่ า ร ะ บ บ ม นุ ษ ย์ จ ะ ไ ด้ รั บ ก า ร พั ฒ น า ดี ขึ้ น แต่ถ้าระบบนิเวศไม้ได้รับการพัฒนาโดยถูกปล่อยปะละเลยระบบโดยรวมก็ไม่เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนได้ ในทางตรงกันข้ามถ้าดูแลรักษาแต่ระบบนิเวศแต่ไม่ดูแลระบบมนุษย์ละก็ไม่เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนเช่นกั น ท ฤ ษ ฏี ท า ง เ ศ ร ษ ฐ ศ า ส ต ร์ กั บ แ น ว คิ ด ก า ร พั ฒ น า ที่ ยั่ ง ยื น เพื่อให้สนับสนุนแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนในการศึกษาครั้งนี้พิจารณาภายใต้การเลือกใช้หรือการบริโภค ระหว่างช่วงเวลา ในทฤษฏีเศรษฐศาสตร์จุลภาค โดยอาศัยความรู้ในเรื่องความพอใจในการบริโภค โดยหลักทฤษฏีการบริโภคระหว่างช่วงเวลาเมื่อประยุกต์กับการพัฒนาที่ยั่งยืนจะเป็นการพัฒนาที่เน้นคว ามเท่าเทียมของการบริโภคของมนุษย์ระหว่างเวลาปัจจุบันและเวลาในอนาคตภายใต้ทรัพยากรที่มีอยู่จา กั ด แ ล ะ แ ส ด ง ใ ห้ เ ห็ น ไ ด้ เ ส้ น ค ว า ม พ อ ใ จ เ ท่ า กั น โดยที่ลักษณะของเส้นความพอใจเท่ากันจะสะท้อนถึงรสนิยมของผู้บริโภค ณ เวลาต่างๆ กั น ใน ที่ นี้ คื อ พั ฒ น า ก า ร ท า ง สั ง ค ม แ ล ะ ก า ร เ ติ บ โ ต ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ภายใต้ทรัพยากรที่เป็นปัจจัยการผลิตที่สาคัญที่เป็นข้อจากัดคือ ทรัพยากรธรรมชาติ จากการตรวจสอบเอกสารงานวิจัยหรือผลการศึกษาของนักวิชาการหลายท่านที่พิจารณาการพั ฒ น า ใน ลัก ษ ณ ะ ห ล า ย มิ ติ ซึ่ ง ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ แ น ว คิ ด ก า ร พั ฒ น า ที่ ยั่ง ยื น แ ล ะ มี บ า ง ส่ ว น ที่ ศึ ก ษ า ห รือ มี แ น ว คิ ด ก า ร พั ฒ น า เ พี ย ง บ า ง ด้ า น เ ท่ า นั้ น
  • 6. Group หมูหมี อย่ าง ไรก็ตามผลจากการตรวจสอบ เอกสารที่ ผ่านมาผู้วิจัย สามารถนาค ว ามรู้ที่ ได้ เพื่อนาไปทาการศึกษาต่อไป ก า ร เ ก็ บ ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล ข อ ง ห นั ง สื อ เ ล่ ม นี้ คื อ การศึกษาดัชนีชี้วัดการพัฒ นาที่ยั่งยืนของป ระเทศไทยโดยใช้แนวคิดของ I. Serageldin จะท า ก ารจัด ท าดัช นีชี้ วั ด ก ารพั ฒ น าที่ ยั ง ยื น โด ย จะรว บ รว ม ข้ อมู ล ทุ ติย ภู มิ จากแห ล่งข้อมูลคือสานักงานค ณะกรรมการพัฒ นาการเศ รษฐกิจและสังค มแห่ งชาติ ธนาคารแห่งประเทศไทย สานักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ก ร ะ ท ร ว ง ส า ธ า ร ณ สุ ข ก ร ม ค ว บ คุ ม ม ล พิ ษ เ ป็ น ต้ น การจัดทาดัชนีชี้วัดการพัฒนาที่ยั่งยืนครั้งนี้จะจัดทาในลักษณะดัชนีเชิงรวมที่ประกอบไปด้วย มิติการพัฒนา 3 มิติ คือ มิติการพัฒนาเศรษฐกิจ มิติการพัฒนาสังคม มิติการพัฒนาสิ่งแวดล้อม โด ย ก า ร พั ฒ น า ที่ ยั ง ยื น เ ป็ น ก า ร ผ ส ม ผ ส า น ก า ร พั ฒ น า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ สั ง ค ม สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม เ ข้ า ไ ว้ ด้ ว ย กั น อ ย่ า ง ส ม ดุ ล โ ด ย ไ ม่ ก่ อ ค ว า ม ขั ด แ ย้ ง แ ล ะ จ ะ พิ จ า ร ณ า ก า ร พั ฒ น า ที่ ยั่ ง ยื น เ พี ย ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย เ ท่ า นั้ น การรวบรวมตัวชี้วัดเพื่อจัดทาดัชนีชี้วัดการพัฒนาที่ยั่งยืนจะใช้กรอบแนวคิดวัตถุประสงค์ของการพัฒนา ที่ยั่งยืนของ I. Serageldinซึ่งการพัฒนาที่ยั่งยืนในแต่ละด้านของการพัฒนาเพื่อจัดทาดัชนีรวมดังต่อไปนี้ 1. การพัฒนาเศรษฐกิจ วัตถุประสงค์หลักของการพัฒนาเศรษฐกิจ คือ การทาให้สวัสดิการของสังคมสูงสุด ภายใต้ทรัพยากรและเทคโนโลยีที่มีอยู่ โดยทั่วไปการพัฒนาเศรษฐกิจให้บรรลุได้มีวัตถุประสงค์องค์ประกอบที่สาคัญ ประกอบด้วย ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความเสมอภาค และความมีประสิทธิภาพ 2. การพัฒนาสังคม วัตถุประสงค์หลักของการพัฒนาสังคมคือ เน้นการพัฒนาคนและสังคมเป็นสาคัญโดยมีขอบข่ายความจาเป็นและความต้องการของคน ทั้งระดับบุคคลและระดับส่วนรวมของสังคมเป็นเครื่องชี้วัด โดยทั่วไปการพัฒนาสังคมให้บรรลุได้มีวัตถุประสงค์องค์ประกอบสาคัญ ประกอบด้วย ความเข้มแข็ง การมีส่วนร่วม การเลื่อนชั้นทางสังคม ความสามัคคีของคนในสังคมการมีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม การพัฒนาของสถาบันในสังคม 3. การพัฒนาสิ่งแวดล้อม วัตถุประสงค์หลักของการพัฒนาสิ่งแวดล้อม คือ เน้นการพัฒนาอนุรักษ์ความสมบูรณ์และคุณภาพของสิ่งแวดล้อม ทั้งในด้านโครงสร้างและหน้าที่ของระบบการรักษาองค์ประกอบและปฏิสัมพันธ์ระหว่างองค์ ประกอบต่างๆ ของระบบ ซึ่งจะมีความสาคัญต่อความเสถียรภาพของระบบนิเวศน์ของโลก ความสามารถในการรองรับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ความหลากหลายทางชีวภาพ และประเด็นทางด้านสิ่งแวดล้อมของโลกโดยทั่วไปการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อมให้บรรลุได้มีวั ตถุประสงค์องค์ประกอบที่สาคัญ ประกอบด้วย ความสมบูรณ์ของระบบนิเวศ
  • 7. Group หมูหมี ความสามารถในการรองรับ ความหลากหลายทางชีวภาพ ประเด็นทางด้านสิ่งแวดล้อมของโลก โดยแสดงวัตถุองค์ประกอบการพัฒนาที่ยั่งยืนในแต่ละด้าน ผ ล ก า ร วิ จั ย ใ น ห นั ง สื อ นี้ จ ะ แ บ่ ง อ อ ก เ ป็ น 3 ส่ ว น คื อ 1. การคัดเลือก ตัว ชี้ วัดในมิติก ารพัฒ น าเพื่ อจัด ท าดัช นี ชี้วัด การพัฒ นาที่ ยั่ง ยืน 2. ก า รวิ เ ค ร า ะ ห์ แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร พั ฒ น า จ า ก ตั ว ชี้ วั ด ที่ คั ด เ ลือ ก แ ล ะ 3. การวิเคราะห์ค่าดัชนีชี้วัดการพัฒนาในมิติต่างๆและค่าดัชนีชี้วัดการพัฒนาที่ยังยืน การคัดเลือกตัวชี้วัดในแต่ละมิติการพัฒนา เมื่อพิจารณาความหมายของตัวชี้วัด ซึ่งหมายถึง วิธีการวัด การบ่งชี้ หรือการระบุเกี่ยวกับความชัดเจนของสิ่งต่างๆ หรือ สิ่งที่เป็นสัญญาณ เครื่องหมาย อ า ก า ร สิ่ ง ที่ ใช้ แ ส ด ง เ งื่ อ น ไ ข ที่ ส า ม า ร ถ บ อ ก ใ ห้ เ ห็ น ไ ด้ ข อ ง ร ะ บ บ เพราะฉะนั้นการสร้างตัวชี้วัดเพื่อวัดระดับการพัฒนาที่ยั่งยืนนั้นตัวชี้วัดต้องแสดงให้เห็นถึงความเกี่ยวพั นเชื่อมย งป ระเด็นการพัฒ น าเศ รษฐกิจ การพัฒ นาสังค มและการพัฒ นาสิ่งแวดล้อม ซึ่ลัก ษ ณ ะข อ ง ตั ว ชี้ วั ด ที่ ดี ที่ จ ะเ ป็ น เ ก ณ ฑ์ ทั่ว ไป ใน ก าร จัด ท าดั ช นี ชี้ วั ด นั้ น บ่งบอกถึงความสามารถในการรองรับ ดัชนีชี้วัดการพัฒนาที่ยั่งยืนจะต้องมีความสามารถในการรองรับ
  • 8. Group หมูหมี การชุมชนจะใช้ทรัพยากรในอัตราที่เร็วกว่าการฟื้นตัวหรือสร้างขึ้นใหม่ หรือชุมชนนั้นใช้ทุน นั้นห รือชุ มช นนั้นใช้ผลป ระโย ชน์ที่งอกเงย จากการใช้ท รัพย ากรห รือมีการสร้างทุ น เ พิ่ ม ใ ห้ กั บ ชุ ม ช น ห รื อ ไ ม่ ใ น ห ล า ย ก ร ณี สิ่งนี้ไม่ได้หมายถึงการวัดในรูปแบบของเงินมันไม่ได้หมายถึงมูลค่ารวมในชุมชนที่มีความสาคัญกับการ พัฒนาที่ยั่งยืนแต่สิ่งเหล่านี้หมายถึงการที่ประชาชนมีทุนแหล่งนี้เพียงพอที่จะใช้ในอนาคต ส า ม า ร ถ ท า ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ไ ด้ ง่ า ย การคัดเลือกดัชนีชี้วัดการพัฒ นาที่ยั่งยืนการคัดเลือกดัชนีชี้วัดที่สามารถเข้าใจได้ง่าย ป ระ ช าช นส าม ารถเข้ าใจ สาเห ตุ ข อง ปัญ ห าและ ขั้นต อน ในก ารแก้ ปัญ ห าต่ าง ๆ รวมทั้งการเป็ นส่วนหนึ่งของการแก้ปัญหา นอกจากนั้นความเข้าใจดังกล่าวจะทาให้ประชาชน โดยทั่วไปเข้าใจถึงกฎระเบียนต่างๆ ซึ่งจะทาให้ลดแรงต้านต่อกฎระเบียบต่างๆ ที่ออกมากได้ น า ไ ป ใ ช้ ง า น ไ ด้ ถ้าดัชนีชี้วัดไม่สามารถนามาใช้ในชุมชนได้มันจะไม่มีทางส่งผลถึงสิ่งที่ประชาชนไดจัดทาดัชนีชี้ วัด สาม ารถ ช่ ว ย ป ระช าช น เช้ าใจถึง ค ว าม จ าเป็ น ใน ก ารเป ลี่ย นแ ป ล ง พ ฤ ติกรร ม เพื่อที่จะส่งผลถึงการพัฒนาที่ยั่งยืนของชุมชน แสดงถึงแนวโน้มระย ะย าว ก ารพัฒ นาที่ยั่งยืนค วรมีเป้ าห มายระย ะย าวดังนั้น ดัชนีชี้วัดที่ใช้วัดการพัฒนาที่ยั่งยืนจาเป็นจะต้องมีระยะยาว ประมาณ 25-50 ปี ไม่ใช่เพียงแค่ 5-10 ปี แสดงถึงความเกี่ยวพันเชื่อมโยงในด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคมและด้านสิ่งแวดล้อม ดัชนีชี้วัดแบบดั้งเดิมมีแนวโน้มที่จะชี้ลงไปถึงปัญหาเพียงด้านใดด้านหนึ่งของชุมชน ตัวอย่างเช่น หากมองถึงประเด็นการเพิ่มงานโดยไม่ได้พิจารณารายละเอียดอื่น ๆ เช่น ประเภทของงาน ระยะเวลา เหล่านี้อาจจะเป็นการสร้างปัญหาอื่นให้ชุมชน การคัดเลือกตัวชี้วัดการพัฒ นาเศรษฐกิจ โดยสรุป จากกรอบแนวคิด I. serageldin และนักวิชาการรวมทั้งหน่วยงานภาครัฐ เช่น สศช. ที่ได้เสนอแนวคิดการพัฒนาเศรษฐกิจ ดังข้างต้น จึงสามารถสรุปได้ว่าประเด็นสาหรับการคัดเลือกตัวชี้วัดการพัฒนาที่ยั่งยืน มิติการพัฒนาเศรษฐกิจ แบ่งเป็ น 3 องค์ป ระกอบ คือ 1. การเจริญ เติบโตท างเศรษฐกิจ 2. คว ามเสมอภาค 3. ความมีประสิทธิภาพ 1. การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ คือ ภาวการณ์ทางเศรษฐกิจที่มีการเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่องและมีความมั่นคงไม่ทาให้ราคาสินค้าเพิ่มสูงขึ้น
  • 9. Group หมูหมี มากกว่ารายได้ของประชาชนที่เพิ่มสูงขึ้นโดยตัวชี้วัดที่จะคัดเลือกมาเพื่อใช้เป็นเครื่องมือบ่งชี้การเจริญเ ติบโตทางเศรษฐกิจจะพิจารณาจากตัวชี้วัดซึ่งแสดงอัตราการเติบโตของการผลิตสินค้าและบริการที่เกิดขึ้ นในประเทศหรือผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ เป็นอัตราการเปลี่ยนแปลงของปริมาณการผลิตสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายที่สามารถผลิตขึ้นได้ของระบ บเศรษฐกิจภายในประเทศโดยไม่คานึงถึงว่าทรัพยากรที่ใช้ในการลิตสินค้าและบริการจะเป็นทรัพยากรข องพลเมืองในประเทศหรือขาวต่างประเทศ 2. ความเสมอภาค ในทางเศรษฐกิจมักจะให้ความสาคัญกับการกระจายรายได้ซึ่งเป็นการกระจายผลประโยชน์ของการพัฒ นาเศรษฐกิจให้ไปสู่ประชาชนส่วนใหญ่อย่างทั่วถึงเพื่อลดช่องว่าง ด้านรายได้ของประชาชนหรือการสร้างความเท่าเทียมกันในด้านรายได้ให้ประชาชนลดความยากจนและ ลดปัญหาการว่างงานโดยการทาให้ประชาชนมีงานทา หากประเทศใดมีความไม่เสมอภาคของการกระจายรายได้นั้นแสดงให้เห็นถึงว่าประเทศนั้นเป็นประเทศ ที่กาลังพัฒนา ความไม่เสมอภาคทางเศรษฐกิจเนื่องจากกลุ่มที่มีรายได้สูงมักจะเป็นคนกลุ่มน้อยที่สามรถเพิ่มพูนรายได้ ให้ตนเองได้สูงมากขึ้นมีความเป็นอยู่ที่ดี ซึ่งสามารถคัดเลือกตัวชี้วัดความเสมอภาคทางเศรษฐกิจได้ตามประเด็นดังนี้ 2.1 การวัดความยากจน ตัวชี้วัดที่นิยมใช้คือ สัดส่วนคนจนเป็นดัชนีชี้วัด ที่แสดงถึงการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศว่ามีการกระจายไปสู่ประชากรอย่างเท่าเทียมหรือไม่ 2.2 การวัดความเหลื่อมล้าในการกระจายรายได้ มีตัวชี้วัดที่นิยมใช้ได้แก่ สัมประสิทธิ์การกระจายรายได้หรือจากสัมประสิทธิ์ ใช้วัดความไม่เท่าเทียมกันในส่วนแบ่งรายได้ของกลุ่มคนที่แบ่งตามระดับรายได้ของกลุ่มคนที่แบ่งตามระ ดับรายได้ และเนื่องจากการกระจ่ายรายได้ จะมีผลต่ออัตราความยากขนของประเทศ ถ้ามีการกระจายรายได้ที่เป็นธรรมก็จะทาให้มีโอกาสในการศึกษาเพิ่มขึ้นทาให้คนมีโอกาสทางานมีรายไ ด้ คนจนลดลง 2.3 การวัดปัญหาการว่างงาน ตัวชี้วัดที่สาคัญและนิยมใช้เพื่อบ่งชี้สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจมหภาคที่รู้จักกันทั่วไป คือ อัตราการว่างงาน หรืออัตราการไม่มีงานทา หมายถึง ค่าร้อยละของผู้ที่ไม่มีงานทาในกาลังแรงงาน
  • 10. Group หมูหมี แสดงให้ทราบถึง จานวนประชากรวัยแรงงานที่มีความต้องการงาน แต่ไม่สามารถหางานทาได้ ซึ่งบ่งชี้ถึงการกระจายการพัฒนาอย่างเป็นธรรมและความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างมีเสถียรภาพข องประเทศ อัตราการว่างงานจะผันแปรไปในทิศตรงข้ามกับ GDP 3. ความมีประสิทธิภาพ การพิจารณาประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจนั้นตามความหมายที่ของคาว่า ประสิทธิภาพ ไว้อย่างชัดเจน คือ การจัดสรรทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพในสังคมเป็นสิ่งที่พึงประสงค์ คาว่าประสิทธิภาพของสังคมโดยรวมหมายความรวมถึง หน่วยธุรกิจหรือครัวเรือนจะมีประสิทธิภาพถ้าสามารถผลิตสินค้าได้มากที่สุดหรือบริโภคสินค้าหรือบริกา รได้มากที่สุด ณ ระดับใดระดับหนึ่งของทรัพยากรที่มีอยู่ หรือการผลิตสินค้าอย่างมีประสิทธิภาพสอดคล้องกับศักยภาพของประเทศและความต้องการของตลาดมี การใช้ปัจจัยการผลิตที่มีประสิทธิภาพ โดยสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแก่งชาติได้คัดเลือก ประสิทธิภาพการผลิตโดยรวมเป็นเครื่องบ่งชี้ความมีประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ โดยวัดผลิตภาพการผลิตรวมของประเทศเพราะประสิทธิภาพการผลิตรวมที่ดีจะช่วยส่งเสริมให้เกิดการข ยายตัวทางเศรษฐกิจ
  • 11. Group หมูหมี การคัดเลือกตัวชี้วัดการพัฒนาทางสังคมให้คาจากัดความไว้มากมาย ซึ่งในมิติของการพัฒนาสังคมจะเน้นการพัฒนาประชาชนเป็นหลัก โดยมีขอบข่ายของความจาเป็นและความต้องการของประชาชนเป็นตัวชี้วัดโดยวัตถุประสงค์ที่ต้องการบ รรลุการพัฒนาสังคมได้แก่ ความแข้มแข็งของสังคม การมีส่วนร่วม การเลื่อนขั้นทางสังคม ความสามัคคีของคนในสังคม การมีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม โดยจะต้องมีการพัฒนาสังคมให้บรรลุในระดับบุคคลและความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเพื่อให้ครอบคลุมใน ทุกภาคส่วนของสังคมด้วย
  • 12. Group หมูหมี การคัดเลือกตัวชี้วัดการพัฒนาสิ่งแวดล้อม เป็นการศึกษาการพัฒนาสิ่งแวดล้อม ยังคงอาศัยกรอบแนวคิดของ I. Serageldin และแนวคิดการพัฒนาสิ่งแวดล้อมของนักวิชาการและหน่วยงานรัฐ เช่น คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ซึ่งได้อธิบายถึงวัตถุประสงค์ของการพัฒนาที่ยั่งยืน ประเด็นสิ่งแวดล้อม คือเน้นการพัฒนาอนุรักษ์ความสมบูรณ์และคุณภาพของสิ่งแวดล้อม ทั้งในด้านโครงสร้างและหน้าที่ของระบบ การรักษาองค์ประกอบและปฏิสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบต่างๆ ของระบบ ซึ่งจะมีความสาคัญต่อความเสถียรภาพของระบบนิเวศของโลกความสารถในการรองรับทรัพยากรธรรม ชาติและสิ่งแวดล้อมความหลากหลายทางชีวภาพและประเด็นทางด้านสิ่งแวดล้อมของโลก โดยทั่วไปการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อมให้บรรลุได้มีวัตถุประสงค์องค์ประกอบสาคัญประกอบด้วย ความสมบูรณ์ของระบบนิเวศ ความสามารถในการรองรับ ความหลากหลายทางชีวภาพ ประเด็นทางด้านสิ่งแวดล้อมของโลก หนังสือเล่มนี้ได้ให้ข้อเสนอแนะจากผลการวิจัยว่า จากการวิจัยสามารถให้เห็นถึงภาพรวมของการจัดทาดัชนีชี้วัดการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศไทยและทิ ศทางการพัฒนาตามแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนได้ชัดเจนมากขึ้น
  • 13. Group หมูหมี และสามารถนาไปสู่ข้อเสนอแนะซึ่งจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อไป โดยแบ่งการพิจารณาเป็นสองส่วนคือ ข้อเสนอแนะจากผลการวิจัยและข้อเสนอแนะสาหรับการวิจัยครั้งต่อไป 2.การสรุปความเชื่อมโยงระหว่างสาระสาคัญของหนังสือกับแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน 2.1 มิติด้านสังคม ก า ร ยั่ ง ยื น ใ น แ น ว ท า ง สั ง ค ม ห ม า ย ถึ ง เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐานอย่างตอเนื่องซึ้งมนุษย์จะต้องได้รับคือปัจจัยสี่ และห ม าย ถึง การสน อง ต อบ ค ว ามต้อง ก ารระดับ สูง เช่ นค ว าม มั่น ค ง เ สรีภ าพ การมีงานทาความยั่งยืนทางสังค มจะเน้นเรื่องการส่งเสริมความสุข สมบู รณ์ของมวลช น ส่วนใหญ่เป้าหมายสาคัญ คือการรักษาคุณภาพชีวิตให้มีระดับสูงอย่างยาวนาน แนวคิดการพัฒนาด้านสังคม ก า ร พั ฒ น า สั ง ค ม วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ห ลั ก ข อ ง ก า ร พั ฒ น า สั ง ค ม คื อ เน้ น ก า ร พั ฒ น า ค น แ ล ะ สั ง ค ม เ ป็ น ส า คั ญ โ ด ย มี ข อ บ ข่ า ย ค ว า ม จ า เ ป็ น และความต้องการข องคนทั้งระดับ บุค คลและระดับ ส่วนรวมข องสังคมเป็นเครื่องชี้วัด โดยทั่วไปการพัฒนาสังคมให้บรรลุได้มีวัตถุประสงค์องค์ประกอบที่สาคัญ ประกอบด้วยความเข้มแข็ง (Empowerment) การมีส่วนร่วม (Participation) การเลื่อนชั้นท างสังค ม (Social mobility) ความสามัคคีของคนในสังคม (Social Cohesion) ดัชนีตัวชี้วัดการพัฒนาด้านสังคม การพัฒนาสังคมได้มีการให้คาจากัดความไว้มากมาย บ้างก็ให้ความหมายในกรอบที่แคบ ๆเช่น เป็นการพัฒนาเพียงด้านการศึกษาการสาธารณสุขและการสังคมสงเคราะห์บ้างก็ให้ความหมายอย่างกว้ า ง ข ว า ง ที่ ค ร อ บ ค ลุ ม ก า ร พั ฒ น า ไ ว้ เ กื อ บ ทุ ก ด้ า น โดยมีการให้ความหมายของการพัฒนาสังคมไว้ว่าคือการกระทาเพื่อมุ่งปรับปรุงส่งเสริมให้คนที่อยู่ร่วมกั น มี ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ไ ป ใน ท า ง ที่ ดี ขึ้ น ทั้ ง ใ น ด้ า น วั ต ถุ แ ล ะ จิ ต ใ จ อันจะทาให้การดารงชีวิตอยู่ร่วมกันนั้นมีความเจริญรุ่งเรืองและสงบสุขแต่การที่บุคคลจะดารงชีวิตอยู่ได้อ ย่างมีความสุขจะต้องอาศัยปัจจัยหลายอย่างประกอบกันอย่างน้อยที่สุดจะต้องมีปัจจัยขั้นพื้นฐานที่ดีพอส ม ค ว ร ก ล่ า ว คื อ มีที่อยู่อาศัยมีอาหารเพียงพอต่อการเลี้ยงชีพมีรายได้เพียงพอแก่ค่าใช้จ่ายในการครองชีพ มี ค ว า ม รั ก ใ ค ร่ ส ม า น ส า มั ค คี กั น ข อ ง ส ม า ชิ ก ใ น สั ง ค ม สิ่งเหล่านี้จะเกิดขึ้นได้ต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายฝ่ายโดยอาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตร์และเทคโน โลยีเข้าช่วย เพื่อให้เกิดความเจริญก้าวหน้าและอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข (นิรนาม.) แต่อย่างไรก็ตาม การศึกษากรอบความหมายของการพัฒนาที่ยั่งยืนนั้น ครั้งนี้จะศึกษาการพัฒนาสังคมเน้นในเชิงคุณภาพ คือก ารป รับ ป รุงคุณ ภ าพ ชีวิตและการอยู่ ร่ว มกันข อง ค นในสังค มอย่ างมีค ว ามสุข ส่วนการพัฒนาด้านเศรษฐกิจนั้นจะพิจารณาเน้นในเชิงปริมาณและการบริการเป็ นสาคัญ และจากกรอบวัตถุประสงค์การพัฒนาที่ยั่งยืนของ I. Serageldin (I. Serageldin อ้างถึงใน สุมาลี,
  • 14. Group หมูหมี ม.ป .ป .) และแนว คิดการพัฒ นาสังค ม ข องนักวิช าการและห น่ ว ย งานภาค รัฐเช่ น ส ศ ช .ก ร ม ก าร พั ฒ น า ชุ ม ช น ,ก ร ม ป ร ะช าส ง เค รา ะ ห์ แ ล ะมู ล นิ ธิเ พื่ อ น ห ญิ ง ซึ่ ง ใ น มิ ติ ข อ ง ก า ร พั ฒ น า สั ง ค ม จ ะ เ น้ น ก า ร พั ฒ น า ป ร ะ ช า ช น เ ป็ น ห ลั ก โดยมีขอบข่ายของความจาเป็นและความต้องการของประชาชนเป็นตัวชี้วัดโดยวัตถุประสงค์ที่ต้องการบ รรลุการพัฒนาสังคมได้แก่ 1) ความเข้มแข็งของสังคม (Empowerment) ก า ร ส ร้ า ง ค ว า ม เ ข้ ม แ ข็ ง ให้ สั ง ค ม นั้ น จ ะ เ กิ ด ขึ้ น จ า ก ร ะ ดั บ บุ ค ค ล ซึ่ง บุ ค ค ล เ ป็ น อ ง ค์ ป ระก อ บ ที่ ส าคั ญ ข อ ง สัง ค ม เ มื่ อ บุ ค ค ล ใน สัง ค ม เข้ ม แ ข็ ง โ ด ย มี สุ ข ภ า พ พ ล า น า มั ย แ ข็ ง แ ร ง ส ม บู ร ณ์ มีชีวิตที่สดใสจิตใจเข็มแข็งไม่มีความเครียดในการดารงชีวิตก็จะทาให้สังคมเข้มแข็งได้ตัวชี้วัดที่คัดเลือก ม าเพื่ อ แส ด ง ถึง ค ว าม เข้ ม แ ข็ ง ข อ ง สัง ค ม ได้แ ก่ 47 อ ายุ ขั ย เฉ ลี่ย เมื่ อ แรก เกิ ด การที่ประชากรของประเทศมีอายุขัยเฉลี่ยเมื่อแรกเกิดยืนยาวบ่งบอกถึงความสามารถในการบริหารจัดก ารของรัฐในการให้บริการทางสาธารณสุข ภาวะโภชนาการ และการเข้าถึงบริการพื้นฐาน ด้านสุขภาพของประชากรอย่างทั่วถึง ซึ่งคนเป็นทรัพยากรที่สาคัญและเป็นเป้าหมายของการพัฒนา อีกทั้งเมื่อประชากรมีอายุขัยยืนยาวย่อมเป็นทุนทางสังคมสาหรับการพัฒนาประเทศไทยไปสู่ความยั่งยืน ได้ 2) การมีส่วนร่วม (Participation) การกระจายโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางการเมืองและการบริหารเกี่ยวกับการตั ด สิ น ใ จ ใ น เ รื่ อ ง ต่ า ง ๆ ร ว ม ทั้ ง 48 การจัดสรรทรัพยากรของชุมชนและของชาติซึ่งส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชนโด ย ก า ร ใ ช้ ข้ อ มู ล แ ส ด ง ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ใ ห้ ค า ป รึ ก ษ า ร่ ว ม ว า ง แ ผ น ร่ ว ม ป ฏิ บั ติ ง า น ต ล อ ด จ น ก า ร ค ว บ คุ ม โ ด ย ต ร ง จ า ก ป ร ะ ช า ช น (ค ณ ะผู้ วิจัย โค รง ก ารแ น ว ท า ง ก ารส ร้าง เ สริม ป ระช า ธิป ไต ย แบ บ มีส่ ว น ร่ว ม ต า ม รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ แ ห่ ง ร า ช อ า ณ า จั ก ร ไ ท ย , 2540) โด ย ตั ว ชี้ วั ด ที่ คั ด เ ลื อ ก เ พื่ อ ใช้ วั ด ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม ข อ ง ค น ใน สั ง ค ม คื อ สั ด ส่ ว น ข อ ง ผู้ ม า ใ ช้ สิ ท ธิ เ ลื อ ก ตั้ ง ต่ อ ค น ที่ มี สิ ท ธิ ทั้ ง ห ม ด ซึ่งตัวชี้วัดดังกล่าวสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติใช้เป็นตัวชี้วัดตัวหนึ่ง ในดัชนีรวมความอยู่ดีมีสุขของประเทศไทย 3) การเลื่อนชั้นทางสังคม (Social mobility) เป็นการเปลี่ยนฐานะหรือตาแหน่งในทางสูงขึ้นหรือต่าลงของบุคคลในโครงสร้างสังคม ตามการเปลี่ยนอาชีพ รายได้ระดับการศึกษา หรือถิ่นที่อยู่ ( ราชบัณฑิตยสถาน, 2524 : 352)
  • 15. Group หมูหมี จากความหมายดังกล่าวเมื่อพิจารณาพบว่าการคัดเลือกตัวชี้วัดอาจจะซ้าซ้อนกับการพัฒนาด้านเศรษฐกิ จฉะนั้น จึง คัด เลือก ตัว ชี้ วัดด้านก ารศึ กษ าเพื่ อแสด ง ถึง การเลื่อน ชั้น ท าง สัง ค ม ซึ่งตัวชี้วัดที่ใช้บ่งชี้เสมอได้แก่ อัตราการเข้าศึกษาต่อรวมทุกระดับของประชากรอายุ 3-21 ปี และอัตราการอ่านออกเขียนได้ของประชากร ซึ่งหมายถึงอัตราส่วนของคนที่มีอายุ 6 ปีขึ้นไป ที่ สาม ารถอ่ านแ ละเขี ย นได้อย่ าง น้อ ย ห นึ่ งภ าษ าต่อ จาน ว น ป ระช ากรทั้ ง ห ม ด ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการได้รับการศึกษาของคนไทยอย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกันจะส่งผลให้ประเทศมีทุนท างสังคมเพิ่มขึ้นทาให้ประเทศเกิดการพัฒนามากยิ่งขึ้น 4) ความสามัคคีของคนในสังคม (Social Cohesion) ตั ว ชี้ วั ด ที่ แ ส ด ง ถึ ง ค ว า ม ส า มั ค คี ข อ ง ค น ใน สั ง ค ม ที่ คั ด เ ลื อ ก คื อ สัดส่วนสถิติการรับแจ้งคดีอาญาต่อประชากรแสนคน ซึ่งบ่งชี้ถึงความสามัคคีของคนในสังคม และสภาพแวดล้อมและความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนเป็นเป้าหมายอย่างหนึ่ง ของการพัฒนาที่ยั่งยืนเมื่อคนในสังคมสามัคคีและมีความมั่นคงในชีวิตและทรัพย์สินแล้วก็จะสามารถนา ป ร ะ เ ท ศ ไ ป สู่ ก า ร พั ฒ น า ไ ด้ สามารถวัดโดยการหาสัดส่วนส่วนของจานวนการรับแจ้งคดีอาญาโดยเทียบต่อประชากรแสนคนโดยคดี อาญาพิจารณาจากประเภทความผิดที่สานักงานตารวจแห่งชาติได้เก็บรวบรวมข้อมูลสถิติคดีอาญาที่น่า สนใจ 5) การมีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม (Cultural Identity) วั ฒ น ธ ร ร ม หมายถึงทุกสิ่งทุกอย่างที่แสดงออกถึงวิถีชีวิตของมนุษย์ในสังคมของกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งหรือสังคมใดสังคม ห นึ่ ง ที่ ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย ค ว า ม รู้ ค ว า ม เ ชื่ อ ศิ ล ป ะ ศี ล ธ ร ร ม ก ฎ ห ม า ย ป ระเพ ณีวิท ย าการและทุ กสิ่งทุ กอย่ าง ที่คิดและท าในฐานะเป็ นสมาชิกข องสังค ม วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างหรือกาหนดขึ้นและเป็นสิ่งที่ทาให้เห็นความแตกต่างของคนในสังคม (สุพัตรา, 2545: 35) โดยเฉพาะอย่างยิ่งในแต่ละวัฒ นธรรมจะมีเอกลักษณ์ของ ตนเอง เช่น วัฒ นธรรมท างอาหาร ชาวยุโรป ดื่มนมตลอดชีพ แต่ชาวไท ยนิยมให้เด็กดื่มนมเท่ านั้น โ ด ย ผู้ ใ ห ญ่ ค ว ร ดื่ ม น้ า ชาวยุโรปชอบกินเนื้อสัตว์ในขณะที่ชาวฮินดูเห็นว่าสัตว์เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์สิ่งเหล่านี้คือเอกลักษณ์ทางวัฒน ธ ร ร ม ข อ ง แ ต่ ล ะ ป ร ะ ท ศ แ ต่ ล ะ สั ง ค ม หากประเทศไทยมีสิ่งที่แสดงถึงเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมให้ชาวโลกได้ประจักษ์คนทั่วไปก็จะรู้จักประเท ศไทยดียิ่งขึ้นและจะส่งผลต่อการพัฒนาประเทศ ไม่ว่าจะเป็นด้านการท่องเที่ยวด้านการลงทุน เป็นต้นแต่อย่างไรก็ตามในประเด็นดังกล่าวนี้ไม่สามารถคัดเลือกตัวชี้วัดเชิงเดี่ยวที่จะมาเป็นตัวแทนในก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ไ ด้ เนื่องจากมีข้อจากัดในเรื่องข้อมูลเพราะว่าประเด็นนี้ลักษณะข้อมูลจะเป็นเชิงคุณภาพตัวชี้วัดที่มีข้อมูลเชิ
  • 16. Group หมูหมี งปริมาณกลับไม่สามารถที่จะนามาวิเคราะห์ไดเนื่องจากข้อมูลไม่สามารถนามาวิเคราะห์แนวโน้มได้จึง ทาให้ไม่สามารถคัดเลือกตัวชี้วัดเชิงเดี่ยวได้ 6) การพัฒนาของสถาบันในสังคม (Institutional Development) โดยจะต้องมีการพัฒนาสังคมให้บรรลุในระดับบุคคลและความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเพื่อให้ครอ บคลุมในทุกภาคส่วนของสังคมด้วย ก็คือการทาให้กลุ่มคนที่รวมกันแน่นอนด้วยจุดประสงค์ที่จะกระทาการต่อกันระหว่างกันและร่วม กัน ให้ เจ ริญ ก้ าว ห น้ ามั่น ค ง ม า ก ขึ้ น โด ย ส ถ าบั น ท าง สัง ค ม มีอยู่ ม าก ม าย เ ช่ น สถาบันครอบ ครัวและการสมรส สถาบันการปกครอง สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา ส ถ า บั น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ส ถ า บั น นั น ท น า ก า ร เ ป็ น ต้ น โดยสถาบันครอบครัวและการสมรสเป็นสถาบันที่สาคัญที่สุดคงทนที่สุดและยังไม่เคยปรากฏว่าสังคมมนุ ษ ย์ ใ ด ไ ม่ มี ส ถ า บั น ค ร อ บ ค รั ว ป ร า ก ฏ อ ยู่ เพราะมนุษย์ทุกคนต้องอยู่ในสถาบันแห่งนี้ซึ่งครอบครัวหมายถึงกลุ่มบุคคลที่มารวมกันโดยการสมรส โดยทางสายโลหิตหรือโดยการรับเลี้ยงดูมีการก่อตั้งขึ้นเป็นครอบครัวมีปฏิกิริยาโต้ตอบซึ่งกันและกันในฐ า น ะ ที่ เ ป็ น ส า มี ภ ร ร ย า ห รื อ เ ป็ น พ่ อ แ ม่ เ ป็ น ลู ก เ ป็ น พี่ น้ อ ง เพราะฉะนั้นการพัฒนาครอบครัวให้มีความสุขมีความสามัคคีก็จะทาให้สังคมใหญ่ในภาพรวมเกิดการพั ฒนาในทางที่ดีขึ้นได้ด้วย (สุพัตรา, 2545: 65) โดยในที่นี้ตัวชี้วัดที่คัดเลือกมาบ่งชี้ในประเด็นนี้ คืออัตราการหย่าร้าง นั้นเอง ตารางที่ 1 ผลการคัดเลือกตัวชี้วัดมิติการพัฒนาสังคม มิติการพัฒนา และองค์ประกอบ ตัวชี้วัด
  • 17. Group หมูหมี การพัฒนาสังคม 1. ความเข้มแข็ง (Empowerment) 1. อายุขัยเฉลยเมื่อแรกเกิด (ปี) 2. อัตราการฆ่าตัวตาย(ต่อประชากรแสนคน ) 3. สัดส่วนบุคลากรทางการแพทย์ต่อประชากรพันคน 4. สัดส่วนประชากรที่มีหลักประกันสุขภาพ 2. การมีส่วนร่วม (Participation) 5. สัดส่วนของผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 3. การเลื่อนชั้นทางสังคม (Social mobility) 6. อัตราการเข้าศึกษาต่อรวมทุกระดับของประชากรอายุตั้งแต่3- 21 ปี 7. อัตราการอ่านออกเขียนได้ของประชากร 4. ความสามัคคีของคนในสังคม (Social Cohesion) 8. สัดส่วนสถิติการรับแจ้งคดีอาญาต่อประชากรแสนคน 5. การมีเอกลักษณะทางวัฒนธรรม (CulturalIdentity) ไม่มีตัวชี้วัด 6. การพัฒนาของสถาบันในสังคม (InstitutionalDevelopment) 9. อัตราการหย่าร้างต่อประชากร สรุป การพัฒ นาสังคม พบ ว่าบ างด้านก็ได้รับป ระโยชน์จากการพัฒ นาเศ รษฐกิจเช่ น ด้านการศึกษ าและด้านสาธารณ สุข ซึ่งได้รับ การผลักดันให้เกิดการพัฒ นามากขึ้น แต่อย่างไรก็ตามการพัฒนาดังกล่าวกลับไม่ส่งผลต่อการลดปัญหาความไม่สามัคคีของคนในสังคม นั้ น คื อ แ น ว โ น้ ม ปั ญ ห า อ า ช ญ า ก ร ร ม เ พิ่ ม ขึ้ น ถึงแม้จะมีปัญหาดังกล่าวแต่ในช่วงเวลาที่ทาการศึกษาก็ยังมีแนวโน้มไปในทิศทางที่ดีขึ้น 2.2 มิติด้านสิ่งแวดล้อม
  • 18. Group หมูหมี จากเดิมนั้นการพัฒนาของประเทศใช้ดัชนีชี้วัดการเจริญเฉพาะทางด้านเศรษฐกิจเพียงอย่างเดีย ว แต่จากหนังสือ “ ดัชนีชี้วัดการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศไทยโดยใช้แนวคิด I. Serageldin ” ซึ่ง จะเน้นไป ที่การพัฒ นาที่ ยั่ง ยืน โดย การพัฒ นาที่ยังยืนตามแนวคิด I. Serageldin จะรวมถึงมิติการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อมอยู่ด้วยเพื่อให้เกิดสมดุลในการพัฒนาของประเทศ ทั้งด้านเศ รษฐกิจ ด้านสังคม และด้านสิ่งแวดล้อม ให้มีการพัฒนาไปในทิศทางเดีย วกัน มิติด้านสิ่งแวดล้อมนั้นใช้ในการติดตามประเมินผลการดาเนินงานตามเป้าหมายที่ตั้งไว้เพื่อใช้เป็นแนวท างและกรอบการบริหารการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมของประเทศตามนโยบาย 6 ประการ คื อ น โ ย บ า ย ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ น โ ย บ า ย ป้ อ ง กั น แ ล ะ ข จั ด ม ล พิ ษ น โย บ าย แ ห ล่ ง ธ รร ม ช า ติแ ล ะแ ห ล่ ง ศิ ล ป ก รร ม น โย บ าย สิ่ง แว ด ล้อ ม ชุ ม ช น นโยบายการศึกษาและประชาสัมพันธ์เพื่อสิ่งแวดล้อม และนโยบายเทคโนโลยีเพื่อสิ่งแวดล้อม โดยสถานะด้านสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติอยู่ในภาวะที่ต้องบาบัดฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมที่จัดสร้างขึ้นยังอยู่ในภ า ว ะ ข า ด แ ค ล น ใน ห ล า ย ๆ ด้ า น เ ช่ น ก า ร ค ม น า ค ม แ ล ะ ก า ร สื่ อ ส า ร แ ล ะ สิ่ ง อ า น ว ย ค ว า ม ส ะ ด ว ก ด้ า น ส า ธ า ร ณ สุ ข เ ป็ น ต้ น สาหรับด้านสิ่งแวดล้อมนั้นประชาชนมีแนวโน้มที่จะรับรู้และตระหนักถึงปัญหาสิ่งแวดล้อมในบางประเด็น มีทั ศ น ค ติที่ค่ อนข้ าง ถู กต้อง แต่ ยัง มีส่ว น ร่ว ม ในก ารรักษ าสิ่งแว ด ล้ อมน้ อย ม าก จึงควรรณรงค์ให้ประชาชนปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมเน้นการมีส่วนร่วมให้มากขึ้น กลยุทธ์ในการพัฒนาประเทศในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมาเนื่องจากแนวทางในการพัฒนาประเทศใ นช่วงเวลาดังกล่าวมุ่งเน้นการพัฒนาเศรษฐกิจเป็นหลักโดยให้ความสาคัญของการพัฒนาสังคมและสิ่งแว ด ล้ อ ม เ ป็ น เ รื่ อ ง ร อ ง จึงพบว่าแม้ประเทศไทยมีการเติบโตทางเศรษฐกิจค่อนข้างต่อเนื่องแต่ภาพรวมของการพัฒนาด้านสิ่งแว ดล้อมกลับไม่ได้เป็นไปในทิศทางเดียวกันการพัฒนาสิ่งแวดล้อมวัตถุประสงค์หลักของการพัฒนาสิ่งแวด ล้อ ม คือเ น้ น ก า รพั ฒ น าอ นุ รัก ษ์ ค ว าม ส ม บู รณ์ แ ละ คุ ณ ภ าพ ข อ ง สิ่ง แ ว ด ล้อ ม ทั้งในด้านโครงสร้างและหน้าที่ของระบบการรักษาองค์ประกอบและปฏิสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบต่าง ๆ ข อ ง ร ะ บ บ ซึ่งจะมีความสาคัญต่อความเสถียรภาพของระบบนิเวศของโลกความสามารถในการรองรับทรัพยากรธรร ม ช า ติ แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ค ว า ม ห ล า ก ห ล า ย ท า ง ชี ว ภ า พ และประเด็นทางด้านสิ่งแวดล้อมของโลกโดยทั่วไปการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อมให้บรรลุได้มีวัตถุประสงค์อ งค์ป ระกอบที่สาคัญ ป ระกอบ ด้วย ค วามสมบู รณ์ข องระบ บ นิเว ศ (Ecosystem Integrity) ความสามารถในการรองรับ (Carrying Capacity) ความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity) ป ร ะ เ ด็ น ท า ง ด้ า น สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ข อ ง โ ล ก (Global issues) โดยแสดงวัตถุประสงค์องค์ประกอบการพัฒนาที่ยั่งยืนในแต่ละด้าน ป ร ะ เ ด็ น ด้ า น สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ข อ ง โ ล ก ( Global issues) ปั จ จุ บั น ป ร ะ เ ด็ น ปั ญ ห า สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ที่ ส า คั ญ ข อ ง โ ล ก คื อ
  • 19. Group หมูหมี ภาวะโลกร้อนวิกฤติสิ่งแวดล้อมโลกได้แก่ปัญหาภาวะโลกร้อนซึ่งเกิดจากการที่มนุษย์ทากิจกรรมในการ ผลิตและการบ ริโภ ค จนมาก เกิ นไป โด ย เฉ พาะการใช้ เชื้อเพ ลิงอย่ าง ล้างผ ลาญ โดย มีราย งานก ารศึก ษาที่ร่ว มจัดท าขึ้นระห ว่ างองค์ก รเฝ้ าระวังโลก (World Watch) กับ สถาบันวิจัย สิ่ง แวด ล้อมห ลาย ช าติระบุ ว่ าข อง เสีย และมลพิษ ที่ป ระเท ศ ต่ าง ๆ ป ล่ อ ย ทิ้ ง ม า ก ที่ สุ ด ไ ด้ แ ก่ ก๊ า ซ ค า ร์ บ อ น ไ ด อ อ ก ไ ซ ด์ ( CO2) ซึ่งเป็นก๊าซที่ทาให้เกิดปรากฎการณ์เรือนกระจกก๊าซเรือนกระจกที่เพิ่มขึ้นในบรรยากาศที่ทาให้อุณหภูมิ ที่พื้นผิวโลกสูงขึ้นและก๊าซเรือนกระจกก็มีคาร์บอนไดออกไซด์เป็ นส่วนประกอบ ฉะนั้น ตั ว ชี้ วั ด ที่ คั ด เ ลื อ ก เ พื่ อ บ่ ง ชี้ ถึ ง ปั ญ ห า สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม โ ล ก คื อ ป ริ ม า ณ ก า ร ป ล่ อ ย ก๊ า ซ ค า ร์ บ อ น ไ ด อ อ ก ไ ซ ด์ เ ฉ ลี่ ย ต่ อ ป ร ะ ช า ก ร เพราะแสดงให้เห็นว่าเมื่อมีก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มากๆก็จะทาให้มีก๊าซเรือนกระจกมากแสดงให้เห็นวิ กฤติสิ่งแวดล้อมโลกได้อย่างชัดเจน ประเทศที่มีการพัฒนาที่ยั่งยืนจะต้องมีการพัฒนาโดยไม่ทาให้ทุนทั้งหมด ( Capital Stock – ซึ่งประกอบด้วยทุนทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม) ของประเทศนั้นลดลงเมื่อเวลาเปลี่ยนไป ซึ่งหลักการนี้อาจแบ่งการพิจารณาได้เป็น 2 ลักษณะคือการพัฒนาที่ยั่งยืนระยะสั้น (Weak Sustainability) แ ล ะ ก า ร พั ฒ น า ที่ ยั่ ง ยื น ร ะ ย ะ ย า ว (Strong Sustainability) โดยลักษณะของแนวคิดที่แตกต่างกันของรูปแบบก ารพัฒนาที่ยั่งยืนของ 2 แนวคิดนี้คือ ก า ร พั ฒ น า ที่ ยั่ ง ยื น ร ะ ย ะ สั้ น ( Weak Sustainability) ตามแนว คิดนี้ไม่ได้ให้ค วามสาคัญ กับ เรื่องทุ นธรรมช าติ ( Natural Capital) เป็ นพิเศ ษ เพื่อจะให้มีการพัฒนาที่ยั่งยืน จาเป็นจะต้องส่งมอบทุนทั้งหมด ( Aggregate Capital Stock) ไปให้อนาคตในปริมาณที่ไม่ต่ากว่าระดับปัจจุบันสาหรับแนวคิดนี้ใช้กฎที่เรียกว่า Constant Capital Rule โด ย อ าจ มี สิ่ง แ ว ด ล้อ ม น้ อ ย ล ง แ ต่ ก็ ส า ม า รถ ส ร้าง สิ่ง อื่ น ขึ้ น ม าแ ท น ที่ ได้ ในท างกลับ กันถ้ามีทุ นกาย ภาพน้อยลงก็สามารถสร้างสิ่งแวดล้อมขึ้นมาแท นที่ ได้ สรุปไม่ว่าจะเกิดอะไรขึ้นโดยรวม ทุนทั้งหมดยังคงมีอยู่ระดับ เดิม และทุนประเภทต่างๆ ส า ม า ร ถ ท ด แ ท น กั น ไ ด้ อ ย่ า ง ส ม บู ร ณ์ ( Perfect Substitutability) เศรษฐกิจจึงยั่งยืนได้แต่ธรรมชาติอาจหายไป เป้าหมายและตัวชี้วัดการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อม เป้าหมาย ดัชนีชีวัด การรักษาคุณภาพน้าแล ะแหล่งน้า  สัดส่วนของน้าจืดผิวดนที่ใช้ไปเทียบกับปริมาณน้าจืดผิวดินทั้งหมดที่ มีอยู่ในแต่ละปี  ปริมาณการใช้น้าต่อคนต่อวันปริมาณน้าสารองใต้ดินสัดส่วนของแหล่ งน้าจืดที่มีความเข้มข้นของ Faecal coliformเกินกว่ามาตรฐานขององค์การอนามัยโลก
  • 20. Group หมูหมี  ค่าปริมาณออกซิเจนในน้า (BOD) สัดส่วนของน้าเสียที่ได้รับการบาบัดจานวนสถานี hydrological ต่อตารางกิโลเมตร เป้าหมาย ดัชนีชีวัด การป้องกันทะเลมหาสมุทร และชายฝั่ง  อัตราการเพิ่มของประชากรในพื้นที่ชายฝั่งทะเล  ปริมาณน้ามันที่ถูกปล่อยสู่ทะเลและมหาสมุทร  ปริมาณการปล่อยสารไนโตรเจนและฟอสฟอรัสสู่ทะเลแล ะมหาสมุทร  สัดส่วนของมูลค่าสูงสุดของการประมงแบบยั่งยืนเทียบกับ มูลค่าที่ได้จาการประมงที่เกดขึ้นจริง  ดัชนีแอลจี (Algae index) การวางแผนและบริหารจัดการการใ ช้ประโยชน์จากผืนดิน  การเปลี่ยนการใช้ประโยชน์จากที่ดิน  การเปลี่ยนสภาพของผืนดิน  การกระจายอานาจการบริหารจัดการทรัพยากรให้ท้องถิ่น การจัดการระบบนิเวศน์ : การพัฒนาพื้นที่ภูเขาอย่างยั่งยืน  การเปลี่ยนแปลงของประชากรในเขตภูเขา  การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรในเขตภูเขา  สวัสดิการของประชากรในเขตภูเขา การส่งเสริมการพัฒนาชนบทและก ารเกษตรอย่างยั่งยืน  ปริมาณการใช้สารเคมีในการเกษตรกรรม  ปริมาณการใช้ปุ๋ยในการเกษตรกรรม  สัดส่วนของพื้นที่ที่ไม่เหมาะสมแก่การเพาะปลูก  การใช้พลังงานในการเกษตรกรรม  พื้นที่ที่เหมาะสมแก่การเพาะปลูกต่อหัวประชากร
  • 21. Group หมูหมี 2.3 มิติด้านเทคโนโลยีและพลังงาน มนุ ษย์ได้นาเท ค โนโลยีมาใช้เป็ นเค รื่องมือในการพัฒ นาชีวิต ค วามเป็ นอยู่ ให้มีความสะดวกสะบายยิ่งขึ้น ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีเติบโตขึ้นเป็นอย่างมาก เมื่อมีเท ค โนโลยีก็จะต้องมีพลังงานต่างๆที่จะใช้เป็ นตัว ขับ เค ลื่อนเท ค โนโลยีนั้นๆ มนุษย์มุ่งเน้นในการเสาะแสวงหา และพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆ จนลืมที่จะตระหนักถึงพลังงาน ที่นับวันจะมีแต่หมดสลายหายไป วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ข อ ง ก า ร พั ฒ น า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ข อ ง I. Serageldin ซึ่ ง ไ ด้ ก ล่ า ว ว่ า วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ข อ ง ก า ร พั ฒ น า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ คือก ารท าให้ สวัส ดิการข อง สัง ค ม สูง สุดภ าย ใต้ ท รัพ ย าก รและเท ค โนโลยีที่ มีอ ยู่ ซึ่ ง ก็ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ นิ ย า ม ก า ร พั ฒ น า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ของสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ที่ได้นิยามการพัฒนา เศรษฐกิจให้ยั่งยืน ไว้วา การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศให้เจริญเติบโตอย่างต่อเนื่องมีคุณภาพ มีเสถียรภาพ ต้องเป็นการเติบโตที่ไม่ทาลายสิ่งแวดล้อมและยั่งยืนได้ในระยะยาวและมีการกระจาย ความมั่งคั่งทั่วถึง อานวยประโยชน์ตอคนสวนใหญ่ โดยการพัฒนาที่มีคุณภาพนั้นก็คือ การผลิตและ การใช้ปัจจัยการผลิตอย่างมีประสิทธิภาพนั้นเอง มิ ติ ก า ร พั ฒ น า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ด้ า น ก า ร เ จ ริ ญ เ ติ บ โ ต ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ การที่ประเท ศจะมีความเจริญ เติบโตด้านเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่ องและมีค วามมั่นคงนั้น ส่ ว น ห นึ่ ง ก็ ม า จ า ก เ ท ค โ น โ ล ยี ที่ ทั น ส มั ย ตัวชี้วัดซึ่งแสดงอัตราการเติบโตของการผลิตสินคาและบริการที่เกิดขึ้นในประเทศหรือผลิตภัณฑ์ มวลรวมภายในประเทศ (Gross Domestic Product : GDP) เป็นอัตราการเปลี่ยนแปลงของปริมาณ การผลิตสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายที่สามารถผลิตขึ้นได้ของระบบเศรษฐกิจภายในประเทศ โดยไม่คานึงถึงว่าทรัพยากรและพลังงานที่ใช้ในการผลิตสินคาและบริการจะเป็นแหล่งพลังงานของพลเมื องในประเทศหรือ ชาวต่างประเทศ มิ ติ ก า ร พั ฒ น า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ด้ า น ค ว า ม เ ส ม อ ภ า ค ( Equity) ใน ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ มั ก จ ะ ใ ห้ ค ว า ม ส า คั ญ กั บ ก า ร ก ร ะ จ า ย ร า ย ไ ด้ ซึ่ ง เป็นการกระจายผลประโยชนของการพัฒนาเศรษฐกิจให้ไปสู่ประชาชนส่วนใหญ่อย่างทั่วถึงเพื่อลดช่องว่ างด้านรายได้ของประชาชนหรือการสร้างความเท่ าเทียมกันในด้านรายได้ให้ประชาชนลด