SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
~ 1 ~
แผนการจัดการเรียนรู้ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
รหัสวิชา ค 22101 ชื่อรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์พื้นฐาน
ชั้นมัธยมศึกษาปี 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ชื่อ อัตราส่วน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง อัตรา อัตราส่วน อัตราส่วนที่เท่ากัน เวลา 1 ชั่วโมง
*****************************************************************************
1. มาตรฐานการเรียนรู้
ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวนและการใช้จานวนในชีวิตจริง
ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทาง
คณิตศาสตร์ และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์ และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับ
ศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
2. ตัวชี้วัด
ม. 2/4 ใช้ความรู้เกี่ยวกับอัตราส่วน สัดส่วน และร้อยละในการแก้โจทย์ปัญหา
ม 1 – 3 /2 ใช้ความรู้ ทักษะ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีใน
การ แก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม
ม 1 – 3 /3 ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจและสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
ม 1 – 3 /5 เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณิตศาสตร์ และนาความรู้
หลักการ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่น ๆ
3. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
เขียนอัตราส่วนแทนการเปรียบเทียบปริมาณสองปริมาณที่กาหนดให้ได้
4. จุดประสงค์การเรียนรู้
1) ใช้ความรู้เกี่ยวกับอัตราส่วน ในการแก้ปัญหา เกี่ยวกับการเขียนการเปรียบเทียบปริมาณสอง
ปริมาณได้
2) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคาตอบที่ได้บอกความหมายของอัตราส่วน และนาไปใช้ใน
การแก้โจทย์ปัญหาได้
4.1 ด้านความรู้ (K)
4.1.1 เขียนอัตราส่วนแทนอัตราการเปรียบเทียบปริมาณสองปริมาณได้
4.1.2 ตรวจสอบการเขียนอัตราส่วนแทนอัตราการเปรียบเทียบปริมาณสอง
ปริมาณได้
4.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
4.2.1 การแก้ปัญหา
4.2.2 การให้เหตุผล
4.2.3 การสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนาเสนอ
4.2.4 การเชื่อมโยง
4.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
4.3.1 ทางานอย่างเป็นระบบ
4.3.2 มีระเบียบวินัย
4.3.3 มีความรอบคอบ
~ 2 ~
4.3.4 มีความรับผิดชอบ
4.3.5 มีวิจารณญาณ
4.3.6 มีความเชื่อมั่นในตนเอง
4.3.7 ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
4.3.8 ตระหนักในคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์
5. สาระการเรียนรู้
อัตราส่วน เป็นการเปรียบเทียบปริมาณสิ่งของอย่างเดียวกันหรือเปรียบเทียบปริมาณของสิ่งของ
สองสิ่งขึ้นไป การเขียนในลักษณะที่เป็นข้อความ เรียกว่า “อัตราส่วน” เช่น 5:3 , 6:9
6. สมรรถนะสาคัญ
6.1 ความสามารถในการคิด
6.2 ความสามารถในการแก้ปัญหา
6.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
6.4 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
7. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
7.1 ซื่อสัตย์สุจริต
7.2 มีวินัย
7.3 ใฝ่เรียนรู้
7.4 อยู่อย่างพอเพียง
7.5 มุ่งมั่นในการทางาน
7.6 รักความเป็นไทย
8. ชิ้นงาน/ภาระงาน
8.1 ใบกิจกรรมที่1.1 เรื่องการเขียนอัตราและอัตราส่วน
8.2 การสืบค้นสูตรการทาข้าวหลามในแต่ละท้องถิ่น
9. กระบวนการจัดการเรียนรู้
9.1 ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
1. ครูนาสนทนาถึงสถานการณ์ในชีวิตประจาวันของนักเรียนว่าเราจะพบเห็นข้อมูล
ข่าวสาร ที่เกี่ยวข้องกับปริมาณของสิ่งของที่เราใช้อยู่เป็นประจา หรือ ประเภทของสิ้นค้าที่จาหน่ายในท้องถิ่น
หรือการใช้จ่ายในชีวิตประจาวันว่ามีเหตุการณ์ใดบ้างที่นักเรียนสนใจ ครูสุ่มให้นักเรียนยกตัวอย่าง เช่น
จานวนเก้าอี้ กับ จานวนโต๊ะ
จานวนนักเรียนชายกับจานวนนักเรียนเรียนหญิง
จานวนนักเรียนในโรงเรียนกับจานวนครู
จานวนร้านค้าที่จาหน่ายข้าวและขนม
จานวนเงินที่ใช้จ่ายกับเก็บออมในแต่ละวัน
2. ครูบันทึกคาตอบของนักเรียนไว้บนกระดาน และใช้คาถามยั่วยุให้นักเรียนตอบถึงสิ่งที่ครู
กล่าวถึงในข้อ 1 นั้นเราสามารถนาคณิตศาสตร์มาเกี่ยวข้องได้ในเรื่องใดบ้าง
~ 3 ~
3. ครูให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ที่ 1 เรื่อง อัตราส่วน เมื่อนักเรียนศึกษาเข้าใจดีแล้ว
อาสาสมัครนักเรียนเขียนสัญลักษณ์แทนจานวนบนกระดานด้วยอัตราส่วน เพื่อตรวจสอบความเข้าใจของ
นักเรียน
4. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายถึงตัวอย่างที่นักเรียนนาเสนอบนกระดานทั้งหมด เป็น
ความสัมพั น ธ์ที่ แสดงถึงการเปรียบเที ยบจาน วน สองจาน วน ที่ มีห น่ วยเดียวกั น ห รือ
มีหน่วยต่างกันข้างต้น เรียกว่า “ อัตราส่วน ” (Ratios)
5. ครูจัดกลุ่มนักเรียนแบบคละความสามารถโดยมีจานวนเด็กอ่อนต่อเด็กปานกลางต่อเด็ก
เก่ง 1 : 2 : 1 หรือ 1 : 2 : 2 กลุ่มละ 4 – 5 คน โดยพิจารณาจากคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
6. ครูนาสนทนาถึงวิธีการปฏิบัติงานกลุ่ม ความรับผิดชอบ การทางานร่วมกัน ครูแจก ใบ
กิจกรรมที่ 1.1 ให้นักเรียนปฏิบัติ
7. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมในใบกิจกรรมที่ 1.1
8. ให้ตัวแทนแต่ละกลุ่มนาเสนอจากใบกิจกรรมที่ 1.1 ครูและนักเรียนเพิ่มเติมในส่วนที่
แตกต่างกัน
9 นักเรียนช่วยกันสรุปความหมายของอัตราส่วน ครูเพิ่มเติมการนาอัตราส่วนไปใช้ใน
ชีวิตประจาวัน โดยแน ะให้ เห็น ถึงการเป รียบเทียบราคาใน การเลือกซื้อสิน ค้า เช่น
มะขามหวาน 3 กิโลกรัม ราคา 100 บาท ถ้าซื้อ 1 กิโลกรัม ราคา 35 บาท จะเห็นว่าถ้าซื้อครั้งละ 3 กิโลกรัม
จะถูกกว่าซื้อครั้งละ 1 กิโลกรัม 3 ครั้ง อยู่ 5 บาท ชี้ให้นักเรียนเห็นว่าการใช้จ่ายที่เกิดขึ้นนั้นควรคานึงถึง
รายรับด้วยว่าควรจะใช้จ่ายเท่าใดจึงจะเหมาะสม กระตุ้นให้นักเรียนเห็นว่าความสัมพันธ์ของปริมาณสอง
ปริมาณ ให้นักเรียนได้นาคณิตศาสตร์ไปใช้ในชีวิตประจาให้เกิดความคุ้มค่ากับชีวิตและรายได้ของตนเอง
จากนั้นครูให้นักเรียนไปสืบค้นสูตรการทาข้าวหลาม
10. การวัดและประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การประเมินผล
ด้านความรู้
1. เขียนอัตราส่วนแทนอัตรา
การเปรียบเทียบปริมาณสอง
ปริมาณได้
2.ตรวจสอบการเขียน
อัตราส่วนแทนอัตราการ
เปรียบเทียบปริมาณสอง
ปริมาณได้
ตรวจใบกิจกรรมที่ 1 ใบกิจกรรมที่ 1
นักเรียนที่ตอบถูก
มากกว่าร้อยละ 80 ดีมาก
ร้อยละ 70 – 79 ดี
ร้อยละ 50 - 69 พอใช้
ต่ากว่าร้อยละ 50 ปรับปรุง
ด้านทักษะ/กระบวนการ
1. การแก้ปัญหา
2. การให้เหตุผล
3. การสื่อสาร การสื่อ
ความหมาย และการนาเสนอ
4.การเชื่อมโยง
การสังเกตพฤติกรรม แบบสังเกต
พฤติกรรม สรุปแบบสังเกตพฤติกรรม
ได้คะแนนตั้งแต่ 16 – 20 ดี
ได้คะแนนตั้งแต่ 10 – 15 พอใช้
ได้คะแนนต่ากว่า 10 ปรับปรุง
~ 4 ~
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การประเมินผล
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ทางานอย่างเป็นระบบ
2. มีระเบียบวินัย
3. มีความรอบคอบ
4. มีความรับผิดชอบ
5. มีวิจารณญาณ
6. มีความเชื่อมั่นในตนเอง
7. ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
8. ตระหนักในคุณค่าและมี
เจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์
การสังเกตพฤติกรรม แบบสังเกต
พฤติกรรม สรุปแบบสังเกตพฤติกรรม
ได้คะแนนตั้งแต่ 16 – 20 ดี
ได้คะแนนตั้งแต่ 10 – 15 พอใช้
ได้คะแนนต่ากว่า 10 ปรับปรุง
11. การบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
11.1 สาหรับครูผู้สอน
3
ห่วง
ประเด็น
ความพอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
สาระการเรียนรู้ 1. ครูมีการวิเคราะห์หลักสูตร
เนื้อหา ออกแบบ และจัด
กิจกรรมได้สอดคล้องกับ
มาตรฐาน ตัวชี้วัด และบริบท
ของท้องถิ่น
1. ครูเลือก เรื่องที่สอนให้
สอดคล้องกับท้องถิ่นและ
ผู้เรียนเพื่อให้เห็นความสาคัญ
ของการอนุรักษ์ภูมิปัญญา
1. เพื่อให้การจัดการเรียนรู้ให้
ครอบคลุมตามจุดประสงค์
แหล่งเรียนรู้ 1. กาหนดภาระงาน/ชิ้นงาน
ในการทาผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นได้
เหมาะสมกับจุดประสงค์
และวัยผู้เรียน
1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนใฝ่
เรียนรู้และส่งเสริมการใช้
เทคโนโลยีและ
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
1. เตรียมวิธีป้องกันและ
แก้ปัญหาจากการปฏิบัติ
กิจกรรม
~ 5 ~
3
ห่วง
ประเด็น
ความพอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
สื่อ/อุปกรณ์ 1. ครูจัดเตรียมใบความรู้
และใบงานที่เหมาะสมกับ
เนื้อหาที่สอนและความสนใจ
ของผู้เรียน
2. จัดกิจกรรมการเรียนรู้
เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน
1. ออกแบบการจัดการ
เรียนรู้ เพื่อให้เห็นคุณค่าของ
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
2. นักเรียนได้รับ
ประสบการณ์ตรงในการ
เรียนรู้และเกิดความ
ภาคภูมิใจใน
ความสามารถของตนเอง
1. ครูเตรียมแผนฯหรือสื่อ
สารอง เพื่อรองรับกรณีที่มี
เหตุการณ์เปลี่ยนแปลง
เวลา 1. ครูจัดกระบวนการเรียนรู้
ให้เหมาะสมเพียงพอกับเวลา
ที่กาหนดไว้
1. จัดการเรียนรู้ได้ตาม
กระบวนการครบถ้วนตามที่
วางแผนไว้
1. เพื่อให้การจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ได้ครบตามจุดประสงค์
ที่กาหนดไว้
การจัดกิจกรรม 1.ครูแบ่งกลุ่มผู้เรียนได้พอดี
กับจานวนนักเรียน
2. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม
และเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง
1. จัดนักเรียนคละ
ความสามารถเก่ง ปานกลาง
อ่อน เพื่อให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม
ได้เหมาะสมและสามารถ
ช่วยเหลือซึ่งกันและกันได้
2. เพื่อให้นักเรียนได้นา
ความรู้ที่ได้รับไปปฏิบัติ
1. เพื่อให้นักเรียนได้
แลกเปลี่ยนเรียนรู้และแสดง
ศักยภาพของตนเองเพื่อให้
เกิดความภาคภูมิใจ
2. เพื่อตรวจสอบศักยภาพ
ของนักเรียนเป็นรายบุคคล
สามารถแก้ไขปัญหาได้ตรง
ตามความสามารถ
เงื่อนไขความรู้
1. ครูผู้สอน มีความรู้ในเนื้อหาสาระที่สอน เรื่อง อัตราส่วน
2. มีความรู้ เรื่อง หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และผลิตภัณฑ์ในท้องถิ่น
เงื่อนไข
คุณธรรม
- มีความรักเมตตาศิษย์ มีความรับผิดชอบ มีความยุติธรรม
~ 6 ~
11.2 สาหรับนักเรียน
ความพอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
1. นักเรียนมีพื้นฐานความรู้
ทางวิชาคณิตศาสตร์ที่เหมาะสม
กับเนื้อหาอัตราส่วน
2.นักเรียนกาหนดอัตราเพื่อ
เขียนเป็นอัตราส่วนได้อย่าง
ถูกต้อง
1. นักเรียนมีเหตุผลใน
การเขียนอัตราส่วนแทน
ปริมาณสองปริมาณที่มี
หน่วยเดียวกันและต่าง
หน่วยได้
2. นักเรียนวิเคราะห์
และตัดสินใจในการ
กาหนดปริมาณสอง
ปริมาณเพื่อเขียนเป็น
อัตราส่วนได้
1. นักเรียนนาความรู้เรื่อง
อัตราส่วนไปใช้ในการแก้ปัญหาได้
ถูกต้อง
2. นักเรียนนาความรู้ที่ได้รับจาก
การเรียนอัตราส่วน มาเป็นข้อมูล
พื้นฐานเพื่อประกอบการตัดสินใจ
ในการทากิจกรรม ได้โดยไม่เกิด
ปัจจัยเสี่ยง
เงื่อนไขความรู้ 1. นักเรียนมีความรอบรู้ เรื่อง อัตราส่วน
2. เรียนนาความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
เงื่อนไขคุณธรรม 1. นักเรียนมีความซื่อสัตย์ สุจริตและตรงต่อเวลา
2. นักเรียนมีวินัยในตนเอง
~ 7 ~
12. ประเมินผลลัพธ์ (KPA) ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง
ด้าน
วัด
อยู่อย่างพอเพียง...สมดุลและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ
วัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม
ความรู้ 1.ได้ความรู้
เกี่ยวกับอัตราส่วน
ของส่วนผสมในการ
ทาข้าวหลาม
1. มีการวางแผนใน
การทางานเป็น
กระบวนการกลุ่ม
2. นักเรียนมีการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้
3. นักเรียนได้
ช่วยเหลือซึ่งกันและ
กัน
1. มีความรอบรู้ใน
การใช้แหล่งเรียนรู้
ในท้องถิ่น
2. รู้สาเหตุและ
ปัญหาของการผลิต
และการบริการ
ผลิตภัณฑ์ในท้องถิ่น
1. การเรียนรู้
สอดคล้องกับวิถี
ชีวิตของคนใน
ชุมชน
2. เห็นคุณค่าของ
ภูมิปัญญา
ท้องถิ่น
ทักษะ 1. มีทักษะในการใช้
วัสดุ อุปกรณ์อย่าง
ประหยัดและคุ้มค่า
2. การเลือกใช้วัสดุ
อุปกรณ์ได้อย่าง
เหมาะสม
1. มีทักษะในการ
ทางาน
2. มีสามารถในการ
นาความรู้ที่ได้รับ ไป
ร่วมกันแก้ปัญหาเพื่อ
หาข้อสรุปได้
1. ใช้ประโยชน์จาก
สิ่งแวดล้อม
ระมัดระวังและ
คุ้มค่า
1. ดารงตนอยู่ใน
สังคมอย่างมี
ความสุข
2. มีทักษะในการ
คานวณและ
นาไปใช้ได้
เหมาะสม
ค่านิยม 1.ตระหนักถึงผลที่
ที่เกิดจากการใช้
วัสดุอุปกรณ์ในการ
ปฏิบัติงาน
1. มีความรับผิดชอบ
ต่อการทางานของ
กลุ่ม
2. ยอมรับความ
คิดเห็นซึ่งกันและกัน
มีความเสียสละและ
อดทน
1. มีจิตสานึกในการ
อนุรักษ์ภูมิปัญญา
ท้องถิ่น
2. ใช้ทรัพยากรและ
สิ่งแวดล้อมอย่าง
ประหยัด
1.สืบสานการ
อนุรักษ์ภูมิปัญญา
ท้องถิ่น
2. การใช้แหล่ง
เรียนรู้โดยใช้ภูมิ
ปัญญาท้องถิ่น
~ 8 ~
13. บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
ด้านความรู้ (K)
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ด้านกระบวนการ (P)
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
การอยู่อย่างพอเพียง
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ลงชื่อ…………………………..…………………ครูผู้สอน
(นางทับทิม เจริญตา)
วันที่............เดือน....................................พ.ศ..................
13. ความเห็นของผู้บริหาร / ผู้ที่ได้รับมอบหมาย
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
ลงชื่อ....................................................
(.......................................................)
ตาแหน่ง................................................................................
วันที่................เดือน.........................พ.ศ................
~ 9 ~
ในชีวิตประจาวัน เราจะพบเห็นข้อมูลหรือข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับปริมาณของสิ่งของใน
สถานการณ์ต่าง ๆ
เช่น
ยาสีฟัน 100 กรัม มีส่วนผสมของฟลูออไรด์ 7.6 มิลลิกรัม
น้านมถั่วเหลืองหนึ่งกล่องปริมาณ 250 cc. มีน้าตาลผสม 20 cc.
ไข่ไก่ 10 ฟอง ราคา 25 บาท
รถยนต์วิ่งด้วยอัตราเร็ว 80 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
ความสัมพันธ์ที่แสดงถึงการเปรียบเทียบจานวนสองจานวนที่มีหน่วยเดียวกันหรือมีหน่วยต่างกัน
ข้างต้น เรียกว่า “ อัตราส่วน ” (Ratios)
อัตราส่วนของปริมาณ a ต่อปริมาตร b เขียนแทนด้วย a : b หรือ
b
a
เรียก a ว่า จานวนแรกหรือจานวนที่หนึ่งของอัตราส่วน
เรียก b ว่า จานวนหลังหรือจานวนที่สองของอัตราส่วน
(อัตราส่วน a : b หรือ
b
a
อ่านว่า a ต่อ b)
ในการเขียนอัตราส่วน ตาแหน่งหรือปริมาณของสิ่งแรกและปริมาณของสิ่งหลังในอัตราส่วนมี
ความสาคัญ ถ้าเขียนสลับตาแหน่งกันอาจทาให้ค่าของอัตราส่วนเปลี่ยนไป
เช่น
ไข่ไก่ 10 ฟอง ราคา 25 บาท เขียนในรูปอัตราส่วนดังนี้
“ อัตราส่วนของจานวนไข่ไก่เป็นฟองต่อราคาเป็นบาท เป็น 10 : 25 ” แต่ถ้าเขียนแทนด้วย
สัญลักษณ์ 25 : 10 หมายถึง ไข่ไก่ 10 ฟอง ราคา 25 บาท ซึ่งมีความหมายเปลี่ยนไป
ใบความรู้ที่ 1
อัตราส่วน
~ 10 ~
1. ปริมาณสองปริมาณมีหน่วยเหมือนกัน เช่น โต๊ะตัวหนึ่งมีความกว้าง 50 เซนติเมตร ยาว
120 เซนติเมตร
เขียนเป็นอัตราส่วนได้ว่า
ความกว้างต่อความยาวของโต๊ะ เท่ากับ 50 : 120
2. ปริมาณสองปริมาณมีหน่วยต่างกัน เช่น นมเปรี้ยว 4 กล่อง ราคา 23 บาท
เขียนเป็นอัตราส่วนได้ว่า
อัตราส่วนนมเปรี้ยวเป็นกล่องต่อราคาเป็นบาท เป็น 4 : 2
“ อัตรา ” (Rate) เป็นข้อความที่แสดงความเกี่ยวข้องกันของปริมาณสองปริมาณที่ไม่
เหมือนกันอาจเป็นปริมาณที่มีหน่วยเดียวกันหรือหน่วยต่างกันก็ได้
ตัวอย่างข้อความที่แสดงอัตราและอัตราส่วนดังนี้
ข้อความ อัตรา อัตราส่วน
1) ปูม้ากิโลกรัมละ 250 บาท 1 กิโลกรัม 250 บาท
จานวนปูม้าเป็นกิโลกรัม
ต่อราคาเป็นบาท เท่ากับ 1 : 250
2 ) เสื้อ 3 ตัว ราคา 300 บาท 3 ตัว 300 บาท
จานวนเสื้อเป็นตัวต่อราคาเป็นบาท
เท่ากับ 3 : 300
3 ) นักเรียนห้องหนึ่ง เป็น
นักเรียนชาย 20 คน นักเรียน
หญิง 30 คน
ชาย 20 หญิง 30
จานวนนักเรียนชาย ต่อจานวน
นักเรียนหญิงเท่ากับ 20 : 30
การเขียนอัตราส่วน มี 2 แบบ
อัตราและอัตราส่วน
~ 11 ~
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง อัตราส่วน แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1) ให้นักเรียนเขียนอัตราส่วนตามข้อมูลที่กาหนดให้ในลงในตารางให้สมบูรณ์
2) ให้นักเรียนกาหนดประเภท อัตราและเขียนในรูปอัตราส่วนให้สมบูรณ์
ลาดับที่ ประเภท อัตรา เขียนในรูปอัตราส่วน
1 เนื้อวัว กิโลกรัมละ 90 บาท 1 ต่อ 90, 1 : 900 หรือ
90
1
2 มะขามหวาน 3 กิโลกรัม 100 บาท .........................................
3 ขนมหวาน 3 อย่าง 19 บาท .........................................
4 ผักกาดขาว 5 ถุง 20 บาท .........................................
5 ปลานิล กิโลกรัมละ 35บาท .........................................
6 ไข่ 10 ฟอง ราคา 32 บาท .........................................
7 ข้าวหลาม 10 กระบอก ราคา 150 บาท .........................................
8 สมุดหนึ่งโหล ราคา 120 บาท .........................................
9 ปากกาหนึ่งโหล ราคา 60 บาท .........................................
10 ส้มเขียวหวาน 2 กิโลกรัมราคา 60 บาท .........................................
11
12
13
14
15
สรุป ให้นักเรียนเขียนสรุปความหมายของอัตราส่วน
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
.
ใบกิจกรรมที่ 1.1

More Related Content

What's hot

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
Aon Narinchoti
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
suree189
 
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
atunya2530
 
แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2
แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2
แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2
ทับทิม เจริญตา
 
ข้อสอบยกระดับผลสัมฤทธ์ คณิตศาสตร์ ม1
ข้อสอบยกระดับผลสัมฤทธ์ คณิตศาสตร์ ม1ข้อสอบยกระดับผลสัมฤทธ์ คณิตศาสตร์ ม1
ข้อสอบยกระดับผลสัมฤทธ์ คณิตศาสตร์ ม1
ทับทิม เจริญตา
 
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdfบทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
ssusera0c3361
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
Inmylove Nupad
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
Jiraprapa Suwannajak
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
Proud N. Boonrak
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
pacharawalee
 

What's hot (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
 
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
 
แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2
แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2
แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
ข้อสอบยกระดับผลสัมฤทธ์ คณิตศาสตร์ ม1
ข้อสอบยกระดับผลสัมฤทธ์ คณิตศาสตร์ ม1ข้อสอบยกระดับผลสัมฤทธ์ คณิตศาสตร์ ม1
ข้อสอบยกระดับผลสัมฤทธ์ คณิตศาสตร์ ม1
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
 
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdfบทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
 
แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...
แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...
แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...
 
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
 
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 

Viewers also liked

อาเซียนกับเศรษฐกิจพอเพียง
อาเซียนกับเศรษฐกิจพอเพียงอาเซียนกับเศรษฐกิจพอเพียง
อาเซียนกับเศรษฐกิจพอเพียง
ทับทิม เจริญตา
 
คณิตศาสตร์กับเศรษฐกิจพอเพียง1
คณิตศาสตร์กับเศรษฐกิจพอเพียง1คณิตศาสตร์กับเศรษฐกิจพอเพียง1
คณิตศาสตร์กับเศรษฐกิจพอเพียง1
ทับทิม เจริญตา
 
ตัวอย่างแผนพอเพียงสู่อาเซียน
ตัวอย่างแผนพอเพียงสู่อาเซียนตัวอย่างแผนพอเพียงสู่อาเซียน
ตัวอย่างแผนพอเพียงสู่อาเซียน
ทับทิม เจริญตา
 
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
sompriaw aums
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
krupornpana55
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
Wareerut Hunter
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระอาเซียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระอาเซียนแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระอาเซียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระอาเซียน
Wantanee Komkam
 
(ขอบล่าง ขอบบน) - รูปหลายเหลียม
(ขอบล่าง   ขอบบน) - รูปหลายเหลียม(ขอบล่าง   ขอบบน) - รูปหลายเหลียม
(ขอบล่าง ขอบบน) - รูปหลายเหลียม
ทับทิม เจริญตา
 
แผนอาเซียน ป.1
แผนอาเซียน ป.1แผนอาเซียน ป.1
แผนอาเซียน ป.1
sompriaw aums
 

Viewers also liked (20)

แผนพอเพียงสู่อาเซียนม.3
แผนพอเพียงสู่อาเซียนม.3แผนพอเพียงสู่อาเซียนม.3
แผนพอเพียงสู่อาเซียนม.3
 
อาเซียนกับเศรษฐกิจพอเพียง
อาเซียนกับเศรษฐกิจพอเพียงอาเซียนกับเศรษฐกิจพอเพียง
อาเซียนกับเศรษฐกิจพอเพียง
 
คณิตศาสตร์กับเศรษฐกิจพอเพียง1
คณิตศาสตร์กับเศรษฐกิจพอเพียง1คณิตศาสตร์กับเศรษฐกิจพอเพียง1
คณิตศาสตร์กับเศรษฐกิจพอเพียง1
 
ตัวอย่างแผนพอเพียงสู่อาเซียน
ตัวอย่างแผนพอเพียงสู่อาเซียนตัวอย่างแผนพอเพียงสู่อาเซียน
ตัวอย่างแผนพอเพียงสู่อาเซียน
 
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
ถอดบทเรียน
ถอดบทเรียนถอดบทเรียน
ถอดบทเรียน
 
ระบบสมการเชิงเส้น1
ระบบสมการเชิงเส้น1ระบบสมการเชิงเส้น1
ระบบสมการเชิงเส้น1
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4
 
Test ระบบสมการเชิงเส้น
Test ระบบสมการเชิงเส้น Test ระบบสมการเชิงเส้น
Test ระบบสมการเชิงเส้น
 
ระบบสมการเชิงเส้น 2
ระบบสมการเชิงเส้น 2 ระบบสมการเชิงเส้น 2
ระบบสมการเชิงเส้น 2
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 3
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 3 การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 3
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 3
 
หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ช่วงชั้นที่ 3
หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ช่วงชั้นที่ 3หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ช่วงชั้นที่ 3
หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ช่วงชั้นที่ 3
 
เกมซูดุคุ
เกมซูดุคุเกมซูดุคุ
เกมซูดุคุ
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระอาเซียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระอาเซียนแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระอาเซียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระอาเซียน
 
การนำเสนอข้อมูลแบบต่างๆ
การนำเสนอข้อมูลแบบต่างๆการนำเสนอข้อมูลแบบต่างๆ
การนำเสนอข้อมูลแบบต่างๆ
 
(ขอบล่าง ขอบบน) - รูปหลายเหลียม
(ขอบล่าง   ขอบบน) - รูปหลายเหลียม(ขอบล่าง   ขอบบน) - รูปหลายเหลียม
(ขอบล่าง ขอบบน) - รูปหลายเหลียม
 
แผนอาเซียน ป.1
แผนอาเซียน ป.1แผนอาเซียน ป.1
แผนอาเซียน ป.1
 
(เส้นโค้งปกติ)
(เส้นโค้งปกติ)(เส้นโค้งปกติ)
(เส้นโค้งปกติ)
 

Similar to แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

แผนย่อพื้นฐาน ม.2
แผนย่อพื้นฐาน ม.2แผนย่อพื้นฐาน ม.2
แผนย่อพื้นฐาน ม.2
othanatoso
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
guychaipk
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2
krutew Sudarat
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
smellangel
 
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงหน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
dp130233
 

Similar to แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (20)

แผนย่อพื้นฐาน ม.2
แผนย่อพื้นฐาน ม.2แผนย่อพื้นฐาน ม.2
แผนย่อพื้นฐาน ม.2
 
หน่วย 1 1
หน่วย 1 1หน่วย 1 1
หน่วย 1 1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
 
แผนภูมิวงกลม
แผนภูมิวงกลมแผนภูมิวงกลม
แผนภูมิวงกลม
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2
 
integer
integerinteger
integer
 
13040553796184
1304055379618413040553796184
13040553796184
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
P73240631522
P73240631522P73240631522
P73240631522
 
ชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วน
ชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วนชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วน
ชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วน
 
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
 
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงหน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 

More from ทับทิม เจริญตา

ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ทับทิม เจริญตา
 
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ทับทิม เจริญตา
 
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ทับทิม เจริญตา
 
สมบัติของการคูณเลขยกกำลังฯ2
สมบัติของการคูณเลขยกกำลังฯ2สมบัติของการคูณเลขยกกำลังฯ2
สมบัติของการคูณเลขยกกำลังฯ2
ทับทิม เจริญตา
 

More from ทับทิม เจริญตา (20)

Pro1
Pro1Pro1
Pro1
 
Ex
ExEx
Ex
 
ข้อสอบเมทริกชฺ
ข้อสอบเมทริกชฺ ข้อสอบเมทริกชฺ
ข้อสอบเมทริกชฺ
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
 
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนามแบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
 
แบบฝึกพหุนาม
แบบฝึกพหุนามแบบฝึกพหุนาม
แบบฝึกพหุนาม
 
การบวกลบพหุนาม
การบวกลบพหุนามการบวกลบพหุนาม
การบวกลบพหุนาม
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนาม
 
หาผลบวกและผลลบของเอกนาม
หาผลบวกและผลลบของเอกนามหาผลบวกและผลลบของเอกนาม
หาผลบวกและผลลบของเอกนาม
 
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
 
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
 
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
 
สอบ สมบัติของเลขยกกำลัง
สอบ สมบัติของเลขยกกำลังสอบ สมบัติของเลขยกกำลัง
สอบ สมบัติของเลขยกกำลัง
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5 ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4 ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3 ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2 ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 
สมบัติของการคูณเลขยกกำลังฯ2
สมบัติของการคูณเลขยกกำลังฯ2สมบัติของการคูณเลขยกกำลังฯ2
สมบัติของการคูณเลขยกกำลังฯ2
 

แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

  • 1. ~ 1 ~ แผนการจัดการเรียนรู้ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รหัสวิชา ค 22101 ชื่อรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ชื่อ อัตราส่วน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง อัตรา อัตราส่วน อัตราส่วนที่เท่ากัน เวลา 1 ชั่วโมง ***************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวนและการใช้จานวนในชีวิตจริง ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทาง คณิตศาสตร์ และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์ และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับ ศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 2. ตัวชี้วัด ม. 2/4 ใช้ความรู้เกี่ยวกับอัตราส่วน สัดส่วน และร้อยละในการแก้โจทย์ปัญหา ม 1 – 3 /2 ใช้ความรู้ ทักษะ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีใน การ แก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม ม 1 – 3 /3 ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจและสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ม 1 – 3 /5 เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณิตศาสตร์ และนาความรู้ หลักการ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่น ๆ 3. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด เขียนอัตราส่วนแทนการเปรียบเทียบปริมาณสองปริมาณที่กาหนดให้ได้ 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1) ใช้ความรู้เกี่ยวกับอัตราส่วน ในการแก้ปัญหา เกี่ยวกับการเขียนการเปรียบเทียบปริมาณสอง ปริมาณได้ 2) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคาตอบที่ได้บอกความหมายของอัตราส่วน และนาไปใช้ใน การแก้โจทย์ปัญหาได้ 4.1 ด้านความรู้ (K) 4.1.1 เขียนอัตราส่วนแทนอัตราการเปรียบเทียบปริมาณสองปริมาณได้ 4.1.2 ตรวจสอบการเขียนอัตราส่วนแทนอัตราการเปรียบเทียบปริมาณสอง ปริมาณได้ 4.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) 4.2.1 การแก้ปัญหา 4.2.2 การให้เหตุผล 4.2.3 การสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนาเสนอ 4.2.4 การเชื่อมโยง 4.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) 4.3.1 ทางานอย่างเป็นระบบ 4.3.2 มีระเบียบวินัย 4.3.3 มีความรอบคอบ
  • 2. ~ 2 ~ 4.3.4 มีความรับผิดชอบ 4.3.5 มีวิจารณญาณ 4.3.6 มีความเชื่อมั่นในตนเอง 4.3.7 ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน 4.3.8 ตระหนักในคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์ 5. สาระการเรียนรู้ อัตราส่วน เป็นการเปรียบเทียบปริมาณสิ่งของอย่างเดียวกันหรือเปรียบเทียบปริมาณของสิ่งของ สองสิ่งขึ้นไป การเขียนในลักษณะที่เป็นข้อความ เรียกว่า “อัตราส่วน” เช่น 5:3 , 6:9 6. สมรรถนะสาคัญ 6.1 ความสามารถในการคิด 6.2 ความสามารถในการแก้ปัญหา 6.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 6.4 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 7. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 7.1 ซื่อสัตย์สุจริต 7.2 มีวินัย 7.3 ใฝ่เรียนรู้ 7.4 อยู่อย่างพอเพียง 7.5 มุ่งมั่นในการทางาน 7.6 รักความเป็นไทย 8. ชิ้นงาน/ภาระงาน 8.1 ใบกิจกรรมที่1.1 เรื่องการเขียนอัตราและอัตราส่วน 8.2 การสืบค้นสูตรการทาข้าวหลามในแต่ละท้องถิ่น 9. กระบวนการจัดการเรียนรู้ 9.1 ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน 1. ครูนาสนทนาถึงสถานการณ์ในชีวิตประจาวันของนักเรียนว่าเราจะพบเห็นข้อมูล ข่าวสาร ที่เกี่ยวข้องกับปริมาณของสิ่งของที่เราใช้อยู่เป็นประจา หรือ ประเภทของสิ้นค้าที่จาหน่ายในท้องถิ่น หรือการใช้จ่ายในชีวิตประจาวันว่ามีเหตุการณ์ใดบ้างที่นักเรียนสนใจ ครูสุ่มให้นักเรียนยกตัวอย่าง เช่น จานวนเก้าอี้ กับ จานวนโต๊ะ จานวนนักเรียนชายกับจานวนนักเรียนเรียนหญิง จานวนนักเรียนในโรงเรียนกับจานวนครู จานวนร้านค้าที่จาหน่ายข้าวและขนม จานวนเงินที่ใช้จ่ายกับเก็บออมในแต่ละวัน 2. ครูบันทึกคาตอบของนักเรียนไว้บนกระดาน และใช้คาถามยั่วยุให้นักเรียนตอบถึงสิ่งที่ครู กล่าวถึงในข้อ 1 นั้นเราสามารถนาคณิตศาสตร์มาเกี่ยวข้องได้ในเรื่องใดบ้าง
  • 3. ~ 3 ~ 3. ครูให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ที่ 1 เรื่อง อัตราส่วน เมื่อนักเรียนศึกษาเข้าใจดีแล้ว อาสาสมัครนักเรียนเขียนสัญลักษณ์แทนจานวนบนกระดานด้วยอัตราส่วน เพื่อตรวจสอบความเข้าใจของ นักเรียน 4. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายถึงตัวอย่างที่นักเรียนนาเสนอบนกระดานทั้งหมด เป็น ความสัมพั น ธ์ที่ แสดงถึงการเปรียบเที ยบจาน วน สองจาน วน ที่ มีห น่ วยเดียวกั น ห รือ มีหน่วยต่างกันข้างต้น เรียกว่า “ อัตราส่วน ” (Ratios) 5. ครูจัดกลุ่มนักเรียนแบบคละความสามารถโดยมีจานวนเด็กอ่อนต่อเด็กปานกลางต่อเด็ก เก่ง 1 : 2 : 1 หรือ 1 : 2 : 2 กลุ่มละ 4 – 5 คน โดยพิจารณาจากคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 6. ครูนาสนทนาถึงวิธีการปฏิบัติงานกลุ่ม ความรับผิดชอบ การทางานร่วมกัน ครูแจก ใบ กิจกรรมที่ 1.1 ให้นักเรียนปฏิบัติ 7. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมในใบกิจกรรมที่ 1.1 8. ให้ตัวแทนแต่ละกลุ่มนาเสนอจากใบกิจกรรมที่ 1.1 ครูและนักเรียนเพิ่มเติมในส่วนที่ แตกต่างกัน 9 นักเรียนช่วยกันสรุปความหมายของอัตราส่วน ครูเพิ่มเติมการนาอัตราส่วนไปใช้ใน ชีวิตประจาวัน โดยแน ะให้ เห็น ถึงการเป รียบเทียบราคาใน การเลือกซื้อสิน ค้า เช่น มะขามหวาน 3 กิโลกรัม ราคา 100 บาท ถ้าซื้อ 1 กิโลกรัม ราคา 35 บาท จะเห็นว่าถ้าซื้อครั้งละ 3 กิโลกรัม จะถูกกว่าซื้อครั้งละ 1 กิโลกรัม 3 ครั้ง อยู่ 5 บาท ชี้ให้นักเรียนเห็นว่าการใช้จ่ายที่เกิดขึ้นนั้นควรคานึงถึง รายรับด้วยว่าควรจะใช้จ่ายเท่าใดจึงจะเหมาะสม กระตุ้นให้นักเรียนเห็นว่าความสัมพันธ์ของปริมาณสอง ปริมาณ ให้นักเรียนได้นาคณิตศาสตร์ไปใช้ในชีวิตประจาให้เกิดความคุ้มค่ากับชีวิตและรายได้ของตนเอง จากนั้นครูให้นักเรียนไปสืบค้นสูตรการทาข้าวหลาม 10. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การประเมินผล ด้านความรู้ 1. เขียนอัตราส่วนแทนอัตรา การเปรียบเทียบปริมาณสอง ปริมาณได้ 2.ตรวจสอบการเขียน อัตราส่วนแทนอัตราการ เปรียบเทียบปริมาณสอง ปริมาณได้ ตรวจใบกิจกรรมที่ 1 ใบกิจกรรมที่ 1 นักเรียนที่ตอบถูก มากกว่าร้อยละ 80 ดีมาก ร้อยละ 70 – 79 ดี ร้อยละ 50 - 69 พอใช้ ต่ากว่าร้อยละ 50 ปรับปรุง ด้านทักษะ/กระบวนการ 1. การแก้ปัญหา 2. การให้เหตุผล 3. การสื่อสาร การสื่อ ความหมาย และการนาเสนอ 4.การเชื่อมโยง การสังเกตพฤติกรรม แบบสังเกต พฤติกรรม สรุปแบบสังเกตพฤติกรรม ได้คะแนนตั้งแต่ 16 – 20 ดี ได้คะแนนตั้งแต่ 10 – 15 พอใช้ ได้คะแนนต่ากว่า 10 ปรับปรุง
  • 4. ~ 4 ~ จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การประเมินผล คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ทางานอย่างเป็นระบบ 2. มีระเบียบวินัย 3. มีความรอบคอบ 4. มีความรับผิดชอบ 5. มีวิจารณญาณ 6. มีความเชื่อมั่นในตนเอง 7. ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน 8. ตระหนักในคุณค่าและมี เจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์ การสังเกตพฤติกรรม แบบสังเกต พฤติกรรม สรุปแบบสังเกตพฤติกรรม ได้คะแนนตั้งแต่ 16 – 20 ดี ได้คะแนนตั้งแต่ 10 – 15 พอใช้ ได้คะแนนต่ากว่า 10 ปรับปรุง 11. การบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 11.1 สาหรับครูผู้สอน 3 ห่วง ประเด็น ความพอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี สาระการเรียนรู้ 1. ครูมีการวิเคราะห์หลักสูตร เนื้อหา ออกแบบ และจัด กิจกรรมได้สอดคล้องกับ มาตรฐาน ตัวชี้วัด และบริบท ของท้องถิ่น 1. ครูเลือก เรื่องที่สอนให้ สอดคล้องกับท้องถิ่นและ ผู้เรียนเพื่อให้เห็นความสาคัญ ของการอนุรักษ์ภูมิปัญญา 1. เพื่อให้การจัดการเรียนรู้ให้ ครอบคลุมตามจุดประสงค์ แหล่งเรียนรู้ 1. กาหนดภาระงาน/ชิ้นงาน ในการทาผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นได้ เหมาะสมกับจุดประสงค์ และวัยผู้เรียน 1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนใฝ่ เรียนรู้และส่งเสริมการใช้ เทคโนโลยีและ ภูมิปัญญาท้องถิ่น 1. เตรียมวิธีป้องกันและ แก้ปัญหาจากการปฏิบัติ กิจกรรม
  • 5. ~ 5 ~ 3 ห่วง ประเด็น ความพอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี สื่อ/อุปกรณ์ 1. ครูจัดเตรียมใบความรู้ และใบงานที่เหมาะสมกับ เนื้อหาที่สอนและความสนใจ ของผู้เรียน 2. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน 1. ออกแบบการจัดการ เรียนรู้ เพื่อให้เห็นคุณค่าของ ภูมิปัญญาท้องถิ่น 2. นักเรียนได้รับ ประสบการณ์ตรงในการ เรียนรู้และเกิดความ ภาคภูมิใจใน ความสามารถของตนเอง 1. ครูเตรียมแผนฯหรือสื่อ สารอง เพื่อรองรับกรณีที่มี เหตุการณ์เปลี่ยนแปลง เวลา 1. ครูจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้เหมาะสมเพียงพอกับเวลา ที่กาหนดไว้ 1. จัดการเรียนรู้ได้ตาม กระบวนการครบถ้วนตามที่ วางแผนไว้ 1. เพื่อให้การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ได้ครบตามจุดประสงค์ ที่กาหนดไว้ การจัดกิจกรรม 1.ครูแบ่งกลุ่มผู้เรียนได้พอดี กับจานวนนักเรียน 2. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม และเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง 1. จัดนักเรียนคละ ความสามารถเก่ง ปานกลาง อ่อน เพื่อให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ได้เหมาะสมและสามารถ ช่วยเหลือซึ่งกันและกันได้ 2. เพื่อให้นักเรียนได้นา ความรู้ที่ได้รับไปปฏิบัติ 1. เพื่อให้นักเรียนได้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้และแสดง ศักยภาพของตนเองเพื่อให้ เกิดความภาคภูมิใจ 2. เพื่อตรวจสอบศักยภาพ ของนักเรียนเป็นรายบุคคล สามารถแก้ไขปัญหาได้ตรง ตามความสามารถ เงื่อนไขความรู้ 1. ครูผู้สอน มีความรู้ในเนื้อหาสาระที่สอน เรื่อง อัตราส่วน 2. มีความรู้ เรื่อง หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และผลิตภัณฑ์ในท้องถิ่น เงื่อนไข คุณธรรม - มีความรักเมตตาศิษย์ มีความรับผิดชอบ มีความยุติธรรม
  • 6. ~ 6 ~ 11.2 สาหรับนักเรียน ความพอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี 1. นักเรียนมีพื้นฐานความรู้ ทางวิชาคณิตศาสตร์ที่เหมาะสม กับเนื้อหาอัตราส่วน 2.นักเรียนกาหนดอัตราเพื่อ เขียนเป็นอัตราส่วนได้อย่าง ถูกต้อง 1. นักเรียนมีเหตุผลใน การเขียนอัตราส่วนแทน ปริมาณสองปริมาณที่มี หน่วยเดียวกันและต่าง หน่วยได้ 2. นักเรียนวิเคราะห์ และตัดสินใจในการ กาหนดปริมาณสอง ปริมาณเพื่อเขียนเป็น อัตราส่วนได้ 1. นักเรียนนาความรู้เรื่อง อัตราส่วนไปใช้ในการแก้ปัญหาได้ ถูกต้อง 2. นักเรียนนาความรู้ที่ได้รับจาก การเรียนอัตราส่วน มาเป็นข้อมูล พื้นฐานเพื่อประกอบการตัดสินใจ ในการทากิจกรรม ได้โดยไม่เกิด ปัจจัยเสี่ยง เงื่อนไขความรู้ 1. นักเรียนมีความรอบรู้ เรื่อง อัตราส่วน 2. เรียนนาความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ เงื่อนไขคุณธรรม 1. นักเรียนมีความซื่อสัตย์ สุจริตและตรงต่อเวลา 2. นักเรียนมีวินัยในตนเอง
  • 7. ~ 7 ~ 12. ประเมินผลลัพธ์ (KPA) ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ด้าน วัด อยู่อย่างพอเพียง...สมดุลและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ วัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม ความรู้ 1.ได้ความรู้ เกี่ยวกับอัตราส่วน ของส่วนผสมในการ ทาข้าวหลาม 1. มีการวางแผนใน การทางานเป็น กระบวนการกลุ่ม 2. นักเรียนมีการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ 3. นักเรียนได้ ช่วยเหลือซึ่งกันและ กัน 1. มีความรอบรู้ใน การใช้แหล่งเรียนรู้ ในท้องถิ่น 2. รู้สาเหตุและ ปัญหาของการผลิต และการบริการ ผลิตภัณฑ์ในท้องถิ่น 1. การเรียนรู้ สอดคล้องกับวิถี ชีวิตของคนใน ชุมชน 2. เห็นคุณค่าของ ภูมิปัญญา ท้องถิ่น ทักษะ 1. มีทักษะในการใช้ วัสดุ อุปกรณ์อย่าง ประหยัดและคุ้มค่า 2. การเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ได้อย่าง เหมาะสม 1. มีทักษะในการ ทางาน 2. มีสามารถในการ นาความรู้ที่ได้รับ ไป ร่วมกันแก้ปัญหาเพื่อ หาข้อสรุปได้ 1. ใช้ประโยชน์จาก สิ่งแวดล้อม ระมัดระวังและ คุ้มค่า 1. ดารงตนอยู่ใน สังคมอย่างมี ความสุข 2. มีทักษะในการ คานวณและ นาไปใช้ได้ เหมาะสม ค่านิยม 1.ตระหนักถึงผลที่ ที่เกิดจากการใช้ วัสดุอุปกรณ์ในการ ปฏิบัติงาน 1. มีความรับผิดชอบ ต่อการทางานของ กลุ่ม 2. ยอมรับความ คิดเห็นซึ่งกันและกัน มีความเสียสละและ อดทน 1. มีจิตสานึกในการ อนุรักษ์ภูมิปัญญา ท้องถิ่น 2. ใช้ทรัพยากรและ สิ่งแวดล้อมอย่าง ประหยัด 1.สืบสานการ อนุรักษ์ภูมิปัญญา ท้องถิ่น 2. การใช้แหล่ง เรียนรู้โดยใช้ภูมิ ปัญญาท้องถิ่น
  • 8. ~ 8 ~ 13. บันทึกผลการจัดการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ด้านกระบวนการ (P) …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. การอยู่อย่างพอเพียง …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงชื่อ…………………………..…………………ครูผู้สอน (นางทับทิม เจริญตา) วันที่............เดือน....................................พ.ศ.................. 13. ความเห็นของผู้บริหาร / ผู้ที่ได้รับมอบหมาย ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ลงชื่อ.................................................... (.......................................................) ตาแหน่ง................................................................................ วันที่................เดือน.........................พ.ศ................
  • 9. ~ 9 ~ ในชีวิตประจาวัน เราจะพบเห็นข้อมูลหรือข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับปริมาณของสิ่งของใน สถานการณ์ต่าง ๆ เช่น ยาสีฟัน 100 กรัม มีส่วนผสมของฟลูออไรด์ 7.6 มิลลิกรัม น้านมถั่วเหลืองหนึ่งกล่องปริมาณ 250 cc. มีน้าตาลผสม 20 cc. ไข่ไก่ 10 ฟอง ราคา 25 บาท รถยนต์วิ่งด้วยอัตราเร็ว 80 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ความสัมพันธ์ที่แสดงถึงการเปรียบเทียบจานวนสองจานวนที่มีหน่วยเดียวกันหรือมีหน่วยต่างกัน ข้างต้น เรียกว่า “ อัตราส่วน ” (Ratios) อัตราส่วนของปริมาณ a ต่อปริมาตร b เขียนแทนด้วย a : b หรือ b a เรียก a ว่า จานวนแรกหรือจานวนที่หนึ่งของอัตราส่วน เรียก b ว่า จานวนหลังหรือจานวนที่สองของอัตราส่วน (อัตราส่วน a : b หรือ b a อ่านว่า a ต่อ b) ในการเขียนอัตราส่วน ตาแหน่งหรือปริมาณของสิ่งแรกและปริมาณของสิ่งหลังในอัตราส่วนมี ความสาคัญ ถ้าเขียนสลับตาแหน่งกันอาจทาให้ค่าของอัตราส่วนเปลี่ยนไป เช่น ไข่ไก่ 10 ฟอง ราคา 25 บาท เขียนในรูปอัตราส่วนดังนี้ “ อัตราส่วนของจานวนไข่ไก่เป็นฟองต่อราคาเป็นบาท เป็น 10 : 25 ” แต่ถ้าเขียนแทนด้วย สัญลักษณ์ 25 : 10 หมายถึง ไข่ไก่ 10 ฟอง ราคา 25 บาท ซึ่งมีความหมายเปลี่ยนไป ใบความรู้ที่ 1 อัตราส่วน
  • 10. ~ 10 ~ 1. ปริมาณสองปริมาณมีหน่วยเหมือนกัน เช่น โต๊ะตัวหนึ่งมีความกว้าง 50 เซนติเมตร ยาว 120 เซนติเมตร เขียนเป็นอัตราส่วนได้ว่า ความกว้างต่อความยาวของโต๊ะ เท่ากับ 50 : 120 2. ปริมาณสองปริมาณมีหน่วยต่างกัน เช่น นมเปรี้ยว 4 กล่อง ราคา 23 บาท เขียนเป็นอัตราส่วนได้ว่า อัตราส่วนนมเปรี้ยวเป็นกล่องต่อราคาเป็นบาท เป็น 4 : 2 “ อัตรา ” (Rate) เป็นข้อความที่แสดงความเกี่ยวข้องกันของปริมาณสองปริมาณที่ไม่ เหมือนกันอาจเป็นปริมาณที่มีหน่วยเดียวกันหรือหน่วยต่างกันก็ได้ ตัวอย่างข้อความที่แสดงอัตราและอัตราส่วนดังนี้ ข้อความ อัตรา อัตราส่วน 1) ปูม้ากิโลกรัมละ 250 บาท 1 กิโลกรัม 250 บาท จานวนปูม้าเป็นกิโลกรัม ต่อราคาเป็นบาท เท่ากับ 1 : 250 2 ) เสื้อ 3 ตัว ราคา 300 บาท 3 ตัว 300 บาท จานวนเสื้อเป็นตัวต่อราคาเป็นบาท เท่ากับ 3 : 300 3 ) นักเรียนห้องหนึ่ง เป็น นักเรียนชาย 20 คน นักเรียน หญิง 30 คน ชาย 20 หญิง 30 จานวนนักเรียนชาย ต่อจานวน นักเรียนหญิงเท่ากับ 20 : 30 การเขียนอัตราส่วน มี 2 แบบ อัตราและอัตราส่วน
  • 11. ~ 11 ~ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 หน่วยการเรียนรู้เรื่อง อัตราส่วน แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1) ให้นักเรียนเขียนอัตราส่วนตามข้อมูลที่กาหนดให้ในลงในตารางให้สมบูรณ์ 2) ให้นักเรียนกาหนดประเภท อัตราและเขียนในรูปอัตราส่วนให้สมบูรณ์ ลาดับที่ ประเภท อัตรา เขียนในรูปอัตราส่วน 1 เนื้อวัว กิโลกรัมละ 90 บาท 1 ต่อ 90, 1 : 900 หรือ 90 1 2 มะขามหวาน 3 กิโลกรัม 100 บาท ......................................... 3 ขนมหวาน 3 อย่าง 19 บาท ......................................... 4 ผักกาดขาว 5 ถุง 20 บาท ......................................... 5 ปลานิล กิโลกรัมละ 35บาท ......................................... 6 ไข่ 10 ฟอง ราคา 32 บาท ......................................... 7 ข้าวหลาม 10 กระบอก ราคา 150 บาท ......................................... 8 สมุดหนึ่งโหล ราคา 120 บาท ......................................... 9 ปากกาหนึ่งโหล ราคา 60 บาท ......................................... 10 ส้มเขียวหวาน 2 กิโลกรัมราคา 60 บาท ......................................... 11 12 13 14 15 สรุป ให้นักเรียนเขียนสรุปความหมายของอัตราส่วน .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... . ใบกิจกรรมที่ 1.1