SlideShare a Scribd company logo
1 of 43
Download to read offline
การสถาปนากรุงสุโขทัย
    การสถาปนากรุงศรีอยุธยา
     การสถาปนากรุงธนบุรี
                    จัดทาโดย
นายณัฐณรงค์        เจริญสุขศิริกุล เลขที่ 6
นางสาวปรียาภรณ์ ฟูเถิ้ม             เลขที่ 10
นางสาวพิชญา ชาญพานิชกิจโชติ เลขที่ 20
                       จ
นางสาววิลาสินี ใหม่ต๊ะ              เลขที่ 22
            ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1
                    ครูผู้สอน
           คุณครู สายพิณ วงษารัตน์
การสถาปนากรุงสุโขทัย
การสถาปนาอาณาจักรสุโขทัย
         อาณาจักรสุโขทัยเป็นอาณาจักรของคนไทยที่ได้รับการสถาปนาขึ้น
ใน พ.ศ. 1792 ก่อนหน้าที่จะมีการสถาปนาอาณาจักรสุโขทัยขึ้นมานั้น
สุโขทัยเป็นเมืองเก่าแก่ที่มีความเจริญรุ่งเรืองมาก่อน จากการตีความใน
ศิลาจารึกหลักที่ 2 (วัดศรีชุม) พอจะสรุปความได้ว่า เมืองสุโขทัยแต่เดิม
มีผู้นาคนไทยชื่อ พ่อขุนศรีนาวนาถุม เป็นเจ้าเมืองปกครองอยู่ เมื่อพระองค์
สิ้นพระชนม์ ขอมสบาดโขลญลาพง ขุนนางขอมได้นากาลังเข้ายึดกรุงสุโขทัย
ไว้ได้
เมื่อพวกขอมเริ่มเสื่อมอานาจลง ในปี พ.ศ. 1780 ได้มีผู้นา 2 ท่าน
คือ พ่อขุนบางกลางหาว และพ่อขุนผาเมือง ซึ่งเป็นผู้นาคนไทยได้ร่วมมือ
กันรวบรวมกาลังเข้าขับไล่ขอมออกจากดินแดนแถบนี้และตั้งตนเป็นอิสระ
พร้อมกับสถาปนากรุงสุโขทัยเป็นราชธานีของอาณาจักรไทย และได้
สถาปนาพ่อขุนบางกลางหาวขึ้นเป็นกษัตริย์ปกครองกรุงสุโขทัยทรงพระ
นามว่า “พ่อขุนศรีอินทราทิตย์” นับเป็นปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์สุโขทัย
หรือราชวงศ์พระร่วง นับตั้งแต่ พ.ศ. 1792 เป็นต้นมา
ปัจจัยที่เอื้อต่อการสถาปนาอาณาจักรสุโขทัยเป็นราชธานี มีดังนี้
1. ปัจจัยภายใน ได้แก่ การมีขวัญและกาลังใจดีของประชาชนเนื่องจากมี
   ผู้นาที่เข้มแข็งและมีความสามารถ การมีนสัยรักอิสระ ไม่ชอบให้ผู้ใด
                                          ิ
   มากดขี่ข่มเหง บังคับและบ้านเมืองมีความอุดมสมบูรณ์
2. ปัจจัยภายนอก ได้แก่ การเสื่อมอานาจของขอม หลังจากที่
   พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 สิ้นพระชนม์ลง กษัตริย์องค์ต่อมาไม่สามารถ
   รักษาอานาจของตนในดินแดนที่ยึดครองมาได้ ทาให้หัวเมืองต่าง ๆ
   พากันตั้งตนเป็นอิสระ
ระยะเริมต้นของการสถาปนากรุงสุโขทัยเป็นราชธานี โดยเฉพาะ
                  ่
ในสมัยพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ บ้านเมืองยังไม่มั่นคงมากนัก คนไทยยังอยู่
กันอย่างกระจัดกระจาย บางเมืองยังคงมีอิสระในการปกครองตนเอง ไม่มี
การรวมอานาจไว้ ณ ศูนย์กลางเมืองใดเมืองหนึ่งโดยตรง บางครั้งจึงมีการ
ทาสงครามกันเพื่อแย่งชิงอานาจและขยายอาณาเขตของเมือง เช่น
ขุนสามชนเจ้าเมืองฉอดได้ยกทัพมาตีเมืองตาก
         เมื่อสิ้นรัชสมัยของพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ พระราชโอรสองค์ใหญ่
คือ พ่อขุนบานเมือง ได้ขึ้นครองราชย์ สมัยนี้สุโขทัยได้ขยายอานาจทาง
การเมืองด้วยการทาสงครามกับหัวเมืองต่าง ๆ โดยมีพระอนุชา คือ พระ
รามคาแหง เป็นกาลังสาคัญ ซึ่งต่อมาพระองค์ได้ขึ้นครองราชย์สืบต่อจาก
พ่อขุนบานเมือง
ในสมัยพ่อขุนรามคาแหง พระองค์ทรงเป็นแม่ทัพไปปราบเมืองต่าง ๆ
จนเป็นที่เกรงขามของอาณาจักรอื่น ๆ ดังนั้นเมื่อพระองค์ขึ้นครองราชย์จึงมี
หลายเมืองที่ยอมอ่อนน้อมเข้ารวมอยู่กับอาณาจักรสุโขทัย โดยเมืองที่
พ่อขุนรามคาแหงมหาราชได้ส่งกองทัพไปรบ ได้แก่ เมืองหงสาวดี เมือง
สุพรรณบุรี เมืองเพชรบุรี เมืองราชบุรี เมืองหลวงพระบาง เมืองเวียงจันทน์ และ
เมืองนครศรีธรรมชาติ ทาให้อาณาจักรสุโขทัยมีอาณาเขตแผ่ขยายออกไป
กว้างขวางมาก ดังปรากฏในศิลาจารึกหลักที่ 1 ดังนี้
ทิศเหนือ ครอบคลุมเมืองแพร่ น่าน พลัว จนถึงเมืองหลวงพระบาง
ทิศใต้ ครอบคลุมเมืองคณฑี (กาแพงเพชร) พระบาง (นครสวรรค์)
แพรก (ชัยนาท) สุพรรณบุรี ราชบุรี เพชรบุรี นครศรีธรรมราช จนถึง
แหลมมลายู
ทิศตะวันออก ครอบคลุมเมืองสระหลวงสองแคว (พิษณุโลก) ลุมบาจาย
(หล่มเก่า) สระคา และข้ามฝั่งแม่น้าโขงไปถึงเมืองเวียงจันทน์และเวียงคา
ทิศตะวันตก ครอบคลุมเมืองฉอด หงสาวดี จนถึงชายฝั่งทะเลด้าน
อ่าวเบงกอล
ขณะเดียวกันพ่อขุนรามคาแหงมหาราชทรงใช้หลักธรรมในการ
ปกครองเพื่อให้ประชาชนได้อยู่เย็นเป็นสุข ด้วยเหตุนี้จึงทาให้เจ้าเมืองต่าง ๆ
เหล่านี้สานึกในพระมหากรุณาธิคุณ ทาให้สุโขทัยปราศจากข้าศึกศัตรูในทุก
ทิศ นับได้ว่าในรัชสมัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราช เป็นช่วงสมัยที่อาณาจักร
สุโขทัยมีความเจริญรุ่งเรืองสูงสุด
หลังจากสิ้นรัชสมัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราช มีกษัตริย์ขึ้น
ครองราชย์อีก 2 พระองค์ คือ พญาเลอไทย และพญางั่วนาถม แต่อาณาจักร
สุโขทัยก็เริ่มเสือมอานาจลง บรรดาเมืองต่าง ๆ ที่อยู่ภายใต้การปกครองของ
                 ่
สุโขทัยได้แยกตัวเป็นอิสระและเมืองประเทศราชที่มีกาลังเข้มแข็งต่างพากัน
แยกตัวไม่ขึ้นต่อกรุงสุโขทัย เช่น เมืองพงสาวดี เมืองนครศรีธรรมราช เป็นต้น
นอกจากนี้ในตอนปลายรัชสมัยพญางั่วนาถมยังเกิดจลาจลขึ้นอีก เนื่องจากมี
การแย่งชิงราชสมบัติจนพญาลิไทยเจ้าเมืองศรีสัชนาลัยต้องยกกาลังมาปราบ
ทาให้บ้านเมืองสงบลง
หลังทรงปราบจลาจลในกรุงสุโขทัยได้สาเร็จ พญาลิไทยได้
ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นกษัตริย์ครองราชย์สมบัติ ทรงพระนามว่า พระมหา
ธรรมราชาที่ 1 พระองค์ทรงพยายามสร้างอานาจทางการเมือง เพื่อพัฒนา
บ้านเมืองให้เข้มแข็งมาใหม่ อย่างไรก็ตามอาณาเขตของอาณาจักรสุโขทัย
ในรัชสมัยพระมหาธรรมราชาที่ 1 ก็ได้ลดลงไปมากกว่าครึ่งเมื่อเทียบกับ
สมัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราช
         ต่อมาเมื่อสิ้นรัชสมัยของพระมหาธรรมราชาที่ 1 แล้ว มี
พระมหากษัตริย์ขึ้นครองราชย์สืบต่อมาอีก 3 พระองค์ คือ
พระมหาธรรมราชาที่ 2 พระมหาธรรมราชาที่ 3 (ไสลือไทย) และ
พระมหาธรรมราชาที่ 4 (บรมปาล) แต่ในช่วงเวลาดังกล่าวอาณาจักร
สุโขทัยเริ่มเสื่อมอานาจ
กรุงสุโขทัย มีกษัตริย์ปกครอง 9 พระองค์ ดังนี้
        1. พ่อขุนศรีอินทราทิตย์
        2. พ่อขุนบานเมือง
        3. พ่อขุนรามคาแหงมหาราช
        4. พญาเลอไทย
        5. พญางั่วนาถม
        6. สมเด็จพระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไทย)
        7. สมเด็จพระมหาธรรมราชาที่ 2
        8. สมเด็จพระมหาธรรมราชาที่ 3 (ไสลือไทย)
        9. สมเด็จพระมหาธรรมราชาที่ 4 (บรมปาล)
ภาพประเพณีลอยกระทงในสมัยสุโขทัย
พ่อขุนรามคาแหงมหาราช
อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย
งานประเพณีลอยกระทง เผาเทียน เล่นไฟ
ยามเย็น ณ อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย
การสถาปนากรุงศรีอยุธยา
การสถาปนากรุงศรีอยุธยา
        ในการศึกษาประวัติศาสตร์ทาให้เราทราบว่าบรรพบุรุษของไทยเป็น
ผู้สถาปนาอาณาจักรสุโขทัยขึ้นในบริเวณลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาตอนบน และ
ในช่วงเวลาที่อาณาจักรสุโขทัยเริ่มเสื่อมอานาจลง อาณาจักรอยุธยาก็
สถาปนาขึ้น และดารงอยู่เป็นราชธานีตลอดระยะเวลา 417 ปี จนกระทั่ง
กรุงศรีอยุธยาเสียอิสรภาพให้แก่พม่า ในปี พ.ศ. 2310 แล้ว สมเด็จพระเจ้า
ตากสินมหาราชได้กอบกู้เอกราชของไทยคืนมา และสถาปนากรุงธนบุรีขึ้น
เป็นราชธานีแห่งใหม่ อาณาจักรธนบุรีดารงอยู่มาได้ 15 ปี ก็สิ้นสุดแผ่นดิน
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
อาณาจักรอยุธยาสถาปนาขึ้นเมื่อ พ.ศ. 1893 และดารงความ
เป็นอาณาจักรไว้ได้นานถึง 417 ปี ย่อมต้องมีรากฐานทางสังคมและ
วัฒนธรรมที่เข้มแข็งพอสมควร ดังนั้นการศึกษาประวัติศาสตร์ในสมัย
อยุธยาจึงเป็นสิ่งจาเป็นต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ของไทยเป็นอย่างยิ่ง
ผู้ก่อตั้งอาณาจักรอยุธยา
           ก่อนทีพระเจ้าอู่ทองจะเสด็จมาสร้างกรุงศรีอยุธยาเมื่อ พ.ศ. 1893
                 ่
ไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัดว่าพระองค์มีเชื้อสายมาจากราชวงศ์ใด และมีถิ่น
กาเนิดอยู่ที่เมืองใด แต่มีข้อสันนิษฐานว่า พระเจ้าอู่ทองสืบเชื้อสายมาจาก
ทางเหนือ ตอนบนของแม่น้าเจ้าพระยา ก่อนที่จะอพยพมาสร้างกรุงศรี
อยุธยา ส่วนความคิดเห็นหนึ่งก็ว่า พระเจ้าอู่ทองอยู่ที่เมืองอโยธยา และทรง
อพยพไพร่พลหนีโรคระบาดข้ามฝั่งแม่น้ามาสร้างกรุงศรีอยุธยา นอกจากนียัง     ้
มีความคิดเห็นที่แตกต่างออกไปว่า พระเจ้าอู่ทองซึ่งเป็นฝ่ายละโว้ได้อภิเษก
สมรสกับพระราชธิดาของกษัตริย์แห่งสุพรรณภูมิ เพื่อจุดมุงหมายทาง
                                                          ่
การเมืองที่จะสร้างความมั่นคงให้กับอาณาจักร
ต่อมาเมื่อเมืองอู่ทองเกิดโรคระบาด เกิดภัยธรรมชาติ ผู้คนล้ม
ตายเป็นจานวนมาก พระเจ้าอู่ทองจึงอพยพผู้คนไปยังทาเลที่มีน้าอุดม
สมบูรณ์ (เชื่อกันว่าเป็นบริเวณที่เป็นวัดพุทไธสวรรย์ในปัจจุบัน) ทรงสร้าง
เมืองใหม่ที่บริเวณหนองโสนหรือบึงพระราม แล้วสถาปนากรุงศรีอยุธยา
เป็นราชธานีในปี พ.ศ. 1893 ทรงพระราชทานนามพระนครว่า
"กรุงเทพทวารวดี ศรีอยุธยา" พระเจ้าอู่ทองเสด็จขึ้นครองราชย์เป็น
ปฐมกษัตริย์ตนราชวงศ์อู่ทอง ทรงพระนามว่า "สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1"
              ้
ที่ตั้งของกรุงศรีอยุธยา
กรุงศรีอยุธยามีที่ตั้งที่เหมาะสม เนื่องจากมีแม่น้าสาคัญไหลผ่านถึง 3 สาย
ได้แก่
          แม่น้าลพบุรี ไหลจากทางทิศเหนืออ้อมไปทางทิศตะวันตก
          แม่น้าป่าสัก ไหลผ่านจากทิศตะวันออก
          แม่น้าเจ้าพระยา ไหลจากทิศตะวันตกอ้อมไปทางทิศใต้
แม่น้าทั้ง 3 สายนี้ ไหลมาบรรจบกันล้อมรอบราชธานี ทาให้กรุงศรีอยุธยา
มีลักษณะเป็นเกาะที่มีสัณฐานคล้ายเรือสาเภา คนทั่วไปจึงเรียกอยุธยาว่า
"เกาะเมือง"
ที่ตั้งของกรุงศรีอยุธยา
อยุธยามีทาเลทางภูมิศาสตร์ที่เหมาะสมกับการเป็นราชธานี ดังนี้
          1. เป็นที่มีความอุดมสมบูรณ์ เหมาะแก่การเพาะปลูก
          2. สะดวกแก่การคมนาคม เพราะตั้งอยู่ในเส้นทางค้าขาย ติดต่อกับ
หัวเมืองอื่น ๆ รวมทั้งสามารถติดต่อค้าขายกับต่างประเทศทางทะเลได้
สะดวก เพราะตั้งอยู่ตรงที่แม่น้าใหญ่หลายสายไหลมาบรรจบกัน รวมเป็น
แม่น้าเจ้าพระยาไหลออกอ่าวไทย เรือเดินทะเลสามารถแล่นจากปากแม่น้า
เข้ามาทอดสมอได้ถึงหน้าเมือง ทาให้กรุงศรีอยุธยาเป็นชุมทางการค้าขายที่
สาคัญ
3. มีความเหมาะสมด้านยุทธศาสตร์ กล่าวคือ เมื่อมีข้าศึกยกทัพ
มาตี ข้าศึกจะสามารถตั้งค่ายล้อมเมืองได้ถงฤดูแล้งเท่านั้น เพราะเมื่อถึง
                                        ึ
ฤดูน้าหลาก น้าจะหลากท่วมขังบริเวณรอบตัวเมือง ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อ
การที่ข้าศึกจะยกทัพเข้าโจมตีและทาให้ขาดแคลนเสบียงอาหาร ข้าศึกจึง
ต้องถอยทัพกลับไป
         สภาพทาเลที่ตั้งของกรุงศรีอยุธยาที่มีความเหมาะสมดังกล่าว ทา
ให้กรุงศรีอยุธยาเป็นนครราชธานีอันยิ่งใหญ่ของชาติไทยมายาวนาน
ตลอด 417 ปี (พ.ศ. 1893 - 2310) และมีพฒนาการทางประวัติศาสตร์
                                          ั
อย่างเห็นได้ชัดทั้งทางด้านการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และ
ศิลปวัฒนธรรม
รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา
        ตลอดระยะเวลา 417 ปี ที่กรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีของไทย ได้มี
พระมหากษัตริย์ปกครองสืบต่อกันมา 5 ราชวงศ์ รวมทั้งสิ้น 33 พระองค์
1. พระราชวงศ์อู่ทอง
- สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระจ้าอู่ทอง) ครองราชย์ พ.ศ. 1893 - 1912
- สมเด็จพระราเมศวร ครองราชย์ พ.ศ. 1912 - 1913 และ พ.ศ. 1931 -
1938
- สมเด็จพระรามราชาธิราช ครองราชย์ พ.ศ. 1938 - 1952
2. สุพรรณภูมิ
- สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 (ขุนหลวงพ่องั่ว) ครองราชย์ พ.ศ. 1913 - 1931
- สมเด็จพระเจ้าทองลัน (ทองจันทร์) ครองราชย์ พ.ศ. 1931 - 1931
- สมเด็จพระอินทราธิราช (เจ้านครอินทร์) ครองราชย์ พ.ศ. 1952 - 1967
- สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) ครองราชย์ พ.ศ. 1967 - 1991
- สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ครองราชย์ พ.ศ. 1991 - 2031
- สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3 ครองราชย์ พ.ศ. 2031 - 2034
- สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 ครองราชย์ พ.ศ. 2034 - 2072
- สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 4 (หน่อพุทธางกูรหรือพระอาทิตยวงศ์) ครองราชย์ พ.ศ.
2072 - 2076
- สมเด็จพระรัษฎาธิราชราชกุมาร ครองราชย์ พ.ศ. 2076 - 2077
- สมเด็จพระไขยราชาธิราช ครองราชย์ พ.ศ. 2077 - 2089
- สมเด็จพระยอดฟ้า (พระแก้วฟ้า) ครองราชย์ พ.ศ. 2089 - 2091
- สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ครองราชย์ พ.ศ. 2091 - 2111
- สมเด็จพระมหินทราธิราช ครองราชย์ พ.ศ. 2111 - 2112
3. สุโขทัย
- สมเด็จพระมหาธรรมราชา ครองราชย์ พ.ศ. 2112 - 2133
- สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ครองราชย์ พ.ศ. 2133 - 2148
- สมเด็จพระเอกาทศรถ ครองราชย์ พ.ศ. 2148 - 2163
- สมเด็จพระศรีเสาวภาคย์ ครองราชย์ พ.ศ. 2163 - 2163
- สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม ครองราชย์ พ.ศ. 2163 - 2173
- สมเด็จพระเชษฐาธิราช ครองราชย์ พ.ศ. 2171 - 2173
- สมเด็จพระอาทิตยวงศ์ ครองราชย์ พ.ศ. 2173 - 2173
4. ปราสาททอง
- สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง ครองราชย์ พ.ศ. 2173 - 2198
- สมเด็จเจ้าฟ้าไชย ครองราชย์ พ.ศ. 2198 - 2199
- สมเด็จพระสุธรรมราชา ครองราชย์ พ.ศ. 2199 - 2199
- สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ครองราชย์ พ.ศ. 2199 - 2231
5. บ้านพลูหลวง
- สมเด็จพระเพทราชา ครองราชย์ พ.ศ. 2231 - 2245
- สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8 (พระเจ้าเสือ) ครองราชย์ พ.ศ. 2245 - 2252
- สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 (พระเจ้าท้ายสระ) ครองราชย์ พ.ศ. 2252 -
2275
- สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ครองราชย์ พ.ศ. 2275 - 2301
- สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร (ขุนหลวงหาวัด) ครองราชย์ พ.ศ. 2301 - 2301
- สมเด็จพระทีนั่งสุริยาศน์อมรินทร์ (พระเจ้าเอกทัศ) ครองราชย์ พ.ศ.
             ่
2301 - 2310
พระบรมมหาราชวัง
สงครามยุทธหัตถี
วัดไชยวัฒนาราม
อุทยานประวัติศาสตร์อยุธยา
การสถาปนากรุงธนบุรี
การสถาปนากรุงธนบุรีเป็นราชธานี
          เมื่อพระยาตากกู้เอกราชได้สาเร็จได้โปรดให้ขุดพระบรมศพพระเจ้า
เอกทัศขึ้นมาถวายพระเพลิงอย่างสมพระเกียรติ ประชาชนต่างก็ยอมรับพระ
เจ้าตากเป็นพระเจ้าแผ่นดิน จึงได้ทรงปราบดาภิเษกขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์
ใน พ.ศ. 2311 และยังได้ทรงเกื้อกูลพระราชวงศ์ของกรุงศรีอยุธยาหลาย
พระองค์ที่ประชวรอยู่
          หลังจากกอบกู้เอกราชได้แล้ว สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงมี
พระราชดาริว่า กรุงศรีอยุธยามีสภาพทรุดโทรมมาก ไม่สามารถซ่อมแซม
ฟื้นฟูให้กลับคืนสภาพเดิมได้ ปราสาทราชมณเฑียร วัดวาอารามพังย่อยยับ
จึงทรงตัดสินพระทัยสร้างราชธานีใหม่ขึ้นที่เมืองธนบุรี ซึ่งมีขอบเขตของราช
ธานีครอบคลุมสองฝั่งน้า โดยมีแม่น้าเจ้าพระยาตัดผ่านกลางเมือง
แผนที่แสดงสถานที่สาคัญและชุมชนต่างๆสมัยกรุงธนบุรี
สาเหตุที่ยายเมืองหลวงจากกรุงศรีอยุธยามาอยู่ทกรุงธนบุรี
           ้                                       ี่
(1) กรุงศรีอยุธยาชารุดเสียหายมาก ไม่สามารถบูรณปฏิสังขรณ์ให้มีสภาพ
เหมือนเดิมได้
(2) กาลังพลของพระองค์มีนอย ไม่สามารถรักษากรุงศรีอยุธยาที่
                             ้
เป็นเมืองใหญ่ได้
(3) ข้าศึกรู้ทิศทางที่จะมาตีกรุงศรีอยุธยาดีแล้ว
(4) กรุงศรีอยุธยาตั้งอยู่ไกลจากปากแม่น้ามากเกินไป ไม่สะดวกต่อการ
ติดต่อค้าขายกับต่างชาติที่มีจานวนเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ
สาเหตุททรงเลือกกรุงธนบุรเป็นเมืองหลวง
         ี่                   ี
(1) กรุงธนบุรีเป็นเมืองเล็ก เหมาะต่อการป้องกันรักษา
(2) กรุงธนบุรีตั้งอยู่ใกล้ปากแม่น้า ทาให้สะดวกต่อการติดต่อค้าขาย
กับต่างชาติ และการควบคุมการลาเลียงเสบียงอาหาร
(3) กรุงธนบุรีตั้งอยู่ใกล้ทะเล หากข้าศึกมีแต่ทัพบกไม่มีทัพเรือก็ยากที่
จะชนะได้ และหากตั้งรับไม่ไหวก็สามารถยกพลทางเรือไปตั้งรับที่
จันทบุรีได้
(4) กรุงธนบุรีเป็นแหล่งรวมขวัญและกาลังใจของคนได้ดี เพราะตั้งอยู่
ไม่ไกลจากกรุงศรีอยุธยา
อนุสาวรีย์ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เอกสารอ้างอิง
•http://www.trueplookpanya.com/true/knowledge_detail.php?mul_conten
t_id=1752
•http://www.thaigoodview.com/node/66523
•http://www.trueplookpanya.com/true/knowledge_detail.php?mul_conten
t_id=1898
•http://www.bp-smakom.org/BP_School/Social/kung-ten-buri.htm
•http://chiraporn.igetweb.com/index.php?mo=3&art=200729
•http://www.trueplookpanya.com/true/knowledge_detail.php?mul_conten
t_id=1620
•http://www.thaigoodview.com/node/43987
ขอบคุณค่ะ/ขอบคุณครับ

More Related Content

What's hot

งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกChainarong Maharak
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)mintmint2540
 
อารยธรรมจีนโบราณนะจ๊ะ
อารยธรรมจีนโบราณนะจ๊ะอารยธรรมจีนโบราณนะจ๊ะ
อารยธรรมจีนโบราณนะจ๊ะNapatrapee Puttarat
 
ระบบฟิวดัล
ระบบฟิวดัลระบบฟิวดัล
ระบบฟิวดัลchanapa Ubonsaen
 
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdfชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdfNoeyWipa
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยาJulPcc CR
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยchatsawat265
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกThanyamon Chat.
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกTa Lattapol
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)พัน พัน
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์พัน พัน
 
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9พัน พัน
 
ทวีปยุโรป309
ทวีปยุโรป309ทวีปยุโรป309
ทวีปยุโรป309chanok
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย Gain Gpk
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกพัน พัน
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียHercule Poirot
 

What's hot (20)

งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
 
อารยธรรมจีนโบราณนะจ๊ะ
อารยธรรมจีนโบราณนะจ๊ะอารยธรรมจีนโบราณนะจ๊ะ
อารยธรรมจีนโบราณนะจ๊ะ
 
ระบบฟิวดัล
ระบบฟิวดัลระบบฟิวดัล
ระบบฟิวดัล
 
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdfชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
 
3.4 อารยธรรมกรีก
3.4 อารยธรรมกรีก3.4 อารยธรรมกรีก
3.4 อารยธรรมกรีก
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
 
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
 
ทวีปยุโรป309
ทวีปยุโรป309ทวีปยุโรป309
ทวีปยุโรป309
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
A2 thai-history
A2 thai-historyA2 thai-history
A2 thai-history
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 

Viewers also liked

เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรีเศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยการพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยpentanino
 

Viewers also liked (20)

ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
 
ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทย
ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทยประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทย
ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทย
 
งานสังคม...
งานสังคม...งานสังคม...
งานสังคม...
 
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
 
การสถาปนา..
การสถาปนา..การสถาปนา..
การสถาปนา..
 
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
 
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
 
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรมพัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
 
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
 
กลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนากลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนา
 
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจพัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
 
การสถาปนา
การสถาปนาการสถาปนา
การสถาปนา
 
การปกครอง 604
การปกครอง 604การปกครอง 604
การปกครอง 604
 
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
 
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรีเศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
 
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรีประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
 
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยการพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
 
TEMA 5A Tener
TEMA 5A TenerTEMA 5A Tener
TEMA 5A Tener
 

Similar to ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี

111006099222748 13010713133143
111006099222748 13010713133143111006099222748 13010713133143
111006099222748 13010713133143sibsakul jutaphan
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Pracha Wongsrida
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัยsangworn
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาsangworn
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Pracha Wongsrida
 
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยาchakaew4524
 
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ยคร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ยปาล์มมี่ ไม่เล่นเกมส์
 
อาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยอาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยkrunrita
 
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Pracha Wongsrida
 
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีKey of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีPracha Wongsrida
 
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีKey of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีPracha Wongsrida
 

Similar to ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี (20)

111006099222748 13010713133143
111006099222748 13010713133143111006099222748 13010713133143
111006099222748 13010713133143
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัย
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
 
Tonburi
TonburiTonburi
Tonburi
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราชพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
 
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
 
พระมหาธรรมราชาที่ 1
พระมหาธรรมราชาที่ 1พระมหาธรรมราชาที่ 1
พระมหาธรรมราชาที่ 1
 
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ยคร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
 
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
 
อาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยอาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัย
 
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
 
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
 
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีKey of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
 
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีKey of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand

พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand (20)

กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลินกำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลิน
 
รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social mediaรายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
 
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงานแบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
 
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็มผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
 
O net ม.3
O net ม.3O net ม.3
O net ม.3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
1
11
1
 
การแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาคการแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาค
 

ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี

  • 1. การสถาปนากรุงสุโขทัย การสถาปนากรุงศรีอยุธยา การสถาปนากรุงธนบุรี จัดทาโดย นายณัฐณรงค์ เจริญสุขศิริกุล เลขที่ 6 นางสาวปรียาภรณ์ ฟูเถิ้ม เลขที่ 10 นางสาวพิชญา ชาญพานิชกิจโชติ เลขที่ 20 จ นางสาววิลาสินี ใหม่ต๊ะ เลขที่ 22 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 ครูผู้สอน คุณครู สายพิณ วงษารัตน์
  • 3. การสถาปนาอาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรสุโขทัยเป็นอาณาจักรของคนไทยที่ได้รับการสถาปนาขึ้น ใน พ.ศ. 1792 ก่อนหน้าที่จะมีการสถาปนาอาณาจักรสุโขทัยขึ้นมานั้น สุโขทัยเป็นเมืองเก่าแก่ที่มีความเจริญรุ่งเรืองมาก่อน จากการตีความใน ศิลาจารึกหลักที่ 2 (วัดศรีชุม) พอจะสรุปความได้ว่า เมืองสุโขทัยแต่เดิม มีผู้นาคนไทยชื่อ พ่อขุนศรีนาวนาถุม เป็นเจ้าเมืองปกครองอยู่ เมื่อพระองค์ สิ้นพระชนม์ ขอมสบาดโขลญลาพง ขุนนางขอมได้นากาลังเข้ายึดกรุงสุโขทัย ไว้ได้
  • 4. เมื่อพวกขอมเริ่มเสื่อมอานาจลง ในปี พ.ศ. 1780 ได้มีผู้นา 2 ท่าน คือ พ่อขุนบางกลางหาว และพ่อขุนผาเมือง ซึ่งเป็นผู้นาคนไทยได้ร่วมมือ กันรวบรวมกาลังเข้าขับไล่ขอมออกจากดินแดนแถบนี้และตั้งตนเป็นอิสระ พร้อมกับสถาปนากรุงสุโขทัยเป็นราชธานีของอาณาจักรไทย และได้ สถาปนาพ่อขุนบางกลางหาวขึ้นเป็นกษัตริย์ปกครองกรุงสุโขทัยทรงพระ นามว่า “พ่อขุนศรีอินทราทิตย์” นับเป็นปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์สุโขทัย หรือราชวงศ์พระร่วง นับตั้งแต่ พ.ศ. 1792 เป็นต้นมา
  • 5. ปัจจัยที่เอื้อต่อการสถาปนาอาณาจักรสุโขทัยเป็นราชธานี มีดังนี้ 1. ปัจจัยภายใน ได้แก่ การมีขวัญและกาลังใจดีของประชาชนเนื่องจากมี ผู้นาที่เข้มแข็งและมีความสามารถ การมีนสัยรักอิสระ ไม่ชอบให้ผู้ใด ิ มากดขี่ข่มเหง บังคับและบ้านเมืองมีความอุดมสมบูรณ์ 2. ปัจจัยภายนอก ได้แก่ การเสื่อมอานาจของขอม หลังจากที่ พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 สิ้นพระชนม์ลง กษัตริย์องค์ต่อมาไม่สามารถ รักษาอานาจของตนในดินแดนที่ยึดครองมาได้ ทาให้หัวเมืองต่าง ๆ พากันตั้งตนเป็นอิสระ
  • 6. ระยะเริมต้นของการสถาปนากรุงสุโขทัยเป็นราชธานี โดยเฉพาะ ่ ในสมัยพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ บ้านเมืองยังไม่มั่นคงมากนัก คนไทยยังอยู่ กันอย่างกระจัดกระจาย บางเมืองยังคงมีอิสระในการปกครองตนเอง ไม่มี การรวมอานาจไว้ ณ ศูนย์กลางเมืองใดเมืองหนึ่งโดยตรง บางครั้งจึงมีการ ทาสงครามกันเพื่อแย่งชิงอานาจและขยายอาณาเขตของเมือง เช่น ขุนสามชนเจ้าเมืองฉอดได้ยกทัพมาตีเมืองตาก เมื่อสิ้นรัชสมัยของพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ พระราชโอรสองค์ใหญ่ คือ พ่อขุนบานเมือง ได้ขึ้นครองราชย์ สมัยนี้สุโขทัยได้ขยายอานาจทาง การเมืองด้วยการทาสงครามกับหัวเมืองต่าง ๆ โดยมีพระอนุชา คือ พระ รามคาแหง เป็นกาลังสาคัญ ซึ่งต่อมาพระองค์ได้ขึ้นครองราชย์สืบต่อจาก พ่อขุนบานเมือง
  • 7. ในสมัยพ่อขุนรามคาแหง พระองค์ทรงเป็นแม่ทัพไปปราบเมืองต่าง ๆ จนเป็นที่เกรงขามของอาณาจักรอื่น ๆ ดังนั้นเมื่อพระองค์ขึ้นครองราชย์จึงมี หลายเมืองที่ยอมอ่อนน้อมเข้ารวมอยู่กับอาณาจักรสุโขทัย โดยเมืองที่ พ่อขุนรามคาแหงมหาราชได้ส่งกองทัพไปรบ ได้แก่ เมืองหงสาวดี เมือง สุพรรณบุรี เมืองเพชรบุรี เมืองราชบุรี เมืองหลวงพระบาง เมืองเวียงจันทน์ และ เมืองนครศรีธรรมชาติ ทาให้อาณาจักรสุโขทัยมีอาณาเขตแผ่ขยายออกไป กว้างขวางมาก ดังปรากฏในศิลาจารึกหลักที่ 1 ดังนี้
  • 8. ทิศเหนือ ครอบคลุมเมืองแพร่ น่าน พลัว จนถึงเมืองหลวงพระบาง ทิศใต้ ครอบคลุมเมืองคณฑี (กาแพงเพชร) พระบาง (นครสวรรค์) แพรก (ชัยนาท) สุพรรณบุรี ราชบุรี เพชรบุรี นครศรีธรรมราช จนถึง แหลมมลายู ทิศตะวันออก ครอบคลุมเมืองสระหลวงสองแคว (พิษณุโลก) ลุมบาจาย (หล่มเก่า) สระคา และข้ามฝั่งแม่น้าโขงไปถึงเมืองเวียงจันทน์และเวียงคา ทิศตะวันตก ครอบคลุมเมืองฉอด หงสาวดี จนถึงชายฝั่งทะเลด้าน อ่าวเบงกอล
  • 9. ขณะเดียวกันพ่อขุนรามคาแหงมหาราชทรงใช้หลักธรรมในการ ปกครองเพื่อให้ประชาชนได้อยู่เย็นเป็นสุข ด้วยเหตุนี้จึงทาให้เจ้าเมืองต่าง ๆ เหล่านี้สานึกในพระมหากรุณาธิคุณ ทาให้สุโขทัยปราศจากข้าศึกศัตรูในทุก ทิศ นับได้ว่าในรัชสมัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราช เป็นช่วงสมัยที่อาณาจักร สุโขทัยมีความเจริญรุ่งเรืองสูงสุด
  • 10. หลังจากสิ้นรัชสมัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราช มีกษัตริย์ขึ้น ครองราชย์อีก 2 พระองค์ คือ พญาเลอไทย และพญางั่วนาถม แต่อาณาจักร สุโขทัยก็เริ่มเสือมอานาจลง บรรดาเมืองต่าง ๆ ที่อยู่ภายใต้การปกครองของ ่ สุโขทัยได้แยกตัวเป็นอิสระและเมืองประเทศราชที่มีกาลังเข้มแข็งต่างพากัน แยกตัวไม่ขึ้นต่อกรุงสุโขทัย เช่น เมืองพงสาวดี เมืองนครศรีธรรมราช เป็นต้น นอกจากนี้ในตอนปลายรัชสมัยพญางั่วนาถมยังเกิดจลาจลขึ้นอีก เนื่องจากมี การแย่งชิงราชสมบัติจนพญาลิไทยเจ้าเมืองศรีสัชนาลัยต้องยกกาลังมาปราบ ทาให้บ้านเมืองสงบลง
  • 11. หลังทรงปราบจลาจลในกรุงสุโขทัยได้สาเร็จ พญาลิไทยได้ ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นกษัตริย์ครองราชย์สมบัติ ทรงพระนามว่า พระมหา ธรรมราชาที่ 1 พระองค์ทรงพยายามสร้างอานาจทางการเมือง เพื่อพัฒนา บ้านเมืองให้เข้มแข็งมาใหม่ อย่างไรก็ตามอาณาเขตของอาณาจักรสุโขทัย ในรัชสมัยพระมหาธรรมราชาที่ 1 ก็ได้ลดลงไปมากกว่าครึ่งเมื่อเทียบกับ สมัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราช ต่อมาเมื่อสิ้นรัชสมัยของพระมหาธรรมราชาที่ 1 แล้ว มี พระมหากษัตริย์ขึ้นครองราชย์สืบต่อมาอีก 3 พระองค์ คือ พระมหาธรรมราชาที่ 2 พระมหาธรรมราชาที่ 3 (ไสลือไทย) และ พระมหาธรรมราชาที่ 4 (บรมปาล) แต่ในช่วงเวลาดังกล่าวอาณาจักร สุโขทัยเริ่มเสื่อมอานาจ
  • 12. กรุงสุโขทัย มีกษัตริย์ปกครอง 9 พระองค์ ดังนี้ 1. พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ 2. พ่อขุนบานเมือง 3. พ่อขุนรามคาแหงมหาราช 4. พญาเลอไทย 5. พญางั่วนาถม 6. สมเด็จพระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไทย) 7. สมเด็จพระมหาธรรมราชาที่ 2 8. สมเด็จพระมหาธรรมราชาที่ 3 (ไสลือไทย) 9. สมเด็จพระมหาธรรมราชาที่ 4 (บรมปาล)
  • 19. การสถาปนากรุงศรีอยุธยา ในการศึกษาประวัติศาสตร์ทาให้เราทราบว่าบรรพบุรุษของไทยเป็น ผู้สถาปนาอาณาจักรสุโขทัยขึ้นในบริเวณลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาตอนบน และ ในช่วงเวลาที่อาณาจักรสุโขทัยเริ่มเสื่อมอานาจลง อาณาจักรอยุธยาก็ สถาปนาขึ้น และดารงอยู่เป็นราชธานีตลอดระยะเวลา 417 ปี จนกระทั่ง กรุงศรีอยุธยาเสียอิสรภาพให้แก่พม่า ในปี พ.ศ. 2310 แล้ว สมเด็จพระเจ้า ตากสินมหาราชได้กอบกู้เอกราชของไทยคืนมา และสถาปนากรุงธนบุรีขึ้น เป็นราชธานีแห่งใหม่ อาณาจักรธนบุรีดารงอยู่มาได้ 15 ปี ก็สิ้นสุดแผ่นดิน สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
  • 20. อาณาจักรอยุธยาสถาปนาขึ้นเมื่อ พ.ศ. 1893 และดารงความ เป็นอาณาจักรไว้ได้นานถึง 417 ปี ย่อมต้องมีรากฐานทางสังคมและ วัฒนธรรมที่เข้มแข็งพอสมควร ดังนั้นการศึกษาประวัติศาสตร์ในสมัย อยุธยาจึงเป็นสิ่งจาเป็นต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ของไทยเป็นอย่างยิ่ง
  • 21. ผู้ก่อตั้งอาณาจักรอยุธยา ก่อนทีพระเจ้าอู่ทองจะเสด็จมาสร้างกรุงศรีอยุธยาเมื่อ พ.ศ. 1893 ่ ไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัดว่าพระองค์มีเชื้อสายมาจากราชวงศ์ใด และมีถิ่น กาเนิดอยู่ที่เมืองใด แต่มีข้อสันนิษฐานว่า พระเจ้าอู่ทองสืบเชื้อสายมาจาก ทางเหนือ ตอนบนของแม่น้าเจ้าพระยา ก่อนที่จะอพยพมาสร้างกรุงศรี อยุธยา ส่วนความคิดเห็นหนึ่งก็ว่า พระเจ้าอู่ทองอยู่ที่เมืองอโยธยา และทรง อพยพไพร่พลหนีโรคระบาดข้ามฝั่งแม่น้ามาสร้างกรุงศรีอยุธยา นอกจากนียัง ้ มีความคิดเห็นที่แตกต่างออกไปว่า พระเจ้าอู่ทองซึ่งเป็นฝ่ายละโว้ได้อภิเษก สมรสกับพระราชธิดาของกษัตริย์แห่งสุพรรณภูมิ เพื่อจุดมุงหมายทาง ่ การเมืองที่จะสร้างความมั่นคงให้กับอาณาจักร
  • 22. ต่อมาเมื่อเมืองอู่ทองเกิดโรคระบาด เกิดภัยธรรมชาติ ผู้คนล้ม ตายเป็นจานวนมาก พระเจ้าอู่ทองจึงอพยพผู้คนไปยังทาเลที่มีน้าอุดม สมบูรณ์ (เชื่อกันว่าเป็นบริเวณที่เป็นวัดพุทไธสวรรย์ในปัจจุบัน) ทรงสร้าง เมืองใหม่ที่บริเวณหนองโสนหรือบึงพระราม แล้วสถาปนากรุงศรีอยุธยา เป็นราชธานีในปี พ.ศ. 1893 ทรงพระราชทานนามพระนครว่า "กรุงเทพทวารวดี ศรีอยุธยา" พระเจ้าอู่ทองเสด็จขึ้นครองราชย์เป็น ปฐมกษัตริย์ตนราชวงศ์อู่ทอง ทรงพระนามว่า "สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1" ้
  • 23. ที่ตั้งของกรุงศรีอยุธยา กรุงศรีอยุธยามีที่ตั้งที่เหมาะสม เนื่องจากมีแม่น้าสาคัญไหลผ่านถึง 3 สาย ได้แก่ แม่น้าลพบุรี ไหลจากทางทิศเหนืออ้อมไปทางทิศตะวันตก แม่น้าป่าสัก ไหลผ่านจากทิศตะวันออก แม่น้าเจ้าพระยา ไหลจากทิศตะวันตกอ้อมไปทางทิศใต้ แม่น้าทั้ง 3 สายนี้ ไหลมาบรรจบกันล้อมรอบราชธานี ทาให้กรุงศรีอยุธยา มีลักษณะเป็นเกาะที่มีสัณฐานคล้ายเรือสาเภา คนทั่วไปจึงเรียกอยุธยาว่า "เกาะเมือง"
  • 25. อยุธยามีทาเลทางภูมิศาสตร์ที่เหมาะสมกับการเป็นราชธานี ดังนี้ 1. เป็นที่มีความอุดมสมบูรณ์ เหมาะแก่การเพาะปลูก 2. สะดวกแก่การคมนาคม เพราะตั้งอยู่ในเส้นทางค้าขาย ติดต่อกับ หัวเมืองอื่น ๆ รวมทั้งสามารถติดต่อค้าขายกับต่างประเทศทางทะเลได้ สะดวก เพราะตั้งอยู่ตรงที่แม่น้าใหญ่หลายสายไหลมาบรรจบกัน รวมเป็น แม่น้าเจ้าพระยาไหลออกอ่าวไทย เรือเดินทะเลสามารถแล่นจากปากแม่น้า เข้ามาทอดสมอได้ถึงหน้าเมือง ทาให้กรุงศรีอยุธยาเป็นชุมทางการค้าขายที่ สาคัญ
  • 26. 3. มีความเหมาะสมด้านยุทธศาสตร์ กล่าวคือ เมื่อมีข้าศึกยกทัพ มาตี ข้าศึกจะสามารถตั้งค่ายล้อมเมืองได้ถงฤดูแล้งเท่านั้น เพราะเมื่อถึง ึ ฤดูน้าหลาก น้าจะหลากท่วมขังบริเวณรอบตัวเมือง ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อ การที่ข้าศึกจะยกทัพเข้าโจมตีและทาให้ขาดแคลนเสบียงอาหาร ข้าศึกจึง ต้องถอยทัพกลับไป สภาพทาเลที่ตั้งของกรุงศรีอยุธยาที่มีความเหมาะสมดังกล่าว ทา ให้กรุงศรีอยุธยาเป็นนครราชธานีอันยิ่งใหญ่ของชาติไทยมายาวนาน ตลอด 417 ปี (พ.ศ. 1893 - 2310) และมีพฒนาการทางประวัติศาสตร์ ั อย่างเห็นได้ชัดทั้งทางด้านการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และ ศิลปวัฒนธรรม
  • 27. รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา ตลอดระยะเวลา 417 ปี ที่กรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีของไทย ได้มี พระมหากษัตริย์ปกครองสืบต่อกันมา 5 ราชวงศ์ รวมทั้งสิ้น 33 พระองค์ 1. พระราชวงศ์อู่ทอง - สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระจ้าอู่ทอง) ครองราชย์ พ.ศ. 1893 - 1912 - สมเด็จพระราเมศวร ครองราชย์ พ.ศ. 1912 - 1913 และ พ.ศ. 1931 - 1938 - สมเด็จพระรามราชาธิราช ครองราชย์ พ.ศ. 1938 - 1952
  • 28. 2. สุพรรณภูมิ - สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 (ขุนหลวงพ่องั่ว) ครองราชย์ พ.ศ. 1913 - 1931 - สมเด็จพระเจ้าทองลัน (ทองจันทร์) ครองราชย์ พ.ศ. 1931 - 1931 - สมเด็จพระอินทราธิราช (เจ้านครอินทร์) ครองราชย์ พ.ศ. 1952 - 1967 - สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) ครองราชย์ พ.ศ. 1967 - 1991 - สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ครองราชย์ พ.ศ. 1991 - 2031 - สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3 ครองราชย์ พ.ศ. 2031 - 2034 - สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 ครองราชย์ พ.ศ. 2034 - 2072 - สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 4 (หน่อพุทธางกูรหรือพระอาทิตยวงศ์) ครองราชย์ พ.ศ. 2072 - 2076 - สมเด็จพระรัษฎาธิราชราชกุมาร ครองราชย์ พ.ศ. 2076 - 2077 - สมเด็จพระไขยราชาธิราช ครองราชย์ พ.ศ. 2077 - 2089 - สมเด็จพระยอดฟ้า (พระแก้วฟ้า) ครองราชย์ พ.ศ. 2089 - 2091 - สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ครองราชย์ พ.ศ. 2091 - 2111 - สมเด็จพระมหินทราธิราช ครองราชย์ พ.ศ. 2111 - 2112
  • 29. 3. สุโขทัย - สมเด็จพระมหาธรรมราชา ครองราชย์ พ.ศ. 2112 - 2133 - สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ครองราชย์ พ.ศ. 2133 - 2148 - สมเด็จพระเอกาทศรถ ครองราชย์ พ.ศ. 2148 - 2163 - สมเด็จพระศรีเสาวภาคย์ ครองราชย์ พ.ศ. 2163 - 2163 - สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม ครองราชย์ พ.ศ. 2163 - 2173 - สมเด็จพระเชษฐาธิราช ครองราชย์ พ.ศ. 2171 - 2173 - สมเด็จพระอาทิตยวงศ์ ครองราชย์ พ.ศ. 2173 - 2173
  • 30. 4. ปราสาททอง - สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง ครองราชย์ พ.ศ. 2173 - 2198 - สมเด็จเจ้าฟ้าไชย ครองราชย์ พ.ศ. 2198 - 2199 - สมเด็จพระสุธรรมราชา ครองราชย์ พ.ศ. 2199 - 2199 - สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ครองราชย์ พ.ศ. 2199 - 2231
  • 31. 5. บ้านพลูหลวง - สมเด็จพระเพทราชา ครองราชย์ พ.ศ. 2231 - 2245 - สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8 (พระเจ้าเสือ) ครองราชย์ พ.ศ. 2245 - 2252 - สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 (พระเจ้าท้ายสระ) ครองราชย์ พ.ศ. 2252 - 2275 - สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ครองราชย์ พ.ศ. 2275 - 2301 - สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร (ขุนหลวงหาวัด) ครองราชย์ พ.ศ. 2301 - 2301 - สมเด็จพระทีนั่งสุริยาศน์อมรินทร์ (พระเจ้าเอกทัศ) ครองราชย์ พ.ศ. ่ 2301 - 2310
  • 37. การสถาปนากรุงธนบุรีเป็นราชธานี เมื่อพระยาตากกู้เอกราชได้สาเร็จได้โปรดให้ขุดพระบรมศพพระเจ้า เอกทัศขึ้นมาถวายพระเพลิงอย่างสมพระเกียรติ ประชาชนต่างก็ยอมรับพระ เจ้าตากเป็นพระเจ้าแผ่นดิน จึงได้ทรงปราบดาภิเษกขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ ใน พ.ศ. 2311 และยังได้ทรงเกื้อกูลพระราชวงศ์ของกรุงศรีอยุธยาหลาย พระองค์ที่ประชวรอยู่ หลังจากกอบกู้เอกราชได้แล้ว สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงมี พระราชดาริว่า กรุงศรีอยุธยามีสภาพทรุดโทรมมาก ไม่สามารถซ่อมแซม ฟื้นฟูให้กลับคืนสภาพเดิมได้ ปราสาทราชมณเฑียร วัดวาอารามพังย่อยยับ จึงทรงตัดสินพระทัยสร้างราชธานีใหม่ขึ้นที่เมืองธนบุรี ซึ่งมีขอบเขตของราช ธานีครอบคลุมสองฝั่งน้า โดยมีแม่น้าเจ้าพระยาตัดผ่านกลางเมือง
  • 39. สาเหตุที่ยายเมืองหลวงจากกรุงศรีอยุธยามาอยู่ทกรุงธนบุรี ้ ี่ (1) กรุงศรีอยุธยาชารุดเสียหายมาก ไม่สามารถบูรณปฏิสังขรณ์ให้มีสภาพ เหมือนเดิมได้ (2) กาลังพลของพระองค์มีนอย ไม่สามารถรักษากรุงศรีอยุธยาที่ ้ เป็นเมืองใหญ่ได้ (3) ข้าศึกรู้ทิศทางที่จะมาตีกรุงศรีอยุธยาดีแล้ว (4) กรุงศรีอยุธยาตั้งอยู่ไกลจากปากแม่น้ามากเกินไป ไม่สะดวกต่อการ ติดต่อค้าขายกับต่างชาติที่มีจานวนเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ
  • 40. สาเหตุททรงเลือกกรุงธนบุรเป็นเมืองหลวง ี่ ี (1) กรุงธนบุรีเป็นเมืองเล็ก เหมาะต่อการป้องกันรักษา (2) กรุงธนบุรีตั้งอยู่ใกล้ปากแม่น้า ทาให้สะดวกต่อการติดต่อค้าขาย กับต่างชาติ และการควบคุมการลาเลียงเสบียงอาหาร (3) กรุงธนบุรีตั้งอยู่ใกล้ทะเล หากข้าศึกมีแต่ทัพบกไม่มีทัพเรือก็ยากที่ จะชนะได้ และหากตั้งรับไม่ไหวก็สามารถยกพลทางเรือไปตั้งรับที่ จันทบุรีได้ (4) กรุงธนบุรีเป็นแหล่งรวมขวัญและกาลังใจของคนได้ดี เพราะตั้งอยู่ ไม่ไกลจากกรุงศรีอยุธยา