SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
อารยธรรมกรีก
บรรยายโดย : ครูจุฑาทิพ สระทองพรม
รายวิชา ประวัติศาสตร์สากล ส 30103
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 และ 6
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
อารยธรรมกรีก
• กาเนิดบริเวณชายฝั่งทะเลอีเจียน หมู่เกาะต่าง ๆ และดินแดนกรีซ
• สภาพภูมิประเทศเป็นหุบเขา ทาให้แต่ละรัฐจึงเป็นอิสระต่อกันเป็นรัฐ
เล็ก ๆ มากมาย ศูนย์กลางนครรัฐอยู่ที่ “อะโครโปลิส”
• เกาะครีต Crete เป็นเกาะใหญ่และมีความสาคัญของกรีก
• ชาวกรีกเรียกตัวเองว่าเฮลลีน(Hellene) เรียกบ้านเมืองตัวเองว่า
เฮลลัส(Hellas) และเรียกอารยธรรมของตนว่า เฮเลนิก(Hellenic
Civilzation
กรีกสมัยก่อนประวัติศาสตร์
• 4000 B.C. มีการค้นพบเครื่องมือ และหลักฐานการตั้งถิ่นฐานบ้านเรือน
รวมถึงป้อมปราการ
• บนเกาะครีต มีการใช้โลหะทองแดง สาริด
• 2000 B.C. กาเนิดอารยธรรมไมนวน Minoan การค้นพบดินเผาจารึก
ตัวอักษรบนเกาะครีต มีการก่อสร้างวังใหญ่โต
• ต่อมาถูกรุกรานจากพวก ไมซิเนียน Mycenaean และต่อมาเป็นพวก
ดอเรียน Dorian
• 1120-800 B.C. ถือเป็นยุคมืด การค้าขายถูกพวกฟินิเชียนเข้ามาขยาย
อิทธิพล * โฮเมอร์ เกิดในช่วงนี้ *
• 800 B.C. ยุคคลาสสิค มีลักษณะเป็นนครรัฐ เรียกว่า “โพลิส” Polis มี
กษัตริย์และขุนนางปกครองนคร เริ่มใช้ระบอบประชาธิปไตย
กรีกสมัยประวัติศาสตร์
• 500 B.C. ศูนย์กลางอยู่ที่ เอเธนส์ แคว้นแอตติก Attica ได้ร่วมกันกับ
นครรัฐกรีกอื่น ป้องกันการรุกรานจากเปอร์เซีย กลายเป็นยุคทองแห่ง
เอเธนส์(ต้นกาเนิดประชาธิปไตย)
• 431-404 B.C. สงครามเพโลพอนนีเชียน ระหว่างเอเธนส์ กับสปาร์ตา
ผลทาให้ มาซีโดเนีย เข้าครอบครองกรีก สมัยพระเจ้าอเล็กซานเดอร์
มหาราช เรียกว่ายุค “เฮลเลนิสติก” ขยายดินแดนครอบคลุมถึงอียิปต์
และอินเดีย
กรีกสมัยประวัติศาสตร์ (ต่อ)
1) ยุคเฮเลนิก (Hellenic)
- ศูนย์กลางอยู่ที่กรุงเอเธนส์
- ศิลปะเน้นความเรียบง่าย มนุษยนิยม และธรรมชาตินิยม ซึ่งถือ
เป็นยุคแห่ง“Classic”
- มีการแสดงละครกลางแจ้ง
- ยุคนี้ล่มสลายลง เพราะเกิดสงครามเพโลพอนนีเซียน
(Peioponnesian War) ทาให้อาณาจักรมาซิโดเนียแผ่อานาจเข้ามา
ครอบครอง
ยุคทองของอารยธรรมกรีก
ซากโรงละครและวิหารของอพอลโล
ยังปรากฎอยู่ที่เมืองเดลฟี ประเทศกรีซ
2) ยุคเฮเลนนิสติก (Hellenistic)
- ศูนย์กลางอยู่ที่เมืองสปาร์ตาร์
- เป็นยุคที่วัฒนธรรมกรีกกระจายไปทางตะวันออก
- เป็นระยะที่นครรัฐมาซิโดเนีย เจริญรุ่งเรืองขึ้น
กษัตริย์องค์สาคัญ คือ
(1) พระเจ้าฟิลิปป์ รบชนะนครรัฐต่างๆ ของกรีก
(2) พระเจ้าอเล็กซานเดอร์(พระราชโอรส) ชนะเปอร์เซียขยายจักรวรรดิไป
ยังซีเรีย ฟินิเชีย อียิปต์ และอินเดีย
- ศูนย์กลางอยู่ที่เมืองอะเล็กซานเดรีย ในอียิปต์
- ศิลปะเน้นความหรูหรา และ อารมณ์รุนแรง
ยุคทองของอารยธรรมกรีก(ต่อ)
เทพเจ้าแห่งเทือกเขาโอลิมปัส มี
-เทพเจ้าสูงสุด คือ ซีอุส(Zues) แห่งเขาโอลิมปัส ซึ่งเป็นเทพเจ้า
แห่งท้องฟ้าและสายฝน
- เทพโพไซดอน(Posiedon) เป็นเทพเจ้าแห่งท้องทะเล
- เทพอพอลโล(Apollo) เป็นเทพเจ้าแห่งดวงอาทิตย์
- ฯลฯ
ความเชื่อ
สถาปัตยกรรม
– ชาวกรีกจะให้ความสาคัญกับเทพเจ้า เชื่อว่าพลังธรรมชาติจะให้คุณและโทษ
ได้ อานาจลึกลับนี้มาจากเทพเจ้าเป็นผู้บันดาล
– วิหารบูชาเทพเจ้า “พาร์เธนอน” Parthenon 500 B.C. สร้างด้วยหินอ่อน
หลังคาหน้าจั่ว มีเสาหิน
มรดกที่สาคัญของกรีก
• สะท้อนให้เห็นถึงลักษณะธรรมชาติ เทพเจ้าจึงเหมือนมนุษย์ งานในยุค
แรกจะตรง ๆ แข็งทื่อ
• สมัยคลาสสิคเริ่มมีลักษณะพริ้วไหว และสมัยหลังจะแสดงถึงความ
ปวดร้าว ความทรมานของมนุษย์
• เสาหิน 3 แบบ คือ
- ดอริก ลักษณะ หัวเสาเรียบ
- ไอโอนิก ลักษณะ หัวเสาเป็นแบบม้วนย้อนลงมา
- โครินเธียน ลักษณะ หัวเสาเป็นรูปใบไม้หรูหรา
ประติมากรรม
• ภาพวาดในยุคแรก นิยมพื้นสีแดง คนสีดา วาดบนภาชนะ
• ยุคเฮลเลนิสติก มีการนากระเบื้องสีมาประดับ เรียกว่า โมเสก
Mosaic
จิตรกรรม
• โฮเมอร์ กวีนักเล่าเรื่องได้แต่ง “อีเลียด” และ “โอดิสซี” เป็นเรื่อง
เกี่ยวกับสงครามทรอย
วรรณกรรม
• เป็นการละครของกรีก ร้องประสานเสียง ในเทศกาลบวงสรวงและเฉลิม
ฉลองเทพเจ้า เป็นละครประเภทโศกนาฎกรรม และสุขนาฏกรรม
นาฏกรรม
กีฬา
• กีฬา(Olympic)
ก่อนหน้าคริสตกาลกว่า 1,000 ปี การแข่งขันกีฬาได้ดาเนินการกันบนยอด
เขา “โอลิมปัส” ในประเทศกรีซ โดยนักกีฬาจะต้องเปลือยกายเข้าแข่งขัน เพื่อ
ประกวดความสมส่วนของร่างกาย และยังมีการต่อสู้บางประเภท เช่น กีฬาจาพวก
มวยปล้า เพื่อพิสูจน์ความแข็งแรง ผู้ชมมีแต่เพียงผู้ชาย ห้ามผู้หญิงเข้าชม ดังนั้น
ผู้ชมจะต้องปีนขึ้นไปบนยอดเขา
นักปราชญ์ที่สาคัญของโลก
• เฮโรโดตัส Herodotus 484-420 B.C. (ประวัติศาสตร์)
• โซเครตีส Socrates 470-399 B.C. (ผู้วางรากฐานของปรัชญาตะวันตก)
• เพลโต Plato 328-247 B.C. (ปรัชญาการปกครอง)
• อริสโตเติ้ล Aristotle 384-322 B.C. (ปรัชญา,วิทยาศาสตร์)

More Related Content

What's hot

อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
Kran Sirikran
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
Sokoy_jj
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
chaipalat
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
Guntima NaLove
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
พัน พัน
 

What's hot (20)

กำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติกำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติ
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่าย
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
 

Viewers also liked

วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1
วรรณา ไชยศรี
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
Pannaray Kaewmarueang
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
Gob_duangkamon
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
timtubtimmm
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1
Napatrapee Puttarat
 

Viewers also liked (20)

อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
 
เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22
เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22
เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
 
ตัวอย่างการเทียบศักราชในชีวิตประจำวัน+547+54his p03 f09-4page
ตัวอย่างการเทียบศักราชในชีวิตประจำวัน+547+54his p03 f09-4pageตัวอย่างการเทียบศักราชในชีวิตประจำวัน+547+54his p03 f09-4page
ตัวอย่างการเทียบศักราชในชีวิตประจำวัน+547+54his p03 f09-4page
 
ทศวรรษ ศตวรรษ สหัสวรรษ+564+54his p04 f08-1page
ทศวรรษ ศตวรรษ สหัสวรรษ+564+54his p04 f08-1pageทศวรรษ ศตวรรษ สหัสวรรษ+564+54his p04 f08-1page
ทศวรรษ ศตวรรษ สหัสวรรษ+564+54his p04 f08-1page
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
3.5 อารยธรรมโรมัน
3.5 อารยธรรมโรมัน3.5 อารยธรรมโรมัน
3.5 อารยธรรมโรมัน
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
3.4 อารยธรรมกร ก
3.4 อารยธรรมกร ก3.4 อารยธรรมกร ก
3.4 อารยธรรมกร ก
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
ศักราช
ศักราชศักราช
ศักราช
 
อารยธรรมจีนโบราณนะจ๊ะ
อารยธรรมจีนโบราณนะจ๊ะอารยธรรมจีนโบราณนะจ๊ะ
อารยธรรมจีนโบราณนะจ๊ะ
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมัน
 
ประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีนประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีน
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1
 

More from พัน พัน

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

อารยธรรมกรีก

  • 1. อารยธรรมกรีก บรรยายโดย : ครูจุฑาทิพ สระทองพรม รายวิชา ประวัติศาสตร์สากล ส 30103 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 และ 6 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
  • 2. อารยธรรมกรีก • กาเนิดบริเวณชายฝั่งทะเลอีเจียน หมู่เกาะต่าง ๆ และดินแดนกรีซ • สภาพภูมิประเทศเป็นหุบเขา ทาให้แต่ละรัฐจึงเป็นอิสระต่อกันเป็นรัฐ เล็ก ๆ มากมาย ศูนย์กลางนครรัฐอยู่ที่ “อะโครโปลิส” • เกาะครีต Crete เป็นเกาะใหญ่และมีความสาคัญของกรีก • ชาวกรีกเรียกตัวเองว่าเฮลลีน(Hellene) เรียกบ้านเมืองตัวเองว่า เฮลลัส(Hellas) และเรียกอารยธรรมของตนว่า เฮเลนิก(Hellenic Civilzation
  • 3.
  • 4.
  • 5. กรีกสมัยก่อนประวัติศาสตร์ • 4000 B.C. มีการค้นพบเครื่องมือ และหลักฐานการตั้งถิ่นฐานบ้านเรือน รวมถึงป้อมปราการ • บนเกาะครีต มีการใช้โลหะทองแดง สาริด
  • 6. • 2000 B.C. กาเนิดอารยธรรมไมนวน Minoan การค้นพบดินเผาจารึก ตัวอักษรบนเกาะครีต มีการก่อสร้างวังใหญ่โต • ต่อมาถูกรุกรานจากพวก ไมซิเนียน Mycenaean และต่อมาเป็นพวก ดอเรียน Dorian • 1120-800 B.C. ถือเป็นยุคมืด การค้าขายถูกพวกฟินิเชียนเข้ามาขยาย อิทธิพล * โฮเมอร์ เกิดในช่วงนี้ * • 800 B.C. ยุคคลาสสิค มีลักษณะเป็นนครรัฐ เรียกว่า “โพลิส” Polis มี กษัตริย์และขุนนางปกครองนคร เริ่มใช้ระบอบประชาธิปไตย กรีกสมัยประวัติศาสตร์
  • 7.
  • 8.
  • 9. • 500 B.C. ศูนย์กลางอยู่ที่ เอเธนส์ แคว้นแอตติก Attica ได้ร่วมกันกับ นครรัฐกรีกอื่น ป้องกันการรุกรานจากเปอร์เซีย กลายเป็นยุคทองแห่ง เอเธนส์(ต้นกาเนิดประชาธิปไตย) • 431-404 B.C. สงครามเพโลพอนนีเชียน ระหว่างเอเธนส์ กับสปาร์ตา ผลทาให้ มาซีโดเนีย เข้าครอบครองกรีก สมัยพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ มหาราช เรียกว่ายุค “เฮลเลนิสติก” ขยายดินแดนครอบคลุมถึงอียิปต์ และอินเดีย กรีกสมัยประวัติศาสตร์ (ต่อ)
  • 10. 1) ยุคเฮเลนิก (Hellenic) - ศูนย์กลางอยู่ที่กรุงเอเธนส์ - ศิลปะเน้นความเรียบง่าย มนุษยนิยม และธรรมชาตินิยม ซึ่งถือ เป็นยุคแห่ง“Classic” - มีการแสดงละครกลางแจ้ง - ยุคนี้ล่มสลายลง เพราะเกิดสงครามเพโลพอนนีเซียน (Peioponnesian War) ทาให้อาณาจักรมาซิโดเนียแผ่อานาจเข้ามา ครอบครอง ยุคทองของอารยธรรมกรีก
  • 11.
  • 13. 2) ยุคเฮเลนนิสติก (Hellenistic) - ศูนย์กลางอยู่ที่เมืองสปาร์ตาร์ - เป็นยุคที่วัฒนธรรมกรีกกระจายไปทางตะวันออก - เป็นระยะที่นครรัฐมาซิโดเนีย เจริญรุ่งเรืองขึ้น กษัตริย์องค์สาคัญ คือ (1) พระเจ้าฟิลิปป์ รบชนะนครรัฐต่างๆ ของกรีก (2) พระเจ้าอเล็กซานเดอร์(พระราชโอรส) ชนะเปอร์เซียขยายจักรวรรดิไป ยังซีเรีย ฟินิเชีย อียิปต์ และอินเดีย - ศูนย์กลางอยู่ที่เมืองอะเล็กซานเดรีย ในอียิปต์ - ศิลปะเน้นความหรูหรา และ อารมณ์รุนแรง ยุคทองของอารยธรรมกรีก(ต่อ)
  • 14. เทพเจ้าแห่งเทือกเขาโอลิมปัส มี -เทพเจ้าสูงสุด คือ ซีอุส(Zues) แห่งเขาโอลิมปัส ซึ่งเป็นเทพเจ้า แห่งท้องฟ้าและสายฝน - เทพโพไซดอน(Posiedon) เป็นเทพเจ้าแห่งท้องทะเล - เทพอพอลโล(Apollo) เป็นเทพเจ้าแห่งดวงอาทิตย์ - ฯลฯ ความเชื่อ
  • 15.
  • 16. สถาปัตยกรรม – ชาวกรีกจะให้ความสาคัญกับเทพเจ้า เชื่อว่าพลังธรรมชาติจะให้คุณและโทษ ได้ อานาจลึกลับนี้มาจากเทพเจ้าเป็นผู้บันดาล – วิหารบูชาเทพเจ้า “พาร์เธนอน” Parthenon 500 B.C. สร้างด้วยหินอ่อน หลังคาหน้าจั่ว มีเสาหิน มรดกที่สาคัญของกรีก
  • 17.
  • 18. • สะท้อนให้เห็นถึงลักษณะธรรมชาติ เทพเจ้าจึงเหมือนมนุษย์ งานในยุค แรกจะตรง ๆ แข็งทื่อ • สมัยคลาสสิคเริ่มมีลักษณะพริ้วไหว และสมัยหลังจะแสดงถึงความ ปวดร้าว ความทรมานของมนุษย์ • เสาหิน 3 แบบ คือ - ดอริก ลักษณะ หัวเสาเรียบ - ไอโอนิก ลักษณะ หัวเสาเป็นแบบม้วนย้อนลงมา - โครินเธียน ลักษณะ หัวเสาเป็นรูปใบไม้หรูหรา ประติมากรรม
  • 19.
  • 20. • ภาพวาดในยุคแรก นิยมพื้นสีแดง คนสีดา วาดบนภาชนะ • ยุคเฮลเลนิสติก มีการนากระเบื้องสีมาประดับ เรียกว่า โมเสก Mosaic จิตรกรรม
  • 21. • โฮเมอร์ กวีนักเล่าเรื่องได้แต่ง “อีเลียด” และ “โอดิสซี” เป็นเรื่อง เกี่ยวกับสงครามทรอย วรรณกรรม
  • 22. • เป็นการละครของกรีก ร้องประสานเสียง ในเทศกาลบวงสรวงและเฉลิม ฉลองเทพเจ้า เป็นละครประเภทโศกนาฎกรรม และสุขนาฏกรรม นาฏกรรม
  • 23. กีฬา • กีฬา(Olympic) ก่อนหน้าคริสตกาลกว่า 1,000 ปี การแข่งขันกีฬาได้ดาเนินการกันบนยอด เขา “โอลิมปัส” ในประเทศกรีซ โดยนักกีฬาจะต้องเปลือยกายเข้าแข่งขัน เพื่อ ประกวดความสมส่วนของร่างกาย และยังมีการต่อสู้บางประเภท เช่น กีฬาจาพวก มวยปล้า เพื่อพิสูจน์ความแข็งแรง ผู้ชมมีแต่เพียงผู้ชาย ห้ามผู้หญิงเข้าชม ดังนั้น ผู้ชมจะต้องปีนขึ้นไปบนยอดเขา
  • 24. นักปราชญ์ที่สาคัญของโลก • เฮโรโดตัส Herodotus 484-420 B.C. (ประวัติศาสตร์) • โซเครตีส Socrates 470-399 B.C. (ผู้วางรากฐานของปรัชญาตะวันตก) • เพลโต Plato 328-247 B.C. (ปรัชญาการปกครอง) • อริสโตเติ้ล Aristotle 384-322 B.C. (ปรัชญา,วิทยาศาสตร์)