SlideShare a Scribd company logo
1 of 61
Download to read offline
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของ
อาณาจักรสุ โขทัย อยุธยา และธนบุรี
        กับอาณาจักรต่างๆ


                                เสนอ
                      คุณครู สายพิณ วงษารัตน์
จัดทำโดย
1. นำยธนำธิป                   แสนวงศ์       เลขที่ 4
2. นำยอัครชัย                  สติรำษฎ์      เลขที่ 9
3. นำงสำวกัญจน์ชภร            เลำหะวีร์      เลขที่ 24
4. นำงสำวจิรำพัชร             แสงศรี จนทร์
                                        ั    เลขที่ 14
5. นำงสำวธัญญำภรณ์            ไชยแก้ ว       เลขที่ 12
6. นำงสำวศิริรัตน์            โอบอ้ อม       เลขที่ 27
                 ชันมัธยมศึกษำปี ที่ 6/2
                   ้
                          เสนอ
               คุณครู สำยพิณ วงษำรัตน์
      โรงเรี ยนจุฬำภรณรำชวิทยำลัย เชียงรำย
             (โรงเรี ยนวิทยำศำสตร์ ภมิภำค)
                                      ู
สมัยสุโขทัย
       ในสมัยสุ โขทัยได้มีการติดต่อกับอาณาจักรใกล้เคียงทั้ง
ทางด้านการเมือง การค้า การเผยแผ่ศาสนา และความสัมพันธ์ใน
ลักษณะเครื อญาติ การติดต่อระหว่างสุ โขทัยกับเพื่อนบ้านที่สาคัญ
ได้แก่ • อาณาจักรล้านนา               • อาณาจักรลังกา
        • อาณาจักรอยุธยา              • อาณาจักรจีน
        • อาณาจักรนครศรีธรรมราช • อาณาจักรลาว
        • อาณาจักรมอญ                 • อาณาจักรขอม
สุโขทัย & ล้ านนา
อาณาจักรล้ านนา
                 ่
            อยูทางด้านเหนื อของอาณาจักรสุ โขทัย มีความมันคงและ ่
เจริ ญรุ่ งเรื องอีกอาณาจักรหนึ่ง
            ในสมัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราช พระองค์เป็ นพระสหาย
กับพระยามัง ราย เจ้า เมื อ งเชี ย งราย และพระยางาเมื อง เจ้า เมื อ ง
พะเยา
            เมื่ อ ครั้ งพระยามัง รายจะสร้ า งราชธานี แ ห่ ง ใหม่ พ่อ ขุน
รามคาแหงมหาราชพระยางาเมื อง และพระยามังราย ได้ช่วยกัน
เลือกชัยภูมิท่ีเหมาะสมเป็ นราชธานีใหม่ของอาณาจักรล้านนา
ชื่อ นพบุรีศรี นครพิงค์เชียงใหม่
• ในสมัยพระมหาธรรมราชาที่ 1(พญาลิไท)
        พระเจ้ากือนาแห่งอาณาจักรล้านนาจึงได้นิมนต์พระสุ มนเถระ
จากสุ โขทัยให้ข้ ึนไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในล้านนา เพราะพุทธศาสนา
ในสุ โขทัยเจริ ญรุ่ งเรื องมาก
• ในสมัยพระมหาธรรมราชาที่ ๒
         อาณาจักรอยุธยา ได้ยกทัพไปตีหวเมืองหลายแห่ง และ
                                        ั
พระมหาธรรมราชาที่ ๒ ทรงขอกาลังทัพจากเจ้าเมืองล้านนาใน
ขณะนั้น ก็ได้รับการช่วยเหลือ เป็ นอย่างดี
         ในขณะนั้นอาณาจักรสุ โขทัยมีกาลังอ่อนแอมาก เกรงว่า
อาณาจักรล้านนา จะเข้ามาครอบครองอาณาจักรสุ โขทัย
พระมหาธรรมราชาที่ ๒ จึงยกทัพเข้าโจมตีอาณาจักรล้านนาจนได้รับ
ความเสี ยหายมาก ส่ งผลให้ ความสัมพันธ์ระหว่าง สุ โขทัยกับล้านนา
ยุติลง
สุโขทัย & อยุธยา
อาณาจักรอยุธยา




          เมื่อสมเด็จพระเจ้าอู่ทองทรงก่อตั้งอาณาจักรอยุธยาใน
 พ.ศ. 1893 ได้รับการสนับสนุนจากแคว้นละโว้และสุ พรรณภูมิ ทาให้
 อยุธยาเข้มแข็งขึ้นและไม่ข้ ึนกับสุ โขทัย
          ในช่วงแรกของการสถาปนาอาณาจักรอยุธยา อาณาจักรอยุธยากับ
 สุ โขทัยมีการสูรบกันเป็ นบางครั้ง จนกระทังถึงสมัยพระมหาธรรมราชา
                ้                           ่
 ที่ 2 อาณาจักรสุ โขทัยก็ตกเป็ นประเทศราชของอาณาจักรอยุธยาเมื่อ
 พ.ศ. 1921
• ในสมัยพระมหาธรรมราชาที่ 3 (ไสยลือไทย)
          สุ โขทัยได้ประกาศอิสรภาพจากอยุธยาได้สาเร็ จ แต่เมื่อ
                              ่
พระองค์สวรรคตก็เกิดความวุนวายขึ้น เนื่องจากพระราชโอรสของ
พระมหาธรรมราชาที่ 3 แย่งชิงราชสมบัติกนเอง   ั
          สมเด็จพระอินทราธิราชของอยุธยาก็ยกทัพไปปราบ และรวม
อาณาจักรสุ โขทัยเข้าเป็ นส่ วนหนึ่งของอาณาจักรอยุธยา นับว่าเป็ นการ
สิ้ นสุ ดของอาณาจักรสุ โขทัยนับตั้งแต่น้ นเป็ นต้นมา
                                         ั
สุโขทัย & นครศรีธรรมราช
อาณาจักรนครศรีธรรมราช

                                         ั
          อาณาจักรสุ โขทัยมีความสัมพันธ์กบอาณาจักร
นครศรี ธรรมราชตั้งแต่สมัยพ่อขุนศรี อินทราทิตย์ที่ได้ติดต่อกับ
กษัตริ ยของนครศรี ธรรมราชเพื่อขอพระพุทธสิ หิงค์จากลังกา
        ์
มาประดิษฐานที่สุโขทัย
          ในสมัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราชทรงได้นาระพุทธศาสนา
นิกายเถรวาท ลัทธิลงกาวงศ์จากเมืองนครศรี ธรรมราชมาระดิษฐาน
                     ั
ในกรุ งสุ โขทัย ทาให้อาณาจักรทั้งสองมีความผูกพันกันอย่าง
ใกล้ชิด
สุโขทัย & มอญ
อาณาจักรมอญ
                                         ั
          อาณาจักรสุ โขทัยมีความสัมพันธ์กบอาณาจักรมอญในสมัยพ่อ
ขุนรามคาแหงมหาราช เพราะในขณะนั้นพระเจ้าฟ้ ารั่ว (มะกะโท)
                ่
กษัตริ ยมอญอยูในฐานะเป็ นพระราชบุตรเขยของพ่อขุนรามคาแหง
        ์
มหาราช พ่อขุนรามคาแหงมหาราชพยายามส่ งเสริ มและสนับสนุนให้
มะกะโท จนได้เป็ นกษัตริ ยแห่งอาณาจักรมอญ และพระราชทานนามว่า
                           ์
พระเจ้าฟ้ ารั่ว
สุโขทัย & ลังกา
อาณาจักรลังกา
         ในสมัยพ่อขุนศรี อินทราทิ ตย์
ได้มีความสัมพันธ์ทางพระพุทธศาสนา
         โดยเจ้าเมืองได้ถวายพระพุทธ
สิ หิงค์แก่สุโขทัย และในสมัยต่อมาได้
มีพระเถระจากสุ โขทัยเดินทางไปศึกษา
พระไตรปิ ฎกที่ ล ัง กา นอกจากนี้ ได้
นิมนต์พระอุปัชฌาย์ชาวลังกามาเผยแผ่
พระพุ ท ธศาสนาลั ท ธิ ล ั ง กาวงศ์ ใ น            พระพุทธสิ หิงค์
                                                     ่
                                         ประดิษฐานอยูในพระที่นงพุทไธสวรรย์
                                                               ั่
สุ โขทัย                               พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กรุ งเทพมหานคร
                                    ที่มาภาพ   http://upload.wikimedia.org/wikipedia/th/
สุโขทัย & จีน
ประเทศจีน
       กษัตริ ยจีนได้ส่งพระราชสาสน์มายังสุ โขทัย พ่อขุน
               ์
รามคาแหงมหาราชจึงแต่งราชทูตนาเครื่ องราชบรรณาการไปเมือง
                         ั ั
จีน ทาให้สุโขทัยมีไมตรี อนดีกบจีนและได้ติดต่อค้าขายกับจีน
ต่อมาได้นาศิลปะการทาเครื่ องสังคโลกมายังสุ โขทัย




                               โถฝาเคลือบ
               ที่มาภาพ http://museum.bu.ac.th/MTP01.gif
สุโขทัย & ลาว
ประเทศลาว
         มีความสัมพันธ์ต้ งแต่สมัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราช ในสมัยนี้มี
                            ั
                   ่
บางเมืองของลาวอยูภายใต้การปกครองของสุ โขทัย เมื่อสิ้ นสมัยพ่อขุน
รามคาแหงมหาราช อาณาจักรลาวก็ได้รวบรวมหัวเมืองเหล่านั้นขึ้นเป็ น
อิสระ ตั้งอาณาจักรขึ้น เรี ยกว่า อาณาจักรล้านช้าง มีอานาจเข้มแข็งและ
ได้ขยายอาณาเขตมาถึงสุ โขทัย ทาให้ขอมไม่กล้ามารุ กรานไทย ทาให้
อาณาจักรสุ โขทัยและอาณาจักรลาวมีความสัมพันธ์อนดีต่อกัน
                                                     ั
สุโขทัย & ขอม
อาณาจักรขอม
                                                 อาณาจักรขอม อาณาจักร
                                      ขอมซึ่งเคยมีอานาจอยูบริ เวณลุ่ม
                                                               ่
                                      แม่น้ าโขงและลุ่มน้ าเจ้าพระยา ครั้น
                                      ในสมัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราช
           ศาลตาผาแดง                 ขยายอานาจลงไปทางลุ่มแม่น้ าโขง
  ในบริ เวณเมืองเก่ำสุโขทัย เป็ นศำสน ตอนล่าง เข้าโจมตีอาณาจักรขอม
  สถำนก่อด้ วย         ศิลำแลงเป็ น และทาลายอาณาจักรขอมแถบลุ่ม
      เทวำลัยในศำสนำพรำหมณ์           แม่น้ าเจ้าพระยาสิ้ นสุ ดลงได้
 มีลกษณะเช่นเดียวกับ อำคำรที่สร้ ำง
    ั
   ตำมแนว               ศิลปะขอม
สมัยนครวัดของพระเจ้ ำสุริยวรมันที่ 2
สมัยอยุธยา
        อยุธยาเหมาะสมต่อการเป็ นเมืองท่าค้าขาย รวมทั้งความมันคง่
ในการปกครองจึงทาให้อยุธยามีอิทธิพลเหนือรัฐใกล้เคียง ปัจจัยดังกล่าว
จึงทาให้อยุธยาเป็ นศูนย์กลางการค้านานาชาติที่รุ่งเรื องโดยเฉพาะสมัย
พระนารายณ์
อยุธยา & ล้ านนา
อาณาจักรล้ านนา
        มีลกษณะเป็ นการทาสงครามมากกว่าการเป็ นไมตรี ต่อ
           ั
กัน สงครามระหว่างอยุธยาและล้านนาได้เกิดขึ้นหลายครั้งใน
รัชสมัยพระยาติโลกราชแห่ งล้านนากับสมเด็จพระบรมไตร
โลกนาถแห่งกรุ งศรี อยุธยา
อยุธยา & ลาว
ประเทศลาว
          ไทยกับลาวมีความสัมพันธ์
กันมาแต่โบราณ มีลกษณะเป็ นมิตร
                      ั
ไมตรี ที่ดีต่อกันหลักฐานสาคัญที่
แสดงถึงสัมพันธไมตรี อนดีระหว่าง
                          ั
ไทยกับลาวก็คือการร่ วมกันสร้าง
พระธาตุศรี สองรัก ปัจจุบนพระธาตุ
                            ั
               ่
ศรี สองรักอยูที่ อ.ด่านซ้าย จ.เลย
                                    พระธาตุศรีสองรัก อ.ด่ านซ้ าย จ.เลย
อยุธยา & พม่ า
ประเทศพม่ า
        ไทยกับพม่าส่ วนใหญ่เป็ นการแข่งอิทธิพลและการขยายอานาจ
จึงทาให้เกิดสงครามกันตลอดเวลา
        สาเหตุมาจากที่พม่าต้องการขยายอานาจเข้ามาในอาณาจักร
อยุธยาจึงทาให้อยุธยาตกเป็ นประเทศราชของพม่าถึง 2 ครั้งด้วยกัน
        นอกจากการทาสงครามแล้วไทยกับพม่าก็ยงมีการติดต่อค้าขาย
                                                    ั
กันในบางครั้งการทาสงครามระหว่างไทยกับพม่ามีสาเหตุจากการที่
ไทยจับเรื อสาเภาของพม่าที่ไปค้าขายที่เมืองมะริ ดซึ่งเป็ นเมืองท่าที่
สาคัญของไทยจึงทาให้พม่าไม่พอใจ
พม่ายกทัพมาตีไทยถึง 24 ครั้ง โดยสาเหตุของสงครามส่ วนใหญ่มีดงนี้ั
        1.เกิดปัญหาเกี่ยวกับหัวเมืองชายแดนที่พม่าต้องการยึดให้ได้ เพื่อ
ขยายอานาจมายังอาณาจักรกรุ งศรี อยุธยา
        2.ไทยกับพม่าในสมัยกรุ งศรี อยุธยามีอานาจเท่าเทียมกันจน
กลายเป็ นคู่แข่งทางการเมืองและเศรษฐกิจ โดยมีความสัมพันธ์ดาน  ้
สงครามไทยกับพม่าดังนี้

              -สงครามครั้ งแรกก็คือศึกเชียงกราน พ.ศ.2081 ในสมัย
พระไชยราชาธิราช กรุ งศรี อยุธยาเสี ยเอกราชครั้งแรกแก่พม่าในปี
พ.ศ.2112 ในสมัยพระเจ้ามหิ นทราธิราช
              -สงครามสมเด็จพระศรี สุริโยทัยถูกพระเจ้าแปรฟันคอ
    ขาดบนคอช้าง เนื่องจากพระองค์ไสช้างไปขวางพระเจ้าแปรไม่ให้ตาม
    พระมหาจักรพรรดิทน ั
-สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงกอบกูเ้ อกราชของไทยได้
ในปี พ.ศ.2127 และปี 2135 พระนเรศวรมหาราชทรงทายุทธหัตถี
กับพระมหาอุปราชของพม่าจนได้ชยชนะ   ั
        -ในปี พ.ศ.2310 ไทยเสี ยกรุ งให้พม่าครั้งที่ 2ในสมัย
พระเจ้าเอกทัศ


                                การทายุทธหัตถีระหว่ างสมเด็จ
                                    พระนเรศวรมหาราช
                                 และพระมหาอุปราชแห่ งพม่ า
อยุธยา & เขมร
ประเทศเขมร
         เขมรเคยมีอิทธิพลในดินแดนไทย ทาให้เขมรมีความสัมพันธ์
กับไทยในฐานะเมืองประเทศราช ตลอดสมัยอยุธยามีผลทาให้ไทย
ได้รับอิทธิพลจากเขมรในด้านต่างๆ ได้แก่

        1.ด้านการปกครอง – ไทยได้รับแนวความคิดที่กษัตริ ยทรงมี
                                                         ์
ฐานะเป็ นสมมติเทพจากเขมรเข้ามาด้วย
        2.ไทยได้รับขนบธรรมเนียมประเพณี มาจากเขมร เช่น พระ
ราชพิธีถือน้ าพิพฒน์สตยา
                 ั ั
        3.ด้านประติมากรรม – การหล่อพระพุทธรู ปยุคอู่ทอง เป็ น
การหล่อพระพุทธรู ปสมัยอยุธยายุคแรกของไทยก็ได้แบบอย่างมาจาก
4.ด้านวรรณคดี – ไทยนิยมใช้ภาษาขอมและภาษาบาลี
สันสกฤตในวรรณคดีต่างๆ




           พระปรางค์ วดราชบูรณะเป็ นสถาปัตยกรรมแบบเขมร
                      ั
                      ทีมาเผยแพร่ ในกรุ งศรีอยุธยา
                        ่
อยุธยา & หัวเมืองมลายู , ญวน
หัวเมืองมลายู
          มลายูมีฐานะเป็ นประเทศราชของไทยจึงมีหน้าที่ส่งเครื่ อง
ราชบรรณการพร้อมกับต้นไม้เงินต้นไม้ทองมาถวายกษัตริ ยไทย 3 ปี ต่อ
                                                        ์
ครั้ง อยุธยาจะดูแลความสงบเรี ยบร้อยของหัวเมืองมลายูหากหัวเมือง
มลายูได้รับความเดือดร้อน อยุธยามีหน้าที่ให้ความช่วยเหลือ

  ญวน
       ความสัมพันธ์มกจะเป็ นเรื่ องของการแข่งขันกันมีอิทธิพลใน
                         ั
เขมรแต่บางครั้งก็เป็ นมิตรไมตรี ต่อกันเมื่อญวนรบกันเองไทย
สามารถขยายอิทธิพลและมีอานาจในเขมรได้อย่างสะดวก แต่เมื่อ
                      ็
ญวนรวมกาลังกันได้กจะขยายอานาจเข้าไปในเขมร ทาให้เกิด
สงครามกับไทยได้เหตุการณ์น้ ีเกิดขึ้นหลายๆครั้ง
อยุธยา & จีน
ประเทศจีน

          รู ปแบบความสัมพันธ์คือ จักรพรรดิจีนถือว่าอยุธยา คือประเทศ
ราชของจักรวรรดิจีนแต่สาหรับอยุธยาแล้วถือว่าความสัมพันธ์กบจีน    ั
เป็ นรู ปแบบของการค้าการค้าและการทูตระหว่างจีนกับอยุธยา เป็ นผล
ให้ชาวจีนเข้ามาตั้งรกรากเป็ นชุมชนขึ้นที่กรุ งศรี อยุธยาส่ วนใหญ่เป็ น
พวกพ่อค้า มีความรู ้ความชานาญด้านการค้าและการเดินเรื อ
อยุธยา & ญีป่ ุน
           ่
ประเทศญีปุ่น
        ่
         อยุธยาได้ติดต่อกับริ วกิว (ปัจจุบนคือโอกินาวาของญี่ปุ่น)มีการ
                                          ั
แลกเปลี่ยนคณะทูต ของกานัลและการค้าได้เข้ามาในรู ปของการทูต
         ญี่ปุ่นกลายเป็ นตลาดการค้าที่สาคัญของอยุธยาเรื อสาเภาญี่ปุ่นที่
จะเดินทางค้าขายจะต้องได้รับใบอนุญาตเรี ยกว่า ใบเบิกร่ อง
         ต่อมาอยุธยากับญี่ปุ่นไม่มีความสัมพันธ์ทางการทูตต่อกันเพราะ
ญี่ปุ่นประกาศปิ ดประเทศ ห้ามคนญี่ปุ่นออกนอกประเทศ อนุญาตให้
เฉพาะฮอลันดาและจีนเท่านั้น แต่การค้าระหว่างอยุธยากับญี่ปุ่นยังคง
ดาเนินต่อไป
อยุธยา & ล้ านนา
ั
ความสัมพันธ์กบประเทศในเอเชีย
ตะวันตก
            พ่อค้าที่มีอิทธิ พลและบทบาท
ทางการค้าสู งมาก คือ พวกมัวร์ ซ่ ึ งเป็ น
ชื่อเรี ยกชาวอินเดียมุสลิม ชาวเปอร์ เชีย
หรื ออิหร่ าน ชาวตุรกี และชาวอาหรับที่
นับถือศาสนาอิสลาม ชาวมัวร์ ต้ งถิ่นฐาน
                                  ั
เป็ นชุมชมใหญ่ที่กรุ งศรี อยุธยาทาให้มี
การผสมผสานทางเชื้อชาติและ
                                ั
วัฒนธรรมระหว่างชาวมัวร์ กบคนอยุธยา
                                            ขบวนแห่ พระราชสาส์ นของสมเด็จพระนารายณ์ มหาราช
                                                  ไปถวายพระเจ้ าหลุยส์ ท14แห่ งฝรั่งเศส
                                                                        ี่
อยุธยา & โปรตุเกส , ฮอลันดา
โปรตุเกส
                โปรตุเกสเป็ นชาวยุโรปชาติแรกที่เข้ามาติดต่อกับอยุธยา โดย
       จุดมุ่งหมายสาคัญ คือ ต้องการผลประโยชน์ทางการค้าและเผยแผ่
       ศาสนา โปรตุเกสขายปื นและอาวุธสงครามให้แก่อยุธยาเป็ นการ
       แลกเปลี่ยนกับสิ ทธิในการค้า
ฮอลันดา
            ฮอลันดาเข้ามาติดต่อกับกรุ งศรี อยุธยาจุดมุ่งหมายสาคัญของฮอลันดา
  คือ ความต้องการซื้อสิ นค้าจากจีนและหาช่องทางเข้าไปค้าขายในจีนโดยอาศัย
  เรื อสาเภาของไทย แต่ไทยยินดีตอนรับเฉพาะเรื่ องที่ชาวฮอลันดาเข้ามาค้าขาย
                                 ้
  เท่านั้น ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 23 การค้าของฮอลันดาที่กรุ งศรี อยุธยาค่อยๆลด
  ความสาคัญลงเพราะมีอุปสรรคนานาประการ เช่น การเปลี่ยนแปลงนโยบาย
  การค้า ความผันผวนทางการเมือง
อยุธยา & อังกฤษ , ฝรั่งเศส
อังกฤษ
                    ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับอังกฤษซบเซา และ
            หยุดชะงักลงเนื่องจากอังกฤษพยายามจะยึดเมืองมะริ ดแต่ถูกขับไล่
            ออกไป จึงทาให้อยุธยากับอังกฤษประกาศสงครามต่อกัน แม้
                                ็
            สงครามจะไม่เกิดแต่กทาให้เหิ นห่างกันไปและยุติลงอย่างเด็ดขาด

ฝรั่งเศส
            ความสัมพันธ์กบฝรั่งเศสเป็ นระยะเวลาค่อนข้างสั้น จุดมุ่งหมาย
                         ั
                    ่
หลักของฝรั่งเศสอยูที่การติดต่อการค้ากับไทยและพยายามโน้มน้าวคน
ไทยให้นบถือศาสนาคริ สต์นิกายโรมันคาทอลิก แต่ฝ่ายไทยให้ความสนใจ
          ั
ในเรื่ องการค้าและความสัมพันธ์ทางการทูตมากกว่า
สมัยธนบุรี
                           ้
           หลังจากได้กอบกูกรุ งศรี อยุธยากลับคืนจากพม่าได้แล้ว
พระเจ้าตากสิ นทรงเห็นว่ากรุ งศรี อยุธยาถูกพม่าเผาผลาญเสี ยหายมาก
                                                           ่
ยากที่จะฟื้ นฟูให้เหมือนเดิม พระองค์จึงย้ายเมืองหลวง มาอยูที่กรุ ง
ธนบุรี แล้วปราบดาภิเษกขึ้นเป็ นกษัตริ ยทรงพระนามว่า
                                         ์
           “ พระบรมราชาธิราชที่ 4 " (แต่ประชาชนนิยมเรี ยกว่าสมเด็จ
พระเจ้าตากสิ นมหาราชหรื อสมเด็จพระเจ้ากรุ งธนบุรี) ครองกรุ งธนบุรี
อยู่ 15 ปี นับว่าเป็ นพระมหากษัตริ ยพระองค์เดียวที่ปกครองกรุ งธนบุรี
                                     ์
ธนบุรี & พม่ า
พม่ า
       ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับพม่าในสมัยกรุ งธนบุรี จะปรากฎใน
 รู ปของความขัดแย้ง การทาสงคราม โดยไทยเป็ นฝ่ ายตั้งรับการรุ กราน
 ของพม่า หลังจากได้รักเอกราช ต้องทาสงครามกับพม่าถึง 9 ครั้ง ส่ วน
 ใหญ่พม่าเป็ นฝ่ ายปราชัย
                                      ่
       ครั้งสาคัญที่สุด คือ ศึกอะแซหวุนกี้ตีเมืองเหนือ พ.ศ.2318 ครั้งนั้น
 เจ้าพระยาจักรี (รัชกาลที่ 1) และเจ้าพระยาสุ รสี ห์ สองพี่นองได้ร่วมกัน
                                                           ้
 ป้ องกันเมืองพิษณุโลกอย่างสุ ดความสามารถ แต่พม่ามีกาลังไพร่ พล
 เหนือกว่าจึงตีหกเอาเมืองได้
                 ั
ธนบุรี & กัมพูชา
กัมพูชา
        ไทยทาสงครามกับกัมพูชาถึง 3 ครั้ง ครั้งที่ 2 ไทยก็ได้
กัมพูชาเป็ นเมืองขึ้นและได้เกิดการจลาจลขึ้นในหมู่เจ้านายเขมร ใน
พ.ศ.2322 พระราชวงศ์เขมรแย่งชิงอานาจกันเอง สมเด็จพระเจ้าตาก
สิ นโปรดให้สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริ ยศึก (รัชกาลที่ 1) ยกทัพไป
                                       ์
                                ุ่
ควบคุมสถานการณ์ แต่เกิดเหตุวนวายในกรุ งธนบุรี พระยาสรรค์
ก่อกบฎ สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริ ยศึกจึงต้องรี บยกทัพกลับ
                                    ์
ธนบุรี & ลาว
ลาว
       ไทยทาสงครามขยายอาณาเขตไปถึงลาว 2 ครั้ง คือ ตีเมือง
จาปาศักดิ์ และตีเมืองเวียงจันทร์ครั้งหลัง ไทยได้อญเชิญพระแก้ว
                                                 ั
มรกตและพระบางมายังไทย โดยสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริ ยศึก    ์
ธนบุรี & จีน
จีน
        ส่ วนใหญ่เป็ นเรื่ องการค้าขายกับจีน ในสมัยกรุ งธนบุรี
ปรากฏว่ามีสาเภาของพ่อค้าจีน เข้ามาติดต่อค้าขายตลอดรัชกาลและ
ทางไทยก็ได้เอาใจใส่ในการทะนุบารุ งการค้าขายทางเรื อนี้อย่างมาก
สมเด็จพระเจ้าตากสิ นทรงส่ งสาเภาหลวงออกไปทาการติดต่อค้าขายกับ
เมืองจีนอยูเ่ สมอ จึงนับว่าจีนเป็ นชาติที่สาคัญที่สุดที่เราติดต่อทางการค้า
ด้วย ในสมัยกรุ งธนบุรี
ในปี พ.ศ. 2324 สมเด็จพระเจ้าตากสิ นก็ได้ทรงส่ งคณะทูตชุด
                                           ั
หนึ่ง ออกไปเจริ ญทางพระราชไมตรี กบพระเจ้ากรุ งจีน ในแผ่นดินพระ
เจ้าเกาจงสุ นฮ่องเต้ ( พระเจ้ากรุ งต้าฉิ่ ง ) ณ กรุ งปักกิ่ง เพื่อขอให้ทางจีน
อานวยความสะดวก ให้แก่ไทยในการจัดแต่งสาเภาหลวง บรรทุก
สิ นค้าออกไปค้าขายที่เมืองจีนต่อไป
         โดยขอให้ยกเว้นค่าจังกอบและขอซื้อสิ่ งของบางอย่าง เช่น อิฐ
เพื่อนามาใช้ในการสร้างพระนคร กับขอให้ทางจีนช่วยหาต้นหนสาเภา
สาหรับจะแต่งเรื อออกไปซื้อทองแดงที่ประเทศญี่ปุ่นเข้ามาใช้สร้างพระ
นครเช่นเดียวกัน
ธนบุรี & โปตุเกส
โปรตุเกส
         พ.ศ. 2322 มีเรื อแขกมัวร์จากเมืองสุ รัต ซึ่งขณะนั้นเป็ น
เมืองขึ้นของโปรตุเกส เข้ามาค้าขาย ณ กรุ งธนบุรีดวยและว่า ที่ภูเก็ต
                                                     ้
เวลานั้นมีพวกโปรตุเกสอยู่ 2-3 คน อยูในความปกครองของ
                                       ่
บาทหลวงฟรังซิสแกงของโปรตุเกส จึงแสดงว่า ในสมัยกรุ งธนบุรีน้ น       ั
เราได้มีการติดต่อค้าขายสมาคมกับชาวโปรตุเกสอยูบาง       ่ ้
         และไทยเราได้ส่งสาเภาหลวงออกไปค้าขายยังประเทศอินเดีย
จนถึงเขตเมืองกัว เมืองสุ รัต อันเป็ นอาณานิคมของโปรตุเกสอยูในครั้ง่
นั้นด้วยเหมือนกัน
         แต่ทว่าในตอนนั้นยังมิได้ถึงกับมีการส่ งทูตเข้ามาหรื อออกไป
เจริ ญทางพระราชไมตรี อย่างเป็ นทางการแต่อย่างใด
ธนบุรี & อังกฤษ
อังกฤษ
         ในตอนปลายสมัยกรุ งธนบุรี มีการแย่งชิงอานาจกันทางการค้า
เป็ นอันมาก ด้วยเหตุน้ ี อังกฤษจึงมีความประสงค์ที่จะได้สถานที่ต้ ง
                                                                 ั
สาหรับทาการค้าขาย แข่งกับพวกฮอลันดา ทางด้านแหลมมลายูสกแห่ง     ั
หนึ่ง อังกฤษเห็นว่าเกาะหมาก (ปี นัง) มีความเหมาะสม จึงได้พยายาม
เจรจาเกลี้ยกล่อมกับพระยาไทรบุรี ผูมีอานาจปกครองเกาะนี้อยูเ่ พื่อจะ
                                      ้
ขอเช่า ในปี
         พ.ศ. 2319 กะปิ ตันเหล็ก (ฟรานซิสไลท์) เจ้าเมืองเกาะหมาก ได้
ส่ งปื นนกสับเข้ามาถวายสมเด็จพระเจ้าตากสิ น จานวน 1,400 กระบอก
พร้อมด้วยสิ่ งของเครื่ องราชบรรณาการต่าง ๆ
บรรณานุกรม
สมัยสุโขทัย
เอกสารออนไลน์ (เข้ าถึงได้ จาก)
http://www.maceducation.com/e-knowledge/2507005100/05.htm
สมัยอยุธยา
เอกสารออนไลน์ (เข้ าถึงได้ จาก)
http://culture4queen.exteen.com/20080203/entry-1
 สมัยอยุธยา
 เอกสารออนไลน์ (เข้ าถึงได้ จาก)
http://www.sainampeung.ac.th/chalengsak/units/unit4/chapter4/
chaptor4_0/Thonburi_History7.htm

More Related Content

What's hot

ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นNattha Namm
 
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยchatsawat265
 
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยาการเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยาtinnaphop jampafaed
 
หัวข้อที่ ๖ อาณาจักรสุโขทัย
หัวข้อที่ ๖  อาณาจักรสุโขทัยหัวข้อที่ ๖  อาณาจักรสุโขทัย
หัวข้อที่ ๖ อาณาจักรสุโขทัยchakaew4524
 
การเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัย
การเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัยการเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัย
การเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัยKamonchanok VrTen Poppy
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยาJulPcc CR
 
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยYim Wiphawan
 
อาณาจักรส..
อาณาจักรส..อาณาจักรส..
อาณาจักรส..sandzii
 
06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัยJulPcc CR
 

What's hot (20)

กลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนากลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนา
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
การสถาปนา
การสถาปนาการสถาปนา
การสถาปนา
 
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
 
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรมพัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
 
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
การเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทยการเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทย
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจพัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
 
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยาการเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา
 
หัวข้อที่ ๖ อาณาจักรสุโขทัย
หัวข้อที่ ๖  อาณาจักรสุโขทัยหัวข้อที่ ๖  อาณาจักรสุโขทัย
หัวข้อที่ ๖ อาณาจักรสุโขทัย
 
การเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัย
การเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัยการเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัย
การเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัย
 
อยุธยา
อยุธยาอยุธยา
อยุธยา
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
 
อาณาจักรส..
อาณาจักรส..อาณาจักรส..
อาณาจักรส..
 
06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย
 

Viewers also liked

เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรีเศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
Hishl7
Hishl7Hishl7
Hishl7rajesh
 
Kandemir Inferring Object Relevance From Gaze In Dynamic Scenes
Kandemir Inferring Object Relevance From Gaze In Dynamic ScenesKandemir Inferring Object Relevance From Gaze In Dynamic Scenes
Kandemir Inferring Object Relevance From Gaze In Dynamic ScenesKalle
 
ערד וחבל יתיר חלק ב
ערד וחבל יתיר חלק בערד וחבל יתיר חלק ב
ערד וחבל יתיר חלק בhaimkarel
 
Acta c.i. 30 09-2011 logo
Acta c.i. 30 09-2011 logoActa c.i. 30 09-2011 logo
Acta c.i. 30 09-2011 logooscargaliza
 
Anadolu Üniversitesi'nde e-Öğrenmenin Gelişimi
Anadolu Üniversitesi'nde e-Öğrenmenin GelişimiAnadolu Üniversitesi'nde e-Öğrenmenin Gelişimi
Anadolu Üniversitesi'nde e-Öğrenmenin Gelişiminazzzy
 

Viewers also liked (14)

ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทย
ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทยประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทย
ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทย
 
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรีเศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
 
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
 
Digital Philly
Digital PhillyDigital Philly
Digital Philly
 
Hishl7
Hishl7Hishl7
Hishl7
 
Social Networking Security Workshop
Social Networking Security WorkshopSocial Networking Security Workshop
Social Networking Security Workshop
 
Statby school 2554_m6_1057012007
Statby school 2554_m6_1057012007Statby school 2554_m6_1057012007
Statby school 2554_m6_1057012007
 
Kandemir Inferring Object Relevance From Gaze In Dynamic Scenes
Kandemir Inferring Object Relevance From Gaze In Dynamic ScenesKandemir Inferring Object Relevance From Gaze In Dynamic Scenes
Kandemir Inferring Object Relevance From Gaze In Dynamic Scenes
 
Tactical Assassins
Tactical AssassinsTactical Assassins
Tactical Assassins
 
Kennady
KennadyKennady
Kennady
 
ערד וחבל יתיר חלק ב
ערד וחבל יתיר חלק בערד וחבל יתיר חלק ב
ערד וחבל יתיר חלק ב
 
Acta c.i. 30 09-2011 logo
Acta c.i. 30 09-2011 logoActa c.i. 30 09-2011 logo
Acta c.i. 30 09-2011 logo
 
PBOPlus Introduction
PBOPlus IntroductionPBOPlus Introduction
PBOPlus Introduction
 
Anadolu Üniversitesi'nde e-Öğrenmenin Gelişimi
Anadolu Üniversitesi'nde e-Öğrenmenin GelişimiAnadolu Üniversitesi'nde e-Öğrenmenin Gelişimi
Anadolu Üniversitesi'nde e-Öğrenmenin Gelişimi
 

Similar to เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4

สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัยsangworn
 
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ยคร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ยปาล์มมี่ ไม่เล่นเกมส์
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาsangworn
 
Conceptของสุโขทัย
ConceptของสุโขทัยConceptของสุโขทัย
Conceptของสุโขทัยsangworn
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Pracha Wongsrida
 
111006099222748 13010713133143
111006099222748 13010713133143111006099222748 13010713133143
111006099222748 13010713133143sibsakul jutaphan
 
06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัยJulPcc CR
 
อาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยอาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยkrunrita
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Pracha Wongsrida
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยfernbamoilsong
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยาJulPcc CR
 

Similar to เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4 (20)

สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัย
 
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ยคร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
Conceptของสุโขทัย
ConceptของสุโขทัยConceptของสุโขทัย
Conceptของสุโขทัย
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
 
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
 
111006099222748 13010713133143
111006099222748 13010713133143111006099222748 13010713133143
111006099222748 13010713133143
 
06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย
 
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราชพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
 
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
อาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยอาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัย
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
 
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรีประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
 
Tonburi
TonburiTonburi
Tonburi
 
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราชพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
 
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
 
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand

พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand (20)

กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลินกำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลิน
 
รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social mediaรายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
 
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงานแบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
 
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็มผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
 
O net ม.3
O net ม.3O net ม.3
O net ม.3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
1
11
1
 
การแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาคการแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาค
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ
 

เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4

  • 1. ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของ อาณาจักรสุ โขทัย อยุธยา และธนบุรี กับอาณาจักรต่างๆ เสนอ คุณครู สายพิณ วงษารัตน์
  • 2. จัดทำโดย 1. นำยธนำธิป แสนวงศ์ เลขที่ 4 2. นำยอัครชัย สติรำษฎ์ เลขที่ 9 3. นำงสำวกัญจน์ชภร เลำหะวีร์ เลขที่ 24 4. นำงสำวจิรำพัชร แสงศรี จนทร์ ั เลขที่ 14 5. นำงสำวธัญญำภรณ์ ไชยแก้ ว เลขที่ 12 6. นำงสำวศิริรัตน์ โอบอ้ อม เลขที่ 27 ชันมัธยมศึกษำปี ที่ 6/2 ้ เสนอ คุณครู สำยพิณ วงษำรัตน์ โรงเรี ยนจุฬำภรณรำชวิทยำลัย เชียงรำย (โรงเรี ยนวิทยำศำสตร์ ภมิภำค) ู
  • 3. สมัยสุโขทัย ในสมัยสุ โขทัยได้มีการติดต่อกับอาณาจักรใกล้เคียงทั้ง ทางด้านการเมือง การค้า การเผยแผ่ศาสนา และความสัมพันธ์ใน ลักษณะเครื อญาติ การติดต่อระหว่างสุ โขทัยกับเพื่อนบ้านที่สาคัญ ได้แก่ • อาณาจักรล้านนา • อาณาจักรลังกา • อาณาจักรอยุธยา • อาณาจักรจีน • อาณาจักรนครศรีธรรมราช • อาณาจักรลาว • อาณาจักรมอญ • อาณาจักรขอม
  • 5. อาณาจักรล้ านนา ่ อยูทางด้านเหนื อของอาณาจักรสุ โขทัย มีความมันคงและ ่ เจริ ญรุ่ งเรื องอีกอาณาจักรหนึ่ง ในสมัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราช พระองค์เป็ นพระสหาย กับพระยามัง ราย เจ้า เมื อ งเชี ย งราย และพระยางาเมื อง เจ้า เมื อ ง พะเยา เมื่ อ ครั้ งพระยามัง รายจะสร้ า งราชธานี แ ห่ ง ใหม่ พ่อ ขุน รามคาแหงมหาราชพระยางาเมื อง และพระยามังราย ได้ช่วยกัน เลือกชัยภูมิท่ีเหมาะสมเป็ นราชธานีใหม่ของอาณาจักรล้านนา ชื่อ นพบุรีศรี นครพิงค์เชียงใหม่
  • 6. • ในสมัยพระมหาธรรมราชาที่ 1(พญาลิไท) พระเจ้ากือนาแห่งอาณาจักรล้านนาจึงได้นิมนต์พระสุ มนเถระ จากสุ โขทัยให้ข้ ึนไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในล้านนา เพราะพุทธศาสนา ในสุ โขทัยเจริ ญรุ่ งเรื องมาก
  • 7. • ในสมัยพระมหาธรรมราชาที่ ๒ อาณาจักรอยุธยา ได้ยกทัพไปตีหวเมืองหลายแห่ง และ ั พระมหาธรรมราชาที่ ๒ ทรงขอกาลังทัพจากเจ้าเมืองล้านนาใน ขณะนั้น ก็ได้รับการช่วยเหลือ เป็ นอย่างดี ในขณะนั้นอาณาจักรสุ โขทัยมีกาลังอ่อนแอมาก เกรงว่า อาณาจักรล้านนา จะเข้ามาครอบครองอาณาจักรสุ โขทัย พระมหาธรรมราชาที่ ๒ จึงยกทัพเข้าโจมตีอาณาจักรล้านนาจนได้รับ ความเสี ยหายมาก ส่ งผลให้ ความสัมพันธ์ระหว่าง สุ โขทัยกับล้านนา ยุติลง
  • 9. อาณาจักรอยุธยา เมื่อสมเด็จพระเจ้าอู่ทองทรงก่อตั้งอาณาจักรอยุธยาใน พ.ศ. 1893 ได้รับการสนับสนุนจากแคว้นละโว้และสุ พรรณภูมิ ทาให้ อยุธยาเข้มแข็งขึ้นและไม่ข้ ึนกับสุ โขทัย ในช่วงแรกของการสถาปนาอาณาจักรอยุธยา อาณาจักรอยุธยากับ สุ โขทัยมีการสูรบกันเป็ นบางครั้ง จนกระทังถึงสมัยพระมหาธรรมราชา ้ ่ ที่ 2 อาณาจักรสุ โขทัยก็ตกเป็ นประเทศราชของอาณาจักรอยุธยาเมื่อ พ.ศ. 1921
  • 10. • ในสมัยพระมหาธรรมราชาที่ 3 (ไสยลือไทย) สุ โขทัยได้ประกาศอิสรภาพจากอยุธยาได้สาเร็ จ แต่เมื่อ ่ พระองค์สวรรคตก็เกิดความวุนวายขึ้น เนื่องจากพระราชโอรสของ พระมหาธรรมราชาที่ 3 แย่งชิงราชสมบัติกนเอง ั สมเด็จพระอินทราธิราชของอยุธยาก็ยกทัพไปปราบ และรวม อาณาจักรสุ โขทัยเข้าเป็ นส่ วนหนึ่งของอาณาจักรอยุธยา นับว่าเป็ นการ สิ้ นสุ ดของอาณาจักรสุ โขทัยนับตั้งแต่น้ นเป็ นต้นมา ั
  • 12. อาณาจักรนครศรีธรรมราช ั อาณาจักรสุ โขทัยมีความสัมพันธ์กบอาณาจักร นครศรี ธรรมราชตั้งแต่สมัยพ่อขุนศรี อินทราทิตย์ที่ได้ติดต่อกับ กษัตริ ยของนครศรี ธรรมราชเพื่อขอพระพุทธสิ หิงค์จากลังกา ์ มาประดิษฐานที่สุโขทัย ในสมัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราชทรงได้นาระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท ลัทธิลงกาวงศ์จากเมืองนครศรี ธรรมราชมาระดิษฐาน ั ในกรุ งสุ โขทัย ทาให้อาณาจักรทั้งสองมีความผูกพันกันอย่าง ใกล้ชิด
  • 14. อาณาจักรมอญ ั อาณาจักรสุ โขทัยมีความสัมพันธ์กบอาณาจักรมอญในสมัยพ่อ ขุนรามคาแหงมหาราช เพราะในขณะนั้นพระเจ้าฟ้ ารั่ว (มะกะโท) ่ กษัตริ ยมอญอยูในฐานะเป็ นพระราชบุตรเขยของพ่อขุนรามคาแหง ์ มหาราช พ่อขุนรามคาแหงมหาราชพยายามส่ งเสริ มและสนับสนุนให้ มะกะโท จนได้เป็ นกษัตริ ยแห่งอาณาจักรมอญ และพระราชทานนามว่า ์ พระเจ้าฟ้ ารั่ว
  • 16. อาณาจักรลังกา ในสมัยพ่อขุนศรี อินทราทิ ตย์ ได้มีความสัมพันธ์ทางพระพุทธศาสนา โดยเจ้าเมืองได้ถวายพระพุทธ สิ หิงค์แก่สุโขทัย และในสมัยต่อมาได้ มีพระเถระจากสุ โขทัยเดินทางไปศึกษา พระไตรปิ ฎกที่ ล ัง กา นอกจากนี้ ได้ นิมนต์พระอุปัชฌาย์ชาวลังกามาเผยแผ่ พระพุ ท ธศาสนาลั ท ธิ ล ั ง กาวงศ์ ใ น พระพุทธสิ หิงค์ ่ ประดิษฐานอยูในพระที่นงพุทไธสวรรย์ ั่ สุ โขทัย พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กรุ งเทพมหานคร ที่มาภาพ http://upload.wikimedia.org/wikipedia/th/
  • 18. ประเทศจีน กษัตริ ยจีนได้ส่งพระราชสาสน์มายังสุ โขทัย พ่อขุน ์ รามคาแหงมหาราชจึงแต่งราชทูตนาเครื่ องราชบรรณาการไปเมือง ั ั จีน ทาให้สุโขทัยมีไมตรี อนดีกบจีนและได้ติดต่อค้าขายกับจีน ต่อมาได้นาศิลปะการทาเครื่ องสังคโลกมายังสุ โขทัย โถฝาเคลือบ ที่มาภาพ http://museum.bu.ac.th/MTP01.gif
  • 20. ประเทศลาว มีความสัมพันธ์ต้ งแต่สมัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราช ในสมัยนี้มี ั ่ บางเมืองของลาวอยูภายใต้การปกครองของสุ โขทัย เมื่อสิ้ นสมัยพ่อขุน รามคาแหงมหาราช อาณาจักรลาวก็ได้รวบรวมหัวเมืองเหล่านั้นขึ้นเป็ น อิสระ ตั้งอาณาจักรขึ้น เรี ยกว่า อาณาจักรล้านช้าง มีอานาจเข้มแข็งและ ได้ขยายอาณาเขตมาถึงสุ โขทัย ทาให้ขอมไม่กล้ามารุ กรานไทย ทาให้ อาณาจักรสุ โขทัยและอาณาจักรลาวมีความสัมพันธ์อนดีต่อกัน ั
  • 22. อาณาจักรขอม อาณาจักรขอม อาณาจักร ขอมซึ่งเคยมีอานาจอยูบริ เวณลุ่ม ่ แม่น้ าโขงและลุ่มน้ าเจ้าพระยา ครั้น ในสมัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราช ศาลตาผาแดง ขยายอานาจลงไปทางลุ่มแม่น้ าโขง ในบริ เวณเมืองเก่ำสุโขทัย เป็ นศำสน ตอนล่าง เข้าโจมตีอาณาจักรขอม สถำนก่อด้ วย ศิลำแลงเป็ น และทาลายอาณาจักรขอมแถบลุ่ม เทวำลัยในศำสนำพรำหมณ์ แม่น้ าเจ้าพระยาสิ้ นสุ ดลงได้ มีลกษณะเช่นเดียวกับ อำคำรที่สร้ ำง ั ตำมแนว ศิลปะขอม สมัยนครวัดของพระเจ้ ำสุริยวรมันที่ 2
  • 23. สมัยอยุธยา อยุธยาเหมาะสมต่อการเป็ นเมืองท่าค้าขาย รวมทั้งความมันคง่ ในการปกครองจึงทาให้อยุธยามีอิทธิพลเหนือรัฐใกล้เคียง ปัจจัยดังกล่าว จึงทาให้อยุธยาเป็ นศูนย์กลางการค้านานาชาติที่รุ่งเรื องโดยเฉพาะสมัย พระนารายณ์
  • 25. อาณาจักรล้ านนา มีลกษณะเป็ นการทาสงครามมากกว่าการเป็ นไมตรี ต่อ ั กัน สงครามระหว่างอยุธยาและล้านนาได้เกิดขึ้นหลายครั้งใน รัชสมัยพระยาติโลกราชแห่ งล้านนากับสมเด็จพระบรมไตร โลกนาถแห่งกรุ งศรี อยุธยา
  • 27. ประเทศลาว ไทยกับลาวมีความสัมพันธ์ กันมาแต่โบราณ มีลกษณะเป็ นมิตร ั ไมตรี ที่ดีต่อกันหลักฐานสาคัญที่ แสดงถึงสัมพันธไมตรี อนดีระหว่าง ั ไทยกับลาวก็คือการร่ วมกันสร้าง พระธาตุศรี สองรัก ปัจจุบนพระธาตุ ั ่ ศรี สองรักอยูที่ อ.ด่านซ้าย จ.เลย พระธาตุศรีสองรัก อ.ด่ านซ้ าย จ.เลย
  • 29. ประเทศพม่ า ไทยกับพม่าส่ วนใหญ่เป็ นการแข่งอิทธิพลและการขยายอานาจ จึงทาให้เกิดสงครามกันตลอดเวลา สาเหตุมาจากที่พม่าต้องการขยายอานาจเข้ามาในอาณาจักร อยุธยาจึงทาให้อยุธยาตกเป็ นประเทศราชของพม่าถึง 2 ครั้งด้วยกัน นอกจากการทาสงครามแล้วไทยกับพม่าก็ยงมีการติดต่อค้าขาย ั กันในบางครั้งการทาสงครามระหว่างไทยกับพม่ามีสาเหตุจากการที่ ไทยจับเรื อสาเภาของพม่าที่ไปค้าขายที่เมืองมะริ ดซึ่งเป็ นเมืองท่าที่ สาคัญของไทยจึงทาให้พม่าไม่พอใจ
  • 30. พม่ายกทัพมาตีไทยถึง 24 ครั้ง โดยสาเหตุของสงครามส่ วนใหญ่มีดงนี้ั 1.เกิดปัญหาเกี่ยวกับหัวเมืองชายแดนที่พม่าต้องการยึดให้ได้ เพื่อ ขยายอานาจมายังอาณาจักรกรุ งศรี อยุธยา 2.ไทยกับพม่าในสมัยกรุ งศรี อยุธยามีอานาจเท่าเทียมกันจน กลายเป็ นคู่แข่งทางการเมืองและเศรษฐกิจ โดยมีความสัมพันธ์ดาน ้ สงครามไทยกับพม่าดังนี้ -สงครามครั้ งแรกก็คือศึกเชียงกราน พ.ศ.2081 ในสมัย พระไชยราชาธิราช กรุ งศรี อยุธยาเสี ยเอกราชครั้งแรกแก่พม่าในปี พ.ศ.2112 ในสมัยพระเจ้ามหิ นทราธิราช -สงครามสมเด็จพระศรี สุริโยทัยถูกพระเจ้าแปรฟันคอ ขาดบนคอช้าง เนื่องจากพระองค์ไสช้างไปขวางพระเจ้าแปรไม่ให้ตาม พระมหาจักรพรรดิทน ั
  • 31. -สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงกอบกูเ้ อกราชของไทยได้ ในปี พ.ศ.2127 และปี 2135 พระนเรศวรมหาราชทรงทายุทธหัตถี กับพระมหาอุปราชของพม่าจนได้ชยชนะ ั -ในปี พ.ศ.2310 ไทยเสี ยกรุ งให้พม่าครั้งที่ 2ในสมัย พระเจ้าเอกทัศ การทายุทธหัตถีระหว่ างสมเด็จ พระนเรศวรมหาราช และพระมหาอุปราชแห่ งพม่ า
  • 33. ประเทศเขมร เขมรเคยมีอิทธิพลในดินแดนไทย ทาให้เขมรมีความสัมพันธ์ กับไทยในฐานะเมืองประเทศราช ตลอดสมัยอยุธยามีผลทาให้ไทย ได้รับอิทธิพลจากเขมรในด้านต่างๆ ได้แก่ 1.ด้านการปกครอง – ไทยได้รับแนวความคิดที่กษัตริ ยทรงมี ์ ฐานะเป็ นสมมติเทพจากเขมรเข้ามาด้วย 2.ไทยได้รับขนบธรรมเนียมประเพณี มาจากเขมร เช่น พระ ราชพิธีถือน้ าพิพฒน์สตยา ั ั 3.ด้านประติมากรรม – การหล่อพระพุทธรู ปยุคอู่ทอง เป็ น การหล่อพระพุทธรู ปสมัยอยุธยายุคแรกของไทยก็ได้แบบอย่างมาจาก
  • 34. 4.ด้านวรรณคดี – ไทยนิยมใช้ภาษาขอมและภาษาบาลี สันสกฤตในวรรณคดีต่างๆ พระปรางค์ วดราชบูรณะเป็ นสถาปัตยกรรมแบบเขมร ั ทีมาเผยแพร่ ในกรุ งศรีอยุธยา ่
  • 36. หัวเมืองมลายู มลายูมีฐานะเป็ นประเทศราชของไทยจึงมีหน้าที่ส่งเครื่ อง ราชบรรณการพร้อมกับต้นไม้เงินต้นไม้ทองมาถวายกษัตริ ยไทย 3 ปี ต่อ ์ ครั้ง อยุธยาจะดูแลความสงบเรี ยบร้อยของหัวเมืองมลายูหากหัวเมือง มลายูได้รับความเดือดร้อน อยุธยามีหน้าที่ให้ความช่วยเหลือ ญวน ความสัมพันธ์มกจะเป็ นเรื่ องของการแข่งขันกันมีอิทธิพลใน ั เขมรแต่บางครั้งก็เป็ นมิตรไมตรี ต่อกันเมื่อญวนรบกันเองไทย สามารถขยายอิทธิพลและมีอานาจในเขมรได้อย่างสะดวก แต่เมื่อ ็ ญวนรวมกาลังกันได้กจะขยายอานาจเข้าไปในเขมร ทาให้เกิด สงครามกับไทยได้เหตุการณ์น้ ีเกิดขึ้นหลายๆครั้ง
  • 38. ประเทศจีน รู ปแบบความสัมพันธ์คือ จักรพรรดิจีนถือว่าอยุธยา คือประเทศ ราชของจักรวรรดิจีนแต่สาหรับอยุธยาแล้วถือว่าความสัมพันธ์กบจีน ั เป็ นรู ปแบบของการค้าการค้าและการทูตระหว่างจีนกับอยุธยา เป็ นผล ให้ชาวจีนเข้ามาตั้งรกรากเป็ นชุมชนขึ้นที่กรุ งศรี อยุธยาส่ วนใหญ่เป็ น พวกพ่อค้า มีความรู ้ความชานาญด้านการค้าและการเดินเรื อ
  • 40. ประเทศญีปุ่น ่ อยุธยาได้ติดต่อกับริ วกิว (ปัจจุบนคือโอกินาวาของญี่ปุ่น)มีการ ั แลกเปลี่ยนคณะทูต ของกานัลและการค้าได้เข้ามาในรู ปของการทูต ญี่ปุ่นกลายเป็ นตลาดการค้าที่สาคัญของอยุธยาเรื อสาเภาญี่ปุ่นที่ จะเดินทางค้าขายจะต้องได้รับใบอนุญาตเรี ยกว่า ใบเบิกร่ อง ต่อมาอยุธยากับญี่ปุ่นไม่มีความสัมพันธ์ทางการทูตต่อกันเพราะ ญี่ปุ่นประกาศปิ ดประเทศ ห้ามคนญี่ปุ่นออกนอกประเทศ อนุญาตให้ เฉพาะฮอลันดาและจีนเท่านั้น แต่การค้าระหว่างอยุธยากับญี่ปุ่นยังคง ดาเนินต่อไป
  • 42. ั ความสัมพันธ์กบประเทศในเอเชีย ตะวันตก พ่อค้าที่มีอิทธิ พลและบทบาท ทางการค้าสู งมาก คือ พวกมัวร์ ซ่ ึ งเป็ น ชื่อเรี ยกชาวอินเดียมุสลิม ชาวเปอร์ เชีย หรื ออิหร่ าน ชาวตุรกี และชาวอาหรับที่ นับถือศาสนาอิสลาม ชาวมัวร์ ต้ งถิ่นฐาน ั เป็ นชุมชมใหญ่ที่กรุ งศรี อยุธยาทาให้มี การผสมผสานทางเชื้อชาติและ ั วัฒนธรรมระหว่างชาวมัวร์ กบคนอยุธยา ขบวนแห่ พระราชสาส์ นของสมเด็จพระนารายณ์ มหาราช ไปถวายพระเจ้ าหลุยส์ ท14แห่ งฝรั่งเศส ี่
  • 44. โปรตุเกส โปรตุเกสเป็ นชาวยุโรปชาติแรกที่เข้ามาติดต่อกับอยุธยา โดย จุดมุ่งหมายสาคัญ คือ ต้องการผลประโยชน์ทางการค้าและเผยแผ่ ศาสนา โปรตุเกสขายปื นและอาวุธสงครามให้แก่อยุธยาเป็ นการ แลกเปลี่ยนกับสิ ทธิในการค้า ฮอลันดา ฮอลันดาเข้ามาติดต่อกับกรุ งศรี อยุธยาจุดมุ่งหมายสาคัญของฮอลันดา คือ ความต้องการซื้อสิ นค้าจากจีนและหาช่องทางเข้าไปค้าขายในจีนโดยอาศัย เรื อสาเภาของไทย แต่ไทยยินดีตอนรับเฉพาะเรื่ องที่ชาวฮอลันดาเข้ามาค้าขาย ้ เท่านั้น ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 23 การค้าของฮอลันดาที่กรุ งศรี อยุธยาค่อยๆลด ความสาคัญลงเพราะมีอุปสรรคนานาประการ เช่น การเปลี่ยนแปลงนโยบาย การค้า ความผันผวนทางการเมือง
  • 45. อยุธยา & อังกฤษ , ฝรั่งเศส
  • 46. อังกฤษ ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับอังกฤษซบเซา และ หยุดชะงักลงเนื่องจากอังกฤษพยายามจะยึดเมืองมะริ ดแต่ถูกขับไล่ ออกไป จึงทาให้อยุธยากับอังกฤษประกาศสงครามต่อกัน แม้ ็ สงครามจะไม่เกิดแต่กทาให้เหิ นห่างกันไปและยุติลงอย่างเด็ดขาด ฝรั่งเศส ความสัมพันธ์กบฝรั่งเศสเป็ นระยะเวลาค่อนข้างสั้น จุดมุ่งหมาย ั ่ หลักของฝรั่งเศสอยูที่การติดต่อการค้ากับไทยและพยายามโน้มน้าวคน ไทยให้นบถือศาสนาคริ สต์นิกายโรมันคาทอลิก แต่ฝ่ายไทยให้ความสนใจ ั ในเรื่ องการค้าและความสัมพันธ์ทางการทูตมากกว่า
  • 47. สมัยธนบุรี ้ หลังจากได้กอบกูกรุ งศรี อยุธยากลับคืนจากพม่าได้แล้ว พระเจ้าตากสิ นทรงเห็นว่ากรุ งศรี อยุธยาถูกพม่าเผาผลาญเสี ยหายมาก ่ ยากที่จะฟื้ นฟูให้เหมือนเดิม พระองค์จึงย้ายเมืองหลวง มาอยูที่กรุ ง ธนบุรี แล้วปราบดาภิเษกขึ้นเป็ นกษัตริ ยทรงพระนามว่า ์ “ พระบรมราชาธิราชที่ 4 " (แต่ประชาชนนิยมเรี ยกว่าสมเด็จ พระเจ้าตากสิ นมหาราชหรื อสมเด็จพระเจ้ากรุ งธนบุรี) ครองกรุ งธนบุรี อยู่ 15 ปี นับว่าเป็ นพระมหากษัตริ ยพระองค์เดียวที่ปกครองกรุ งธนบุรี ์
  • 49. พม่ า ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับพม่าในสมัยกรุ งธนบุรี จะปรากฎใน รู ปของความขัดแย้ง การทาสงคราม โดยไทยเป็ นฝ่ ายตั้งรับการรุ กราน ของพม่า หลังจากได้รักเอกราช ต้องทาสงครามกับพม่าถึง 9 ครั้ง ส่ วน ใหญ่พม่าเป็ นฝ่ ายปราชัย ่ ครั้งสาคัญที่สุด คือ ศึกอะแซหวุนกี้ตีเมืองเหนือ พ.ศ.2318 ครั้งนั้น เจ้าพระยาจักรี (รัชกาลที่ 1) และเจ้าพระยาสุ รสี ห์ สองพี่นองได้ร่วมกัน ้ ป้ องกันเมืองพิษณุโลกอย่างสุ ดความสามารถ แต่พม่ามีกาลังไพร่ พล เหนือกว่าจึงตีหกเอาเมืองได้ ั
  • 51. กัมพูชา ไทยทาสงครามกับกัมพูชาถึง 3 ครั้ง ครั้งที่ 2 ไทยก็ได้ กัมพูชาเป็ นเมืองขึ้นและได้เกิดการจลาจลขึ้นในหมู่เจ้านายเขมร ใน พ.ศ.2322 พระราชวงศ์เขมรแย่งชิงอานาจกันเอง สมเด็จพระเจ้าตาก สิ นโปรดให้สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริ ยศึก (รัชกาลที่ 1) ยกทัพไป ์ ุ่ ควบคุมสถานการณ์ แต่เกิดเหตุวนวายในกรุ งธนบุรี พระยาสรรค์ ก่อกบฎ สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริ ยศึกจึงต้องรี บยกทัพกลับ ์
  • 53. ลาว ไทยทาสงครามขยายอาณาเขตไปถึงลาว 2 ครั้ง คือ ตีเมือง จาปาศักดิ์ และตีเมืองเวียงจันทร์ครั้งหลัง ไทยได้อญเชิญพระแก้ว ั มรกตและพระบางมายังไทย โดยสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริ ยศึก ์
  • 55. จีน ส่ วนใหญ่เป็ นเรื่ องการค้าขายกับจีน ในสมัยกรุ งธนบุรี ปรากฏว่ามีสาเภาของพ่อค้าจีน เข้ามาติดต่อค้าขายตลอดรัชกาลและ ทางไทยก็ได้เอาใจใส่ในการทะนุบารุ งการค้าขายทางเรื อนี้อย่างมาก สมเด็จพระเจ้าตากสิ นทรงส่ งสาเภาหลวงออกไปทาการติดต่อค้าขายกับ เมืองจีนอยูเ่ สมอ จึงนับว่าจีนเป็ นชาติที่สาคัญที่สุดที่เราติดต่อทางการค้า ด้วย ในสมัยกรุ งธนบุรี
  • 56. ในปี พ.ศ. 2324 สมเด็จพระเจ้าตากสิ นก็ได้ทรงส่ งคณะทูตชุด ั หนึ่ง ออกไปเจริ ญทางพระราชไมตรี กบพระเจ้ากรุ งจีน ในแผ่นดินพระ เจ้าเกาจงสุ นฮ่องเต้ ( พระเจ้ากรุ งต้าฉิ่ ง ) ณ กรุ งปักกิ่ง เพื่อขอให้ทางจีน อานวยความสะดวก ให้แก่ไทยในการจัดแต่งสาเภาหลวง บรรทุก สิ นค้าออกไปค้าขายที่เมืองจีนต่อไป โดยขอให้ยกเว้นค่าจังกอบและขอซื้อสิ่ งของบางอย่าง เช่น อิฐ เพื่อนามาใช้ในการสร้างพระนคร กับขอให้ทางจีนช่วยหาต้นหนสาเภา สาหรับจะแต่งเรื อออกไปซื้อทองแดงที่ประเทศญี่ปุ่นเข้ามาใช้สร้างพระ นครเช่นเดียวกัน
  • 58. โปรตุเกส พ.ศ. 2322 มีเรื อแขกมัวร์จากเมืองสุ รัต ซึ่งขณะนั้นเป็ น เมืองขึ้นของโปรตุเกส เข้ามาค้าขาย ณ กรุ งธนบุรีดวยและว่า ที่ภูเก็ต ้ เวลานั้นมีพวกโปรตุเกสอยู่ 2-3 คน อยูในความปกครองของ ่ บาทหลวงฟรังซิสแกงของโปรตุเกส จึงแสดงว่า ในสมัยกรุ งธนบุรีน้ น ั เราได้มีการติดต่อค้าขายสมาคมกับชาวโปรตุเกสอยูบาง ่ ้ และไทยเราได้ส่งสาเภาหลวงออกไปค้าขายยังประเทศอินเดีย จนถึงเขตเมืองกัว เมืองสุ รัต อันเป็ นอาณานิคมของโปรตุเกสอยูในครั้ง่ นั้นด้วยเหมือนกัน แต่ทว่าในตอนนั้นยังมิได้ถึงกับมีการส่ งทูตเข้ามาหรื อออกไป เจริ ญทางพระราชไมตรี อย่างเป็ นทางการแต่อย่างใด
  • 60. อังกฤษ ในตอนปลายสมัยกรุ งธนบุรี มีการแย่งชิงอานาจกันทางการค้า เป็ นอันมาก ด้วยเหตุน้ ี อังกฤษจึงมีความประสงค์ที่จะได้สถานที่ต้ ง ั สาหรับทาการค้าขาย แข่งกับพวกฮอลันดา ทางด้านแหลมมลายูสกแห่ง ั หนึ่ง อังกฤษเห็นว่าเกาะหมาก (ปี นัง) มีความเหมาะสม จึงได้พยายาม เจรจาเกลี้ยกล่อมกับพระยาไทรบุรี ผูมีอานาจปกครองเกาะนี้อยูเ่ พื่อจะ ้ ขอเช่า ในปี พ.ศ. 2319 กะปิ ตันเหล็ก (ฟรานซิสไลท์) เจ้าเมืองเกาะหมาก ได้ ส่ งปื นนกสับเข้ามาถวายสมเด็จพระเจ้าตากสิ น จานวน 1,400 กระบอก พร้อมด้วยสิ่ งของเครื่ องราชบรรณาการต่าง ๆ
  • 61. บรรณานุกรม สมัยสุโขทัย เอกสารออนไลน์ (เข้ าถึงได้ จาก) http://www.maceducation.com/e-knowledge/2507005100/05.htm สมัยอยุธยา เอกสารออนไลน์ (เข้ าถึงได้ จาก) http://culture4queen.exteen.com/20080203/entry-1 สมัยอยุธยา เอกสารออนไลน์ (เข้ าถึงได้ จาก) http://www.sainampeung.ac.th/chalengsak/units/unit4/chapter4/ chaptor4_0/Thonburi_History7.htm