SlideShare a Scribd company logo
1 of 39
Download to read offline
พัฒนาการทางสังคม ศิลปวัฒนธรรม
  ในสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
                   จัดทาโดย
     นายชัญภัสท์    บุญเจือจันทร์   เลขที่ 1
     นายวิชา        อุ่ยอุทัย       เลขที่ 6
     นางสาวพัฒนพร อินต๊ะเสน         เลขที่ 11
     นางสาววลัยพรรณ มณีดุลย์        เลขที่ 12
     นางสาวนภาพรรณ ใจดี             เลขที่ 18

                 ครูผู้สอน
          คุณครู สายพิณ วงษารัตน์
สมัยสุโขทัย
สมัยอยุธยา
สมัยธนบุรี
สมัยสุโขทัย
สภาพทางสังคม
การจัดระเบียบสังคมไทยในสมัยสุโขทัย แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่
คือ
1. ชนชั้นผู้ปกครอง ได้แก่ พระมหากษัตริย์ พระบรมศานุวงศ์
และขุนนางข้าราชการ
2. ราษฎร ได้แก่ ไพร่หรือไพร่ฟ้า และทาส ส่วนชาวต่างชาติสมัยนี้
ก็มิได้รังเกียจที่จะเข้ามาตั้งถิ่นฐานอยู่นอกจากนั้นพระสงฆ์ยังได้รับ
การยกย่องให้สูงกว่าคนธรรมดาด้วย
ลักษณะทางสังคม
     สังคมสุโขทัยประกอบด้วยชนชั้นต่างๆ ดังนี้
1) พระมหากษัตริย์
     พระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุขของอาณาจักร เป็นผู้พิพากษาสูงสุด
ในการวินิจฉัยข้อพิพาทต่างๆ มีหน้าที่บาบัดทุกข์บารุงสุขของราษฎร ดูแล
ช่วยเหลือการประกอบอาชีพ ทรงปกครองบ้านเมืองโดยยึดมั่นใน
หลักธรรม ทรงส่งเสริมทานุบารุงพระพุทธศาสนา และทรงเป็นผู้นา
กองทัพบังคับบัญชาไพร่พล ปกป้องประเทศเมื่อเกิดศึกสงคราม
2) เจ้านายและขุนนาง
      ศิลาจารึกหลักที่ 1 เรียกว่า "ลูกเจ้าลูกขุน" หมายความรวมถึงกลุ่ม
พระราชวงศ์และขุนนาง ซึ่งมีส่วนช่วยเหลือพระมหากษัตริย์ในการ
ปกครองเมืองต่างๆ ช่วยรับผิดชอบการควบคุมกาลังคน สามารถนาไพร่
พลมาทางานให้แก่รัฐทั้งในยามปกติและในยามสงคราม
3) พระสงฆ์
      พระสงฆ์เป็นผู้สืบทอดเผยแผ่พระพุทธศาสนา ทาหน้าที่สั่งสอนอบรมให้
ประชาชนอยู่ในศีลธรรม มีเมตตากรุณา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ช่วยเหลือกันและกัน
ประชาชนนิยมส่งบุตรหลานไปฝากไว้กับพระสงฆ์ เพื่อเล่าเรียนหนังสือและ
หลักธรรมพระพุทธศาสนา วัดจึงเป็นสถานที่ให้การศึกษาแก่เด็กชาย โดยมี
พระสงฆ์เป็นครูอบรมสั่งสอนไปในตัว พระสงฆ์ได้รับความเคารพศรัทธาจาก
ประชาชนทุกชนชั้น เป็นผู้ประกอบพิธีกรรมต่างๆ ทางศาสนา ที่สาคัญคือการ
บวช เป็นที่ปรึกษาเมื่อผู้ใดมีเรื่องคับข้องใจ ช่วยหาทางไกล่เกลี่ยให้คนอยู่
ร่วมกันอย่างสงบสุขตามหลักธรรม และเป็นผู้นาชักจูงให้ร่วมมือทากิจกรรมเพื่อ
สาธารณประโยชน์ พระสงฆ์จึงเป็นที่พึ่งของสังคมทั้งทางโลกและทางธรรม
4) ประชาชน
       ประชาชนคือกลุ่มชนส่วนใหญ่
ซึ่งเป็นชนชั้นที่อยู่ใต้การปกครอง
ศิลาจารึกหลักที่1 ใช้คาว่า "ลูกบ้าน
ลูกเมือง" หรือ "ไพร่" เป็นแรงงาน
ด้านเกษตรกรรม สร้างเขื่อนกักเก็บ
น้าเพื่อการชลประทาน ก่อสร้าง
ถาวรวัตถุต่างๆ และทาหน้าที่เป็น
ทหารป้องกันประเทศในยาม
สงครามด้วย
การปกครองแบบพ่อกับลูกและแบบธรรมราชา ซึ่งเป็นลักษณะเด่นของ
  การปกครองสมัยสุโขทัย ยังผลให้ความสัมพันธ์ระหว่างชนชั้นต่างๆ เป็นไป
  อย่างใกล้ชิด พระสงฆ์มีบทบาทสาคัญเชื่อมโยงชนชั้นผู้ปกครอง คือ
  พระมหากษัตริย์ เจ้านายและขุนนาง กับประชาชนซึ่งเป็นผู้อยู่ใต้การปกครอง
  ให้อยูร่วมกันอย่างสันติ โดยการอบรมสั่งสอนให้ชนทุกชั้นยึดมั่น ประพฤติ
        ่
  ปฏิบัติตามหลักธรรมพระพุทธศาสนาในแนวทางเดียวกัน

        การดาเนินชีวิตของประชาชนส่วนใหญ่เป็นไปอย่างสงบสุข
พระมหากษัตริย์ทรงให้ความยุติธรรมอย่างเสมอหน้าแก่ประชาชน ให้เสรีภาพ
ในการยื่นเรื่องราวร้องทุกข์ ประชาชนมีเสรีภาพในการประกอบอาชีพ มีสิทธิ
ในทรัพย์สินทีตนหามา และมีสิทธิที่จะยกทรัพย์สินนั้นๆ ให้เป็นมรดกแก่บุตร
              ่
ของตนได้
ในศิลาจารึกหลักที่ 1 มีข้อความที่สะท้อนให้เห็นว่า วัดเป็นศูนย์รวม
กิจกรรมทางศาสนาและเป็นศูนย์กลางของสังคม เป็นสถานศึกษาสาหรับ
เด็กชาย เป็นแหล่งรวมศิลปวิทยาการแขนง วัดเป็นที่ชุมนุมพบปะสังสรรค์
ของประชาชนทุกชนชั้นในวันสาคัญทางศาสนา และในเทศกาลวันนักขัต
ฤกษ์ต่างๆ วัดกับชาวบ้านมีความผูกพันกันอย่างใกล้ชิด การสร้างวัดถือ
กันว่าเป็นกุศลได้บุญมาก และเป็นเกียรติยศแก่วงศ์ตระกูลด้วย คนสุโขทัย
จึงมุ่งทาบุญด้วยการร่วมมือร่วมใจกันสร้างหรือปฏิสังขรณ์วัดวาอาราม
ศิลปกรรม
     สมัยสุโขทัย ศิลปกรรมมีแรงบันดาลใจมาจากพุทธศาสนา ซึ่งใน
ระยะแรกๆก็ได้รับอิทธิพลมาจากขอม แต่ตอมาก็ดัดแปลงเป็นแบบของ
                                     ่
สุโขทัยเอง ที่สาคัญที่สุด คือ

    1.สถาปัตยกรรม ได้แก่ เจดียแบบสุโขทัยแท้ ยอดเป็นทรงพุ่มข้าว
                              ์
บิณฑ์หรือดอกบัวตูม และเจดีย์ทรงกลมแบบลังกา หรือแบบโอคว่า หรือ
ทรงระฆังคว่า
2.ประติมากรรม นิยมหล่อพระพุทธรูปด้วยสาริด (ทองแดงผสมดีบุก)
ซึ่งมีลักษณะอ่อนช้อย งดงามประณีตมาก ที่สาคัญ คือ พระพุทธรูปปาง
ลีลา
       3.จิตรกรรม เป็นภาพลายศิลปกรรมมีแรงบันดาลใจมาจากพุทธ
ศาสนา ซึ่งในระยะแรก ๆ ก็ได้รับอิทธิพลมาจากขอม แต่ตอมาก็ดัดแปลง
                                                        ่
เป็นแบบของสุโขทัยเองส้นและภาพสีฝุ่น เป็นเรื่องเกี่ยวกับชาดก ตามฝา
ผนังตามวัดต่าง ๆ ใช้สีกลุ่มดาแดงเรียกว่า สีเอกรงค์ เช่น ที่วัดเจดีย์เจ็ด
แถว เมืองศรีสัชนาลัย
ไตรภูมิพระร่วง ภาพลาย
ศิลปกรรมที่มาจากอิทธิพล
ของพระพุทธศาสนา
สมัยสุโขทัย
สมัยอยุธยา
สมัยธนบุรี
สมัยอยุธยา

      สังคมไทยสมัยกรุงศรีอยุธยา แม้ว่าจะต่อเนื่องมาจากสังคมสมัย
สุโขทัย แต่ก็ได้มีความเปลี่ยนแปลงแตกต่างไปจากสังคมสมัยสุโขทัยหลาย
ด้าน ทั้งนี้ก็เพราะว่าสถาบันสูงสุดของการปกครองได้เปลี่ยนฐานะไป นั่น
คือ พระมหากษัตริย์ได้เปลี่ยนฐานะจากมนุษยราชในสมัยสุโขทัยเป็น
เทวราชขึ้นในสมัยอยุธยา เปลี่ยนจากฐานะความเป็น "พ่อขุน" มาเป็น
"เจ้าชีวิต" ของประชาชนซึ่งเป็นผลให้ระบบและสถาบันทางการปกครอง
ต่างๆ แตกต่างไปจากสังคมไทยสมัยสุโขทัยด้วย
ชนชั้นของสังคมสมัยอยุธยา
          สังคมอยุธยา เป็นสังคมที่เต็มไปด้วยชนชั้น มีการแบ่งแยกชนชั้น
อย่างเด็ดขาด ระหว่างกษัตริย์กับราษฎร ซึงชนชั้นต่างๆ เหล่านี้ จะ
                                         ่
ก่อให้เกิดมีสิทธิในสังคมอยุธยาขึ้นแตกต่างกัน
          ชนชั้นสูงสุดในสมัยอยุธยาคือพระบรมวงศานุวงศ์ ส่วนข้าราชการ
หรือขุนนางนั้น ก็แบ่งเป็นชั้นๆ ลดหลั่นกันไปตามลักษณะหน้าที่และความ
รับผิดชอบ พร้อมกับตาแหน่งหน้าที่แล้ว ราชการสมัยอยุธยายังมีศักดินา
ซึ่งมากน้อยตามตาแหน่งหน้าที่ ระบบศักดินานี้เป็นระบอบของสังคม
อยุธยาโดยแท้ เพราะศักดินานั้น ทุกคนต้องมีตั้งแต่ขุนนางชั้นผู้ใหญ่ พระ
บรมวงศานุวงศ์ลงไปจนถึงข้าราชการชั้นผู้น้อย และประชาชนธรรมดา
จานวนลดหลั่นลงไป
นอกจากจะแบ่งตามหน้าที่ตาแหน่งและความรับผิดชอบแล้ว ชนชั้นใน
สังคมอยุธยา ยังแบ่งออกกว้างๆ เป็นสองชนชั้นอีก คือ ผู้มีศักดินาตั้งแต่ ๔๐๐
ขึ้นไป เรียกว่าชนชั้นผู้ดี ส่วนที่ต่าลงมาเรียกว่า “ไพร่” แต่ไพร่ก็อาจเป็นผู้ดีได้
เมื่อได้ทาความดีความชอบเพิ่มศักดินาของตนขึ้นไปถึง ๔๐๐ แล้ว และผู้ดีก็
อาจตกลงมาเป็นไพร่ได้หากถูกลดศักดินาลงมาจนต่ากว่า ๔๐๐
การเพิ่มการลดศักดินาในสมัยอยุธยาก็อาจทาได้จากทาความดี
ความชอบหรือความผิด การแบ่งคนออกเป็นชนชั้นไพร่ และชนชั้นผู้ดี
เช่นนี้ ทาให้สิทธิของคนในสังคมแต่ละชั้นต่างกัน สิทธิพิเศษต่างๆ ตกไป
เป็นของชนชั้นผู้ดีตามลาดับของความมากน้อยของศักดิเมื่อมีสิทธิก็ต้องมี
หน้าที่ ผู้ดีทมีศักดินาสูงๆ จะต้องคุมคนไว้จานวนหนึ่ง เพื่อรับราชการทัพ
              ี่
ได้ในทันทีเมื่อพระมหากษัตริย์เรียก เช่น ผูมีศักดินา ๑๐,๐๐๐ และมี
                                           ้
หน้าที่บังคับบัญชากรมกอง ซึ่งมีไพร่หลวงสังกัดอยู่ ก็ต้องรับผิดชอบกะ
เกณฑ์คนแข็งแรงและมีประสิทธิภาพด้วย
ลักษณะสังคมไทยทีน่าสนใจอยู่อีกประการหนึ่งคือ ระบบราชการ ซึ่งเป็น
                           ่
เครื่องผูกมัดราษฎรให้มีภาระต่อแผ่นดิน ชีวิตคนไทยได้ผูกพันอยู่กับราชการมา
ตั้งแต่สมัยอยุธยาจนถึงปัจจุบัน
           ข้าราชการในสมัยอยุธยา เรียกว่า ขุนนาง มียศหรือบรรดาศักดิ์ชั้น
พระยาหรือออกญาเป็นชั้นสูงสุด และลดลงไปตามลาดับคือ
       เจ้าหมื่น พระ จมื่น หลวง ขุน จ่า หมื่น และพัน ส่วนเจ้าพระยา และ
สมเด็จพระยานั้น เกิดในตอนปลายๆ สมัยอยุธยา และยศ เจ้าหมื่น จมื่น จ่า
นั้น เป็นยศที่ใช้กันอยู่ในกรมหาดเล็กเท่านั้น
       ส่วนตาแหน่งข้าราชการสมัยอยุธยาก็มี อัครมหาเสนาบดี เสนาบดี
จางวาง เจ้ากรม ปลัดกรม และสมุหบัญชี เป็นต้น ตาแหน่งอัครมหาเสนาบดี
และเสนาบดีนั้นในระยะแรกๆ มีบรรดาศักดิ์เป็นพระยา ต่อมาในระยะหลังๆ ก็
เป็นเจ้าพระยาไปหมด ส่วนตาแหน่งอื่นๆ ตั้งแต่ จางวาง เจ้ากรม ปลัดกรมลง
มาจนถึงสมุบัญชีนั้น มีบรรดาศักดิ์เป็นพระยาบ้าง พระบ้าง จนถึงหลวง และ
ขุนตามความสาคัญของตาแหน่งนั้นๆ
ข้าราชการในสมัยอยุธยา ไม่ได้รับค่าตอบแทนเป็นเงินเดือนหรือเงิน
ปี ได้รับพระราชทานเพียงที่อยู่อาศัยและเครื่องอุปโภคบริโภคบางอย่าง
เช่น เงินใช้ใส่พลู ศาสตราวุธ เรือยาว สัตว์ พาหนะ เลกสมกาลังและเลก
ทาสไว้ใช้สอย ที่ดินสาหรับทาสวนทาไร่ แต่เมื่อออกจากราชการแล้วก็ต้อง
คืนเป็นของหลวงหมดสิ้น
ระบบราชการของอยุธยานั้น ได้นาคนลงเป็นไพร่ สังคมอยุธยาจึงมี
ไพร่มีนาย ตามจดหมายเหตุลาลูแบร์กล่าวไว้ว่า "ประชาชนชาวสยาม
รวมกันเป็นกองทหารรักษาดินแดน" ซึ่งทุกคนต้องขึ้นทะเบียนหางว่าวกรม
สุรัสวดีเข้าไว้ทั้งหมด ทุกคนเป็นพลรบต้องเกณฑ์เข้าเดือนรับราชการใน
พระองค์ปีละ ๖ เดือน
      พลเมืองทั้งสิ้นต้องขึ้นทะเบียนเป็นหลักฐานไว้โดยแบ่งออกเป็นฝ่าย
ขวาฝ่ายซ้าย เพื่อทุกคนรู้ว่าตนต้องขึ้นสังกัดหน้าที่ฝ่ายใด นอกจากนั้น ยัง
แบ่งส่วนราชการออกเป็นกรมอีก แต่ละกรมมีหัวหน้าคนหนึ่งเรียกว่า นาย
จนกระทั่งนายนี้เป็นคาแสดงความเคารพยกย่องที่ใช้กันทั่วไป
ในสมัยอยุธยา ไพร่คือ ประชาชนที่สังกัดมูลนายต่างๆ มีหน้าที่และ
ความรับผิดชอบแยกออกได้ดังนี้
      ๑. ไพร่หลวง หมายถึง ไพร่ที่สังกัดวังหลวงหรือพระเจ้าแผ่นดิน ไพร่
หลวงจะต้องถูกเกณฑ์เข้ารับราชการปีละ ๖ เดือนคือเข้าเดือนหนึ่งออก
เดือนหนึ่งสลับกันไป ถ้าไม่อยากถูกเกณฑ์เข้ารับราชการก็จะต้องเสียเงิน
แทน ซึ่งอาจจะเป็นเดือนละ ๔-๖ บาท ไพร่หลวงจะต้องสังกัดอยู่ในกรม
พระสัสดีซ้าย ขวา นอก ใน ไพร่หลวงที่เป็นชายเมื่อเกิดศึกสงครามก็
จะต้องออกรบได้
      ๒. ไพร่สม หมายถึง ไพร่ที่สังกัดบรรดาเจ้านายหรือขุนนางใหญ่น้อย
ทั้งหลายในยามปรกติก็ถูกเกณฑ์ แรงงานหรือรับราชการ ถ้าเกิดศึก
สงครามผู้เป็นชายก็จะต้องออกรบ มีบางครั้งพวกไพร่หลวงหนีไปสมัคร
เป็นไพร่สมอยูกับเจ้านาย กฎหมายอยุธยามีบทลงโทษถึงจาคุกและถูก
              ่
เฆี่ยนถ้าหากจับได้
เป็นที่ยอมรับกันว่า สังคมอยุธยามีทาสไว้ใช้ ทาสเป็นชนชั้นอีกชนชั้นหนึ่ง
ของสังคมสมัยอยุธยาและกฎหมายอยุธยาก็ได้ยอมรับการมีทาส มีบทบัญญัติ
เกี่ยวกับทาสไว้มากมายและได้แบ่งประเภทของทาสไว้ ๗ พวกด้วยกันคือ
           ๑. ทาสสินไถ่
           ๒. ทาสเกิดในเรือนเบี้ย
           ๓. ทาสได้มาแต่บิดามารดา
           ๔. ทาสท่านให้
           ๕. ทาสอันได้ช่วยเหลือในยามโทษทัณฑ์
           ๖. ทาสอันได้เลี้ยงมาเมื่อเกิดทุพภิกขภัย
           ๗. ทาสอันได้ด้วยเชลย
           จะเห็นว่า ทาสในสมัยอยุธยานั้น เป็นทาสที่ถูกกฎหมายคุ้มครอง เป็น
ทาสที่มสภาพเป็นมนุษย์และเป็นพลเมืองของชาติอย่างสมบูรณ์ ฉะนั้นคนไทย
         ี
ในสมัยอยุธยาจึงสมัครใจจะเป็นทาสมากกว่าจะเป็นขอทาน เพราะอย่างน้อยก็
มีข้าวกิน มีที่อยูอาศัยโดยไม่เดือดร้อน
                  ่
ศิลปกรรม
     ชาวกรุงศรีอยุธยานับถือพุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศ์ แต่ได้รับอิทธิพล
ขอม ศาสนาพราหมณ์ ที่แพร่หลาย อยูก่อนหน้าการเข้ามาของ พุทธ
                                  ่
ศาสนาอยู่มาก การผสมผสานกันของพุทธศาสนาและศาสนาพราหมณ์จึง
เป็นลักษณะสาคัญของศาสนาในสมัยกรุงศรีอยุธยา ซึ่งสะท้อนให้เห็นใน
ศิลปกรรมต่างๆ ได้แก่ งานสถาปัตยกรรม ประติมากรรม จิตรกรรม ภาษา
และวรรณคดี และวัฒนธรรมประเพณี
สถาปัตยกรรม
      สถาปัตยกรรมของสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น ได้รับอิทธิพลจากขอม
และสุโขทัย เช่น พระปรางค์วัดพุทไธสวรรค์ วัดราชบูรณะ เป็นต้น ส่วน
สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลายเป็นเจดียแบบเจดียย่อมุมไม้สิบสอง เช่น
                                    ์       ์
เจดีย์วัดภูเขาทอง วัดชุมพลนิกายาราม เป็นต้น
ประติมากรรม
      พระพุทธรูปได้รับอิทธิพลจากศิลปะขอมเรียกว่า พระพุทธรูปสมัยอู่
ทองและตอนปลายสมัย กรุงศรีอยุธยานิยมสร้างพระพุทธรูป แบบ
ทรงเครื่อง อย่างไรก็ตามสมัยกรุงศรีอยุธยาพระพุทธ รูปมีลักษณะน่าเกรง
ขาม และไม่งดงามเท่าสมัยสุโขทัย
จิตรกรรม
      จิตรกรรมสมัยกรุงศรีอยุธยา เป็นภาพพุทธประวัติใช้สี 3 สีในสมัยกรุงศรี
อยุธยาตอนต้น คือ สีดา ขาว และแดง และตอนปลาย เพิ่ม สีเขียว สีฟ้า และสี
ม่วง ภาพที่วาดเป็นภาพธรรมชาติ

ภาษาและวรรณกรรม
      ภาษาได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมขอม เป็นคาราชาศัพท์ วรรณคดีสวน ่
ใหญ่เกี่ยวกับพุทธศาสนาทีสาคัญ เช่นลิลิตโองการแช่งน้า มหาชาติคาหลวง
ลิลิตยวนพ่าย ลิลิตพระลอ และกาพย์เห่เรือ เป็นต้น
สมัยสุโขทัย
สมัยอยุธยา
สมัยธนบุรี
สมัยธนบุรี

สภาพทางสังคม
       โครงสร้างของสังคมไทยสมัยธนบุรี ยังคงมีลักษณะเหมือนกับ
  โครงสร้างทางสังคมสมัยกรุงศรีอยุธยา กล่าวคือ มีองค์ประกอบอยู่ 5
  ประเภท ได้แก่
       1. พระมหากษัตริย์ เป็นผู้มีพระราชอานาจสูงสุดในแผ่นดิน ทรง
  เป็นประมุขของราชอาณาจักร เป็นเจ้าชีวิตต่อของทุกคนและเป็นเจ้าของ
  แผ่นดินตลอดทั้งราชอาณาจักร ซึ่งในสมัยธนบุรีมีพระมหากษัตริย์เพียง
  พระองค์เดียว คือ สมเด็จพระเจ้าตากสิน
2. พระบรมวงศานุวงศ์ ได้แก่ พระราชวงศ์ชั้นผู้ใหญ่ บรรดาพระ
ราชโอรสและพระราชธิดา ส่วนใหญ่แล้วจะอยู่ในพระราชวงศ์เดียวกันกับ
องค์พระมหากษัตริย์ มีสทธิต่างๆ เหนือไพร่ทั้งปวง
                      ิ
     3. ไพร่ ได้แก่ คนธรรมดาสามัญที่เป็นชายฉกรรจ์ ส่วนเด็ก ผู้หญิง
และคนชราอายุเกินกว่า 70 ปี ถือว่าเป็นบริวารของไพร่
ไพร่แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ไพร่หลวง และไพร่สม
      ไพร่หลวง หมายถึง ไพร่ที่พระมหากษัตริยทรงพระราชทานแก่กรม
                                             ์
กองต่างๆ ซึ่งเปรียบเสมือนหน่วยงานบริหารราชอาณาจักร ไพร่หลวงนี้
เป็นไพร่ของพระมหากษัตริยโดยตรง หน้าที่ของไพร่หลวงจึงแตกต่างกัน
                             ์
ไปตามหน้าที่ของกรมกองนั้นๆ ไพร่หลวงมีอยู่ 2 ประเภท คือ ไพร่หลวงที่
ต้องมารับราชการตามที่กาหนดไว้ และ ไพร่หลวงส่วย หมายถึง ไพร่
หลวงที่ต้องอยู่เวรยามรับราชการปีละ 6 เดือน เรียกว่า “เข้าเวร” และอยู่
กับบ้านตามปกติอีกท 6 เดือน (ออกเวร) สลับกันไป หรือที่เรียกว่า “การ
เข้าเดือนออกเดือน”
      ไพร่สม หมายถึง ไพร่ที่พระมหากษัตริยพระราชทานให้แก่เจ้านาย
                                           ์
และขุนนางที่มีตาแหน่งทาราชการ เพื่อเป็นประโยชน์ตอบแทน เนื่องจาก
ในสมัยนั้นยังไม่มีเงินเดือนสาหรับข้าราชการ
4. ทาส หมายถึง บุคคลที่มิได้เป็นไทแก่ตนเองโดยสิ้นเชิง กรรมสิทธิ์
เหนือชีวิตของบุคคลดังกล่าวนี้ ตกเป็นของนายทั้งหมด ทาสเป็นบุคคลที่ต้อง
ทางานให้กับนายผู้เป็นเจ้าของทุกอย่างตามที่นายจะสั่ง และถูกซื้อขายเหมือน
สินค้าได้ตามความพอใจของเจ้าของ ทาสในสมัยธนบุรีมีอยู่ 7 ชนิด
เช่นเดียวกับสมัยกรุงศรีอยุธยา
  4.1 ทาสสินไถ่ คือ ทาสที่ไถ่มาด้วยทรัพย์
  4.2 ลูกทาส หรือ ทาสในเรือนเบี้ย เป็นลูกทาสที่เกิดจากพ่อหรือแม่เป็นทาส
  4.3 ทาสที่ได้มากจากบิดามารดาซึ่งเป็นผู้ยกให้เป็นมรดก
  4.4 ทาสที่มีผให้ดวยความเสน่หา
               ู้ ้
  4.5 ทาสที่ได้จากการไถ่โทษให้พ้นจากการลงโทษทัณฑ์
  4.6 ทาสที่เกิดจากเวลาข้าวยากหมากแพง
  4.7 ทาสเชลย คือ ทาสที่ได้จากไปรบทัพจับศึก เป็นสมบัติของ
พระมหากษัตริย์
ทาสเหล่านี้เป็นอิสระแก่ตนเองได้ยาก ถ้ามิได้ทาความดีความชอบต่อ
แผ่นดินอย่างเยี่ยมยอดจริงๆ หรือมิได้มีเงินมาไถ่ถอนตนเองแล้วก็อย่าหวัง
ที่จะได้เป็นไทแก่ตนเอง ชีวิตความเป็นอยู่ของคนไทยในสมัยธนบุรีกล่าวได้
ว่า มีการควบคุมกันอย่างเข้มงวด เพราะบ้านเมืองตกอยู่ในภาวะสงคราม
ต้องสู้รบกับพม่าข้าศึกตลอดเวลา การเกณฑ์พลเรือนเข้ารับราชการไพร่
โดยการ “สักเลข” เพื่อเป็นการรวบรวมไพร่ที่กระจัดกระจายกันไป
ภายหลังกรุงศรึอยุธยาแตก ให้เข้ามาอยูรวมกันเป็นหมวดหมู่ และป้องกัน
                                       ่
การหลบหนี
5. พระสงฆ์ ซึ่งส่วนใหญ่มีความเป็นอยู่และฐานะทางสังคม
เหมือนกับสมัยอยุธยาทุกประการ จะต่างกันบ้างก็เป็นผลที่สืบเนื่องจาก
ปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคมของบุคคลทั้ง 4 กลุ่มข้างต้น เป็น
ตัวกระตุ้นเท่านั้น เช่น สภาพความเป็นอยู่และการประพฤติพระธรรมวินัย
ของบรรดาพระสงฆ์หลายกลุ่มในระยะสถาปนากรุงธนบุรีใหม่ๆ ก็
เนื่องจากการปกครองอาณาจักรไทยในช่วงแรกทียังขาดศูนย์กลางการ
ปกครองทีแท้จริง
ตลอดระยะเวลาที่กรุงธนบุรีเป็นราชธานี อาณาจักรไทยต้องตกอยู่
ในสถานะสงครามมาโดยตลอด สมเด็จพระเจ้าตากสินไม่มีเวลาที่จะ
สร้างสรรค์ความเจริญรุ่งเรืองและวัฒนธรรมต่างๆ ให้เป็นแบบอย่าง
โดยเฉพาะ เพราะพระราชกรณียกิจของพระองค์และหน้าที่ความ
รับผิดชอบของข้าราชการเต็มไปด้วยราชการสงคราม ดังนั้น ความ
เจริญรุ่งเรืองและวัฒนธรรมในสมัยกรุงธนบุรีจึงจัดอยู่ในรูปความเจริญและ
วัฒนธรรมที่ตอเนื่องมาจากกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย ซึ่งพอจะประมวลให้
               ่
เห็นได้ ดังนี้
สถาปัตยกรรม สิ่งก่อสร้างที่สาคัญในสมัยนี้ เช่น พระราชวังเดิม
และ ตาหนักเก๋งคู่
    จิตรกรรม ได้แก่ สมุดภาพไตรภูมิ เป็นภาพเขียนที่งดงามและ
ประณีต ปัจจุบันเก็บรักษาไว้ที่หอสมุดแห่งชาติ
ประติมากรรม ที่สาคัญในสมัยนี้คือ พระแท่นบรรทม ของพระเจ้า
ตากสิน ปัจจุบันเก็บรักษาไว้ที่วัดอินทาราม ทาด้วยไม้กระดาน 2 แผ่น
ประกบกัน มีลูกกรงเป็นงา และภายใต้ลูกกรงโดยรอบมีแผ่นงาจาหลัก
เป็นลายดอกพุดตาน พระแท่นเริญวิปัสสนากัมมัฎฐาน เป็นพระแท่น
สาหรับพระเจ้าตากสินทรงประทับเจริญวิปัสสนากัมมัฎฐาน ประดิษฐาน
อยู่ในวิหารเล็กหน้าพระปรางค์วัดอรุณราชวราราม ทาด้วยไม้กระดานแผ่น
เดียว กว้าง 7 ฟุด ยาว 20 ฟุต ตู้ลายรดน้า อยู่ในพิพิธภัณฑ์สถาน
แห่งชาติ ปรากฏว่ามีฝีมือพอใช้ และมีลายใบที่มีฝมือคล้ายกัน
                                              ี
จบการนาเสนอ

More Related Content

What's hot

พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยPadvee Academy
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
งานทัศนศิลป์สมัยรัตนโกสินทร์
งานทัศนศิลป์สมัยรัตนโกสินทร์งานทัศนศิลป์สมัยรัตนโกสินทร์
งานทัศนศิลป์สมัยรัตนโกสินทร์Pornsitaintharak
 
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒Jiraprapa Noinoo
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์thnaporn999
 
พระรัตนตรัย
พระรัตนตรัยพระรัตนตรัย
พระรัตนตรัยThanawut Rattanadon
 
เรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราช
เรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราชเรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราช
เรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราชnumattapon
 
นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง Patzuri Orz
 
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)Kiat Chaloemkiat
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35Milky' __
 
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรีเศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกAnchalee BuddhaBucha
 

What's hot (20)

พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทย
 
ศาสนาซิกส์
ศาสนาซิกส์ศาสนาซิกส์
ศาสนาซิกส์
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
การสถาปนา
การสถาปนาการสถาปนา
การสถาปนา
 
งานทัศนศิลป์สมัยรัตนโกสินทร์
งานทัศนศิลป์สมัยรัตนโกสินทร์งานทัศนศิลป์สมัยรัตนโกสินทร์
งานทัศนศิลป์สมัยรัตนโกสินทร์
 
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
พระรัตนตรัย
พระรัตนตรัยพระรัตนตรัย
พระรัตนตรัย
 
เรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราช
เรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราชเรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราช
เรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราช
 
นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง
 
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
 
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
 
การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์
 
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรีเศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
 

Viewers also liked

ใบความรู้ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ป.3+450+dltvsocp3+54soc p03f 29-1page
ใบความรู้  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ป.3+450+dltvsocp3+54soc p03f 29-1pageใบความรู้  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ป.3+450+dltvsocp3+54soc p03f 29-1page
ใบความรู้ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ป.3+450+dltvsocp3+54soc p03f 29-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f10-1page
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f10-1pageพัฒนาการด้านเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f10-1page
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f10-1pagePrachoom Rangkasikorn
 

Viewers also liked (7)

การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
 
ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทย
ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทยประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทย
ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทย
 
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
 
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจพัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
 
ใบความรู้ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ป.3+450+dltvsocp3+54soc p03f 29-1page
ใบความรู้  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ป.3+450+dltvsocp3+54soc p03f 29-1pageใบความรู้  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ป.3+450+dltvsocp3+54soc p03f 29-1page
ใบความรู้ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ป.3+450+dltvsocp3+54soc p03f 29-1page
 
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f10-1page
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f10-1pageพัฒนาการด้านเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f10-1page
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f10-1page
 
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรีประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
 

Similar to พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601

อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาsangworn
 
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
Unit 1 early thailand from prehistory to sukhothai
Unit 1  early thailand from prehistory to sukhothaiUnit 1  early thailand from prehistory to sukhothai
Unit 1 early thailand from prehistory to sukhothaiThaiway Thanathep
 
พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1wanpenrd
 
พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1wanpenrd
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1Ziro Anu
 
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
อาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยอาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยkrunrita
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Pracha Wongsrida
 

Similar to พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601 (20)

พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
การปกครอง 604
การปกครอง 604การปกครอง 604
การปกครอง 604
 
การเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทยการเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทย
 
การเปลี่ยนแปลงสังคมไทย
การเปลี่ยนแปลงสังคมไทยการเปลี่ยนแปลงสังคมไทย
การเปลี่ยนแปลงสังคมไทย
 
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
อยุธยา
อยุธยาอยุธยา
อยุธยา
 
Unit 1 early thailand from prehistory to sukhothai
Unit 1  early thailand from prehistory to sukhothaiUnit 1  early thailand from prehistory to sukhothai
Unit 1 early thailand from prehistory to sukhothai
 
พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1
 
พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
 
ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
 
งานสังคม...
งานสังคม...งานสังคม...
งานสังคม...
 
อาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยอาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัย
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand

พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand (20)

กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลินกำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลิน
 
รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social mediaรายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
 
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงานแบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
 
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็มผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
 
O net ม.3
O net ม.3O net ม.3
O net ม.3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
1
11
1
 
การแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาคการแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาค
 

พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601

  • 1. พัฒนาการทางสังคม ศิลปวัฒนธรรม ในสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี จัดทาโดย นายชัญภัสท์ บุญเจือจันทร์ เลขที่ 1 นายวิชา อุ่ยอุทัย เลขที่ 6 นางสาวพัฒนพร อินต๊ะเสน เลขที่ 11 นางสาววลัยพรรณ มณีดุลย์ เลขที่ 12 นางสาวนภาพรรณ ใจดี เลขที่ 18 ครูผู้สอน คุณครู สายพิณ วงษารัตน์
  • 3. สมัยสุโขทัย สภาพทางสังคม การจัดระเบียบสังคมไทยในสมัยสุโขทัย แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ 1. ชนชั้นผู้ปกครอง ได้แก่ พระมหากษัตริย์ พระบรมศานุวงศ์ และขุนนางข้าราชการ 2. ราษฎร ได้แก่ ไพร่หรือไพร่ฟ้า และทาส ส่วนชาวต่างชาติสมัยนี้ ก็มิได้รังเกียจที่จะเข้ามาตั้งถิ่นฐานอยู่นอกจากนั้นพระสงฆ์ยังได้รับ การยกย่องให้สูงกว่าคนธรรมดาด้วย
  • 4. ลักษณะทางสังคม สังคมสุโขทัยประกอบด้วยชนชั้นต่างๆ ดังนี้ 1) พระมหากษัตริย์ พระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุขของอาณาจักร เป็นผู้พิพากษาสูงสุด ในการวินิจฉัยข้อพิพาทต่างๆ มีหน้าที่บาบัดทุกข์บารุงสุขของราษฎร ดูแล ช่วยเหลือการประกอบอาชีพ ทรงปกครองบ้านเมืองโดยยึดมั่นใน หลักธรรม ทรงส่งเสริมทานุบารุงพระพุทธศาสนา และทรงเป็นผู้นา กองทัพบังคับบัญชาไพร่พล ปกป้องประเทศเมื่อเกิดศึกสงคราม
  • 5. 2) เจ้านายและขุนนาง ศิลาจารึกหลักที่ 1 เรียกว่า "ลูกเจ้าลูกขุน" หมายความรวมถึงกลุ่ม พระราชวงศ์และขุนนาง ซึ่งมีส่วนช่วยเหลือพระมหากษัตริย์ในการ ปกครองเมืองต่างๆ ช่วยรับผิดชอบการควบคุมกาลังคน สามารถนาไพร่ พลมาทางานให้แก่รัฐทั้งในยามปกติและในยามสงคราม
  • 6. 3) พระสงฆ์ พระสงฆ์เป็นผู้สืบทอดเผยแผ่พระพุทธศาสนา ทาหน้าที่สั่งสอนอบรมให้ ประชาชนอยู่ในศีลธรรม มีเมตตากรุณา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ช่วยเหลือกันและกัน ประชาชนนิยมส่งบุตรหลานไปฝากไว้กับพระสงฆ์ เพื่อเล่าเรียนหนังสือและ หลักธรรมพระพุทธศาสนา วัดจึงเป็นสถานที่ให้การศึกษาแก่เด็กชาย โดยมี พระสงฆ์เป็นครูอบรมสั่งสอนไปในตัว พระสงฆ์ได้รับความเคารพศรัทธาจาก ประชาชนทุกชนชั้น เป็นผู้ประกอบพิธีกรรมต่างๆ ทางศาสนา ที่สาคัญคือการ บวช เป็นที่ปรึกษาเมื่อผู้ใดมีเรื่องคับข้องใจ ช่วยหาทางไกล่เกลี่ยให้คนอยู่ ร่วมกันอย่างสงบสุขตามหลักธรรม และเป็นผู้นาชักจูงให้ร่วมมือทากิจกรรมเพื่อ สาธารณประโยชน์ พระสงฆ์จึงเป็นที่พึ่งของสังคมทั้งทางโลกและทางธรรม
  • 7. 4) ประชาชน ประชาชนคือกลุ่มชนส่วนใหญ่ ซึ่งเป็นชนชั้นที่อยู่ใต้การปกครอง ศิลาจารึกหลักที่1 ใช้คาว่า "ลูกบ้าน ลูกเมือง" หรือ "ไพร่" เป็นแรงงาน ด้านเกษตรกรรม สร้างเขื่อนกักเก็บ น้าเพื่อการชลประทาน ก่อสร้าง ถาวรวัตถุต่างๆ และทาหน้าที่เป็น ทหารป้องกันประเทศในยาม สงครามด้วย
  • 8. การปกครองแบบพ่อกับลูกและแบบธรรมราชา ซึ่งเป็นลักษณะเด่นของ การปกครองสมัยสุโขทัย ยังผลให้ความสัมพันธ์ระหว่างชนชั้นต่างๆ เป็นไป อย่างใกล้ชิด พระสงฆ์มีบทบาทสาคัญเชื่อมโยงชนชั้นผู้ปกครอง คือ พระมหากษัตริย์ เจ้านายและขุนนาง กับประชาชนซึ่งเป็นผู้อยู่ใต้การปกครอง ให้อยูร่วมกันอย่างสันติ โดยการอบรมสั่งสอนให้ชนทุกชั้นยึดมั่น ประพฤติ ่ ปฏิบัติตามหลักธรรมพระพุทธศาสนาในแนวทางเดียวกัน การดาเนินชีวิตของประชาชนส่วนใหญ่เป็นไปอย่างสงบสุข พระมหากษัตริย์ทรงให้ความยุติธรรมอย่างเสมอหน้าแก่ประชาชน ให้เสรีภาพ ในการยื่นเรื่องราวร้องทุกข์ ประชาชนมีเสรีภาพในการประกอบอาชีพ มีสิทธิ ในทรัพย์สินทีตนหามา และมีสิทธิที่จะยกทรัพย์สินนั้นๆ ให้เป็นมรดกแก่บุตร ่ ของตนได้
  • 9. ในศิลาจารึกหลักที่ 1 มีข้อความที่สะท้อนให้เห็นว่า วัดเป็นศูนย์รวม กิจกรรมทางศาสนาและเป็นศูนย์กลางของสังคม เป็นสถานศึกษาสาหรับ เด็กชาย เป็นแหล่งรวมศิลปวิทยาการแขนง วัดเป็นที่ชุมนุมพบปะสังสรรค์ ของประชาชนทุกชนชั้นในวันสาคัญทางศาสนา และในเทศกาลวันนักขัต ฤกษ์ต่างๆ วัดกับชาวบ้านมีความผูกพันกันอย่างใกล้ชิด การสร้างวัดถือ กันว่าเป็นกุศลได้บุญมาก และเป็นเกียรติยศแก่วงศ์ตระกูลด้วย คนสุโขทัย จึงมุ่งทาบุญด้วยการร่วมมือร่วมใจกันสร้างหรือปฏิสังขรณ์วัดวาอาราม
  • 10. ศิลปกรรม สมัยสุโขทัย ศิลปกรรมมีแรงบันดาลใจมาจากพุทธศาสนา ซึ่งใน ระยะแรกๆก็ได้รับอิทธิพลมาจากขอม แต่ตอมาก็ดัดแปลงเป็นแบบของ ่ สุโขทัยเอง ที่สาคัญที่สุด คือ 1.สถาปัตยกรรม ได้แก่ เจดียแบบสุโขทัยแท้ ยอดเป็นทรงพุ่มข้าว ์ บิณฑ์หรือดอกบัวตูม และเจดีย์ทรงกลมแบบลังกา หรือแบบโอคว่า หรือ ทรงระฆังคว่า
  • 11. 2.ประติมากรรม นิยมหล่อพระพุทธรูปด้วยสาริด (ทองแดงผสมดีบุก) ซึ่งมีลักษณะอ่อนช้อย งดงามประณีตมาก ที่สาคัญ คือ พระพุทธรูปปาง ลีลา 3.จิตรกรรม เป็นภาพลายศิลปกรรมมีแรงบันดาลใจมาจากพุทธ ศาสนา ซึ่งในระยะแรก ๆ ก็ได้รับอิทธิพลมาจากขอม แต่ตอมาก็ดัดแปลง ่ เป็นแบบของสุโขทัยเองส้นและภาพสีฝุ่น เป็นเรื่องเกี่ยวกับชาดก ตามฝา ผนังตามวัดต่าง ๆ ใช้สีกลุ่มดาแดงเรียกว่า สีเอกรงค์ เช่น ที่วัดเจดีย์เจ็ด แถว เมืองศรีสัชนาลัย
  • 14. สมัยอยุธยา สังคมไทยสมัยกรุงศรีอยุธยา แม้ว่าจะต่อเนื่องมาจากสังคมสมัย สุโขทัย แต่ก็ได้มีความเปลี่ยนแปลงแตกต่างไปจากสังคมสมัยสุโขทัยหลาย ด้าน ทั้งนี้ก็เพราะว่าสถาบันสูงสุดของการปกครองได้เปลี่ยนฐานะไป นั่น คือ พระมหากษัตริย์ได้เปลี่ยนฐานะจากมนุษยราชในสมัยสุโขทัยเป็น เทวราชขึ้นในสมัยอยุธยา เปลี่ยนจากฐานะความเป็น "พ่อขุน" มาเป็น "เจ้าชีวิต" ของประชาชนซึ่งเป็นผลให้ระบบและสถาบันทางการปกครอง ต่างๆ แตกต่างไปจากสังคมไทยสมัยสุโขทัยด้วย
  • 15. ชนชั้นของสังคมสมัยอยุธยา สังคมอยุธยา เป็นสังคมที่เต็มไปด้วยชนชั้น มีการแบ่งแยกชนชั้น อย่างเด็ดขาด ระหว่างกษัตริย์กับราษฎร ซึงชนชั้นต่างๆ เหล่านี้ จะ ่ ก่อให้เกิดมีสิทธิในสังคมอยุธยาขึ้นแตกต่างกัน ชนชั้นสูงสุดในสมัยอยุธยาคือพระบรมวงศานุวงศ์ ส่วนข้าราชการ หรือขุนนางนั้น ก็แบ่งเป็นชั้นๆ ลดหลั่นกันไปตามลักษณะหน้าที่และความ รับผิดชอบ พร้อมกับตาแหน่งหน้าที่แล้ว ราชการสมัยอยุธยายังมีศักดินา ซึ่งมากน้อยตามตาแหน่งหน้าที่ ระบบศักดินานี้เป็นระบอบของสังคม อยุธยาโดยแท้ เพราะศักดินานั้น ทุกคนต้องมีตั้งแต่ขุนนางชั้นผู้ใหญ่ พระ บรมวงศานุวงศ์ลงไปจนถึงข้าราชการชั้นผู้น้อย และประชาชนธรรมดา จานวนลดหลั่นลงไป
  • 16. นอกจากจะแบ่งตามหน้าที่ตาแหน่งและความรับผิดชอบแล้ว ชนชั้นใน สังคมอยุธยา ยังแบ่งออกกว้างๆ เป็นสองชนชั้นอีก คือ ผู้มีศักดินาตั้งแต่ ๔๐๐ ขึ้นไป เรียกว่าชนชั้นผู้ดี ส่วนที่ต่าลงมาเรียกว่า “ไพร่” แต่ไพร่ก็อาจเป็นผู้ดีได้ เมื่อได้ทาความดีความชอบเพิ่มศักดินาของตนขึ้นไปถึง ๔๐๐ แล้ว และผู้ดีก็ อาจตกลงมาเป็นไพร่ได้หากถูกลดศักดินาลงมาจนต่ากว่า ๔๐๐
  • 17. การเพิ่มการลดศักดินาในสมัยอยุธยาก็อาจทาได้จากทาความดี ความชอบหรือความผิด การแบ่งคนออกเป็นชนชั้นไพร่ และชนชั้นผู้ดี เช่นนี้ ทาให้สิทธิของคนในสังคมแต่ละชั้นต่างกัน สิทธิพิเศษต่างๆ ตกไป เป็นของชนชั้นผู้ดีตามลาดับของความมากน้อยของศักดิเมื่อมีสิทธิก็ต้องมี หน้าที่ ผู้ดีทมีศักดินาสูงๆ จะต้องคุมคนไว้จานวนหนึ่ง เพื่อรับราชการทัพ ี่ ได้ในทันทีเมื่อพระมหากษัตริย์เรียก เช่น ผูมีศักดินา ๑๐,๐๐๐ และมี ้ หน้าที่บังคับบัญชากรมกอง ซึ่งมีไพร่หลวงสังกัดอยู่ ก็ต้องรับผิดชอบกะ เกณฑ์คนแข็งแรงและมีประสิทธิภาพด้วย
  • 18. ลักษณะสังคมไทยทีน่าสนใจอยู่อีกประการหนึ่งคือ ระบบราชการ ซึ่งเป็น ่ เครื่องผูกมัดราษฎรให้มีภาระต่อแผ่นดิน ชีวิตคนไทยได้ผูกพันอยู่กับราชการมา ตั้งแต่สมัยอยุธยาจนถึงปัจจุบัน ข้าราชการในสมัยอยุธยา เรียกว่า ขุนนาง มียศหรือบรรดาศักดิ์ชั้น พระยาหรือออกญาเป็นชั้นสูงสุด และลดลงไปตามลาดับคือ เจ้าหมื่น พระ จมื่น หลวง ขุน จ่า หมื่น และพัน ส่วนเจ้าพระยา และ สมเด็จพระยานั้น เกิดในตอนปลายๆ สมัยอยุธยา และยศ เจ้าหมื่น จมื่น จ่า นั้น เป็นยศที่ใช้กันอยู่ในกรมหาดเล็กเท่านั้น ส่วนตาแหน่งข้าราชการสมัยอยุธยาก็มี อัครมหาเสนาบดี เสนาบดี จางวาง เจ้ากรม ปลัดกรม และสมุหบัญชี เป็นต้น ตาแหน่งอัครมหาเสนาบดี และเสนาบดีนั้นในระยะแรกๆ มีบรรดาศักดิ์เป็นพระยา ต่อมาในระยะหลังๆ ก็ เป็นเจ้าพระยาไปหมด ส่วนตาแหน่งอื่นๆ ตั้งแต่ จางวาง เจ้ากรม ปลัดกรมลง มาจนถึงสมุบัญชีนั้น มีบรรดาศักดิ์เป็นพระยาบ้าง พระบ้าง จนถึงหลวง และ ขุนตามความสาคัญของตาแหน่งนั้นๆ
  • 19. ข้าราชการในสมัยอยุธยา ไม่ได้รับค่าตอบแทนเป็นเงินเดือนหรือเงิน ปี ได้รับพระราชทานเพียงที่อยู่อาศัยและเครื่องอุปโภคบริโภคบางอย่าง เช่น เงินใช้ใส่พลู ศาสตราวุธ เรือยาว สัตว์ พาหนะ เลกสมกาลังและเลก ทาสไว้ใช้สอย ที่ดินสาหรับทาสวนทาไร่ แต่เมื่อออกจากราชการแล้วก็ต้อง คืนเป็นของหลวงหมดสิ้น
  • 20. ระบบราชการของอยุธยานั้น ได้นาคนลงเป็นไพร่ สังคมอยุธยาจึงมี ไพร่มีนาย ตามจดหมายเหตุลาลูแบร์กล่าวไว้ว่า "ประชาชนชาวสยาม รวมกันเป็นกองทหารรักษาดินแดน" ซึ่งทุกคนต้องขึ้นทะเบียนหางว่าวกรม สุรัสวดีเข้าไว้ทั้งหมด ทุกคนเป็นพลรบต้องเกณฑ์เข้าเดือนรับราชการใน พระองค์ปีละ ๖ เดือน พลเมืองทั้งสิ้นต้องขึ้นทะเบียนเป็นหลักฐานไว้โดยแบ่งออกเป็นฝ่าย ขวาฝ่ายซ้าย เพื่อทุกคนรู้ว่าตนต้องขึ้นสังกัดหน้าที่ฝ่ายใด นอกจากนั้น ยัง แบ่งส่วนราชการออกเป็นกรมอีก แต่ละกรมมีหัวหน้าคนหนึ่งเรียกว่า นาย จนกระทั่งนายนี้เป็นคาแสดงความเคารพยกย่องที่ใช้กันทั่วไป
  • 21. ในสมัยอยุธยา ไพร่คือ ประชาชนที่สังกัดมูลนายต่างๆ มีหน้าที่และ ความรับผิดชอบแยกออกได้ดังนี้ ๑. ไพร่หลวง หมายถึง ไพร่ที่สังกัดวังหลวงหรือพระเจ้าแผ่นดิน ไพร่ หลวงจะต้องถูกเกณฑ์เข้ารับราชการปีละ ๖ เดือนคือเข้าเดือนหนึ่งออก เดือนหนึ่งสลับกันไป ถ้าไม่อยากถูกเกณฑ์เข้ารับราชการก็จะต้องเสียเงิน แทน ซึ่งอาจจะเป็นเดือนละ ๔-๖ บาท ไพร่หลวงจะต้องสังกัดอยู่ในกรม พระสัสดีซ้าย ขวา นอก ใน ไพร่หลวงที่เป็นชายเมื่อเกิดศึกสงครามก็ จะต้องออกรบได้ ๒. ไพร่สม หมายถึง ไพร่ที่สังกัดบรรดาเจ้านายหรือขุนนางใหญ่น้อย ทั้งหลายในยามปรกติก็ถูกเกณฑ์ แรงงานหรือรับราชการ ถ้าเกิดศึก สงครามผู้เป็นชายก็จะต้องออกรบ มีบางครั้งพวกไพร่หลวงหนีไปสมัคร เป็นไพร่สมอยูกับเจ้านาย กฎหมายอยุธยามีบทลงโทษถึงจาคุกและถูก ่ เฆี่ยนถ้าหากจับได้
  • 22. เป็นที่ยอมรับกันว่า สังคมอยุธยามีทาสไว้ใช้ ทาสเป็นชนชั้นอีกชนชั้นหนึ่ง ของสังคมสมัยอยุธยาและกฎหมายอยุธยาก็ได้ยอมรับการมีทาส มีบทบัญญัติ เกี่ยวกับทาสไว้มากมายและได้แบ่งประเภทของทาสไว้ ๗ พวกด้วยกันคือ ๑. ทาสสินไถ่ ๒. ทาสเกิดในเรือนเบี้ย ๓. ทาสได้มาแต่บิดามารดา ๔. ทาสท่านให้ ๕. ทาสอันได้ช่วยเหลือในยามโทษทัณฑ์ ๖. ทาสอันได้เลี้ยงมาเมื่อเกิดทุพภิกขภัย ๗. ทาสอันได้ด้วยเชลย จะเห็นว่า ทาสในสมัยอยุธยานั้น เป็นทาสที่ถูกกฎหมายคุ้มครอง เป็น ทาสที่มสภาพเป็นมนุษย์และเป็นพลเมืองของชาติอย่างสมบูรณ์ ฉะนั้นคนไทย ี ในสมัยอยุธยาจึงสมัครใจจะเป็นทาสมากกว่าจะเป็นขอทาน เพราะอย่างน้อยก็ มีข้าวกิน มีที่อยูอาศัยโดยไม่เดือดร้อน ่
  • 23.
  • 24. ศิลปกรรม ชาวกรุงศรีอยุธยานับถือพุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศ์ แต่ได้รับอิทธิพล ขอม ศาสนาพราหมณ์ ที่แพร่หลาย อยูก่อนหน้าการเข้ามาของ พุทธ ่ ศาสนาอยู่มาก การผสมผสานกันของพุทธศาสนาและศาสนาพราหมณ์จึง เป็นลักษณะสาคัญของศาสนาในสมัยกรุงศรีอยุธยา ซึ่งสะท้อนให้เห็นใน ศิลปกรรมต่างๆ ได้แก่ งานสถาปัตยกรรม ประติมากรรม จิตรกรรม ภาษา และวรรณคดี และวัฒนธรรมประเพณี
  • 25. สถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรมของสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น ได้รับอิทธิพลจากขอม และสุโขทัย เช่น พระปรางค์วัดพุทไธสวรรค์ วัดราชบูรณะ เป็นต้น ส่วน สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลายเป็นเจดียแบบเจดียย่อมุมไม้สิบสอง เช่น ์ ์ เจดีย์วัดภูเขาทอง วัดชุมพลนิกายาราม เป็นต้น ประติมากรรม พระพุทธรูปได้รับอิทธิพลจากศิลปะขอมเรียกว่า พระพุทธรูปสมัยอู่ ทองและตอนปลายสมัย กรุงศรีอยุธยานิยมสร้างพระพุทธรูป แบบ ทรงเครื่อง อย่างไรก็ตามสมัยกรุงศรีอยุธยาพระพุทธ รูปมีลักษณะน่าเกรง ขาม และไม่งดงามเท่าสมัยสุโขทัย
  • 26.
  • 27. จิตรกรรม จิตรกรรมสมัยกรุงศรีอยุธยา เป็นภาพพุทธประวัติใช้สี 3 สีในสมัยกรุงศรี อยุธยาตอนต้น คือ สีดา ขาว และแดง และตอนปลาย เพิ่ม สีเขียว สีฟ้า และสี ม่วง ภาพที่วาดเป็นภาพธรรมชาติ ภาษาและวรรณกรรม ภาษาได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมขอม เป็นคาราชาศัพท์ วรรณคดีสวน ่ ใหญ่เกี่ยวกับพุทธศาสนาทีสาคัญ เช่นลิลิตโองการแช่งน้า มหาชาติคาหลวง ลิลิตยวนพ่าย ลิลิตพระลอ และกาพย์เห่เรือ เป็นต้น
  • 28.
  • 30. สมัยธนบุรี สภาพทางสังคม โครงสร้างของสังคมไทยสมัยธนบุรี ยังคงมีลักษณะเหมือนกับ โครงสร้างทางสังคมสมัยกรุงศรีอยุธยา กล่าวคือ มีองค์ประกอบอยู่ 5 ประเภท ได้แก่ 1. พระมหากษัตริย์ เป็นผู้มีพระราชอานาจสูงสุดในแผ่นดิน ทรง เป็นประมุขของราชอาณาจักร เป็นเจ้าชีวิตต่อของทุกคนและเป็นเจ้าของ แผ่นดินตลอดทั้งราชอาณาจักร ซึ่งในสมัยธนบุรีมีพระมหากษัตริย์เพียง พระองค์เดียว คือ สมเด็จพระเจ้าตากสิน
  • 31. 2. พระบรมวงศานุวงศ์ ได้แก่ พระราชวงศ์ชั้นผู้ใหญ่ บรรดาพระ ราชโอรสและพระราชธิดา ส่วนใหญ่แล้วจะอยู่ในพระราชวงศ์เดียวกันกับ องค์พระมหากษัตริย์ มีสทธิต่างๆ เหนือไพร่ทั้งปวง ิ 3. ไพร่ ได้แก่ คนธรรมดาสามัญที่เป็นชายฉกรรจ์ ส่วนเด็ก ผู้หญิง และคนชราอายุเกินกว่า 70 ปี ถือว่าเป็นบริวารของไพร่
  • 32. ไพร่แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ไพร่หลวง และไพร่สม ไพร่หลวง หมายถึง ไพร่ที่พระมหากษัตริยทรงพระราชทานแก่กรม ์ กองต่างๆ ซึ่งเปรียบเสมือนหน่วยงานบริหารราชอาณาจักร ไพร่หลวงนี้ เป็นไพร่ของพระมหากษัตริยโดยตรง หน้าที่ของไพร่หลวงจึงแตกต่างกัน ์ ไปตามหน้าที่ของกรมกองนั้นๆ ไพร่หลวงมีอยู่ 2 ประเภท คือ ไพร่หลวงที่ ต้องมารับราชการตามที่กาหนดไว้ และ ไพร่หลวงส่วย หมายถึง ไพร่ หลวงที่ต้องอยู่เวรยามรับราชการปีละ 6 เดือน เรียกว่า “เข้าเวร” และอยู่ กับบ้านตามปกติอีกท 6 เดือน (ออกเวร) สลับกันไป หรือที่เรียกว่า “การ เข้าเดือนออกเดือน” ไพร่สม หมายถึง ไพร่ที่พระมหากษัตริยพระราชทานให้แก่เจ้านาย ์ และขุนนางที่มีตาแหน่งทาราชการ เพื่อเป็นประโยชน์ตอบแทน เนื่องจาก ในสมัยนั้นยังไม่มีเงินเดือนสาหรับข้าราชการ
  • 33. 4. ทาส หมายถึง บุคคลที่มิได้เป็นไทแก่ตนเองโดยสิ้นเชิง กรรมสิทธิ์ เหนือชีวิตของบุคคลดังกล่าวนี้ ตกเป็นของนายทั้งหมด ทาสเป็นบุคคลที่ต้อง ทางานให้กับนายผู้เป็นเจ้าของทุกอย่างตามที่นายจะสั่ง และถูกซื้อขายเหมือน สินค้าได้ตามความพอใจของเจ้าของ ทาสในสมัยธนบุรีมีอยู่ 7 ชนิด เช่นเดียวกับสมัยกรุงศรีอยุธยา 4.1 ทาสสินไถ่ คือ ทาสที่ไถ่มาด้วยทรัพย์ 4.2 ลูกทาส หรือ ทาสในเรือนเบี้ย เป็นลูกทาสที่เกิดจากพ่อหรือแม่เป็นทาส 4.3 ทาสที่ได้มากจากบิดามารดาซึ่งเป็นผู้ยกให้เป็นมรดก 4.4 ทาสที่มีผให้ดวยความเสน่หา ู้ ้ 4.5 ทาสที่ได้จากการไถ่โทษให้พ้นจากการลงโทษทัณฑ์ 4.6 ทาสที่เกิดจากเวลาข้าวยากหมากแพง 4.7 ทาสเชลย คือ ทาสที่ได้จากไปรบทัพจับศึก เป็นสมบัติของ พระมหากษัตริย์
  • 34. ทาสเหล่านี้เป็นอิสระแก่ตนเองได้ยาก ถ้ามิได้ทาความดีความชอบต่อ แผ่นดินอย่างเยี่ยมยอดจริงๆ หรือมิได้มีเงินมาไถ่ถอนตนเองแล้วก็อย่าหวัง ที่จะได้เป็นไทแก่ตนเอง ชีวิตความเป็นอยู่ของคนไทยในสมัยธนบุรีกล่าวได้ ว่า มีการควบคุมกันอย่างเข้มงวด เพราะบ้านเมืองตกอยู่ในภาวะสงคราม ต้องสู้รบกับพม่าข้าศึกตลอดเวลา การเกณฑ์พลเรือนเข้ารับราชการไพร่ โดยการ “สักเลข” เพื่อเป็นการรวบรวมไพร่ที่กระจัดกระจายกันไป ภายหลังกรุงศรึอยุธยาแตก ให้เข้ามาอยูรวมกันเป็นหมวดหมู่ และป้องกัน ่ การหลบหนี
  • 35. 5. พระสงฆ์ ซึ่งส่วนใหญ่มีความเป็นอยู่และฐานะทางสังคม เหมือนกับสมัยอยุธยาทุกประการ จะต่างกันบ้างก็เป็นผลที่สืบเนื่องจาก ปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคมของบุคคลทั้ง 4 กลุ่มข้างต้น เป็น ตัวกระตุ้นเท่านั้น เช่น สภาพความเป็นอยู่และการประพฤติพระธรรมวินัย ของบรรดาพระสงฆ์หลายกลุ่มในระยะสถาปนากรุงธนบุรีใหม่ๆ ก็ เนื่องจากการปกครองอาณาจักรไทยในช่วงแรกทียังขาดศูนย์กลางการ ปกครองทีแท้จริง
  • 36. ตลอดระยะเวลาที่กรุงธนบุรีเป็นราชธานี อาณาจักรไทยต้องตกอยู่ ในสถานะสงครามมาโดยตลอด สมเด็จพระเจ้าตากสินไม่มีเวลาที่จะ สร้างสรรค์ความเจริญรุ่งเรืองและวัฒนธรรมต่างๆ ให้เป็นแบบอย่าง โดยเฉพาะ เพราะพระราชกรณียกิจของพระองค์และหน้าที่ความ รับผิดชอบของข้าราชการเต็มไปด้วยราชการสงคราม ดังนั้น ความ เจริญรุ่งเรืองและวัฒนธรรมในสมัยกรุงธนบุรีจึงจัดอยู่ในรูปความเจริญและ วัฒนธรรมที่ตอเนื่องมาจากกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย ซึ่งพอจะประมวลให้ ่ เห็นได้ ดังนี้
  • 37. สถาปัตยกรรม สิ่งก่อสร้างที่สาคัญในสมัยนี้ เช่น พระราชวังเดิม และ ตาหนักเก๋งคู่ จิตรกรรม ได้แก่ สมุดภาพไตรภูมิ เป็นภาพเขียนที่งดงามและ ประณีต ปัจจุบันเก็บรักษาไว้ที่หอสมุดแห่งชาติ
  • 38. ประติมากรรม ที่สาคัญในสมัยนี้คือ พระแท่นบรรทม ของพระเจ้า ตากสิน ปัจจุบันเก็บรักษาไว้ที่วัดอินทาราม ทาด้วยไม้กระดาน 2 แผ่น ประกบกัน มีลูกกรงเป็นงา และภายใต้ลูกกรงโดยรอบมีแผ่นงาจาหลัก เป็นลายดอกพุดตาน พระแท่นเริญวิปัสสนากัมมัฎฐาน เป็นพระแท่น สาหรับพระเจ้าตากสินทรงประทับเจริญวิปัสสนากัมมัฎฐาน ประดิษฐาน อยู่ในวิหารเล็กหน้าพระปรางค์วัดอรุณราชวราราม ทาด้วยไม้กระดานแผ่น เดียว กว้าง 7 ฟุด ยาว 20 ฟุต ตู้ลายรดน้า อยู่ในพิพิธภัณฑ์สถาน แห่งชาติ ปรากฏว่ามีฝีมือพอใช้ และมีลายใบที่มีฝมือคล้ายกัน ี