SlideShare a Scribd company logo
1 of 87
Download to read offline
สมาชิก
นายชยกฤต ลิขิตตานุสิทธิ์     เลขที่   10
นายศุภฤกษ์ กันเขี่ย          เลขที่   5
นางสาวกวิตา สุ ริยะไชย       เลขที่   11
นางสาวธิดาศิลป์ มูลใจทราย    เลขที่   18
นางสาววราภรณ์ แสงศรี จนทร์
                          ั   เลขที่   25
นางสาววริ นทร ธนะกูลวัฒนา    เลขที่   26
สมัยสุโขทัย
พัฒนาการทางด้ านสั งคม
    สังคมสุ โขทัยเป็ นสังคมที่ผคนมีความศรัทธาในพระพุทธศาสนาอย่าง
                               ู้
แน่นแฟ้ น โดยมีพระมหากษัตริ ยเ์ ป็ นศูนย์กลางของอานาจในแผ่นดิน
พระราชวงศ์ ขุนนาง ข้าราชการจะเป็ นผูรับเอาพระบรมราชโองการของ
                                          ้
พระมหากษัตริ ยไปปกครองบ้านเมืองอีกต่อหนึ่ง โดยราษฎรบางส่ วนมี
                ์
                                            ่
ฐานะเป็ นไพร่ และข้ารับใช้ของนาย และอยูภายใต้การปกครองและควบคุม
ของขุนนางและข้าราชการแต่ราษฎรบางส่ วนก็มีอิสระในการดารงชีวิตของ
ตนเองพอสมควร
ความกว้างใหญ่ หรื อขนาดของอาณาจักร แตกต่างกันมาก พื้นที่ใน
บริ เวณลุ่มน้ าเจ้าพระยามีความกว้างใหญ่กว่าพื้นที่ในเขตลุ่มน้ ายมของ
สุ โขทัย ดังนั้นการกระจายตัวของประชากรจึงมีมากกว่า จาเป็ นต้องหา
วิธีการควบคุมประชากรให้เป็ นระบบ เป็ นหมวดหมู่
      เพื่อการเก็บภาษีอากร ผลประโยชน์ต่างๆของรัฐให้ได้ผล การจัด
แบบหน่วยงานต้องรัดกุมและมีอานาจบารมีให้มีการปฏิบติงานมี ั
ประสิ ทธิภาพ จึงต้องมีการนารู ปแบบในระบบศักดินามาใช้
      เพื่อเป็ นการขยายอานาจและการป้ องกันพระราชอาณาจักรจากศัตรู
ภายนอก จึงจาเป็ นต้องจัดหน่วยงานให้รัดกุม พร้อมที่จะเปลี่ยนสภาพ
จากราษฎรเป็ นทหารได้ท้ งความสามารถในการทาสงครามและจานวน
                           ั
ทหารในหน่วยงาน กรม กองต่างๆ
เพื่อให้เกิดประสิ ทธิผลในการรวบรวม กาลังคนเป็ นหมวดหมู่ และ
การจัดเก็บผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจของบ้านเมือง จึงมีการนาระบบ
ศักดินา มาใช้ในการจัดระเบียบสังคมในสมัยอยุธยา ระบบศักดินาเป็ น
ระบบการแบ่งชนชั้น ของผูคนในสังคม ระบบนี้ได้รับอิทธิพลจากขอม
                             ้
นับตั้งแต่สมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) แต่มีการประกาศ
เป็ นพระราชกาหนด ในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ในพ.ศ.1997
กาหนดให้บุคคลทุกประเภทในสังคมไทยมีศกดินาทุกคน นับตั้งแต่พระ
                                           ั
บรมวงศานุวงศ์ ขุนนาง ไพร่ ทาส พระสงฆ์ ยกเว้นพระมหากษตริ ย ์
                                              ่
ที่มิได้ระบุศกดินา เพราะเป็ นพระเจ้าแผ่นดินอยูแล้ว
             ั
• คาว่า “ศักดินา” คือ ศักดิ์ที่จะมีสิทธิ์ ในที่ดินจานวนหนึ่ง ตามที่ระบุไว้
  ในพระราชกาหนด ที่ดินในยุคสมัยนั้น หมายถึงที่นา ที่ใช้ในการทามา
  หากินนันเอง และขณะเดียวกันก็มีหน้าที่ในความรับผิดชอบที่ตอง
          ่                                                         ้
  ควบคุมกาลังคนจานวนหนึ่ง สังคมในระบบศักดินา จึงมีบุคคล 2 ชนชั้น
  คือ ชนชั้นปกครอง ประกอบด้วยพระมหากษัตริ ย ์ ขุนนาง และชนชั้น
  ที่ถูกปกครอง ซึ่งประกอบไปด้วยไพร่ และทาส
พระมหากษัตริย์
       พระมหากษัตริ ย ์ ทรงเป็ นทั้งเจ้าชีวิตและเจ้าแผ่นดิน มีอานาจ
เด็ดขาด ในการบริ หารบ้านเมือง และออกกฎหมาย การตัดสิ นคดี
รวมทั้งการแต่งตั้งถอดยศ ศักดินาของเจ้านายและขุนนาง
       พระบรมวงศานุวงศ์ คือเจ้านาย ที่รับราชการสนองพระมหากษัตริ ย ์
บุคคลเหล่านี้ได้รับเกียรติยศและอภิสิทธิ์มาแต่กาเนิด มีตาแหน่งสื บสาย
สกุลต่อกันมา เช่นเจ้าฟ้ า พระองค์เจ้า หม่อมเจ้า หม่อมราชวงศ์ และ
หม่อมหลวง ตาแหน่งดังกล่าวเรี ยกว่า สกุลยศ นอกจากนี้ยงมีอิสริ ยยศ
                                                             ั
ที่ได้รับพระราชทาน เช่น พระราเมศวร พระพรมราชา ฯลฯ
ขุนนาง
         ขุนนาง คือผูที่รับราชการสนองพระเดชพระคุณพระมหากษัตริ ย ์
                        ้
  ควบคุมดูแลไพร่ หลวงและไพร่ สม มีศกดินา 10,000-400 ในสมัยสมเด็จ
                                         ั
  พระบรมไตรโลกนาถ มีการตราทาเนียบศักดินาขุนนาง ว่าด้วยยศ ราช
  ทินนาม ตาแหน่ง ศักดินา เช่น กาหนดให้เจ้าพระยาจักรี ศรี องครักษ์
  ตาแหน่ง คือ สมุหนายก ศักดินาคือจานวน 10,000 หมายถึงยศคือ
  เจ้าพระยา ราชทินนามคือจักรี ศรี องครักษ์ ศักดินาคือจานวน 10,000
  ขุนนางมีอภิสิทธิ์หลายประการ เช่น
• มีไพร่ ไว้ในครอบครอง
• ไม่ตองถูกเกณฑ์แรงงาน
       ้
• มีสิทธ์เข้าเฝ้ าเมื่อเสด็จออกว่าราชการ
ไพร่
      ไพร่ คือ พลเมืองสามัญชน ทั้งหญิง-ชาย มีศกดินาระหว่าง 10-25
                                                 ั
ไพร่ ตองทางานอุทิศแรงงานให้แก่รัฐ โดยไม่ได้ค่าตอบแทน เพราะถือเป็ น
       ้
หน้าที่ โดยมีมูลนายเป็ นผูควบคุม ดังนั้นไพร่ ทุกคนจึงต้องสังกัดมูลนาย
                          ้
สาหรับผูหญิงที่ข้ ึนทะเบียนไพร่ มกได้รับยกเว้นไม่ตองทางาน ยกเว้น
          ้                      ั                 ้
กรณี ที่ทางราชการต้องการใช้งานในบางโอกาส ไพร่ มีหลายประเภท
โดยแบ่งตามสังกัดมูลนายดังนี้
• ไพร่ หลวง คือไพร่ ที่สงกัดมูลนายที่ข้ ึนตรงต่อพระมหากษัตริ ย ์ สังกัด
                          ั
  กรม กอง ต่างๆ ไพร่ หลวงต้องมาปฏิบติหน้าที่ปีละ 6 เดือน ที่เรี ยกว่าเข้า
                                          ั
  เดือนออกเดือน ในยามสงบสุ ขจะลดเวลาเหลือปี ละ 3 เดือน ในยามปกติ
  ไพร่ หลวงจะทางานโยธา ก่อสร้าง ตามจับผูร้าย ในยามสงครามจะถูก
                                              ้
  เกณฑ์ เข้ากองทัพ
• ไพร่ สม คือ ไพร่ ท่ีสงกัดมูลนาย และทางานตามที่มลนายสัง อาจเป็ นงาน
                        ั                           ู     ่
  หลวง หรื องานส่ วนตัวของมูลนายก็ได้ เพราะถือเป็ นสมบัติของมูลนาย
  ในยามสงครามต้องออกรบ ไพร่ สมอาจถูกโอนมาเป็ นไพร่ หลวงถ้า
  ราชการจาเป็ นต้องใช้งานจานวนมาก
                            ่
• ไพร่ ส่วย คือ ไพร่ ที่อยูตามหัวเมือง ห่างไกลราชธานี พระมหากษัตริ ย ์
  มอบให้ขนนาง เจ้านายดูแลในการใช้งาน โดยปกติไพร่ ส่วยจะส่ งสิ่ งของ
            ุ
          ่
  ที่มีอยูในท้องถิ่นให้มูลนาย ที่สงกัด ตามที่กาหนดอัตราไว้ เช่นผ้าขาว น้ า
                                   ั
  รัก ทองคาผง เครื่ องเทศ
ทาส
     ทาส คือผูตกเป็ นสิ นทรัพย์ของนายทาส นายเงิน รับใช้ทางานโดย
                 ้
ไม่ได้รับผลตอบแทน หากทาผิดอาจถูกลงโทษ เฆี่ยนตี แต่ไม่ได้กระทา
ถึงแก่ชีวิตเป็ นกลุ่มคนที่มีศกดินาต่าสุ ด คือ 5 ตามกฎหมายลักษณะทาส
                             ั
พ.ศ. 2191 แบ่งทาสออกเป็ น 7 ชนิด คือ
     ทาสสิ นไถ่ คือ คนยากจน มีหนี้สินจนต้องขายตนเอง สามี ภรรยา
บุตร ธิดา ให้นายเงินใช้งานเป็ นทาสจนกว่า จะหาเงิน มาไถ่ถอนไปได้
     ทาสในเรือนเบีย คือ ลูกทาสที่เกิดในเรื อนนายทาส ถือว่าตกเป็ น
                      ้
สมบัติของนายทาสด้วย
     ทาสที่ได้ มาด้ วยการรับมรดก คือ ทาสที่ตกเป็ นมรดกของนาย ทาส
คนต่อไป ถือว่าทาสคือทรัพย์สินที่ตกทอดเป็ นมรดกได้
ทาสที่ช่วยไว้ จากทัณฑ์ โทษ คือ บุคคลที่ไม่มีเงินเสี ยค่าปรับ เมื่อมี
เสี ยค่าปรับแทน ผูน้ นต้องตกเป็ นทาสของผูเ้ สี ยค่าปรับให้
                    ้ ั
       ทาสท่ านให้ คือ ทาสที่มีผอื่นยกให้
                                ู้
       ทาสที่ได้ มาจากการช่ วยให้ พ้นจากความอดอยาก คือ ไพร่ ที่ขายตัว
เป็ นทาสในยามอดอยาก ขายข้าวปลาอาหาร
       ทาสเชลย คือ ทาสที่ได้จากการแพ้สงคราม ในยามรบทัพจับศึก
การเปลี่ยนสภาพของทาส
ทาสอาจเปลียนสภาพการเป็ นอิสระได้ ดังนี้
           ่
• โดยการหาเงินมาไถ่ถอน ตนเองหรื อผูอื่นหาเงินมาไถ่ถอน
                                    ้
• นายทาสอนุญาติให้บวชเป็ นพระสงฆ์
• นายทาสให้ไปสงครามถูกจับเป็ นเชลยแล้วหลบหนีออกมาได้
• แต่งงานกับนายทาสหรื อญาติพี่นองของนายทาส
                               ้
• ทายทาสถูกข้อหาก่อการกบฏ ลูกทาสจะถูกปลดเป็ นอิสระ
• สาหรับทาสเชลยไม่อาจไถ่ถอนได้ จนถึง พ.ศ. 2348 กาหนดให้ทาสเชลย
  มีค่าตัวและไถ่ถอนได้
วัฒนธรรมสมัยกรุ งสุโขทัย
                               ั ่
    สุ โขทัยเป็ นอาณาจักรที่ต้ งอยูได้นานเกือบ 200 ปี สร้างแบบแผน
การดาเนินชีวตอยูร่วมกัน ตลอดจนได้สร้างสรรค์วฒนธรรมไว้มากมาย
             ิ ่                                 ั
วัฒนธรรมสมัยกรุ งสุ โขทัยในที่น้ ีได้แก่ วัฒนธรรมทางการศึกษา
วัฒนธรรมทางด้านตัวอักษร วัฒนธรรมทางด้านวรรณกรรม วัฒนธรรม
ทางด้านการแต่งกาย วัฒนธรรมทางด้านดนตรี และการฟ้ อนรา
วัฒนธรรมทางด้านประติมากรรมและจิตรกรรม และวัฒนธรรมทางด้าน
สถาปัตยกรรม
1. วัฒนธรรมทางด้ านการศึกษา
        ในสมัยโบราณความหมายของการศึกษา ซึ่งเป็ นความหมายเดิม
แท้น้ น กล่าวว่า “การศึกษา คือ การสื บทอดและสร้างสรรค์วฒนธรรม”
      ั                                                 ั
ในสมัยกรุ งสุ โขทัยการจัดรู ปแบบทางการศึกษาในช่วงแรกจะได้รับ
อิทธิพลจากคติพราหมณ์เข้ามาต่อจากนั้นจึงรับคติธรรมทางพุทธศาสนา
เข้ามาเป็ นหลักเกณฑ์สาคัญของการจัดการศึกษาทั้งสิ้ น การศึกษาใน
สุ โขทัยน่าจะมีลกษณะต่าง ๆ หลายลักษณะดังนี้
                 ั
1.1 การศึกษาทางพุทธศาสนาให้แก่คนฝักใฝ่ ธรรม เป็ นการศึกษา
ให้แก่ผที่มีปัญญาและต้องการพัฒนาปัญญาและจิตใจ การที่ฝักใฝ่ ธรรม
       ู้
มีความรู ้แตกฉานนั้นต้องเรี ยนหนังสื อ เรี ยนอักขระ ศึกษาอ่านเขียน
พระธรรม คัมภีร์ต่าง ๆ โดยมีพระสงฆ์ทาหน้าที่ “ครู บาอาจารย์”

    1.2 การศึกษาในวิชาชีพ เป็ นการเรี ยนตามกฎธรรมชาติ เรี ยนจาก
                         ั ่
พ่อแม่ เรี ยนจากชุมชนที่ตวอยูใกล้ เรี ยนจากการกระทา การฝึ กฝน
ศิลปหัตถกรรมต่าง ๆ การทาไร่ ไถ่นา การปั้นเครื่ องปั้นดินเผา งาน
ทางด้านจิตรกรรม ประติมากรรมหรื อสถาปัตยกรรม เป็ นต้น
2. วัฒนธรรมทางด้ านตัวอักษรไทย
                                            ศิลาจารึกหลักที่ 1
       ปรากฏข้อความที่เกี่ยวข้องอักษรไทยสมัยพ่อขุนรามคาแหงจากศิลาจารึ ก
ดังกล่าว เชื่อกันว่าอักษรไทยพ่อขุนรามคาแหงซึ่งลงศิลาจารึ กปี พ.ศ. 1826
เป็ นอักษรไทยเก่าแก่ที่สุดที่ใช้ในประเทศไทยสาหรับความเป็ นมาของอักษร
พ่อขุนรามคาแหงนั้นนักประวัติศาสตร์ นักโบราณคดี นักอักษรศาสตร์ได้
ทาการค้นคว้าเกี่ยวกับเรื่ องนี้อย่างแพร่ หลายโดยเฉพาะ ยอร์ช เซเดส์ สรุ ปว่า
อักษรพ่อขุนรามคาแหงดัดแปลงมาจากอักษรขอมหวัด เพราะมีรูปลักษณะ
คล้ายคลึงกันมาก แต่จากการศึกษาของ นันทนา ด่านวัฒน์ ทางด้านอักขรวิทยา
พบว่าอักษรต้นตระกูลของอักษรพ่อขุนรามคาแหง คืออักษรหราหมี อักษร
คฤนห์ อักษรขอมหวัด เพราะปรากฏความคล้ายคลึงทางด้านอักขรวิทยาของ
อักษรพ่อขุนรามคาแหงและอักษรในตระกูลทั้งสาม อักษรพ่อขุนรามคาแหง
นั้นปรากฏใช้เฉพาะในรัชสมัยของพระองค์เท่านั้น ต่อมาในสมัยพระมหา
ธรรมราชาลิไทยได้ปรากฏรู ปอักษรไทยแบบใหม่ข้ ึนอักษรพบใหม่น้ ีเรี ยกว่า
อักษรพระเจ้าลิไทย
3. วัฒนธรรมทางด้ านวรรณกรรม
      วรรณกรรมที่เกิดขึ้นในสมัยสุ โขทัยคงจะมีจานวนมากและหลาย
ประเภท หากแต่มิได้ตกทอดมาถึงปัจจุบน วัฒนธรรมทางวรรณกรรมที่คน
                                       ั
ไทยทุกคนในสมัยนี้รู้จก คือ ศิลาจารึ กหลักที่ 1หรื อจารึ กพ่อขุนรามคาแหง
                      ั
ซึ่งกรมศิลปากรได้จดไว้เป็ นอันดับแรกของวรรณกรรม ศิลาจารึ ก
                   ั
วรรณกรรมสมัยสุ โขทัยที่รู้จกรองลงมาได้แก่ ไตรภูมิพระร่ วง และสุ ภาษิต
                           ั
พระร่ วง ส่ วนใหญ่วรรณกรรมสมัยสุ โขทัยจะมีลกษณะสุ ดดีวีรกรรมและ
                                               ั
เกี่ยวกับศาสนาหรื อปรัชญา ขอแยกกล่าวถึงวรรณกรรมสุ โขทัย ดังนี้
3.1 ศิลาจารึ ก ศิลาจารึ กมีประโยชน์ทางการศึกษาเรื่ องราวทาง
ประวัติศาสตร์โบราณคดีตลอดจนวิชาอักษรศาสตร์ นิติศาสตร์
สังคมศาสตร์ และอื่น ๆ ศิลาจารึ กที่พบในสมัยสุ โขทัยมี
ประมาณ 30 หลัก ที่สาคัญมากได้แก่ ศิลาจารึ กหลักที่ 1
     3.2 ไตรภูมิพระร่ วง ถือเป็ นวรรณกรรมปรัชญาชิ้นแรกของไทย
พระมหาธรรมราชาลิไทยทรงพระราชนิพนธ์ข้ ึนในปี พ.ศ. 1888 นับเป็ น
วรรณกรรมที่ทรงคุณค่าทางปรัชญา คุณค่าทางวรรณคดีโดยเฉพาะการ
สอนจริ ยธรรมคือ สอนให้คนรู ้จกความดีความชัว รู ้จกใช้วิจารณญาณ
                                 ั            ่ ั
และสอนให้คนมีศีลธรรมรักษาความดีและมีความรับผิดชอบ
่่
        3.3 สุ ภาษิตพระร่ วง วรรณกรรมชิ้นนี้ยงเป็ นที่ถกเถียงกันอยูวาเกิดขึ้น
                                             ั
ในสมัยสุ โขทัยหรื อไม่อย่างไรก็ตามสุ ภาษิตพระร่ วงนับว่าเป็ นวรรณกรรม
ที่ทรงคุณค่ายิงวรรณกรรมหนึ่ง เพราะสาระการสอนนันมีท้ งวิชาความรู ้
                 ่                                      ่ ั
เรื่ องมิตรและการผูกมิตร การปฏิบติตนต่อบุคคลประเภทต่าง ๆ สอนให้
                                   ั
รู ้จกรักษาตัวให้พนภัย สอนให้รอบคอบ เป็ นต้น
      ั             ้

     3.4 ตารับท้ าวศรีจุฬาลักษณ์ บางคนเชื่อว่าตารับท้าวศรี จุฬาลักษณ์
แต่งในสมัยสุ โขทัยเพราะมีเนื้อเรื่ องและท้องเรื่ องอ้างถึงสถานที่ต่าง ๆ ที่
เมืองสุ โขทัย อีกตอนหนึ่งกล่าวถึงพระราชจรรยาของสมเด็จพระร่ วงเจ้า
แต่บางคนก็เชื่อว่าเป็ นวรรณกรรมที่แต่งในสมัยรัตนโกสิ นทร์ตอนต้น
จุดประสงค์การแต่งเพื่อเป็ นการตักเตือนข้าราชการสานักฝ่ ายในให้มีกริ ยา
มารยาทที่เหมาะสมกับศักดิ์ศรี ของตนเองและเพื่อเชิดชูเกียรติยศของ
พระมหากษัตริ ยนอกจากนี้ยงทรงคุณค่าทางด้านขนบธรรมเนียมประเพณี
                 ์          ั
ของราชสานักโดยเฉพาะประเพณี พราหมณ์ท้ ง 12 เดือน
                                             ั
4.วัฒนธรรมการแต่ งกาย
                  ่
        นายชิน อยูดี ได้ทาการศึกษาค้นคว้าการแต่งกายของประชาชนชาวสุ โขทัย
โดยอาศัยหลักฐานประเภทโบราณวัตถุสมัยสุ โขทัย จากหลักฐานที่เป็ นลายลักษณ์
อักษรจากการเปรี ยบเทียบกับเครื่ องแต่งกายละคร และจากการเปรี ยบเทียบกับ
เครื่ องแต่งกายของคนไทยเผ่าต่าง ๆ ได้สรุ ปการแต่งกายสมัยสุ โขทัยว่า
การแต่ งกายของผู้หญิง

        การแต่งกายของผูหญิง ผูหญิงในสมัยสุ โขทัย
                       ้        ้
จะไว้ผมยาว เกล้ามวย มีเกี้ยวหรื อพวงมาลัยสวม
                              ่
รอบมวย มวยนั้นมีท้ งเกล้าอยูกลางกระหม่อมและ
                     ั
ที่ทายทอย มีปิ่นปัก สวมเสื้ อแขนยาวตัวคับ นุ่งผ้าถุง
    ้
ผูหญิงบางคนห่ มผ้าสไบเฉี ยง ผ้าที่ใช้มีท้ งผ้าฝ้ ายและ
  ้                                       ั
ผ้าไหม สี ของผ้ามีสี แดง ดา ขาว เหลือง เขียว ผัดหน้า
วาดคิว สวมแหวน เจ้านายฝ่ ายในมีกรองคอ พาหุรัด
      ้
และทองพระกรทรงมงกุฎยอดแหลมหรื อกรอบพักตร์
การแต่ งกายของผู้ชาย
       การแต่งกายของผูชาย ผูชายสมัยกรุ งสุ โขทัยไว้ผมยาว มุ่นมวยไว้ที่
                         ้     ้
กลางกระหม่อมก็มี ไว้ที่ทายทอยก็มี สวมเสื้ อผ้าผ่าอกแขนยาว และสวม
                            ้
กางเกงขายาวแบบชุดคนเมือง ทหารสวมเสื้ อแขนสั้น ถ้าพระยาห้อยผ้า
ไว้ที่บ่า มีผาคาดพุงหรื อเข็มขัด ชายบางคนนุ่งกางเกงขาสั้น เจ้านายนุ่งผ้า
             ้
โจงกระเบนคาดเข็มขัด และมีผาประดับทับโจงกระเบนห้อยลงมา 2 ข้าง
                                 ้
ผ้านี้จีบตามแนวเส้นนอน เวลาออกศึกนุ่งกางเกงขายาว มีผาโจงกระเบน
                                                         ้
ทับอย่างเครื่ องแต่งการละคร หมวกที่ผชายใส่ มีมงกุฎยอดแหลม หมวก
                                       ู้
ทรงประพาสและหมวกรู ปคล้ายฝาชี ซึ่งบางท่านเรี ยกว่าหมวกชีโบ
5. วัฒนธรรมทางด้ านดนตรีและการฟ้ อนรา
       นายมนตรี ตราโมท ได้ศึกษาเรื่ องดนตรี สมัยสุ โขทัย โดยอาศัยหลักฐาน
ประเภทศิลาจารึ กและภาพประติมากรรม รวมทั้งหนังสื อไตรภูมิพระร่ วง
โดยเฉพาะศิลาจารึ กหลักต่าง ๆ ได้ระบุวา     ่
       5.1 เครื่ องดนตรี ประกอบด้วยเครื่ องดนตรี ต่าง ๆ ดังนี้ คือ สังข์ แตร
บัณเฑาะว์ มโหระทึก ปี่ สรไน กลองชนะ ฆ้อง กลอง ตะโพน ฉิ่ ง กลับ
ระฆัง กังสดาล ซอ
       5.2 เพลงร้องและเพลงดนตรี เป็ นอย่างไรยากที่จะชี้ให้ชดเจนได้ มีเพลง
                                                                ั
ที่น่าจะเป็ นเพลงสมัยสุ โขทัย คือ เพลงเทพทองหรื อเพลงสุ โขทัย ทานองเพลง
                                         ั
นี้เดิมทีเป็ นเพลงพื้นเมืองใช้ร้องว่าแก้กนระหว่างผูหญิงผูชาย ส่ วนอีก 2 เพลง
                                                   ้      ้
น่าจะเป็ นสมัยสุ โขทัย คือเพลงพระทองกับเพลงนางนาค
เครื่องดนตรีสมัยสุ โขทัย
6. วัฒนธรรมทางด้ านประติมากรรมและจิตรกรรม
       วัฒนธรรมทางด้านประติมากรรมและจิตรกรรมเป็ นงานประณี ตศิลป์
แสดงถึงความสมารถและความเข้าถึงแก่นของคาสังสอนของพุทธศาสนาของ
                                                ่
ช่างศิลป์
       6.1 ประติมากรรม ได้แก่การสร้างพระพุทธรู ป ซึ่งนิยมสร้างพระพุทธรู ป
ปั้นและหล่อด้วยสัมฤทธิ์ การสร้างพระพุทธรู ปเป็ นแบบลอยตัวและภาพนูนสู ง
ติดฝาผนัง นอกจากนั้นพระพุทธรู ปแล้วยังมีการหล่อเทวรู ปสัมฤทธิ์ เช่น
เทวรู ปพระนารายณ์ เทวรู ปพระอิศวร เทวรู ปพระหริ หระ เป็ นต้น
       งานประติมากรรมที่เด่นที่สุดในสมัยสุ โขทัยส่ วนใหญ่ คือ พระพุทธรู ป
            ่
จะเห็นได้วาพระพุทธรู ปที่สวยงามในศิลปะแบบสุ โขทัยเป็ นรู ปที่ตรัสรู ้แล้ว
                                                            ็ ่
ดังนั้น ระบบกล้ามเนื้อต่าง ๆ จึงมีการผ่อนคลายและพระองค์กจะอยูในความ
สงบแท้จริ ง พระพักตร์สงบมีรอยยิมเล็กน้อย
                                   ้
6.2 จิตรกรรม จิตรกรรมที่เราพบในสมัยสุ โขทัยทั้งภาพลายเส้นและลาย
เขียนฝุ่ น ภาพลายเส้นในสมัยสุ โขทัย โดยเฉพาะภาพจาหลักลายเส้นลงเส้นใน
                                                                 ่
แผ่นหินชนวนวัดศรี ชุม เมืองสุ โขทัยเป็ นภาพชาดกจะเห็นได้วาเส้นลายดังกล่าว
                                          ่
เป็ นภาพที่อิทธิพลของศิลปะศรี ลงกาอยูมากมาย เช่น ภาพเทวดาต่าง ๆ คอมี
                                    ั
รอยหยัก มงกุฎทรง เครื่ องแต่งกายเป็ นแบบลังกาทั้งสิ้ น ภาพสลักที่วดศรี ชุม
                                                                      ั
เป็ นเรื่ องราวทางพระพุทธศาสนาเป็ นชาดกต่าง ๆ ส่ วนภาพจิตรกรรมฝาผนังนั้น
เป็ นวิวฒนาการหนึ่งที่ไกลออกจากภาพลายสลักเส้น สี ที่ใช้ในโครงงานระบาย
           ั
สี แบบดา แดง ที่เรี ยกว่า “สี เอกรงค์ ” แต่มีน้ าหนักอ่อนแก่เล่นจังหวะอย่าง
สวยงาม นับเป็ นการก้าวหน้าทางหนึ่งในด้านประติมากรรมที่จิตรกรแสดงออก
เช่น พระพุทธรู ปได้หลุดกออกจากอิทธิพลของลังกา แม้ภาพวาดเทวดายังคงมี
                                  ่
อิทธิพลของศิลปะลังกาเหลืออยูซ่ ึงภาพเขียนที่สาคัญ คือภาพเขียนที่วดเจดียเ์ จ็ด
                                                                        ั
แถวเมืองศรี สชนาลัย
                ั
ภาพวาดเทวดา
ภาพเขียนที่วดเจดีย์เจ็ดแถวเมืองศรีสัชนาลัย
            ั
7.วัฒนธรรมด้ านสถาปัตยกรรม
     วัฒนธรรมด้านสถาปัตยกรรมสมัยสุ โขทัยนับว่าเป็ นความคิดที่แปลก
ไม่เหมือนศิลปะอื่น ๆ สถาปัตยกรรมสุ โขทัยได้รับอิทธิพลโดยรอบ และ
ได้นามาดัดแปลงตามความพอใจจนเกิดเป็ นแบบของตัวเองทั้ง ๆ ที่
อาณาจักรสุ โขทัยก็รับนับถือพุทธศาสนาจากลังกา แต่สถาปัตยกรรม
แบบมอญและแบบขอมก็ไม่ได้มีอิทธิพลเหนือสุ โขทัยเลยสถาปัตยกรรม
สุ โขทัยแบ่งออกเป็ น 2 รู ปแบบดังนี้
7.1 สถาปัตยกรรมรูปทรงอาคาร แบ่งออกเป็ น 3 แบบใหญ่ คือ
               7.1.1 สถาปัตยกรรมรู ปทรงอาคาร ได้แก่ อาคารโอ่โถงหรื อ
อาคารที่มีผนัง มีหลังคาซ้อนเป็ นชั้น ๆ ผังอาคารเป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมผืนผ้า
ทางด้านหน้าต่อเป็ นมุขที่ยน มีบนไดขึ้นสองข้างทางมุข ตัวอย่าง เช่น
                            ื     ั
วิหารที่วดสวนแก้วอุทยานน้อย เมืองศรี สัชนาลัย เป็ นต้น
           ั
              7.1.2 อาคารที่ก่อด้วยแลงหรื อรู ปทรงอาคาร หลังคาใช้เรี ยง
ด้วยแลงซ้อนเหลี่ยมกันขึ้นไปจนถึงชั้นสูงสุ ดที่ไปบรรจบกันที่ตอน
อกไก่ ตัวอย่างเช่น วิหารวัดกุฏิราย เมืองศรี สัชนาลัย เป็ นต้น
              7.1.3 อาคารที่เป็ นอาคารสี่ เหลี่ยม มีหลังคาที่เป็ นชั้นแหลม
ลดหลันกันไปถึงยอด หลังคาเป็ นชั้นประมาณ 3 ชั้น ที่
        ่
เรี ยกว่า “ มณฑป “ มณฑปนี้จะเป็ นแบบมณฑปที่มีผนังและมณฑปโถง
ตัวอย่างเช่น มณฑปวัดศรี ชุม เมืองสุ โขทัย (มณฑปที่มีผนัง ) และหอเท
วลัยมหาเกษตรพิมาน เมืองสุ โขทัย ( มณฑปโถง )
7.2 สถาปัตยกรรมรู ปแบบสถูปหรือเจดีย์ มีท้ งทรงกลมแบบลังกา เจดียทรง
                                               ั                    ์
                ์่
กลมฐานสู ง เจดียยอเหลี่ยมแบบมีซุมจระนา เจดียแบบห้ายอด เจดียทรง
                                ้           ์              ์
ปรางค์ ยอดเป็ นเจดียทรงกลมสถาปั ตยกรรมสมัยสุ โขทัย และเจดียทรงดอก
                        ์                                     ์
บัวตูม จากลักษณะสถาปัตยกรรมเจดียต่าง ๆ เหล่านี้จะเห็นได้วาลักษณะ
                                     ์                     ่
เจดียมี 2 แบบ คือ
     ์
           7.2.1 เจดียทรงกลมแบบลังกา เป็ นแบบที่สร้างสมัยแรก เช่นที่วด
                      ์                                              ั
ตะกวน วัดช้างล้อม วัดสระศรี เมืองสุ โขทัย
เจดีย์ทรงลงกา
7.2.2 เจดีย์ทรงดอกบัวตูม สามารถแยกได้เป็ น 4 แบบย่อย คือ
                   7.2.2.1 เจดียดอกบัวตูมแบบวัดมหาธาตุ เมืองสุ โขทัย ซึ่ง
                                ์
                                                          ่
ถือว่าเป็ นแบบเจดียทรงดอกบัวแบบสุ โขทัยแท้ ๆ ตั้งอยูบนฐานเขียง ฐาน
                      ์
บัวลูกแก้ว เหนือฐานบัวลูกแก้วเป็ นแท่นแว่นฟ้ าย่อเหลี่ยม แท่นแว่นฟ้ ารับ
เรื อนธาตุ ต่อจากเรื อนธาตุเป็ นยอที่เป็ นดอกบัวตูม ซึ่งเราจัดเป็ นเจดียที่สร้าง
                                                                        ์
โดยทัว ๆ ไป
       ่
                   7.2.2.2 เจดียทรงดอกบัวตูมแบบวัดซ่อนข้าว เมืองสุ โขทัย
                                  ์
เป็ นแบบฐานแว่นฟ้ าบัวลูกแก้วสองชั้นตั้งรับเรื อนธาตุ
7.2.2.3 เจดียทรงดอกบัวตูมวัดอ้อมรอบ นอกเมืองสุ โขทัย
                               ์
ด้านทิศเหนือปรกอบด้วยฐานเขียงบัว ฐานเขียง ฐานย่อเหลี่ยมรับเรื อน
ธาตุ ตอนชั้นเรื อนธาตุรับยอดบัวมีซุม ้
                  7.2.2.4 เจดียทรงดอกบัวตูมแบบวัดสะพานหิ น เมือง
                                 ์
สุ โขทัย และเจดียวดยอดทองเมืองพิษณุโลก ประกอบด้วยฐานเขียงห้า
                      ์ั
                                   ่
ชั้นตั้งรับฐานลูกบัวแก้ว ไม่ยอมุมรับเรื อนธาตุ ที่เรื อนธาตุแต่ละด้านมี
ซุมจระนา ประดิษฐานพระพุทธรู ปสี่ ดาน
   ้                                    ้
                   ่
       กล่าวได้วาสมัยสุ โขทัยเป็ นสมัยเริ่ มแรกของวัฒนธรรมไทยแทบทุก
ด้าน วัฒนธรรมสมัยสุ โขทัยได้เป็ นแบบอย่างของวัฒนธรรมไทยสมัย
ต่อมาจนถึงปัจจุบน ดังนั้นสมัยสุ โขทัยจึงจัดว่าเป็ นสมัยทองแห่งความ
                      ั
เจริ ญรุ่ งเรื องทางวัฒนธรรมที่สาคัญสมัยหนึ่งของไทย
เจดีย์ทรงดอกบัวตูม (ทรงพุ่มข้ าวบิณฑ์ )
ศิลปสมัยสุ โขทัย จัดเป็ นศิลปทีมีรูปแบบงดงามทีสุด และมีลกษณะเป็ น
                                       ่                     ่         ั
รู ปแบบของตนเองที่น่าภาคภูมิใจเป็ นอย่างยิง แม้วาจะมีศิลปอื่น ๆ เช่น
                                             ่        ่
อิทธิพลจากศิลปลังกา อิทธิพลจากศิลปสมัยศรี วิชยเข้ามาปะปนบ้างใน
                                                    ั
                                   ็
รู ปแบบของสถาปัตยกรรม แต่กมีเป็ นส่ วนน้อยเท่านั้น จากหลักฐานทาง
                          ่ ่
ศิลปกรรมที่หลงเหลืออยูไม่วาจะเป็ นเมืองเก่าสุ โขทัย ศรี สชนาลัย หรื อ
                                                                 ั
บริ เวณใกล้เคียง นับเป็ นเครื่ องยืนยันถึงความเจริ ญรุ่ งเรื องอันยิงใหญ่ของ
                                                                    ่
อาณาจักรสุ โขทัยได้เป็ นอย่างดี
                                                               ่
      ศิลปวัตถุโบราณสมัยสุ โขทัย นอกจากจะมีแหล่งอยูที่สุโขทัย และศรี สช      ั
                                                        ่ ้
นาลัยและมีเมืองอื่น ๆ ที่มีศิลปสุ โขทัยแพร่ หลายอยูดวยอีกหลายเมือง เช่น
เมืองกาแพงเพชร เมืองพิษณุโลก เมืองพิจิตร ตลอดจนถึงเมืองตาก เป็ นต้น
1.จิตรกรรม
       ภาพสลักลายเส้นบนหิ นชนวนในอุโมงค์วดศรี ชุมประมาณพุทธ
                                                 ั
ศตวรรษที่ 19 ลักษณะภาพเป็ นภาพสลักลายเส้ นบนหินชนวน ประดับ
   ่
อยูที่เพดานบริ เวณวัดศรี ชุมเรื่ องราวของภาพเป็ นเรื่ องชาดกต่าง ๆ
สันนิษฐานว่าได้รับอิทธิพลจากศิลปลังกา สมัยโปลนารุ วะ (พระพุทธ
ศตวรรษที่ 17-18) ซึ่งจัดเป็ นยุคทองของศิลปลังกา
จิตรกรรมฝาผนังในพระเจดีย ์ วัดเจ็ดแถว อาเภอศรี สัชนาลัย
จังหวัดสุ โขทัย ประมาณกลางพุทธศตวรรษที่ 19 ลักษณะภาพเขียนสี เอก
รงค์ เขียนเป้ นพระพุทธรู ปปางมารวิชย ปางสมาธิ มีเทวดา
                                     ั
ประกอบ (ลักษณะเทวดาเป็ นแบบอิทธิพลของศิลปลังกา) ส่ วนลักษณะ
พระพุทธรู ปแบบประติมากรรมของสุ โขทัย โดยมีเส้นรอบนอกอ่อนช้อย
งดงาม สี ที่ใช้มีขาว สี แดง และสี ดา
         ภาพสลักลายเส้นบนพระพุทธบาทโลหะ (สาริ ด) ประมาณปลาย
พุทธศตวรรษที่ 19 (จากวัดเสด็จ อาเภอเมือง จังหวัดกาแพงเพชร) ลักษณะ
ภาพสลักลายเส้นบนพระพุทธบาทโลหะ มีรูปอดีตพระพุทธเจ้ากาลังลีลาอยู่
บนของรอยพระพุทธบาท ที่เบื้องล่างด้ายซ้ายของรอยพระพุทธบาท มีภาพ
โลกบาลยืนถือพระขรรค์อยู่ 3 รู ป
จิตรกรรมฝาผนังในพระเจดีย์ วัดเจ็ดแถว อาเภอ
        ศรีสัชนาลัย จังหวัดสุ โขทัย
2. ประติมากรรม
      ประติมากรรมในสมัยสุ โขทัย นิยมสร้างพระพุทธรู ปมาก ลักษณะ
ของประติมากรรมส่ วนใหญ่จะเป็ นช่ างฝี มือทางปั้นมากกว่ าการ
แกะสลัก และจัดเป็ นช่างฝี มือระดับสูง จะเห็นได้จากการสร้าง
พระพุทธรู ป ซึ่งสร้างตามพุทธลักษณะ มีความงามแบบอุดมคติ
โดยเฉพาะพระพุทธรู ปปางลีลา นอกจากนั้นยังสามารถสร้าง
พระพุทธรู ปในอิริยาบถต่าง ๆ เช่น นัง เดิน นอน (เรี ยกว่าพระสี่ อิริยาบถ)
                                    ่
ได้อย่างงดงามอีกด้วย พระพุทธรู ปสมัยสุ โขทัยแบ่งออกเป็ นหมวดหมู่
ได้ดงนี้คือ
    ั
                             ่ ั่
        ก. หมวดใหญ่ซ่ ึงมีอยูทวไปเป็ นศิลปสุ โขทัยโดยเฉพาะ คือพระ
พักตร์รูปไข่ พระขนงโก่ง เป็ นต้น
ข. หมวดกาแพงเพชร พบแต่ในท้องที่เมืองกาแพงเพชร คือ
พระพุทธรู ปมีพระนลาฎกว้าง พระหนุเสี้ ยม
                                                 ่
        ค. พระพุทธชินราช ลักษณะพระพักตร์คอนข้างกลม พระวรกาย
ค่อนข้างอ้วน นิ้วพระหัตถ์ท้ งสี่ มีปลายเสมอกัน เช่น พระพุทธชินราช
                              ั
จังหวัดพิษณุโลก
        ง. หมวดวัดตะกวน หรื อหมวดเบ็ดเตล็ด เป็ นหมวดที่มีลกษณะั
                            ่
แบบเชียงแสนเข้ามาผสมอยูมาก เช่นวัดพระพราย เป็ นต้น
3 .สถาปัตยกรรม
        พระปรางค์ได้รับอิทธิพลจากลพบุรี แต่มีลกษณะพิเศษเป็ นของ
                                                  ั
ตัวเอง โดยแก้รูปทรงให้ชลูดพระปรางค์ท่ีสาคัญ เช่น พระปรางค์วดศรี    ั
สวาย พระปรางค์วดพระพรายหลวง พระปรางค์วดพระศรี รัตนมหาธาตุ
                     ั                              ั
เป็ นต้น
        พระเจดีย ์ พระเจดียสมัยสุ โขทัย มีแบบใหญ่ 3 แบบ คือ
                           ์
                             ์     ่
               1. พระเจดียทรงพุมข้าวบิณฑ์หรื อเจดียดอกบัวตูม ลักษณะ
                                                      ์
             ่
มียอดตั้งอยูบนเรื อนธาตุสี่เหลี่ยมย่อมุมไม้ยสิบ สูงสง่างาม เช่นเจดียวด
                                              ่ี                     ์ั
มหาธาตุ เป็ นต้น
               2. เจดียทรงลังกา เชื่อว่าได้รับอิทธิพลมาจากลังกา เช่น
                        ์
เจดียชางล้อม ที่ศรี สัชนาลัย เจดียยอดเข้าสุ วรรณคิรี เป็ นต้น ลักษณะเป็ น
      ์้                             ์
เจดียทรงกลมหรื อระฆัง
      ์
3. เจดียแบบศรี วิชย เป็ นเจดียที่ได้รับอิทธิพลจากศรี วิชย ลักษณะ
                     ์        ั            ์                       ั
เป็ นเจดียหลายยอดประกอบด้วยฐานสูงสี่ เหลี่ยม มีเรื อนธาตุเป็ นรู ปสี่ เหลี่ยม
           ์
จตุรัส ด้านข้างทาเป็ นซุมประดิษฐานพระพุทธรู ปทั้ง 4 ทิศ
                           ้
           4. เครื่ องสังคโลก เครื่ องเคลือบดินเผา ในสมัยสุ โขทัยทาเป็ นถ้วย
ชาม ไห และภาชนะต่าง ๆ มีรูปทรงหลาย ๆ แบบ เคลือบด้วยน้ ายาเคลือบสี
ขาว สี น้ าตาล สี เขียวไข่กา และทาเป็ นเครื่ องประเภทประติมากรรมรู ปแบบ
ต่าง ๆ ใช้ประดับตกแต่ง เช่น ทาเป็ นสิ งค์ นาค เป็ นต้น
สมัยอยุธยา
สภาพสั งคมไทยสมัยกรุงศรีอยุธยา
                                        ่
       สังคมไทยสมัยกรุ งศรี อยุธยา แม้วาจะต่อเนื่องมาจากสังคมสมัย
                ็
สุ โขทัย แต่กได้มีความเปลี่ยนแปลงแตกต่างไปจากสังคมสมัยสุ โขทัย
หลายด้าน ทั้งนี้กเ็ พราะว่าสถาบันสูงสุ ดของการปกครองได้เปลี่ยนฐานะ
ไป นันคือ พระมหากษัตริ ยได้เปลี่ยนฐานะจากมนุษยราชในสมัยสุ โขทัย
       ่                    ์
เป็ นเทวราชขึ้นในสมัยอยุธยา เปลี่ยนจากฐานะความเป็ น "พ่อขุน" มา
เป็ น "เจ้าชีวิต" ของประชาชนซึ่งเป็ นผลให้ระบบและสถาบันทางการ
ปกครองต่างๆ แตกต่างไปจากสังคมไทยสมัยสุ โขทัยด้วย
ชนชั้นของสั งคมสมัยอยุธยา
       สังคมอยุธยา เป็ นสังคมที่เต็มไปด้วยชนชั้น นับตั้งแต่การแบ่งแยก
                                     ์ั
ชนชั้นอย่างเด็ดขาด ระหว่างกษัตริ ยกบราษฎรแล้ว พระบรมวงศานุวงศ์
ก็มีอนดับสูงต่าลดหลันกันเป็ นชั้นๆ ในหมู่ราษฎร ก็มีการแบ่งชนชั้นกัน
     ั                 ่
             ้ ั
เป็ นชนชั้นผูดีกบชนชั้นไพร่ ในหมู่ขาราชการก็มีศกดินาเป็ นตัวกาหนด
                                      ้           ั
ความสู งต่าของข้าราชการในชนชั้นต่างๆ ซึ่งชนชั้นต่างๆ เหล่านี้
ก่อให้เกิดมีสิทธิในสังคมอยุธยาขึ้นแตกต่างกันด้วย
ชนชั้นสู งสุ ดในสมัยอยุธยาคือพระบรมวงศานุวงศ์ ส่ วนข้าราชการ
หรื อขุนนางนั้น ก็แบ่งเป็ นชั้นๆ ลดหลันกันไปตามลักษณะหน้าที่และ
                                      ่
ความรับผิดชอบ พร้อมกับตาแหน่งหน้าที่แล้ว ราชการสมัยอยุธยายังมี
ศักดินา ซึ่งมากน้อยตามตาแหน่งหน้าที่ ระบบศักดินานี้เป็ นระบอบของ
สังคมอยุธยาโดยแท้ เพราะศักดินานั้น ต้องมีต้ งแต่ขนนางชั้นผูใหญ่
                                            ั ุ            ้
พระบรมวงศานุวงศ์ลงไปจนถึงข้าราชการชั้นผูนอย และประชาชน
                                             ้ ้
ธรรมดา จานวนลดหลันลงไป ่
     นอกจากจะแบ่งตามหน้าที่ตาแหน่งและความรับผิดชอบแล้ว
ชนชั้นในสังคมอยุธยา ยังแบ่งออกกว้างๆ เป็ นสองชนชั้นอีก คือ ผูมี         ้
ศักดินาตั้งแต่ 400 ขึ้นไป เรี ยกว่าชนชั้นผูดี ส่ วนที่ต่าลงมาเรี ยกว่า ไพร่
                                           ้
         ็
แต่ไพร่ กอาจเป็ นผูดีได้ เมื่อได้ทาความดีความชอบเพิ่มศักดินาของตน
                   ้
                           ้ ็
ขึ้นไปถึง 400 แล้ว และผูดีกอาจตกลงมาเป็ นไพร่ ได้หากถูกลดศักดินา
ลงมาจนต่ากว่า 400
สั งคมอยุธยานั้น กฎหมายกาหนดให้ทุกคนต้องมีนาย ตาม
กฎหมาย ลักษณะรับฟ้ องมาตรา 10 กล่าวว่า "ราษฎรรับฟ้ องร้องด้วยคดี
ประการใดๆ แลมิได้สงกัดมูลนายอย่าพึงรับไว้บงคับบัญชาเป็ นอันขาด
                        ั                     ั
ให้ส่งตัวผูน้ นแก่สสดี เอาเป็ นคนหลวง" จะเห็นว่า ไพร่ ทุกคนของสังคม
            ้ ั     ั
อยุธยาต้องมีสงกัดมูลนายของตน ผูไม่มีนายสังกัดกฎหมายไม่
                ั                  ้
รับผิดชอบในการพิทกษ์รักษาชีวิตและทรัพย์สิน ไพร่ จะต้องรับใช้ชาติ
                      ั
ในยามสงคราม จึงต้องมีสังกัดเพื่อจะเรี ยกใช้สะดวก เพราะในสมัย
อยุธยานั้น ไม่มีทหารเกณฑ์หรื อทหารประจาการในกองทัพเหมือน
                  ็
ปัจจุบน จะมีกแต่กองทหารรักษาพระองค์เท่านั้น
      ั
นอกจากนั้น เป็ นเพราะสมัยแรกตั้งกรุ งศรี อยุธยา ต้องใช้ชาย
ฉกรรจ์จานวนมากในการปกป้ องข้าศึก ศัตรู ความจาเป็ นของสังคมจึง
บังคับให้ราษฎรต้องมีนาย เพราะนายจะเป็ นผูเ้ กณฑ์กาลังไปให้เมืองหลวง
ป้ องกันภัยจากข้าศึกศัตรู และนายซึ่งต่อมากลายเป็ น "เจ้าขุนมูลนาย" ต้อง
มีความรับผิดชอบต่อลูกหมู่ของตน ถ้านายสมรู ้ร่วมคิดกับลูกหมู่ทา
ความผิด ก็ถกปรับไหมตามยศสูงต่า และหากลูกหมู่ของตนถูกกล่าวหาว่า
             ู
เป็ นโจรปล้นทรัพย์ มูลนายก็ตองส่ งตัวลูกหมู่ให้แก่ตระลากร สังคม
                             ้
อยุธยาจึงเป็ นสังคมที่ตองมีความรับผิดชอบมากอยู่ มีกฎเกณฑ์ต่างๆ
                       ้
มากมาย เพราะลักษณะและองค์ประกอบของสังคมซับซ้อนกว่าสังคม
สุ โขทัย
กระบวนการยุตธรรม
                                ิ
สามารถแบ่ งได้ ดังนี้
      กฎหมายในสมัยอยุธยาที่ตราขึ้นมานั้นมีลกษณะเหมือนในปัจจุบน
                                           ั                   ั
เป็ นกฎหมายลายลักษณ์อกษรที่เป็ นหลักฐานชัดเจนตราขึ้นมาเพื่อใช้
                      ั
บังคับคนในสังคมทุกคนให้อยูร่วมกันอย่างสงบเรี ยบร้อย
                           ่

กฎหมายที่ตราขึ้นอาจแยกเป็ นดังนี้
      - คัมภีร์พระธรรมศาสตร์ เป็ นกฎหมายแม่บทที่ใช้เป็ นหลักสาหรับ
ใช้พิจารณาคดีความ และตรากฎหมายย่อยขึ้นมารองรับ ไทยได้นา
แบบอย่างมาจากกฎหมายของมอญ ซึ่งมอญก็นามาจากอินเดียมา
- พระราชศาสตร์ เป็ นกฎหมายย่อยที่ตราขึ้นมาใช้ โดยตราเป็ น
พระราชกาหนด พระราชบัญญัติ หรื อบทพระอัยการ โดยอาศัยคัมภีร์
พระราชศาสตร์เป็ นหลัก และคานึงถึงความเหมาะสมของเหตุการณ์
บ้านเมืองในขณะนั้น
         กฎหมายสาคัญๆ ที่มีการตราขึ้นใช้ เช่นกฎหมายลักษณะพยาน
กฎหมายลักษณะอาญา กฎหมายลักษณะรับฟ้ อง กฎหมายลักษณะโจร
กฎหมายลักษณะลักพา กฎหมายลักษณะผัวเมีย กฎหมายพิสูจน์การ -
ดาน้ าลุยเพลิง กฎหมายลักษณะมรดก เป็ นต้น
การศึกษา
                                         ่
        ในสมัยอยุธยา การศึกษาถูกจากัดอยูในวงจากัด เป็ นการศึกษาแบบ
ไม่บงคับผูสอนมักสงวนวิชาไว้แค่ในวงศ์ตระกูลของตนหรื อ คนเพียงวง
      ั       ้
แคบ ส่ วนใหญ่จะจัดกันในสถานที่เหล่านี้ ได้แก่
        1) วัด จะให้การศึกษากับบุตรหลานในเรื่ องจริ ยธรรม พฤติกรรม
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ขนบธรรมเนียม การอ่านและเขียน
ภาษาไทย การคานวณ รวมไปถึงวิชาการพื้นฐานอื่นๆ เช่น วิชาเวท
                 ่
มนตร์คาถาอยูยงคงกระพัน หรื อวิชาช่าง ทั้งช่างฝี มือและศิลปกรรมผูที่   ้
เรี ยนต้องบวชเรี ยนเป็ นภิกษุหรื อสามเณรเสี ยก่อน ส่ วนใหญ่ผที่เรี ยนจะ
                                                            ู้
เป็ นบุตรหลานในครอบครัวของคนสามัญชน
2) บ้ าน ส่ วนใหญ่จะให้การศึกษาในวิชาชีพที่ครอบครัวมีอยู่
                                              ่
สาหรับเด็กชายจะเป็ นงานที่เป็ นอาชีพในบ้านอยูแล้ว เช่น งานตีเหล็ก
งานปั้น งานแกะสลัก งานช่าง หรื อการรับราชการ เพื่อจะได้สืบทอด
งานต่อไป ส่ วนเด็กผูหญิงก็จะเป็ นงานบ้านงานเรื อน เช่น การทาอาหาร
                        ้
เย็บปักถักร้อย เพื่อเป็ นแม่บานต่อไป
                             ้
3) วัง เป็ นสถานศึกษาสาหรับคนชั้นสูง ผูที่เรี ยนมักเป็ นเชื้อพระวงศ์
                                                ้
เจ้านายในพระราชวังเท่านั้น จะให้การศึกษาในเรื่ องการเมืองการ
ปกครอง เศรษฐกิจ และศิลปวัฒนธรรม เพื่อไปใช้ในการปกครองในเวลา
         ้                    ั                   ่
ต่อไป ผูสอนก็เป็ นปราชญ์ท้ งหลายที่ประจา อยูในพระราชวัง ซึ่งมี
ความรู ้อย่างมาก วังนับเป็ นสถานศึกษาที่สาคัญที่สุด เพราะมีนกปราชญ์
                                                                ั
                 ่
ราชบัณฑิตอยูมากมาย หลังจากที่มีชาวตะวันตกเข้ามาติดต่อกับไทย ก็ได้
นาหมอสอนศาสนาหรื อมิชชันนารี มาด้วย นอกจากจะเผยแผ่ศาสนา
คริ สต์ของชาวตะวันตกนั้นแล้ว ก็ได้ให้การศึกษากับชาวไทย โดยจัดตั้ง
โรงเรี ยนเพื่อให้วิชาการ วิทยาการต่างๆ แก่เด็กไทยได้มีความรู ้ทดเทียม
                                                                   ั
กัน หรื อบางครั้งก็มีการส่ งนักเรี ยนไทยไปเรี ยนยังต่างประเทศ เพื่อนา
ความรู ้กลับมาพัฒนาบ้านเมืองต่อไป
ศิลปะอยุธยาเป็ นศิลปะที่สร้างขึ้นในอยุธยาในระยะเวลา 417 ปี ซึ่ง
มีศิลปกรรมแขนงต่างๆเกิดขึ้นมาก ศิลปกรรมเหล่านี้มีรูปแบบเนื้อหาที่
คล้ายคลึงกัน และมีวิวฒนาการไปตามสภาพของบ้านเมือง
                     ั
1.สถาปัตยกรรม
สถาปัตยกรรมอยุธยาสามารถแบ่งช่วงเวลาออกได้เป็ น 3 ยุคด้วยกัน คือ
      สถาปัตยกรรมอยุธยาตอนต้ น ตั้งแต่สมเด็จพระรามาที่ 1 ทรง
สถาปนากรุ งศรี อยุธยาเมื่อ พ.ศ.1893 จนถึงสมัยสมเด็จประบรมไตร
โลกนาถใน พ.ศ.2031 ลักษณะสถาปัตยกรรมเป็ นแบบศิลปะลพบุรี หรื อ
ศิลปะเขมร กับศิลปะอู่ทอง ลักษณะทางสถาปัตยกรรมนิยมสร้างปรางค์
เป็ นประธานของวัดโดยมีลกษณะเลียนแบบปรางค์เขมรแต่มีลกษณะ
                           ั                             ั
สูงชะลูดกว่า เช่น ปรางค์ประธานวัดพุทไธสวรรย์ ปรางค์ประธานวัด
มหาธาตุ เป็ นต้น
ปรางค์ ประธานวัดพุทไธสวรรย์   ปรางค์ ประธานวัดมหาธาตุ
สถาปัตยกรรมอยุธยาตอนกลาง เริ่ มตั้งแต่สมเด็จพระบรมไตร
โลกนาถเสด็จขึ้นครองราชย์ที่เมืองพิษณุโลกใน พ.ศ.2006 จนถึงสมัย
พระเจ้าปราสาททองใน พ.ศ.2172 สถาปัตยกรรมได้รับอิทธิพลของ
ศิลปะสุ โขทัย โดยหันไปนิยมเจดียทรงลังกาแบบปรางค์แบบเขมร เช่น
                                 ์
พระมหาสถูปสามองค์วดพระศรี สรรเพชญ์ พระเจดียใหญ่ชยมงคล
                     ั                          ์     ั
จังหวัดพระนครศรี อยุธยา เป็ นต้น
พระมหาสถูปสามองค์
                      พระเจดีย์ใหญ่ ชัยมงคล
วัดพระศรีสรรเพชญ์
                    จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
สถาปัตยกรรมอยุธยาตอนปลาย เริ่ มตั้งแต่รัชกาลสมเด็จพระเจ้า
ปราสาททอง พ.ศ.2172 จนสิ้ นสมัยอยุธยาใน พ.ศ.2310 เป็ นช่วงเวลาที่
ศิลปะเขมรเข้ามามีอิทธิพลในศิลปะอยุธยาอีกครั้ง โดยเฉพาะรู ปแบบ
สถาปัตยกรรมปรางค์และสถาปัตยกรรมเขมร ตัวอย่างศิลปะในยุคนี้ เช่น
ปรางค์ประธานวัดไชยวัฒนาราม ปราสาทพระนครเหนือ นอกจากนี้
                          ์่
สมัยนี้ยงนิยมสร้างพระเจดียยอมุมไม้สิบสอง นับเป็ นลักษณะเฉพาะ
         ั
ของสถาปัตยกรรมอยุธยา
                             ่ ั
      ในสมัยสมเด็จพระเจ้าอยูหวบรมโกศ (พ.ศ.2275-2301) เป็ นช่วง
                                            ์่
สมัยของการบูรณปฏิสังขรณ์การสร้างพระเจดียยอมุมไม้สิบสองเป็ น
ที่นิยม ตัวอย่างสถาปัตยกรรมที่ได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์ในช่วงเวลานี้
เช่น พระมหาเจดียวดภูเขาทอง เป็ นต้น
                  ์ั
พระเจดีย์ย่อมุมไม้ สิบสอง   พระมหาเจดีย์วดภูเขาทอง
                                         ั
สถาปัตยกรรมแบบอื่นๆ คือ โบสถ์ วิหาร สมัยอยุธยาตอนต้นนิยม
ทาขนาดใหญ่มากเป็ นอาคารโถงสี่ เหลี่ยม ตัวอาคาร ผนัง เสา ก่อด้วยอิฐ
ผนังอาคารเจาะเป็ นช่องแคบๆ คล้ายซี่กรงเรี ยกว่า ลกฟัก เพื่อให้มีทาง
                                                 ู
ระบายลมและให้แสงแดดส่ องผ่านเข้าไปได้บาง ยังไม่มีการเขียนภาพ
                                           ้
จิตรกรรมตกแต่งพอถึงสมัยอยุธยาตอนกลางอาคารลดขนาดเล็กลง ก่อ
ผนังทึบ เจาะช่องระบายลมแคบๆ มีประตู 2-3 ช่อง
อาคารในสมัยอยุธยาตอนปลายฐานอาคารนิยมทาเป็ นรู ปโค้ง
คล้ายท้องเรื อ ถือเป็ นลักษณะเฉพาะของอาคารสมัยนี้ มีการเจาะหน้าต่าง
ที่ผนังอาคาร ตกแต่งซุมประตูหน้าต่างอย่างประณี ต ใช้กระเบื้องเคลือบ
                        ้
มุงหลังคา ในสมัยนี้มีการติดต่อค้าขายกับยุโรปมากขึ้นทาให้ได้รับ
วิทยาการใหม่ๆ มีการนาศิลปะการก่อสร้างอาคารของยุโรปมาผสม เช่น
การเจาะหน้าต่างโค้งแบบศิลปะกอทิกและใช้หน้าต่างถี่ข้ ึน เกิดการสร้าง
อาคาร 2 ชั้น โบสถ์ วิหารที่สร้างขึ้นใหม่มีหลายแห่ง เช่น ตาหนักพระ
พุทธโฆษาจารย์ วิหารวัดตึก วิหารวัดเจ้าย่า จังหวัดพระนครศรี อยุธยา
เป็ นต้น
สาหรับสถาปั ตยกรรมที่เกี่ยวข้องกับการปกครองบ้านเมืองนั้น มี
ป้ อมปราการและกาแพงเมืองในสมัยแรกๆ กาแพงเมืองเป็ นเพียงเชิงเทิน
ดิน มีเสาไม้ระเนียดปัก ต่อมาจึงมีการก่ออิฐถือปูน ป้ อมปราการและ
ประตูเมือง พัฒนาขึ้นภายหลังมีการติดต่อค้าขายกับชาวตะวันตก
                                        ่
      นอกจากนี้ยงมีสถาปัตยกรรมที่อยูอาศัยของประชาชน ซึ่งเรี ยกว่า
                 ั
เรื อนไทย นิยมสร้างเป็ นเรื อนชั้นเดียว ยกพื้นสูงใต้ถุนโปร่ ง มี 2 ลักษณะ
คือเรือนเครื่องผูก ปลูกด้วยไม้ไผ่ ใช้เส้นหวายและตอกเครื่ องผูกรัด เป็ น
      ่
ที่อยูของชาวบ้านทัวไป และเรือนเครื่องสั บ ปลูกด้วยไม้ เช่น ไม้ยาง ไม้
                    ่
ตะแบก ไม้แดง การปลูกต้องอาศัยวิธีเข้าปากไม้ โดยบากเป็ นปากเป็ น
ร่ องในตัวไม้แต่ละตัวแล้วนามาสับประกบกัน เป็ นเรื อนของผูมีฐานะดี
                                                                ้
2.ประติมากรรม
      ศิลปะอยุธยาด้านประติมากรรม ส่ วนมากสร้างเนื่องจากใน
พระพุทธศาสนา พระพุทธรู ปสมัยนี้นิยมหล่อด้วยสาริ ด อาจทาด้วยวัสดุ
อื่นบ้าง เช่น สกัดจากศิลา ทาด้วยไม้ ปูนปั้นดินเผา และทองคา พระ
ประธานในโบสถ์วิหารสมัยนี้มกเป็ นพระปูนปั้นหรื อสาริ ดขนาดใหญ่โต
                               ั
คับโบสถ์ สมัยอยุธยาตอนปลายนิยมสร้างพระพุทธรู ปทรงเครื่ องกันมาก
      นอกจากนี้ยงมีการสร้างประพิมพ์ทาเป็ นพระพุทธรู ปองค์เล็กๆ
                  ั
หลายองค์บนแผ่นเดียวกัน เรี ยกว่า พระแผง หรื อพระกาแพงห้าร้อย มี
ตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนกลาง ส่ วนอยุธยาตอนปลายมักนิยมทาพระพิมพ์
                                     ่
เป็ นพระพุทธรู ปทรงเครื่ องประทับอยูภายในเรื อนแก้ว
3.จิตรกรรม
                                     ่ ้
      ภาพจิตรกรรมอยุธยาเหลืออยูนอยมาก ส่ วนใหญ่เป็ นเรื่ อง
พระพุทธศาสนา ในสมัยอยุธยาตอนต้นนิยมเขียนบนผนังคูหาปรางค์
และคูหาเจดียเ์ ท่านั้น วิธีเขียนจะเขียนบนผนังขณะผิวปูนที่ฉาบยัง
หมาดๆอยู่ เพื่อให้เนื้อสี ซึมเข้าไปในผนัง เรี ยกว่า ภาพปูนเปี ยก โดยมาก
เป็ นภาพพระพุทธเจ้า ภาพสาวก และภาพบุคคลนังซ้อนกันเป็ นแถวๆ
                                                    ่
ราวปลายพุทธศตวรรษที่ 21 เป็ นต้นมา มีการเขียนภาพจิตรกรรม
ฝาผนังบนผนังโบสถ์และวิหาร เรื่ องราวที่เขียนมักเป็ นภาพพุทธประวัติ
ภาพชาดกทางพระพุทธศาสนา ภาพเทพชุมนุมเครื่ องประดับของภาพ
จะเขียนอย่างวิจิตรบรรจงมาก เช่น ภาพจิตรกรรมฝาผนังวัดใหญ่สุวรรณา
ราม วัดเก้าแก้วสุ ทธาราม จังหวัดเพชรบุรี วัดใหม่ประชุมพล ตาหนักพระ
พุทธโฆษาจารย์ วัดพุทไธสวรรย์ จังหวัดพระนครศรี อยุธยา จิตรกรรมฝา
ผนังที่อุโบสถวัดช่องนนทรี กรุ งเทพมหานคร เป็ นต้น
ภาพจิตรกรรมฝาผนัง
ตาหนักพระพุทธโฆษาจารย์.
4.ประณีตศิลป์
       สมัยอยุธยามีหลายประเภท เท่าที่ปรากฏหลักฐานเหลืออยูเ่ ป็ นพวก
เครื่ องไม้จาหลัก การเขียนลายรดน้ า เครื่ องเงิน เครื่ องทอง เครื่ องถม และ
การประดับมุก ส่ วนใหญ่เป็ นศิลปกรรมที่สร้างขึ้นปลายสมัยอยุธยา มี
เพียงไม่กี่ชิ้นที่เป็ นของสมัยกลางปลายสมัยต้น เช่น เครื่ องใช้
เครื่ องประดับ และวัตถุทางศาสนาทาด้วยทอง เป็ นงานสมัยต้นอยุธยา
พบในกรุ พระปรางค์วดราชบูรณะ และประตูจาหลักไม้ วัดพระศรี สรร
                         ั
เพชญ์ ผลงานสมัยอยุธยา
ประตูจาหลักไม้
วัดพระศรีสรรเพชญ์
ในสมัยปลายอยุธยา ประณี ตศิลป์ รุ่ งเรื องมากเช่น การทาลาย
รดน้า ตกแต่งบานประตูตพระธรรม หี บหนังสื อ และที่มีชื่อเสี ยงมาก
                           ู้
และสวยงามที่สุด ได้แก่ ลายรดน้ าบนตูพระธรรม วัดเชิงหวาย
                                     ้
                                                      ็
(วัดเวตวันธรรมาวาส) กรุ งเทพมหานคร นอกจากนี้กมีการประดับมุก
การทาเครื่ องถม และ เครื่ องเบญจรงค์ ที่มีชื่อเสี ยงมากคือ บานประตู
ประดับมุกมณฑปพระบาท จังหวัดสระบุรี บานประตูประดับมุกวิหาร
พระพุทธชินราช จังหวัดพิษณุโลก เครื่ องถมที่สมเด็จพระนารายณ์
มหาราชส่ งไปถวายพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 เป็ นพวกสร้อย กาไล แหวน
พาน ขัน กาน้ า หี บ คนโท กระโถน
5.นาฏศิลป์
      การแสดงนาฏศิลป์ สมัยอยุธยามีการแสดงเป็ นเรื่ องราว เช่น หนัง
ใหญ่ โขน ละครชาตรี ละครนอก ละครใน และการเชิดหุ่น ซึ่งในงาน
พระราชพิธีและงานสาคัญของบ้านเมืองมักนิยมการแสดงกันมากแต่
                                               ็ ั
สามัญชนนิยมเล่น ละครชาตรี ส่ วนด้านการดนตรี กพฒนาขึ้นมาก มีการ
ประสมวง 3 ลักษณะ ได้แก่ วงมโหรี วงปี่ พาทย์และวงเครื่ องสาย มีบท
เพลงและทานองเพลงของสมัยอยุธยาเป็ นอันมากที่สืบทอดต่อมาจนถึง
ปัจจุบนั
6.วรรณกรรม
                                                   ่
      วรรณกรรมสมัยอยุธยาเท่าที่มีหลักฐานเหลืออยูและพอจะ
ตรวจสอบได้มีไม่มากนัก ลักษณะวรรณกรรมค่อนข้างหลากหลายใน
เนื้อหา คือ มีท้ งวรรณกรรมที่เกี่ยวกับพิธีกรรม ศาสนาและคาสอน การ
                 ั
สดุดีเฉลิมพระเกียรติพระมหากษัตริ ย ์ ตลอดจนวรรณกรรมเกี่ยวกับ
ความรัก ความบันเทิงเริ งรมย์ และการบันทึกเหตุการณ์ มีท้ งประเภทร้อย
                                                        ั
                         ั                  ่
แก้วและร้อยกรอง โดยมีลกษณะร่ วมกันอยูประการหนึ่ง คือ ผูแต่ง้
                                               ั
วรรณกรรมเป็ นชนชั้นสูงและมีความสัมพันธ์กบราชสานัก
สมัยต้นอยุธยา วรรณกรรมที่สาคัญ คือ ลิลิตโองการแช่งน้ า แต่งขึ้น
เพื่อใช้ในพระราชพิธีถือน้ าพระพิพฒน์สัตยา มาถึงสมัยสมเด็จพระบรม
                                 ั
ไตรโลกนาถครองราชย์ ถือเป็ นยุครุ่ งเรื องทางวรรณกรรม มีมหาชาติคา
หลวงแต่งขึ้นเพื่อความศรัทราในพระพุทธศาสนา ลิลิตยวนพ่าย เพื่อสดุดี
และเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถในการทาสงครามชนะ
ล้านนา ลิลิตพระลอ เป็ นวรรณกรรมเพื่อความบันเทิงและความงามใน
วรรณศิลป์ โคลงกาสรวล และโคลงทวาทศมาศ เป็ นวรรณกรรมประเภท
นิราศ
ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช จัดเป็ นยุครุ่ งเรื องทาง
วรรณกรรมอีกสมัยหนึ่ง วรรณกรรมที่แต่งขึ้นในสมัยนี้ค่อนข้างมีเนื้อหา
หลากหลาย เช่นสมุทรโฆษคาฉันท์ (บางส่ วน) แต่งขึ้นเพือใช้เล่นหนัง
                                                         ่
ในงานฉลองพระชนมายุครบ 25 พรรษาของสมเด็จพระนารายณ์
มหาราช ได้รับการยกย่องว่าเป็ นยอดของวรรณกรรมประเภทฉันท์
วรรณคดีที่แต่งเป็ นคาฉันท์มีอีกหลายเรื่ อง คือ เสื อโคคาฉันท์ อนิรุทธ์คา
ฉันท์ และฉันท์ดุษฏีสงเวยกล่อมช้างนอกจากนี้ยงมี จินดามณี เป็ น
                     ั                           ั
แบบเรี ยนภาษาไทยเล่มแรกที่พระโหราธิ บดีแต่งขึ้นใน พ.ศ.2215 และ
พระราชพงศาวดารกรุ งเก่าฉบับหลวงประเสริ ฐอักษรนิต์ ิ รวบรวมขึ้นใน
พ.ศ.2223
งานสังคม...
งานสังคม...
งานสังคม...
งานสังคม...
งานสังคม...
งานสังคม...
งานสังคม...
งานสังคม...
งานสังคม...
งานสังคม...
งานสังคม...

More Related Content

What's hot

เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยาการเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยาtinnaphop jampafaed
 
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยchatsawat265
 
หัวข้อที่ ๖ อาณาจักรสุโขทัย
หัวข้อที่ ๖  อาณาจักรสุโขทัยหัวข้อที่ ๖  อาณาจักรสุโขทัย
หัวข้อที่ ๖ อาณาจักรสุโขทัยchakaew4524
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยาJulPcc CR
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัยsangworn
 

What's hot (20)

การสถาปนา..
การสถาปนา..การสถาปนา..
การสถาปนา..
 
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
 
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
 
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจพัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
การเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทยการเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทย
 
อยุธยา
อยุธยาอยุธยา
อยุธยา
 
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยาการเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา
 
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
หัวข้อที่ ๖ อาณาจักรสุโขทัย
หัวข้อที่ ๖  อาณาจักรสุโขทัยหัวข้อที่ ๖  อาณาจักรสุโขทัย
หัวข้อที่ ๖ อาณาจักรสุโขทัย
 
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรีประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
 
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัย
 

Viewers also liked

เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรีเศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
TEMA 3B The Plural of Adjectives
TEMA 3B The Plural of AdjectivesTEMA 3B The Plural of Adjectives
TEMA 3B The Plural of AdjectivesSenoraAmandaWhite
 
M&A Integration Check Lists and Benchmarks From Our Most Successful
M&A Integration Check Lists and Benchmarks From Our Most SuccessfulM&A Integration Check Lists and Benchmarks From Our Most Successful
M&A Integration Check Lists and Benchmarks From Our Most Successfulperegoff
 
Designer-Engine LTD
Designer-Engine LTDDesigner-Engine LTD
Designer-Engine LTDChinDEEN
 
TEMA 5A Possessive Adjectives
TEMA 5A Possessive AdjectivesTEMA 5A Possessive Adjectives
TEMA 5A Possessive AdjectivesSenoraAmandaWhite
 
Sheehy manual de urgencia de enfermería
Sheehy manual de urgencia de enfermeríaSheehy manual de urgencia de enfermería
Sheehy manual de urgencia de enfermeríaMANUEL RIVERA
 
Hoy lugo acta lugo
Hoy lugo acta lugoHoy lugo acta lugo
Hoy lugo acta lugooscargaliza
 
Tools for Learning (51.-60.)
Tools for Learning (51.-60.)Tools for Learning (51.-60.)
Tools for Learning (51.-60.)nazzzy
 

Viewers also liked (14)

ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทย
ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทยประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทย
ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทย
 
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรีเศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
 
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
เศรษฐกิจระหว่างประเทศเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
 
TEMA 3B The Plural of Adjectives
TEMA 3B The Plural of AdjectivesTEMA 3B The Plural of Adjectives
TEMA 3B The Plural of Adjectives
 
M&A Integration Check Lists and Benchmarks From Our Most Successful
M&A Integration Check Lists and Benchmarks From Our Most SuccessfulM&A Integration Check Lists and Benchmarks From Our Most Successful
M&A Integration Check Lists and Benchmarks From Our Most Successful
 
Designer-Engine LTD
Designer-Engine LTDDesigner-Engine LTD
Designer-Engine LTD
 
TEMA 5A Possessive Adjectives
TEMA 5A Possessive AdjectivesTEMA 5A Possessive Adjectives
TEMA 5A Possessive Adjectives
 
Client Presentation
Client PresentationClient Presentation
Client Presentation
 
Sheehy manual de urgencia de enfermería
Sheehy manual de urgencia de enfermeríaSheehy manual de urgencia de enfermería
Sheehy manual de urgencia de enfermería
 
Hoy lugo acta lugo
Hoy lugo acta lugoHoy lugo acta lugo
Hoy lugo acta lugo
 
Tools for Learning (51.-60.)
Tools for Learning (51.-60.)Tools for Learning (51.-60.)
Tools for Learning (51.-60.)
 
การแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาคการแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาค
 

Similar to งานสังคม...

รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์
รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์
รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์kulrisa777_999
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาsangworn
 
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475kulrisa777_999
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
อาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยอาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยkrunrita
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง4,21
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง4,21อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง4,21
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง4,21miccmickey
 
การศึกษาไทยในสมัยโบราณ
การศึกษาไทยในสมัยโบราณการศึกษาไทยในสมัยโบราณ
การศึกษาไทยในสมัยโบราณssuser930700
 
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทยบทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทยSaiiew
 
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่ายธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่ายChinnakorn Pawannay
 

Similar to งานสังคม... (20)

รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์
รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์
รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
การเปลี่ยนแปลงสังคมไทย
การเปลี่ยนแปลงสังคมไทยการเปลี่ยนแปลงสังคมไทย
การเปลี่ยนแปลงสังคมไทย
 
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
 
Korea
KoreaKorea
Korea
 
ประวัติศาสตร์ไทย
ประวัติศาสตร์ไทยประวัติศาสตร์ไทย
ประวัติศาสตร์ไทย
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
 
อาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยอาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัย
 
เฉลยใบงาน 6.2
เฉลยใบงาน 6.2เฉลยใบงาน 6.2
เฉลยใบงาน 6.2
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง4,21
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง4,21อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง4,21
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง4,21
 
การศึกษาไทยในสมัยโบราณ
การศึกษาไทยในสมัยโบราณการศึกษาไทยในสมัยโบราณ
การศึกษาไทยในสมัยโบราณ
 
Tonburi
TonburiTonburi
Tonburi
 
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทยบทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
 
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราชพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
 
7
77
7
 
เฉลยใบงาน 6.3
เฉลยใบงาน 6.3เฉลยใบงาน 6.3
เฉลยใบงาน 6.3
 
สะบายดี
สะบายดีสะบายดี
สะบายดี
 
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่ายธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
 
เฉลยใบงาน 6.1
เฉลยใบงาน 6.1เฉลยใบงาน 6.1
เฉลยใบงาน 6.1
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand

พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand (20)

กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลินกำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลิน
 
รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social mediaรายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
 
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงานแบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
 
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็มผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
 
O net ม.3
O net ม.3O net ม.3
O net ม.3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
1
11
1
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ
 
สภาพภูมิอากาศ
สภาพภูมิอากาศสภาพภูมิอากาศ
สภาพภูมิอากาศ
 

งานสังคม...

  • 1.
  • 2. สมาชิก นายชยกฤต ลิขิตตานุสิทธิ์ เลขที่ 10 นายศุภฤกษ์ กันเขี่ย เลขที่ 5 นางสาวกวิตา สุ ริยะไชย เลขที่ 11 นางสาวธิดาศิลป์ มูลใจทราย เลขที่ 18 นางสาววราภรณ์ แสงศรี จนทร์ ั เลขที่ 25 นางสาววริ นทร ธนะกูลวัฒนา เลขที่ 26
  • 4. พัฒนาการทางด้ านสั งคม สังคมสุ โขทัยเป็ นสังคมที่ผคนมีความศรัทธาในพระพุทธศาสนาอย่าง ู้ แน่นแฟ้ น โดยมีพระมหากษัตริ ยเ์ ป็ นศูนย์กลางของอานาจในแผ่นดิน พระราชวงศ์ ขุนนาง ข้าราชการจะเป็ นผูรับเอาพระบรมราชโองการของ ้ พระมหากษัตริ ยไปปกครองบ้านเมืองอีกต่อหนึ่ง โดยราษฎรบางส่ วนมี ์ ่ ฐานะเป็ นไพร่ และข้ารับใช้ของนาย และอยูภายใต้การปกครองและควบคุม ของขุนนางและข้าราชการแต่ราษฎรบางส่ วนก็มีอิสระในการดารงชีวิตของ ตนเองพอสมควร
  • 5. ความกว้างใหญ่ หรื อขนาดของอาณาจักร แตกต่างกันมาก พื้นที่ใน บริ เวณลุ่มน้ าเจ้าพระยามีความกว้างใหญ่กว่าพื้นที่ในเขตลุ่มน้ ายมของ สุ โขทัย ดังนั้นการกระจายตัวของประชากรจึงมีมากกว่า จาเป็ นต้องหา วิธีการควบคุมประชากรให้เป็ นระบบ เป็ นหมวดหมู่ เพื่อการเก็บภาษีอากร ผลประโยชน์ต่างๆของรัฐให้ได้ผล การจัด แบบหน่วยงานต้องรัดกุมและมีอานาจบารมีให้มีการปฏิบติงานมี ั ประสิ ทธิภาพ จึงต้องมีการนารู ปแบบในระบบศักดินามาใช้ เพื่อเป็ นการขยายอานาจและการป้ องกันพระราชอาณาจักรจากศัตรู ภายนอก จึงจาเป็ นต้องจัดหน่วยงานให้รัดกุม พร้อมที่จะเปลี่ยนสภาพ จากราษฎรเป็ นทหารได้ท้ งความสามารถในการทาสงครามและจานวน ั ทหารในหน่วยงาน กรม กองต่างๆ
  • 6. เพื่อให้เกิดประสิ ทธิผลในการรวบรวม กาลังคนเป็ นหมวดหมู่ และ การจัดเก็บผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจของบ้านเมือง จึงมีการนาระบบ ศักดินา มาใช้ในการจัดระเบียบสังคมในสมัยอยุธยา ระบบศักดินาเป็ น ระบบการแบ่งชนชั้น ของผูคนในสังคม ระบบนี้ได้รับอิทธิพลจากขอม ้ นับตั้งแต่สมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) แต่มีการประกาศ เป็ นพระราชกาหนด ในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ในพ.ศ.1997 กาหนดให้บุคคลทุกประเภทในสังคมไทยมีศกดินาทุกคน นับตั้งแต่พระ ั บรมวงศานุวงศ์ ขุนนาง ไพร่ ทาส พระสงฆ์ ยกเว้นพระมหากษตริ ย ์ ่ ที่มิได้ระบุศกดินา เพราะเป็ นพระเจ้าแผ่นดินอยูแล้ว ั
  • 7. • คาว่า “ศักดินา” คือ ศักดิ์ที่จะมีสิทธิ์ ในที่ดินจานวนหนึ่ง ตามที่ระบุไว้ ในพระราชกาหนด ที่ดินในยุคสมัยนั้น หมายถึงที่นา ที่ใช้ในการทามา หากินนันเอง และขณะเดียวกันก็มีหน้าที่ในความรับผิดชอบที่ตอง ่ ้ ควบคุมกาลังคนจานวนหนึ่ง สังคมในระบบศักดินา จึงมีบุคคล 2 ชนชั้น คือ ชนชั้นปกครอง ประกอบด้วยพระมหากษัตริ ย ์ ขุนนาง และชนชั้น ที่ถูกปกครอง ซึ่งประกอบไปด้วยไพร่ และทาส
  • 8. พระมหากษัตริย์ พระมหากษัตริ ย ์ ทรงเป็ นทั้งเจ้าชีวิตและเจ้าแผ่นดิน มีอานาจ เด็ดขาด ในการบริ หารบ้านเมือง และออกกฎหมาย การตัดสิ นคดี รวมทั้งการแต่งตั้งถอดยศ ศักดินาของเจ้านายและขุนนาง พระบรมวงศานุวงศ์ คือเจ้านาย ที่รับราชการสนองพระมหากษัตริ ย ์ บุคคลเหล่านี้ได้รับเกียรติยศและอภิสิทธิ์มาแต่กาเนิด มีตาแหน่งสื บสาย สกุลต่อกันมา เช่นเจ้าฟ้ า พระองค์เจ้า หม่อมเจ้า หม่อมราชวงศ์ และ หม่อมหลวง ตาแหน่งดังกล่าวเรี ยกว่า สกุลยศ นอกจากนี้ยงมีอิสริ ยยศ ั ที่ได้รับพระราชทาน เช่น พระราเมศวร พระพรมราชา ฯลฯ
  • 9. ขุนนาง ขุนนาง คือผูที่รับราชการสนองพระเดชพระคุณพระมหากษัตริ ย ์ ้ ควบคุมดูแลไพร่ หลวงและไพร่ สม มีศกดินา 10,000-400 ในสมัยสมเด็จ ั พระบรมไตรโลกนาถ มีการตราทาเนียบศักดินาขุนนาง ว่าด้วยยศ ราช ทินนาม ตาแหน่ง ศักดินา เช่น กาหนดให้เจ้าพระยาจักรี ศรี องครักษ์ ตาแหน่ง คือ สมุหนายก ศักดินาคือจานวน 10,000 หมายถึงยศคือ เจ้าพระยา ราชทินนามคือจักรี ศรี องครักษ์ ศักดินาคือจานวน 10,000 ขุนนางมีอภิสิทธิ์หลายประการ เช่น • มีไพร่ ไว้ในครอบครอง • ไม่ตองถูกเกณฑ์แรงงาน ้ • มีสิทธ์เข้าเฝ้ าเมื่อเสด็จออกว่าราชการ
  • 10. ไพร่ ไพร่ คือ พลเมืองสามัญชน ทั้งหญิง-ชาย มีศกดินาระหว่าง 10-25 ั ไพร่ ตองทางานอุทิศแรงงานให้แก่รัฐ โดยไม่ได้ค่าตอบแทน เพราะถือเป็ น ้ หน้าที่ โดยมีมูลนายเป็ นผูควบคุม ดังนั้นไพร่ ทุกคนจึงต้องสังกัดมูลนาย ้ สาหรับผูหญิงที่ข้ ึนทะเบียนไพร่ มกได้รับยกเว้นไม่ตองทางาน ยกเว้น ้ ั ้ กรณี ที่ทางราชการต้องการใช้งานในบางโอกาส ไพร่ มีหลายประเภท โดยแบ่งตามสังกัดมูลนายดังนี้
  • 11. • ไพร่ หลวง คือไพร่ ที่สงกัดมูลนายที่ข้ ึนตรงต่อพระมหากษัตริ ย ์ สังกัด ั กรม กอง ต่างๆ ไพร่ หลวงต้องมาปฏิบติหน้าที่ปีละ 6 เดือน ที่เรี ยกว่าเข้า ั เดือนออกเดือน ในยามสงบสุ ขจะลดเวลาเหลือปี ละ 3 เดือน ในยามปกติ ไพร่ หลวงจะทางานโยธา ก่อสร้าง ตามจับผูร้าย ในยามสงครามจะถูก ้ เกณฑ์ เข้ากองทัพ • ไพร่ สม คือ ไพร่ ท่ีสงกัดมูลนาย และทางานตามที่มลนายสัง อาจเป็ นงาน ั ู ่ หลวง หรื องานส่ วนตัวของมูลนายก็ได้ เพราะถือเป็ นสมบัติของมูลนาย ในยามสงครามต้องออกรบ ไพร่ สมอาจถูกโอนมาเป็ นไพร่ หลวงถ้า ราชการจาเป็ นต้องใช้งานจานวนมาก ่ • ไพร่ ส่วย คือ ไพร่ ที่อยูตามหัวเมือง ห่างไกลราชธานี พระมหากษัตริ ย ์ มอบให้ขนนาง เจ้านายดูแลในการใช้งาน โดยปกติไพร่ ส่วยจะส่ งสิ่ งของ ุ ่ ที่มีอยูในท้องถิ่นให้มูลนาย ที่สงกัด ตามที่กาหนดอัตราไว้ เช่นผ้าขาว น้ า ั รัก ทองคาผง เครื่ องเทศ
  • 12. ทาส ทาส คือผูตกเป็ นสิ นทรัพย์ของนายทาส นายเงิน รับใช้ทางานโดย ้ ไม่ได้รับผลตอบแทน หากทาผิดอาจถูกลงโทษ เฆี่ยนตี แต่ไม่ได้กระทา ถึงแก่ชีวิตเป็ นกลุ่มคนที่มีศกดินาต่าสุ ด คือ 5 ตามกฎหมายลักษณะทาส ั พ.ศ. 2191 แบ่งทาสออกเป็ น 7 ชนิด คือ ทาสสิ นไถ่ คือ คนยากจน มีหนี้สินจนต้องขายตนเอง สามี ภรรยา บุตร ธิดา ให้นายเงินใช้งานเป็ นทาสจนกว่า จะหาเงิน มาไถ่ถอนไปได้ ทาสในเรือนเบีย คือ ลูกทาสที่เกิดในเรื อนนายทาส ถือว่าตกเป็ น ้ สมบัติของนายทาสด้วย ทาสที่ได้ มาด้ วยการรับมรดก คือ ทาสที่ตกเป็ นมรดกของนาย ทาส คนต่อไป ถือว่าทาสคือทรัพย์สินที่ตกทอดเป็ นมรดกได้
  • 13. ทาสที่ช่วยไว้ จากทัณฑ์ โทษ คือ บุคคลที่ไม่มีเงินเสี ยค่าปรับ เมื่อมี เสี ยค่าปรับแทน ผูน้ นต้องตกเป็ นทาสของผูเ้ สี ยค่าปรับให้ ้ ั ทาสท่ านให้ คือ ทาสที่มีผอื่นยกให้ ู้ ทาสที่ได้ มาจากการช่ วยให้ พ้นจากความอดอยาก คือ ไพร่ ที่ขายตัว เป็ นทาสในยามอดอยาก ขายข้าวปลาอาหาร ทาสเชลย คือ ทาสที่ได้จากการแพ้สงคราม ในยามรบทัพจับศึก
  • 14. การเปลี่ยนสภาพของทาส ทาสอาจเปลียนสภาพการเป็ นอิสระได้ ดังนี้ ่ • โดยการหาเงินมาไถ่ถอน ตนเองหรื อผูอื่นหาเงินมาไถ่ถอน ้ • นายทาสอนุญาติให้บวชเป็ นพระสงฆ์ • นายทาสให้ไปสงครามถูกจับเป็ นเชลยแล้วหลบหนีออกมาได้ • แต่งงานกับนายทาสหรื อญาติพี่นองของนายทาส ้ • ทายทาสถูกข้อหาก่อการกบฏ ลูกทาสจะถูกปลดเป็ นอิสระ • สาหรับทาสเชลยไม่อาจไถ่ถอนได้ จนถึง พ.ศ. 2348 กาหนดให้ทาสเชลย มีค่าตัวและไถ่ถอนได้
  • 15. วัฒนธรรมสมัยกรุ งสุโขทัย ั ่ สุ โขทัยเป็ นอาณาจักรที่ต้ งอยูได้นานเกือบ 200 ปี สร้างแบบแผน การดาเนินชีวตอยูร่วมกัน ตลอดจนได้สร้างสรรค์วฒนธรรมไว้มากมาย ิ ่ ั วัฒนธรรมสมัยกรุ งสุ โขทัยในที่น้ ีได้แก่ วัฒนธรรมทางการศึกษา วัฒนธรรมทางด้านตัวอักษร วัฒนธรรมทางด้านวรรณกรรม วัฒนธรรม ทางด้านการแต่งกาย วัฒนธรรมทางด้านดนตรี และการฟ้ อนรา วัฒนธรรมทางด้านประติมากรรมและจิตรกรรม และวัฒนธรรมทางด้าน สถาปัตยกรรม
  • 16. 1. วัฒนธรรมทางด้ านการศึกษา ในสมัยโบราณความหมายของการศึกษา ซึ่งเป็ นความหมายเดิม แท้น้ น กล่าวว่า “การศึกษา คือ การสื บทอดและสร้างสรรค์วฒนธรรม” ั ั ในสมัยกรุ งสุ โขทัยการจัดรู ปแบบทางการศึกษาในช่วงแรกจะได้รับ อิทธิพลจากคติพราหมณ์เข้ามาต่อจากนั้นจึงรับคติธรรมทางพุทธศาสนา เข้ามาเป็ นหลักเกณฑ์สาคัญของการจัดการศึกษาทั้งสิ้ น การศึกษาใน สุ โขทัยน่าจะมีลกษณะต่าง ๆ หลายลักษณะดังนี้ ั
  • 17. 1.1 การศึกษาทางพุทธศาสนาให้แก่คนฝักใฝ่ ธรรม เป็ นการศึกษา ให้แก่ผที่มีปัญญาและต้องการพัฒนาปัญญาและจิตใจ การที่ฝักใฝ่ ธรรม ู้ มีความรู ้แตกฉานนั้นต้องเรี ยนหนังสื อ เรี ยนอักขระ ศึกษาอ่านเขียน พระธรรม คัมภีร์ต่าง ๆ โดยมีพระสงฆ์ทาหน้าที่ “ครู บาอาจารย์” 1.2 การศึกษาในวิชาชีพ เป็ นการเรี ยนตามกฎธรรมชาติ เรี ยนจาก ั ่ พ่อแม่ เรี ยนจากชุมชนที่ตวอยูใกล้ เรี ยนจากการกระทา การฝึ กฝน ศิลปหัตถกรรมต่าง ๆ การทาไร่ ไถ่นา การปั้นเครื่ องปั้นดินเผา งาน ทางด้านจิตรกรรม ประติมากรรมหรื อสถาปัตยกรรม เป็ นต้น
  • 18. 2. วัฒนธรรมทางด้ านตัวอักษรไทย ศิลาจารึกหลักที่ 1 ปรากฏข้อความที่เกี่ยวข้องอักษรไทยสมัยพ่อขุนรามคาแหงจากศิลาจารึ ก ดังกล่าว เชื่อกันว่าอักษรไทยพ่อขุนรามคาแหงซึ่งลงศิลาจารึ กปี พ.ศ. 1826 เป็ นอักษรไทยเก่าแก่ที่สุดที่ใช้ในประเทศไทยสาหรับความเป็ นมาของอักษร พ่อขุนรามคาแหงนั้นนักประวัติศาสตร์ นักโบราณคดี นักอักษรศาสตร์ได้ ทาการค้นคว้าเกี่ยวกับเรื่ องนี้อย่างแพร่ หลายโดยเฉพาะ ยอร์ช เซเดส์ สรุ ปว่า อักษรพ่อขุนรามคาแหงดัดแปลงมาจากอักษรขอมหวัด เพราะมีรูปลักษณะ คล้ายคลึงกันมาก แต่จากการศึกษาของ นันทนา ด่านวัฒน์ ทางด้านอักขรวิทยา พบว่าอักษรต้นตระกูลของอักษรพ่อขุนรามคาแหง คืออักษรหราหมี อักษร คฤนห์ อักษรขอมหวัด เพราะปรากฏความคล้ายคลึงทางด้านอักขรวิทยาของ อักษรพ่อขุนรามคาแหงและอักษรในตระกูลทั้งสาม อักษรพ่อขุนรามคาแหง นั้นปรากฏใช้เฉพาะในรัชสมัยของพระองค์เท่านั้น ต่อมาในสมัยพระมหา ธรรมราชาลิไทยได้ปรากฏรู ปอักษรไทยแบบใหม่ข้ ึนอักษรพบใหม่น้ ีเรี ยกว่า อักษรพระเจ้าลิไทย
  • 19. 3. วัฒนธรรมทางด้ านวรรณกรรม วรรณกรรมที่เกิดขึ้นในสมัยสุ โขทัยคงจะมีจานวนมากและหลาย ประเภท หากแต่มิได้ตกทอดมาถึงปัจจุบน วัฒนธรรมทางวรรณกรรมที่คน ั ไทยทุกคนในสมัยนี้รู้จก คือ ศิลาจารึ กหลักที่ 1หรื อจารึ กพ่อขุนรามคาแหง ั ซึ่งกรมศิลปากรได้จดไว้เป็ นอันดับแรกของวรรณกรรม ศิลาจารึ ก ั วรรณกรรมสมัยสุ โขทัยที่รู้จกรองลงมาได้แก่ ไตรภูมิพระร่ วง และสุ ภาษิต ั พระร่ วง ส่ วนใหญ่วรรณกรรมสมัยสุ โขทัยจะมีลกษณะสุ ดดีวีรกรรมและ ั เกี่ยวกับศาสนาหรื อปรัชญา ขอแยกกล่าวถึงวรรณกรรมสุ โขทัย ดังนี้
  • 20. 3.1 ศิลาจารึ ก ศิลาจารึ กมีประโยชน์ทางการศึกษาเรื่ องราวทาง ประวัติศาสตร์โบราณคดีตลอดจนวิชาอักษรศาสตร์ นิติศาสตร์ สังคมศาสตร์ และอื่น ๆ ศิลาจารึ กที่พบในสมัยสุ โขทัยมี ประมาณ 30 หลัก ที่สาคัญมากได้แก่ ศิลาจารึ กหลักที่ 1 3.2 ไตรภูมิพระร่ วง ถือเป็ นวรรณกรรมปรัชญาชิ้นแรกของไทย พระมหาธรรมราชาลิไทยทรงพระราชนิพนธ์ข้ ึนในปี พ.ศ. 1888 นับเป็ น วรรณกรรมที่ทรงคุณค่าทางปรัชญา คุณค่าทางวรรณคดีโดยเฉพาะการ สอนจริ ยธรรมคือ สอนให้คนรู ้จกความดีความชัว รู ้จกใช้วิจารณญาณ ั ่ ั และสอนให้คนมีศีลธรรมรักษาความดีและมีความรับผิดชอบ
  • 21. ่่ 3.3 สุ ภาษิตพระร่ วง วรรณกรรมชิ้นนี้ยงเป็ นที่ถกเถียงกันอยูวาเกิดขึ้น ั ในสมัยสุ โขทัยหรื อไม่อย่างไรก็ตามสุ ภาษิตพระร่ วงนับว่าเป็ นวรรณกรรม ที่ทรงคุณค่ายิงวรรณกรรมหนึ่ง เพราะสาระการสอนนันมีท้ งวิชาความรู ้ ่ ่ ั เรื่ องมิตรและการผูกมิตร การปฏิบติตนต่อบุคคลประเภทต่าง ๆ สอนให้ ั รู ้จกรักษาตัวให้พนภัย สอนให้รอบคอบ เป็ นต้น ั ้ 3.4 ตารับท้ าวศรีจุฬาลักษณ์ บางคนเชื่อว่าตารับท้าวศรี จุฬาลักษณ์ แต่งในสมัยสุ โขทัยเพราะมีเนื้อเรื่ องและท้องเรื่ องอ้างถึงสถานที่ต่าง ๆ ที่ เมืองสุ โขทัย อีกตอนหนึ่งกล่าวถึงพระราชจรรยาของสมเด็จพระร่ วงเจ้า แต่บางคนก็เชื่อว่าเป็ นวรรณกรรมที่แต่งในสมัยรัตนโกสิ นทร์ตอนต้น จุดประสงค์การแต่งเพื่อเป็ นการตักเตือนข้าราชการสานักฝ่ ายในให้มีกริ ยา มารยาทที่เหมาะสมกับศักดิ์ศรี ของตนเองและเพื่อเชิดชูเกียรติยศของ พระมหากษัตริ ยนอกจากนี้ยงทรงคุณค่าทางด้านขนบธรรมเนียมประเพณี ์ ั ของราชสานักโดยเฉพาะประเพณี พราหมณ์ท้ ง 12 เดือน ั
  • 22. 4.วัฒนธรรมการแต่ งกาย ่ นายชิน อยูดี ได้ทาการศึกษาค้นคว้าการแต่งกายของประชาชนชาวสุ โขทัย โดยอาศัยหลักฐานประเภทโบราณวัตถุสมัยสุ โขทัย จากหลักฐานที่เป็ นลายลักษณ์ อักษรจากการเปรี ยบเทียบกับเครื่ องแต่งกายละคร และจากการเปรี ยบเทียบกับ เครื่ องแต่งกายของคนไทยเผ่าต่าง ๆ ได้สรุ ปการแต่งกายสมัยสุ โขทัยว่า
  • 23. การแต่ งกายของผู้หญิง การแต่งกายของผูหญิง ผูหญิงในสมัยสุ โขทัย ้ ้ จะไว้ผมยาว เกล้ามวย มีเกี้ยวหรื อพวงมาลัยสวม ่ รอบมวย มวยนั้นมีท้ งเกล้าอยูกลางกระหม่อมและ ั ที่ทายทอย มีปิ่นปัก สวมเสื้ อแขนยาวตัวคับ นุ่งผ้าถุง ้ ผูหญิงบางคนห่ มผ้าสไบเฉี ยง ผ้าที่ใช้มีท้ งผ้าฝ้ ายและ ้ ั ผ้าไหม สี ของผ้ามีสี แดง ดา ขาว เหลือง เขียว ผัดหน้า วาดคิว สวมแหวน เจ้านายฝ่ ายในมีกรองคอ พาหุรัด ้ และทองพระกรทรงมงกุฎยอดแหลมหรื อกรอบพักตร์
  • 24. การแต่ งกายของผู้ชาย การแต่งกายของผูชาย ผูชายสมัยกรุ งสุ โขทัยไว้ผมยาว มุ่นมวยไว้ที่ ้ ้ กลางกระหม่อมก็มี ไว้ที่ทายทอยก็มี สวมเสื้ อผ้าผ่าอกแขนยาว และสวม ้ กางเกงขายาวแบบชุดคนเมือง ทหารสวมเสื้ อแขนสั้น ถ้าพระยาห้อยผ้า ไว้ที่บ่า มีผาคาดพุงหรื อเข็มขัด ชายบางคนนุ่งกางเกงขาสั้น เจ้านายนุ่งผ้า ้ โจงกระเบนคาดเข็มขัด และมีผาประดับทับโจงกระเบนห้อยลงมา 2 ข้าง ้ ผ้านี้จีบตามแนวเส้นนอน เวลาออกศึกนุ่งกางเกงขายาว มีผาโจงกระเบน ้ ทับอย่างเครื่ องแต่งการละคร หมวกที่ผชายใส่ มีมงกุฎยอดแหลม หมวก ู้ ทรงประพาสและหมวกรู ปคล้ายฝาชี ซึ่งบางท่านเรี ยกว่าหมวกชีโบ
  • 25. 5. วัฒนธรรมทางด้ านดนตรีและการฟ้ อนรา นายมนตรี ตราโมท ได้ศึกษาเรื่ องดนตรี สมัยสุ โขทัย โดยอาศัยหลักฐาน ประเภทศิลาจารึ กและภาพประติมากรรม รวมทั้งหนังสื อไตรภูมิพระร่ วง โดยเฉพาะศิลาจารึ กหลักต่าง ๆ ได้ระบุวา ่ 5.1 เครื่ องดนตรี ประกอบด้วยเครื่ องดนตรี ต่าง ๆ ดังนี้ คือ สังข์ แตร บัณเฑาะว์ มโหระทึก ปี่ สรไน กลองชนะ ฆ้อง กลอง ตะโพน ฉิ่ ง กลับ ระฆัง กังสดาล ซอ 5.2 เพลงร้องและเพลงดนตรี เป็ นอย่างไรยากที่จะชี้ให้ชดเจนได้ มีเพลง ั ที่น่าจะเป็ นเพลงสมัยสุ โขทัย คือ เพลงเทพทองหรื อเพลงสุ โขทัย ทานองเพลง ั นี้เดิมทีเป็ นเพลงพื้นเมืองใช้ร้องว่าแก้กนระหว่างผูหญิงผูชาย ส่ วนอีก 2 เพลง ้ ้ น่าจะเป็ นสมัยสุ โขทัย คือเพลงพระทองกับเพลงนางนาค
  • 27. 6. วัฒนธรรมทางด้ านประติมากรรมและจิตรกรรม วัฒนธรรมทางด้านประติมากรรมและจิตรกรรมเป็ นงานประณี ตศิลป์ แสดงถึงความสมารถและความเข้าถึงแก่นของคาสังสอนของพุทธศาสนาของ ่ ช่างศิลป์ 6.1 ประติมากรรม ได้แก่การสร้างพระพุทธรู ป ซึ่งนิยมสร้างพระพุทธรู ป ปั้นและหล่อด้วยสัมฤทธิ์ การสร้างพระพุทธรู ปเป็ นแบบลอยตัวและภาพนูนสู ง ติดฝาผนัง นอกจากนั้นพระพุทธรู ปแล้วยังมีการหล่อเทวรู ปสัมฤทธิ์ เช่น เทวรู ปพระนารายณ์ เทวรู ปพระอิศวร เทวรู ปพระหริ หระ เป็ นต้น งานประติมากรรมที่เด่นที่สุดในสมัยสุ โขทัยส่ วนใหญ่ คือ พระพุทธรู ป ่ จะเห็นได้วาพระพุทธรู ปที่สวยงามในศิลปะแบบสุ โขทัยเป็ นรู ปที่ตรัสรู ้แล้ว ็ ่ ดังนั้น ระบบกล้ามเนื้อต่าง ๆ จึงมีการผ่อนคลายและพระองค์กจะอยูในความ สงบแท้จริ ง พระพักตร์สงบมีรอยยิมเล็กน้อย ้
  • 28. 6.2 จิตรกรรม จิตรกรรมที่เราพบในสมัยสุ โขทัยทั้งภาพลายเส้นและลาย เขียนฝุ่ น ภาพลายเส้นในสมัยสุ โขทัย โดยเฉพาะภาพจาหลักลายเส้นลงเส้นใน ่ แผ่นหินชนวนวัดศรี ชุม เมืองสุ โขทัยเป็ นภาพชาดกจะเห็นได้วาเส้นลายดังกล่าว ่ เป็ นภาพที่อิทธิพลของศิลปะศรี ลงกาอยูมากมาย เช่น ภาพเทวดาต่าง ๆ คอมี ั รอยหยัก มงกุฎทรง เครื่ องแต่งกายเป็ นแบบลังกาทั้งสิ้ น ภาพสลักที่วดศรี ชุม ั เป็ นเรื่ องราวทางพระพุทธศาสนาเป็ นชาดกต่าง ๆ ส่ วนภาพจิตรกรรมฝาผนังนั้น เป็ นวิวฒนาการหนึ่งที่ไกลออกจากภาพลายสลักเส้น สี ที่ใช้ในโครงงานระบาย ั สี แบบดา แดง ที่เรี ยกว่า “สี เอกรงค์ ” แต่มีน้ าหนักอ่อนแก่เล่นจังหวะอย่าง สวยงาม นับเป็ นการก้าวหน้าทางหนึ่งในด้านประติมากรรมที่จิตรกรแสดงออก เช่น พระพุทธรู ปได้หลุดกออกจากอิทธิพลของลังกา แม้ภาพวาดเทวดายังคงมี ่ อิทธิพลของศิลปะลังกาเหลืออยูซ่ ึงภาพเขียนที่สาคัญ คือภาพเขียนที่วดเจดียเ์ จ็ด ั แถวเมืองศรี สชนาลัย ั
  • 30. 7.วัฒนธรรมด้ านสถาปัตยกรรม วัฒนธรรมด้านสถาปัตยกรรมสมัยสุ โขทัยนับว่าเป็ นความคิดที่แปลก ไม่เหมือนศิลปะอื่น ๆ สถาปัตยกรรมสุ โขทัยได้รับอิทธิพลโดยรอบ และ ได้นามาดัดแปลงตามความพอใจจนเกิดเป็ นแบบของตัวเองทั้ง ๆ ที่ อาณาจักรสุ โขทัยก็รับนับถือพุทธศาสนาจากลังกา แต่สถาปัตยกรรม แบบมอญและแบบขอมก็ไม่ได้มีอิทธิพลเหนือสุ โขทัยเลยสถาปัตยกรรม สุ โขทัยแบ่งออกเป็ น 2 รู ปแบบดังนี้
  • 31. 7.1 สถาปัตยกรรมรูปทรงอาคาร แบ่งออกเป็ น 3 แบบใหญ่ คือ 7.1.1 สถาปัตยกรรมรู ปทรงอาคาร ได้แก่ อาคารโอ่โถงหรื อ อาคารที่มีผนัง มีหลังคาซ้อนเป็ นชั้น ๆ ผังอาคารเป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมผืนผ้า ทางด้านหน้าต่อเป็ นมุขที่ยน มีบนไดขึ้นสองข้างทางมุข ตัวอย่าง เช่น ื ั วิหารที่วดสวนแก้วอุทยานน้อย เมืองศรี สัชนาลัย เป็ นต้น ั 7.1.2 อาคารที่ก่อด้วยแลงหรื อรู ปทรงอาคาร หลังคาใช้เรี ยง ด้วยแลงซ้อนเหลี่ยมกันขึ้นไปจนถึงชั้นสูงสุ ดที่ไปบรรจบกันที่ตอน อกไก่ ตัวอย่างเช่น วิหารวัดกุฏิราย เมืองศรี สัชนาลัย เป็ นต้น 7.1.3 อาคารที่เป็ นอาคารสี่ เหลี่ยม มีหลังคาที่เป็ นชั้นแหลม ลดหลันกันไปถึงยอด หลังคาเป็ นชั้นประมาณ 3 ชั้น ที่ ่ เรี ยกว่า “ มณฑป “ มณฑปนี้จะเป็ นแบบมณฑปที่มีผนังและมณฑปโถง ตัวอย่างเช่น มณฑปวัดศรี ชุม เมืองสุ โขทัย (มณฑปที่มีผนัง ) และหอเท วลัยมหาเกษตรพิมาน เมืองสุ โขทัย ( มณฑปโถง )
  • 32. 7.2 สถาปัตยกรรมรู ปแบบสถูปหรือเจดีย์ มีท้ งทรงกลมแบบลังกา เจดียทรง ั ์ ์่ กลมฐานสู ง เจดียยอเหลี่ยมแบบมีซุมจระนา เจดียแบบห้ายอด เจดียทรง ้ ์ ์ ปรางค์ ยอดเป็ นเจดียทรงกลมสถาปั ตยกรรมสมัยสุ โขทัย และเจดียทรงดอก ์ ์ บัวตูม จากลักษณะสถาปัตยกรรมเจดียต่าง ๆ เหล่านี้จะเห็นได้วาลักษณะ ์ ่ เจดียมี 2 แบบ คือ ์ 7.2.1 เจดียทรงกลมแบบลังกา เป็ นแบบที่สร้างสมัยแรก เช่นที่วด ์ ั ตะกวน วัดช้างล้อม วัดสระศรี เมืองสุ โขทัย
  • 34. 7.2.2 เจดีย์ทรงดอกบัวตูม สามารถแยกได้เป็ น 4 แบบย่อย คือ 7.2.2.1 เจดียดอกบัวตูมแบบวัดมหาธาตุ เมืองสุ โขทัย ซึ่ง ์ ่ ถือว่าเป็ นแบบเจดียทรงดอกบัวแบบสุ โขทัยแท้ ๆ ตั้งอยูบนฐานเขียง ฐาน ์ บัวลูกแก้ว เหนือฐานบัวลูกแก้วเป็ นแท่นแว่นฟ้ าย่อเหลี่ยม แท่นแว่นฟ้ ารับ เรื อนธาตุ ต่อจากเรื อนธาตุเป็ นยอที่เป็ นดอกบัวตูม ซึ่งเราจัดเป็ นเจดียที่สร้าง ์ โดยทัว ๆ ไป ่ 7.2.2.2 เจดียทรงดอกบัวตูมแบบวัดซ่อนข้าว เมืองสุ โขทัย ์ เป็ นแบบฐานแว่นฟ้ าบัวลูกแก้วสองชั้นตั้งรับเรื อนธาตุ
  • 35. 7.2.2.3 เจดียทรงดอกบัวตูมวัดอ้อมรอบ นอกเมืองสุ โขทัย ์ ด้านทิศเหนือปรกอบด้วยฐานเขียงบัว ฐานเขียง ฐานย่อเหลี่ยมรับเรื อน ธาตุ ตอนชั้นเรื อนธาตุรับยอดบัวมีซุม ้ 7.2.2.4 เจดียทรงดอกบัวตูมแบบวัดสะพานหิ น เมือง ์ สุ โขทัย และเจดียวดยอดทองเมืองพิษณุโลก ประกอบด้วยฐานเขียงห้า ์ั ่ ชั้นตั้งรับฐานลูกบัวแก้ว ไม่ยอมุมรับเรื อนธาตุ ที่เรื อนธาตุแต่ละด้านมี ซุมจระนา ประดิษฐานพระพุทธรู ปสี่ ดาน ้ ้ ่ กล่าวได้วาสมัยสุ โขทัยเป็ นสมัยเริ่ มแรกของวัฒนธรรมไทยแทบทุก ด้าน วัฒนธรรมสมัยสุ โขทัยได้เป็ นแบบอย่างของวัฒนธรรมไทยสมัย ต่อมาจนถึงปัจจุบน ดังนั้นสมัยสุ โขทัยจึงจัดว่าเป็ นสมัยทองแห่งความ ั เจริ ญรุ่ งเรื องทางวัฒนธรรมที่สาคัญสมัยหนึ่งของไทย
  • 37. ศิลปสมัยสุ โขทัย จัดเป็ นศิลปทีมีรูปแบบงดงามทีสุด และมีลกษณะเป็ น ่ ่ ั รู ปแบบของตนเองที่น่าภาคภูมิใจเป็ นอย่างยิง แม้วาจะมีศิลปอื่น ๆ เช่น ่ ่ อิทธิพลจากศิลปลังกา อิทธิพลจากศิลปสมัยศรี วิชยเข้ามาปะปนบ้างใน ั ็ รู ปแบบของสถาปัตยกรรม แต่กมีเป็ นส่ วนน้อยเท่านั้น จากหลักฐานทาง ่ ่ ศิลปกรรมที่หลงเหลืออยูไม่วาจะเป็ นเมืองเก่าสุ โขทัย ศรี สชนาลัย หรื อ ั บริ เวณใกล้เคียง นับเป็ นเครื่ องยืนยันถึงความเจริ ญรุ่ งเรื องอันยิงใหญ่ของ ่ อาณาจักรสุ โขทัยได้เป็ นอย่างดี ่ ศิลปวัตถุโบราณสมัยสุ โขทัย นอกจากจะมีแหล่งอยูที่สุโขทัย และศรี สช ั ่ ้ นาลัยและมีเมืองอื่น ๆ ที่มีศิลปสุ โขทัยแพร่ หลายอยูดวยอีกหลายเมือง เช่น เมืองกาแพงเพชร เมืองพิษณุโลก เมืองพิจิตร ตลอดจนถึงเมืองตาก เป็ นต้น
  • 38. 1.จิตรกรรม ภาพสลักลายเส้นบนหิ นชนวนในอุโมงค์วดศรี ชุมประมาณพุทธ ั ศตวรรษที่ 19 ลักษณะภาพเป็ นภาพสลักลายเส้ นบนหินชนวน ประดับ ่ อยูที่เพดานบริ เวณวัดศรี ชุมเรื่ องราวของภาพเป็ นเรื่ องชาดกต่าง ๆ สันนิษฐานว่าได้รับอิทธิพลจากศิลปลังกา สมัยโปลนารุ วะ (พระพุทธ ศตวรรษที่ 17-18) ซึ่งจัดเป็ นยุคทองของศิลปลังกา
  • 39. จิตรกรรมฝาผนังในพระเจดีย ์ วัดเจ็ดแถว อาเภอศรี สัชนาลัย จังหวัดสุ โขทัย ประมาณกลางพุทธศตวรรษที่ 19 ลักษณะภาพเขียนสี เอก รงค์ เขียนเป้ นพระพุทธรู ปปางมารวิชย ปางสมาธิ มีเทวดา ั ประกอบ (ลักษณะเทวดาเป็ นแบบอิทธิพลของศิลปลังกา) ส่ วนลักษณะ พระพุทธรู ปแบบประติมากรรมของสุ โขทัย โดยมีเส้นรอบนอกอ่อนช้อย งดงาม สี ที่ใช้มีขาว สี แดง และสี ดา ภาพสลักลายเส้นบนพระพุทธบาทโลหะ (สาริ ด) ประมาณปลาย พุทธศตวรรษที่ 19 (จากวัดเสด็จ อาเภอเมือง จังหวัดกาแพงเพชร) ลักษณะ ภาพสลักลายเส้นบนพระพุทธบาทโลหะ มีรูปอดีตพระพุทธเจ้ากาลังลีลาอยู่ บนของรอยพระพุทธบาท ที่เบื้องล่างด้ายซ้ายของรอยพระพุทธบาท มีภาพ โลกบาลยืนถือพระขรรค์อยู่ 3 รู ป
  • 40. จิตรกรรมฝาผนังในพระเจดีย์ วัดเจ็ดแถว อาเภอ ศรีสัชนาลัย จังหวัดสุ โขทัย
  • 41. 2. ประติมากรรม ประติมากรรมในสมัยสุ โขทัย นิยมสร้างพระพุทธรู ปมาก ลักษณะ ของประติมากรรมส่ วนใหญ่จะเป็ นช่ างฝี มือทางปั้นมากกว่ าการ แกะสลัก และจัดเป็ นช่างฝี มือระดับสูง จะเห็นได้จากการสร้าง พระพุทธรู ป ซึ่งสร้างตามพุทธลักษณะ มีความงามแบบอุดมคติ โดยเฉพาะพระพุทธรู ปปางลีลา นอกจากนั้นยังสามารถสร้าง พระพุทธรู ปในอิริยาบถต่าง ๆ เช่น นัง เดิน นอน (เรี ยกว่าพระสี่ อิริยาบถ) ่ ได้อย่างงดงามอีกด้วย พระพุทธรู ปสมัยสุ โขทัยแบ่งออกเป็ นหมวดหมู่ ได้ดงนี้คือ ั ่ ั่ ก. หมวดใหญ่ซ่ ึงมีอยูทวไปเป็ นศิลปสุ โขทัยโดยเฉพาะ คือพระ พักตร์รูปไข่ พระขนงโก่ง เป็ นต้น
  • 42. ข. หมวดกาแพงเพชร พบแต่ในท้องที่เมืองกาแพงเพชร คือ พระพุทธรู ปมีพระนลาฎกว้าง พระหนุเสี้ ยม ่ ค. พระพุทธชินราช ลักษณะพระพักตร์คอนข้างกลม พระวรกาย ค่อนข้างอ้วน นิ้วพระหัตถ์ท้ งสี่ มีปลายเสมอกัน เช่น พระพุทธชินราช ั จังหวัดพิษณุโลก ง. หมวดวัดตะกวน หรื อหมวดเบ็ดเตล็ด เป็ นหมวดที่มีลกษณะั ่ แบบเชียงแสนเข้ามาผสมอยูมาก เช่นวัดพระพราย เป็ นต้น
  • 43. 3 .สถาปัตยกรรม พระปรางค์ได้รับอิทธิพลจากลพบุรี แต่มีลกษณะพิเศษเป็ นของ ั ตัวเอง โดยแก้รูปทรงให้ชลูดพระปรางค์ท่ีสาคัญ เช่น พระปรางค์วดศรี ั สวาย พระปรางค์วดพระพรายหลวง พระปรางค์วดพระศรี รัตนมหาธาตุ ั ั เป็ นต้น พระเจดีย ์ พระเจดียสมัยสุ โขทัย มีแบบใหญ่ 3 แบบ คือ ์ ์ ่ 1. พระเจดียทรงพุมข้าวบิณฑ์หรื อเจดียดอกบัวตูม ลักษณะ ์ ่ มียอดตั้งอยูบนเรื อนธาตุสี่เหลี่ยมย่อมุมไม้ยสิบ สูงสง่างาม เช่นเจดียวด ่ี ์ั มหาธาตุ เป็ นต้น 2. เจดียทรงลังกา เชื่อว่าได้รับอิทธิพลมาจากลังกา เช่น ์ เจดียชางล้อม ที่ศรี สัชนาลัย เจดียยอดเข้าสุ วรรณคิรี เป็ นต้น ลักษณะเป็ น ์้ ์ เจดียทรงกลมหรื อระฆัง ์
  • 44. 3. เจดียแบบศรี วิชย เป็ นเจดียที่ได้รับอิทธิพลจากศรี วิชย ลักษณะ ์ ั ์ ั เป็ นเจดียหลายยอดประกอบด้วยฐานสูงสี่ เหลี่ยม มีเรื อนธาตุเป็ นรู ปสี่ เหลี่ยม ์ จตุรัส ด้านข้างทาเป็ นซุมประดิษฐานพระพุทธรู ปทั้ง 4 ทิศ ้ 4. เครื่ องสังคโลก เครื่ องเคลือบดินเผา ในสมัยสุ โขทัยทาเป็ นถ้วย ชาม ไห และภาชนะต่าง ๆ มีรูปทรงหลาย ๆ แบบ เคลือบด้วยน้ ายาเคลือบสี ขาว สี น้ าตาล สี เขียวไข่กา และทาเป็ นเครื่ องประเภทประติมากรรมรู ปแบบ ต่าง ๆ ใช้ประดับตกแต่ง เช่น ทาเป็ นสิ งค์ นาค เป็ นต้น
  • 46. สภาพสั งคมไทยสมัยกรุงศรีอยุธยา ่ สังคมไทยสมัยกรุ งศรี อยุธยา แม้วาจะต่อเนื่องมาจากสังคมสมัย ็ สุ โขทัย แต่กได้มีความเปลี่ยนแปลงแตกต่างไปจากสังคมสมัยสุ โขทัย หลายด้าน ทั้งนี้กเ็ พราะว่าสถาบันสูงสุ ดของการปกครองได้เปลี่ยนฐานะ ไป นันคือ พระมหากษัตริ ยได้เปลี่ยนฐานะจากมนุษยราชในสมัยสุ โขทัย ่ ์ เป็ นเทวราชขึ้นในสมัยอยุธยา เปลี่ยนจากฐานะความเป็ น "พ่อขุน" มา เป็ น "เจ้าชีวิต" ของประชาชนซึ่งเป็ นผลให้ระบบและสถาบันทางการ ปกครองต่างๆ แตกต่างไปจากสังคมไทยสมัยสุ โขทัยด้วย
  • 47. ชนชั้นของสั งคมสมัยอยุธยา สังคมอยุธยา เป็ นสังคมที่เต็มไปด้วยชนชั้น นับตั้งแต่การแบ่งแยก ์ั ชนชั้นอย่างเด็ดขาด ระหว่างกษัตริ ยกบราษฎรแล้ว พระบรมวงศานุวงศ์ ก็มีอนดับสูงต่าลดหลันกันเป็ นชั้นๆ ในหมู่ราษฎร ก็มีการแบ่งชนชั้นกัน ั ่ ้ ั เป็ นชนชั้นผูดีกบชนชั้นไพร่ ในหมู่ขาราชการก็มีศกดินาเป็ นตัวกาหนด ้ ั ความสู งต่าของข้าราชการในชนชั้นต่างๆ ซึ่งชนชั้นต่างๆ เหล่านี้ ก่อให้เกิดมีสิทธิในสังคมอยุธยาขึ้นแตกต่างกันด้วย
  • 48. ชนชั้นสู งสุ ดในสมัยอยุธยาคือพระบรมวงศานุวงศ์ ส่ วนข้าราชการ หรื อขุนนางนั้น ก็แบ่งเป็ นชั้นๆ ลดหลันกันไปตามลักษณะหน้าที่และ ่ ความรับผิดชอบ พร้อมกับตาแหน่งหน้าที่แล้ว ราชการสมัยอยุธยายังมี ศักดินา ซึ่งมากน้อยตามตาแหน่งหน้าที่ ระบบศักดินานี้เป็ นระบอบของ สังคมอยุธยาโดยแท้ เพราะศักดินานั้น ต้องมีต้ งแต่ขนนางชั้นผูใหญ่ ั ุ ้ พระบรมวงศานุวงศ์ลงไปจนถึงข้าราชการชั้นผูนอย และประชาชน ้ ้ ธรรมดา จานวนลดหลันลงไป ่ นอกจากจะแบ่งตามหน้าที่ตาแหน่งและความรับผิดชอบแล้ว ชนชั้นในสังคมอยุธยา ยังแบ่งออกกว้างๆ เป็ นสองชนชั้นอีก คือ ผูมี ้ ศักดินาตั้งแต่ 400 ขึ้นไป เรี ยกว่าชนชั้นผูดี ส่ วนที่ต่าลงมาเรี ยกว่า ไพร่ ้ ็ แต่ไพร่ กอาจเป็ นผูดีได้ เมื่อได้ทาความดีความชอบเพิ่มศักดินาของตน ้ ้ ็ ขึ้นไปถึง 400 แล้ว และผูดีกอาจตกลงมาเป็ นไพร่ ได้หากถูกลดศักดินา ลงมาจนต่ากว่า 400
  • 49. สั งคมอยุธยานั้น กฎหมายกาหนดให้ทุกคนต้องมีนาย ตาม กฎหมาย ลักษณะรับฟ้ องมาตรา 10 กล่าวว่า "ราษฎรรับฟ้ องร้องด้วยคดี ประการใดๆ แลมิได้สงกัดมูลนายอย่าพึงรับไว้บงคับบัญชาเป็ นอันขาด ั ั ให้ส่งตัวผูน้ นแก่สสดี เอาเป็ นคนหลวง" จะเห็นว่า ไพร่ ทุกคนของสังคม ้ ั ั อยุธยาต้องมีสงกัดมูลนายของตน ผูไม่มีนายสังกัดกฎหมายไม่ ั ้ รับผิดชอบในการพิทกษ์รักษาชีวิตและทรัพย์สิน ไพร่ จะต้องรับใช้ชาติ ั ในยามสงคราม จึงต้องมีสังกัดเพื่อจะเรี ยกใช้สะดวก เพราะในสมัย อยุธยานั้น ไม่มีทหารเกณฑ์หรื อทหารประจาการในกองทัพเหมือน ็ ปัจจุบน จะมีกแต่กองทหารรักษาพระองค์เท่านั้น ั
  • 50. นอกจากนั้น เป็ นเพราะสมัยแรกตั้งกรุ งศรี อยุธยา ต้องใช้ชาย ฉกรรจ์จานวนมากในการปกป้ องข้าศึก ศัตรู ความจาเป็ นของสังคมจึง บังคับให้ราษฎรต้องมีนาย เพราะนายจะเป็ นผูเ้ กณฑ์กาลังไปให้เมืองหลวง ป้ องกันภัยจากข้าศึกศัตรู และนายซึ่งต่อมากลายเป็ น "เจ้าขุนมูลนาย" ต้อง มีความรับผิดชอบต่อลูกหมู่ของตน ถ้านายสมรู ้ร่วมคิดกับลูกหมู่ทา ความผิด ก็ถกปรับไหมตามยศสูงต่า และหากลูกหมู่ของตนถูกกล่าวหาว่า ู เป็ นโจรปล้นทรัพย์ มูลนายก็ตองส่ งตัวลูกหมู่ให้แก่ตระลากร สังคม ้ อยุธยาจึงเป็ นสังคมที่ตองมีความรับผิดชอบมากอยู่ มีกฎเกณฑ์ต่างๆ ้ มากมาย เพราะลักษณะและองค์ประกอบของสังคมซับซ้อนกว่าสังคม สุ โขทัย
  • 51. กระบวนการยุตธรรม ิ สามารถแบ่ งได้ ดังนี้ กฎหมายในสมัยอยุธยาที่ตราขึ้นมานั้นมีลกษณะเหมือนในปัจจุบน ั ั เป็ นกฎหมายลายลักษณ์อกษรที่เป็ นหลักฐานชัดเจนตราขึ้นมาเพื่อใช้ ั บังคับคนในสังคมทุกคนให้อยูร่วมกันอย่างสงบเรี ยบร้อย ่ กฎหมายที่ตราขึ้นอาจแยกเป็ นดังนี้ - คัมภีร์พระธรรมศาสตร์ เป็ นกฎหมายแม่บทที่ใช้เป็ นหลักสาหรับ ใช้พิจารณาคดีความ และตรากฎหมายย่อยขึ้นมารองรับ ไทยได้นา แบบอย่างมาจากกฎหมายของมอญ ซึ่งมอญก็นามาจากอินเดียมา
  • 52. - พระราชศาสตร์ เป็ นกฎหมายย่อยที่ตราขึ้นมาใช้ โดยตราเป็ น พระราชกาหนด พระราชบัญญัติ หรื อบทพระอัยการ โดยอาศัยคัมภีร์ พระราชศาสตร์เป็ นหลัก และคานึงถึงความเหมาะสมของเหตุการณ์ บ้านเมืองในขณะนั้น กฎหมายสาคัญๆ ที่มีการตราขึ้นใช้ เช่นกฎหมายลักษณะพยาน กฎหมายลักษณะอาญา กฎหมายลักษณะรับฟ้ อง กฎหมายลักษณะโจร กฎหมายลักษณะลักพา กฎหมายลักษณะผัวเมีย กฎหมายพิสูจน์การ - ดาน้ าลุยเพลิง กฎหมายลักษณะมรดก เป็ นต้น
  • 53. การศึกษา ่ ในสมัยอยุธยา การศึกษาถูกจากัดอยูในวงจากัด เป็ นการศึกษาแบบ ไม่บงคับผูสอนมักสงวนวิชาไว้แค่ในวงศ์ตระกูลของตนหรื อ คนเพียงวง ั ้ แคบ ส่ วนใหญ่จะจัดกันในสถานที่เหล่านี้ ได้แก่ 1) วัด จะให้การศึกษากับบุตรหลานในเรื่ องจริ ยธรรม พฤติกรรม หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ขนบธรรมเนียม การอ่านและเขียน ภาษาไทย การคานวณ รวมไปถึงวิชาการพื้นฐานอื่นๆ เช่น วิชาเวท ่ มนตร์คาถาอยูยงคงกระพัน หรื อวิชาช่าง ทั้งช่างฝี มือและศิลปกรรมผูที่ ้ เรี ยนต้องบวชเรี ยนเป็ นภิกษุหรื อสามเณรเสี ยก่อน ส่ วนใหญ่ผที่เรี ยนจะ ู้ เป็ นบุตรหลานในครอบครัวของคนสามัญชน
  • 54. 2) บ้ าน ส่ วนใหญ่จะให้การศึกษาในวิชาชีพที่ครอบครัวมีอยู่ ่ สาหรับเด็กชายจะเป็ นงานที่เป็ นอาชีพในบ้านอยูแล้ว เช่น งานตีเหล็ก งานปั้น งานแกะสลัก งานช่าง หรื อการรับราชการ เพื่อจะได้สืบทอด งานต่อไป ส่ วนเด็กผูหญิงก็จะเป็ นงานบ้านงานเรื อน เช่น การทาอาหาร ้ เย็บปักถักร้อย เพื่อเป็ นแม่บานต่อไป ้
  • 55. 3) วัง เป็ นสถานศึกษาสาหรับคนชั้นสูง ผูที่เรี ยนมักเป็ นเชื้อพระวงศ์ ้ เจ้านายในพระราชวังเท่านั้น จะให้การศึกษาในเรื่ องการเมืองการ ปกครอง เศรษฐกิจ และศิลปวัฒนธรรม เพื่อไปใช้ในการปกครองในเวลา ้ ั ่ ต่อไป ผูสอนก็เป็ นปราชญ์ท้ งหลายที่ประจา อยูในพระราชวัง ซึ่งมี ความรู ้อย่างมาก วังนับเป็ นสถานศึกษาที่สาคัญที่สุด เพราะมีนกปราชญ์ ั ่ ราชบัณฑิตอยูมากมาย หลังจากที่มีชาวตะวันตกเข้ามาติดต่อกับไทย ก็ได้ นาหมอสอนศาสนาหรื อมิชชันนารี มาด้วย นอกจากจะเผยแผ่ศาสนา คริ สต์ของชาวตะวันตกนั้นแล้ว ก็ได้ให้การศึกษากับชาวไทย โดยจัดตั้ง โรงเรี ยนเพื่อให้วิชาการ วิทยาการต่างๆ แก่เด็กไทยได้มีความรู ้ทดเทียม ั กัน หรื อบางครั้งก็มีการส่ งนักเรี ยนไทยไปเรี ยนยังต่างประเทศ เพื่อนา ความรู ้กลับมาพัฒนาบ้านเมืองต่อไป
  • 56. ศิลปะอยุธยาเป็ นศิลปะที่สร้างขึ้นในอยุธยาในระยะเวลา 417 ปี ซึ่ง มีศิลปกรรมแขนงต่างๆเกิดขึ้นมาก ศิลปกรรมเหล่านี้มีรูปแบบเนื้อหาที่ คล้ายคลึงกัน และมีวิวฒนาการไปตามสภาพของบ้านเมือง ั
  • 57. 1.สถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรมอยุธยาสามารถแบ่งช่วงเวลาออกได้เป็ น 3 ยุคด้วยกัน คือ สถาปัตยกรรมอยุธยาตอนต้ น ตั้งแต่สมเด็จพระรามาที่ 1 ทรง สถาปนากรุ งศรี อยุธยาเมื่อ พ.ศ.1893 จนถึงสมัยสมเด็จประบรมไตร โลกนาถใน พ.ศ.2031 ลักษณะสถาปัตยกรรมเป็ นแบบศิลปะลพบุรี หรื อ ศิลปะเขมร กับศิลปะอู่ทอง ลักษณะทางสถาปัตยกรรมนิยมสร้างปรางค์ เป็ นประธานของวัดโดยมีลกษณะเลียนแบบปรางค์เขมรแต่มีลกษณะ ั ั สูงชะลูดกว่า เช่น ปรางค์ประธานวัดพุทไธสวรรย์ ปรางค์ประธานวัด มหาธาตุ เป็ นต้น
  • 58. ปรางค์ ประธานวัดพุทไธสวรรย์ ปรางค์ ประธานวัดมหาธาตุ
  • 59. สถาปัตยกรรมอยุธยาตอนกลาง เริ่ มตั้งแต่สมเด็จพระบรมไตร โลกนาถเสด็จขึ้นครองราชย์ที่เมืองพิษณุโลกใน พ.ศ.2006 จนถึงสมัย พระเจ้าปราสาททองใน พ.ศ.2172 สถาปัตยกรรมได้รับอิทธิพลของ ศิลปะสุ โขทัย โดยหันไปนิยมเจดียทรงลังกาแบบปรางค์แบบเขมร เช่น ์ พระมหาสถูปสามองค์วดพระศรี สรรเพชญ์ พระเจดียใหญ่ชยมงคล ั ์ ั จังหวัดพระนครศรี อยุธยา เป็ นต้น
  • 60. พระมหาสถูปสามองค์ พระเจดีย์ใหญ่ ชัยมงคล วัดพระศรีสรรเพชญ์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
  • 61. สถาปัตยกรรมอยุธยาตอนปลาย เริ่ มตั้งแต่รัชกาลสมเด็จพระเจ้า ปราสาททอง พ.ศ.2172 จนสิ้ นสมัยอยุธยาใน พ.ศ.2310 เป็ นช่วงเวลาที่ ศิลปะเขมรเข้ามามีอิทธิพลในศิลปะอยุธยาอีกครั้ง โดยเฉพาะรู ปแบบ สถาปัตยกรรมปรางค์และสถาปัตยกรรมเขมร ตัวอย่างศิลปะในยุคนี้ เช่น ปรางค์ประธานวัดไชยวัฒนาราม ปราสาทพระนครเหนือ นอกจากนี้ ์่ สมัยนี้ยงนิยมสร้างพระเจดียยอมุมไม้สิบสอง นับเป็ นลักษณะเฉพาะ ั ของสถาปัตยกรรมอยุธยา ่ ั ในสมัยสมเด็จพระเจ้าอยูหวบรมโกศ (พ.ศ.2275-2301) เป็ นช่วง ์่ สมัยของการบูรณปฏิสังขรณ์การสร้างพระเจดียยอมุมไม้สิบสองเป็ น ที่นิยม ตัวอย่างสถาปัตยกรรมที่ได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์ในช่วงเวลานี้ เช่น พระมหาเจดียวดภูเขาทอง เป็ นต้น ์ั
  • 62. พระเจดีย์ย่อมุมไม้ สิบสอง พระมหาเจดีย์วดภูเขาทอง ั
  • 63. สถาปัตยกรรมแบบอื่นๆ คือ โบสถ์ วิหาร สมัยอยุธยาตอนต้นนิยม ทาขนาดใหญ่มากเป็ นอาคารโถงสี่ เหลี่ยม ตัวอาคาร ผนัง เสา ก่อด้วยอิฐ ผนังอาคารเจาะเป็ นช่องแคบๆ คล้ายซี่กรงเรี ยกว่า ลกฟัก เพื่อให้มีทาง ู ระบายลมและให้แสงแดดส่ องผ่านเข้าไปได้บาง ยังไม่มีการเขียนภาพ ้ จิตรกรรมตกแต่งพอถึงสมัยอยุธยาตอนกลางอาคารลดขนาดเล็กลง ก่อ ผนังทึบ เจาะช่องระบายลมแคบๆ มีประตู 2-3 ช่อง
  • 64. อาคารในสมัยอยุธยาตอนปลายฐานอาคารนิยมทาเป็ นรู ปโค้ง คล้ายท้องเรื อ ถือเป็ นลักษณะเฉพาะของอาคารสมัยนี้ มีการเจาะหน้าต่าง ที่ผนังอาคาร ตกแต่งซุมประตูหน้าต่างอย่างประณี ต ใช้กระเบื้องเคลือบ ้ มุงหลังคา ในสมัยนี้มีการติดต่อค้าขายกับยุโรปมากขึ้นทาให้ได้รับ วิทยาการใหม่ๆ มีการนาศิลปะการก่อสร้างอาคารของยุโรปมาผสม เช่น การเจาะหน้าต่างโค้งแบบศิลปะกอทิกและใช้หน้าต่างถี่ข้ ึน เกิดการสร้าง อาคาร 2 ชั้น โบสถ์ วิหารที่สร้างขึ้นใหม่มีหลายแห่ง เช่น ตาหนักพระ พุทธโฆษาจารย์ วิหารวัดตึก วิหารวัดเจ้าย่า จังหวัดพระนครศรี อยุธยา เป็ นต้น
  • 65. สาหรับสถาปั ตยกรรมที่เกี่ยวข้องกับการปกครองบ้านเมืองนั้น มี ป้ อมปราการและกาแพงเมืองในสมัยแรกๆ กาแพงเมืองเป็ นเพียงเชิงเทิน ดิน มีเสาไม้ระเนียดปัก ต่อมาจึงมีการก่ออิฐถือปูน ป้ อมปราการและ ประตูเมือง พัฒนาขึ้นภายหลังมีการติดต่อค้าขายกับชาวตะวันตก ่ นอกจากนี้ยงมีสถาปัตยกรรมที่อยูอาศัยของประชาชน ซึ่งเรี ยกว่า ั เรื อนไทย นิยมสร้างเป็ นเรื อนชั้นเดียว ยกพื้นสูงใต้ถุนโปร่ ง มี 2 ลักษณะ คือเรือนเครื่องผูก ปลูกด้วยไม้ไผ่ ใช้เส้นหวายและตอกเครื่ องผูกรัด เป็ น ่ ที่อยูของชาวบ้านทัวไป และเรือนเครื่องสั บ ปลูกด้วยไม้ เช่น ไม้ยาง ไม้ ่ ตะแบก ไม้แดง การปลูกต้องอาศัยวิธีเข้าปากไม้ โดยบากเป็ นปากเป็ น ร่ องในตัวไม้แต่ละตัวแล้วนามาสับประกบกัน เป็ นเรื อนของผูมีฐานะดี ้
  • 66. 2.ประติมากรรม ศิลปะอยุธยาด้านประติมากรรม ส่ วนมากสร้างเนื่องจากใน พระพุทธศาสนา พระพุทธรู ปสมัยนี้นิยมหล่อด้วยสาริ ด อาจทาด้วยวัสดุ อื่นบ้าง เช่น สกัดจากศิลา ทาด้วยไม้ ปูนปั้นดินเผา และทองคา พระ ประธานในโบสถ์วิหารสมัยนี้มกเป็ นพระปูนปั้นหรื อสาริ ดขนาดใหญ่โต ั คับโบสถ์ สมัยอยุธยาตอนปลายนิยมสร้างพระพุทธรู ปทรงเครื่ องกันมาก นอกจากนี้ยงมีการสร้างประพิมพ์ทาเป็ นพระพุทธรู ปองค์เล็กๆ ั หลายองค์บนแผ่นเดียวกัน เรี ยกว่า พระแผง หรื อพระกาแพงห้าร้อย มี ตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนกลาง ส่ วนอยุธยาตอนปลายมักนิยมทาพระพิมพ์ ่ เป็ นพระพุทธรู ปทรงเครื่ องประทับอยูภายในเรื อนแก้ว
  • 67. 3.จิตรกรรม ่ ้ ภาพจิตรกรรมอยุธยาเหลืออยูนอยมาก ส่ วนใหญ่เป็ นเรื่ อง พระพุทธศาสนา ในสมัยอยุธยาตอนต้นนิยมเขียนบนผนังคูหาปรางค์ และคูหาเจดียเ์ ท่านั้น วิธีเขียนจะเขียนบนผนังขณะผิวปูนที่ฉาบยัง หมาดๆอยู่ เพื่อให้เนื้อสี ซึมเข้าไปในผนัง เรี ยกว่า ภาพปูนเปี ยก โดยมาก เป็ นภาพพระพุทธเจ้า ภาพสาวก และภาพบุคคลนังซ้อนกันเป็ นแถวๆ ่
  • 68. ราวปลายพุทธศตวรรษที่ 21 เป็ นต้นมา มีการเขียนภาพจิตรกรรม ฝาผนังบนผนังโบสถ์และวิหาร เรื่ องราวที่เขียนมักเป็ นภาพพุทธประวัติ ภาพชาดกทางพระพุทธศาสนา ภาพเทพชุมนุมเครื่ องประดับของภาพ จะเขียนอย่างวิจิตรบรรจงมาก เช่น ภาพจิตรกรรมฝาผนังวัดใหญ่สุวรรณา ราม วัดเก้าแก้วสุ ทธาราม จังหวัดเพชรบุรี วัดใหม่ประชุมพล ตาหนักพระ พุทธโฆษาจารย์ วัดพุทไธสวรรย์ จังหวัดพระนครศรี อยุธยา จิตรกรรมฝา ผนังที่อุโบสถวัดช่องนนทรี กรุ งเทพมหานคร เป็ นต้น
  • 70. 4.ประณีตศิลป์ สมัยอยุธยามีหลายประเภท เท่าที่ปรากฏหลักฐานเหลืออยูเ่ ป็ นพวก เครื่ องไม้จาหลัก การเขียนลายรดน้ า เครื่ องเงิน เครื่ องทอง เครื่ องถม และ การประดับมุก ส่ วนใหญ่เป็ นศิลปกรรมที่สร้างขึ้นปลายสมัยอยุธยา มี เพียงไม่กี่ชิ้นที่เป็ นของสมัยกลางปลายสมัยต้น เช่น เครื่ องใช้ เครื่ องประดับ และวัตถุทางศาสนาทาด้วยทอง เป็ นงานสมัยต้นอยุธยา พบในกรุ พระปรางค์วดราชบูรณะ และประตูจาหลักไม้ วัดพระศรี สรร ั เพชญ์ ผลงานสมัยอยุธยา
  • 72. ในสมัยปลายอยุธยา ประณี ตศิลป์ รุ่ งเรื องมากเช่น การทาลาย รดน้า ตกแต่งบานประตูตพระธรรม หี บหนังสื อ และที่มีชื่อเสี ยงมาก ู้ และสวยงามที่สุด ได้แก่ ลายรดน้ าบนตูพระธรรม วัดเชิงหวาย ้ ็ (วัดเวตวันธรรมาวาส) กรุ งเทพมหานคร นอกจากนี้กมีการประดับมุก การทาเครื่ องถม และ เครื่ องเบญจรงค์ ที่มีชื่อเสี ยงมากคือ บานประตู ประดับมุกมณฑปพระบาท จังหวัดสระบุรี บานประตูประดับมุกวิหาร พระพุทธชินราช จังหวัดพิษณุโลก เครื่ องถมที่สมเด็จพระนารายณ์ มหาราชส่ งไปถวายพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 เป็ นพวกสร้อย กาไล แหวน พาน ขัน กาน้ า หี บ คนโท กระโถน
  • 73. 5.นาฏศิลป์ การแสดงนาฏศิลป์ สมัยอยุธยามีการแสดงเป็ นเรื่ องราว เช่น หนัง ใหญ่ โขน ละครชาตรี ละครนอก ละครใน และการเชิดหุ่น ซึ่งในงาน พระราชพิธีและงานสาคัญของบ้านเมืองมักนิยมการแสดงกันมากแต่ ็ ั สามัญชนนิยมเล่น ละครชาตรี ส่ วนด้านการดนตรี กพฒนาขึ้นมาก มีการ ประสมวง 3 ลักษณะ ได้แก่ วงมโหรี วงปี่ พาทย์และวงเครื่ องสาย มีบท เพลงและทานองเพลงของสมัยอยุธยาเป็ นอันมากที่สืบทอดต่อมาจนถึง ปัจจุบนั
  • 74. 6.วรรณกรรม ่ วรรณกรรมสมัยอยุธยาเท่าที่มีหลักฐานเหลืออยูและพอจะ ตรวจสอบได้มีไม่มากนัก ลักษณะวรรณกรรมค่อนข้างหลากหลายใน เนื้อหา คือ มีท้ งวรรณกรรมที่เกี่ยวกับพิธีกรรม ศาสนาและคาสอน การ ั สดุดีเฉลิมพระเกียรติพระมหากษัตริ ย ์ ตลอดจนวรรณกรรมเกี่ยวกับ ความรัก ความบันเทิงเริ งรมย์ และการบันทึกเหตุการณ์ มีท้ งประเภทร้อย ั ั ่ แก้วและร้อยกรอง โดยมีลกษณะร่ วมกันอยูประการหนึ่ง คือ ผูแต่ง้ ั วรรณกรรมเป็ นชนชั้นสูงและมีความสัมพันธ์กบราชสานัก
  • 75. สมัยต้นอยุธยา วรรณกรรมที่สาคัญ คือ ลิลิตโองการแช่งน้ า แต่งขึ้น เพื่อใช้ในพระราชพิธีถือน้ าพระพิพฒน์สัตยา มาถึงสมัยสมเด็จพระบรม ั ไตรโลกนาถครองราชย์ ถือเป็ นยุครุ่ งเรื องทางวรรณกรรม มีมหาชาติคา หลวงแต่งขึ้นเพื่อความศรัทราในพระพุทธศาสนา ลิลิตยวนพ่าย เพื่อสดุดี และเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถในการทาสงครามชนะ ล้านนา ลิลิตพระลอ เป็ นวรรณกรรมเพื่อความบันเทิงและความงามใน วรรณศิลป์ โคลงกาสรวล และโคลงทวาทศมาศ เป็ นวรรณกรรมประเภท นิราศ
  • 76. ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช จัดเป็ นยุครุ่ งเรื องทาง วรรณกรรมอีกสมัยหนึ่ง วรรณกรรมที่แต่งขึ้นในสมัยนี้ค่อนข้างมีเนื้อหา หลากหลาย เช่นสมุทรโฆษคาฉันท์ (บางส่ วน) แต่งขึ้นเพือใช้เล่นหนัง ่ ในงานฉลองพระชนมายุครบ 25 พรรษาของสมเด็จพระนารายณ์ มหาราช ได้รับการยกย่องว่าเป็ นยอดของวรรณกรรมประเภทฉันท์ วรรณคดีที่แต่งเป็ นคาฉันท์มีอีกหลายเรื่ อง คือ เสื อโคคาฉันท์ อนิรุทธ์คา ฉันท์ และฉันท์ดุษฏีสงเวยกล่อมช้างนอกจากนี้ยงมี จินดามณี เป็ น ั ั แบบเรี ยนภาษาไทยเล่มแรกที่พระโหราธิ บดีแต่งขึ้นใน พ.ศ.2215 และ พระราชพงศาวดารกรุ งเก่าฉบับหลวงประเสริ ฐอักษรนิต์ ิ รวบรวมขึ้นใน พ.ศ.2223