SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
1 
สมัยอยุธยา (พ.ศ. 1893-พ.ศ. 2310) อยุธยาสถาปนาขึ้นใน พ.ศ. 1893 โดยสมเด็จพระ รามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) เป็นปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์อู่ทอง มีกษัตริย์ปกครองอยุธยารวม 33 พระองค์ 5 ราชวงศ์ รวมระยะเวลาการเป็นราชธานีของคนไทยถึง 417 ปี ทาเลที่ตั้งบริเวณที่ราบลุ่มของ แม่น้า 3 สายคือ แม่น้าเจ้าพระยา แม่น้าป่าสัก แม่น้าลพบุรีเหมาะแก่การเพาะปลูกและอยุธยาอยู่ไม่ไกล จากทะเลมากนักทาให้ติดต่อค้าขายกับต่างประเทศได้สะดวก กลายเป็นเมืองท่าการค้านานาชาติที่สาคัญ มีชาวต่างชาติเข้ามาติดต่อค้าขายกับอยุธยาอย่างต่อเนื่อง 
การแย่งชิงความเป็นใหญ่ในภูมิภาคระหว่างกรุงศรีอยุธยากับพม่า ก่อให้เกิดสงครามแย่งชิง อานาจในอย่างต่อเนื่องตลอดระยะเวลาการเป็นราชธานีกรุงศรีอยุธยา จนกระทั่งปี พ.ศ.2310 เป็น สงครามครั้งสุดท้ายระหว่างกรุงศรีอยุธยาและพม่า และเป็นสงครามที่ทาให้กรุงศรีอยุธยาสิ้นสุดความเป็น ราชธานีแห่งราชอาณาจักรสยาม ในปี พ.ศ.2310 
รัชกาลที่ รายพระนาม ปีที่ครองราชย์ (โดยประมาณ) ปีที่สวรรคต (โดยประมาณ) 
1 
สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) 
พ.ศ.1893 
พ.ศ.1912 8 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ พ.ศ.1991 พ.ศ.2031 
19 
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช 
พ.ศ.2133 
พ.ศ.2148 28 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช พ.ศ.2199 พ.ศ.2231 
31 
สมเด็จพระบรมราชาที่ 3 (พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ) 
พ.ศ.2275 
พ.ศ.2301 
33 
สมเด็จพระเจ้าเอกทัศ (พระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์) 
พ.ศ.2301 
พ.ศ.2310 
1.ราชวงศ์อู่ทอง 3 พระองค์ 
2.ราชวงศ์สุพรรณภูมิ 13 พระองค์ 
3.ราชวงศ์พระร่วง 7 พระองค์ 
4.ราชวงศ์ปราสาททอง 4 พระองค์ 
5.ราชวงศ์บ้านพลูหลวง 6 พระองค์ 
ช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์ไทยสมัยอยุธยา 
ช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์ไทยสมัยอยุธยา (พ.ศ. 1893-พ.ศ. 2310) 
4 
พระมหากษัตริย์สาคัญสมัยอยุธยา 
5 ราชวงศ์แห่งกรุงศรีอยุธยา
2 
ปัจจัยที่ส่งเสริมให้อยุธยาเป็นราชธานีที่เจริญรุ่งเรืองยาวนานกว่า 417 ปี และแผ่ขยายอาณาเขต ออกไปอย่างกว้างขวาง สามารถสรุปได้ ดังนี้ 
อาณาจักรอยุธยาเกิดจากการรวมตัวของแคว้นสุพรรณภูมิ และแคว้นละโว้ 
เนื่องจากสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) ทรงรวม 2 แคว้น คือ แคว้นสุพรรณภูมิ ซึ่งมี อานาจทางภาคตะวันตกของแม่น้าเจ้าพระยา และแคว้นละโว้ซึ่งมีศูนย์กลางอยู่ที่ลพบุรี เนื่องจากพระองค์ทรงเป็นกษัตริย์ของแคว้นละโว้และทรงอภิเษกสมรสกับพระราชธิดาของ กษัตริย์แคว้นสุพรรณภูมิ 
ที่ตั้งของอาณาจักรอยุธยาเป็นจุดยุทธศาสตร์ด้านการป้องกันอาณาจักร 
กรุงศรีอยุธยามีสภาพเป็นเกาะเมือง ล้อมรอบด้วยแม่น้า 3 สาย ได้แก่ แม่น้าเจ้าพระยา แม่น้า ลพบุรี และแม่น้าป่าสัก ประกอบกับรอบเกาะเมืองมีสภาพเป็นที่ลุ่มน้าท่วมถึงในฤดูน้าหลาก ซึ่งเหมาะแก่การป้องกันข้าศึกได้ดีอีกทางหนึ่ง 
ที่ตั้งของอาณาจักรอยุธยาเป็นจุดยุทธศาสตร์ด้านการเกษตรกรรม 
ด้วยสภาพภูมิศาสตร์ที่ล้อมรอบด้วยแม่น้า 3 สาย จึงมีความอุดมสมบูรณ์ด้วยดินตะกอนพัดพา ยามฤดูน้าหลาก เหมาะแก่การเพาะปลูก โดยเฉพาะข้าวซึ่งเพียงพอต่อการบริโภคใน ราชอาณาจักร และสารองไว้ยามเกิดศึกสงคราม 
ที่ตั้งของอาณาจักรอยุธยาเป็นจุดยุทธศาสตร์ด้านการเป็นเมืองท่าการค้านานาชาติ 
ที่ตั้งของกรุงศรีอยุธยาอยู่ใกล้ทะเลมากกว่ากรุงสุโขทัย ทาให้เป็นศูนย์กลางทางการค้าระหว่าง ประเทศ และการค้ากับอาณาจักรใกล้เคียง ทาให้อยุธยามีความมั่นคงและมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ เป็นอย่างมาก ส่งผลต่อความเจริญรุ่งเรืองของอยุธยาในด้านต่างๆ 
มีแม่น้าหลายสายเหมาะแก่การคมนาคมทางน้า และการขนส่งสินค้า 
การสถาปนาอาณาจักรอยุธยา 
การปฏิรูปการปกครองสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ 
การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 1 และการประกาศอิสรภาพของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช 
การต่างประเทศสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช 
การปฏิรูปการปกครองสมัยสมเด็จพระเพทราชา 
การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 และการกอบกู้เอกราชของชาติโดยพระยาตาก 
การเป็นเมืองท่าการค้านานาชาติของกรุงศรีอยุธยา 
ปัจจัยที่เอื้อต่อการสถาปนาอาณาจักรอยุธยา 
เหตุการณ์สาคัญทางประวัติศาสตร์สมัยอยุธยา
3 
พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ 
พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) 
คาให้การชาวกรุงเก่า คาให้การขุนหลวงหาวัด คาให้การขุนหลวงวัดประดู่ทรงธรรม 
วรรณกรรม เช่น ลิลิตโองการแช่งน้า ลิลิตยวนพ่าย 
จดหมายเหตุชาวต่างชาติ เช่น จดหมายเหตุวันวลิต จดหมายเหตุลาลูแบร์ จดหมายเหตุโยช เซาเต็น 
จดหมายเหตุจีน “หมิงสื่อลู่” ประวัติศาสตร์รายรัชกาลแห่งราชวงศ์หมิง 
โบราณสถาน ได้แก่ พระอุโบสถ วิหาร เจดีย์ 
โบราณวัตถุ ได้แก่ พระพุทธรูป ประติมากรรม งานจิตรกรรม งานศิลปกรรมแขนงต่างๆ 
ภาพถ่ายทางอากาศและภาพถ่ายทางดาวเทียม 
หลักฐานสาคัญในการศึกษาประวัติศาสตร์สมัยอยุธยา
4 
1. อาณาจักรอยุธยา สถาปนาขึ้น ใน พ.ศ.1893-2310 
2. กรุงศรีอยุธยามีสภาพเป็นเกาะเมืองมี แม่น้า 3 สาย ล้อมรอบได้แก่ แม่น้าป่าสัก แม่น้าลพบุรี และ แม่น้าเจ้าพระยา 
3. สภาพภูมิศาสตร์ที่เป็นเกาะเมือง ส่งผลดีการที่กรุงศรีอยุธยาคือ 
1. ค้าขาย 
2. คมนาคมขนส่ง 
3. ป้องกันข้าศึก 
4. เกษตรกรรมสาคัญ 
4. พระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยามีฐานะทางการปกครองที่เรียกว่า สมมติเทวราช หรือ สมบูรณาญาสิทธิราชย์ ซึ่งรับอิทธิพลมาจากศาสนา.พราหมณ์-ฮินดู จากอาณาจักร เขมร 
5. พระมหากษัตริย์องค์สาคัญที่มีพระมหากรุณาธิคุณต่อการสร้างสรรค์อาณาจักรอยุธยา ได้แก่ 
พระมหากษัตริย์ 
พระมหากรุณาธิคุณ 
พระเจ้าอู่ทอง 
สถาปนากรุงศรีอยุธยา 
พระบรมไตรโลกนาถ 
ปฏิรูปการปกครอง วรรณคดี 
พระนเรศวรมหาราช 
กู้อิสรภาพ 
พระนารายณ์มหาราช 
การต่างประเทศก้าวหน้า 
โดยเฉพาะกับโปรตุเกส ฮอลันดา ฝรั่งเศส 
พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ 
วรรณคดีรุ่งเรือง 
6. ปัจจัยใดบ้างที่ส่งผลต่อการสถาปนากรุงศรีอยุธยา 
อาณาจักรอยุธยาเกิดจากการรวมตัวของแคว้นสุพรรณภูมิ และแคว้นละโว้ 
ที่ตั้งของอาณาจักรอยุธยาเป็นจุดยุทธศาสตร์ด้านการป้องกันอาณาจักร 
ที่ตั้งของอาณาจักรอยุธยาเป็นจุดยุทธศาสตร์ด้านการเกษตรกรรม 
ที่ตั้งของอาณาจักรอยุธยาเป็นจุดยุทธศาสตร์ด้านการเป็นเมืองท่าการค้านานาชาติ 
7. เพราะเหตุใดจึงกล่าวว่ากรุงศรีอยุธยาเป็นเมืองท่าการค้านานาชาติที่เจริญรุ่งเรือง 
เพราะมีชาวต่างชาติมาค้าขายเป็นจานวนมาก มีระบบการค้าเรียกว่า พระคลังสินค้า ในการติดต่อ ค้าขายกับต่างประเทศ มีสินค้าที่หลากหลาย แนวคิด “ซื้อถูก ขายแพง ของฟรีก็เอาไปขาย” 
ภูมิศาสตร์เหมาะสมต่อการเป็นศูนย์กลางทางการค้า 
เก็บภาษีผ่านด่านการค้าทั้งขาเข้าและขาออก ทาให้ร่ารวย 
การค้าในระบบบรรณาการกับจีน เรียกว่า การจิ้มก้อง 
กิจกรรมที่ 1 ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ 
แบบฝึกหัดทบทวน
5 
8. จดหมายเหตุของชาวต่างชาติมีความสาคัญต่อการศึกษาประวัติศาสตร์อยุธยาอย่างไร 
จดหมายเหตุชาวต่างชาติ เช่น จดหมายเหตุวันวลิต (ฟานฟลีต-โปรตุเกส) 
จดหมายเหตุลาลูแบร์ จดหมายเหตุของโยช เซาเต็น 
จดหมายเหตุจีน “หมิงสื่อลู่” ประวัติศาสตร์รายรัชกาลแห่งราชวงศ์หมิง.......... 
9. นักเรียนคิดว่าหลักฐานใดบ้าง ที่มีความสาคัญต่อการศึกษาประวัติศาสตร์อยุธยา เพราะเหตุใด ให้ นักเรียนอธิบายและยกตัวอย่างประกอบ 
พงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ มีความน่าเชื่อถือมากที่สุดในการศึกษา ประวัติศาสตร์อยุธยา

More Related Content

What's hot

ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เล่มที่ 6  สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเล่มที่ 6  สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถChoengchai Rattanachai
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Pracha Wongsrida
 
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชChoengchai Rattanachai
 
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 9  ชาวบ้านบางระจันเล่มที่ 9  ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจันChoengchai Rattanachai
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1Sokoy_jj
 
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรีเศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)Choengchai Rattanachai
 
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Pracha Wongsrida
 
Key of 8 พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัย
Key of 8 พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัยKey of 8 พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัย
Key of 8 พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัยPracha Wongsrida
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยYim Wiphawan
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจPariwanButsat
 
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3Oae Butrawong Skr
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1montira
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราชChoengchai Rattanachai
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2Taraya Srivilas
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกChainarong Maharak
 

What's hot (20)

ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
 
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เล่มที่ 6  สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเล่มที่ 6  สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
 
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
 
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 9  ชาวบ้านบางระจันเล่มที่ 9  ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจัน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรีเศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
 
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
 
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
 
Key of 8 พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัย
Key of 8 พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัยKey of 8 พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัย
Key of 8 พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัย
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรีประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
 
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
 

Similar to Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาsangworn
 
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
111006099222748 13010713133143
111006099222748 13010713133143111006099222748 13010713133143
111006099222748 13010713133143sibsakul jutaphan
 
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยาchakaew4524
 
อาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยอาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยkrunrita
 
สมัยกรุงรัตนโกสินทร์
สมัยกรุงรัตนโกสินทร์สมัยกรุงรัตนโกสินทร์
สมัยกรุงรัตนโกสินทร์dechasomamee
 
Thai Social and Cultural 2
Thai Social and Cultural 2Thai Social and Cultural 2
Thai Social and Cultural 2kokoyadi
 
Thai Social and Cultural History3
Thai Social and Cultural History3Thai Social and Cultural History3
Thai Social and Cultural History3kokoyadi
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัยsangworn
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1fah472
 

Similar to Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57 (20)

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
 
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
 
กลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนากลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนา
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
 
111006099222748 13010713133143
111006099222748 13010713133143111006099222748 13010713133143
111006099222748 13010713133143
 
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
 
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
 
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
อาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยอาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัย
 
การสถาปนา
การสถาปนาการสถาปนา
การสถาปนา
 
การสถาปนา..
การสถาปนา..การสถาปนา..
การสถาปนา..
 
สมัยกรุงรัตนโกสินทร์
สมัยกรุงรัตนโกสินทร์สมัยกรุงรัตนโกสินทร์
สมัยกรุงรัตนโกสินทร์
 
Thai Social and Cultural 2
Thai Social and Cultural 2Thai Social and Cultural 2
Thai Social and Cultural 2
 
Thai Social and Cultural History3
Thai Social and Cultural History3Thai Social and Cultural History3
Thai Social and Cultural History3
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัย
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
 

More from Pracha Wongsrida

More from Pracha Wongsrida (19)

Key pr11 30109
Key pr11 30109Key pr11 30109
Key pr11 30109
 
Key pr3 30109
Key pr3 30109Key pr3 30109
Key pr3 30109
 
Key pr2 30109
Key pr2 30109Key pr2 30109
Key pr2 30109
 
Key pr1 30109
Key pr1 30109Key pr1 30109
Key pr1 30109
 
พิมพ์Respond sheet195
พิมพ์Respond sheet195พิมพ์Respond sheet195
พิมพ์Respond sheet195
 
พิมพ์Answer respond-195
พิมพ์Answer respond-195พิมพ์Answer respond-195
พิมพ์Answer respond-195
 
พิมพ์Ans195
พิมพ์Ans195พิมพ์Ans195
พิมพ์Ans195
 
พิมพ์1239
พิมพ์1239พิมพ์1239
พิมพ์1239
 
พิมพ์#195
พิมพ์#195พิมพ์#195
พิมพ์#195
 
พิมพ์ Wrap up-884
พิมพ์ Wrap up-884พิมพ์ Wrap up-884
พิมพ์ Wrap up-884
 
พิมพ์ Movi note 884
พิมพ์ Movi note 884พิมพ์ Movi note 884
พิมพ์ Movi note 884
 
Social studies1241 printabledocuments
Social studies1241 printabledocumentsSocial studies1241 printabledocuments
Social studies1241 printabledocuments
 
Social studies1240 printabledocuments
Social studies1240 printabledocumentsSocial studies1240 printabledocuments
Social studies1240 printabledocuments
 
Social studies1239 printabledocuments
Social studies1239 printabledocumentsSocial studies1239 printabledocuments
Social studies1239 printabledocuments
 
Social studies933 printabledocuments
Social studies933 printabledocumentsSocial studies933 printabledocuments
Social studies933 printabledocuments
 
Social studies885 printabledocuments
Social studies885 printabledocumentsSocial studies885 printabledocuments
Social studies885 printabledocuments
 
Quiz answers1295
Quiz answers1295Quiz answers1295
Quiz answers1295
 
Quiz1295
Quiz1295Quiz1295
Quiz1295
 
พิมพ์Wrap up1240
พิมพ์Wrap up1240พิมพ์Wrap up1240
พิมพ์Wrap up1240
 

Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57

  • 1. 1 สมัยอยุธยา (พ.ศ. 1893-พ.ศ. 2310) อยุธยาสถาปนาขึ้นใน พ.ศ. 1893 โดยสมเด็จพระ รามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) เป็นปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์อู่ทอง มีกษัตริย์ปกครองอยุธยารวม 33 พระองค์ 5 ราชวงศ์ รวมระยะเวลาการเป็นราชธานีของคนไทยถึง 417 ปี ทาเลที่ตั้งบริเวณที่ราบลุ่มของ แม่น้า 3 สายคือ แม่น้าเจ้าพระยา แม่น้าป่าสัก แม่น้าลพบุรีเหมาะแก่การเพาะปลูกและอยุธยาอยู่ไม่ไกล จากทะเลมากนักทาให้ติดต่อค้าขายกับต่างประเทศได้สะดวก กลายเป็นเมืองท่าการค้านานาชาติที่สาคัญ มีชาวต่างชาติเข้ามาติดต่อค้าขายกับอยุธยาอย่างต่อเนื่อง การแย่งชิงความเป็นใหญ่ในภูมิภาคระหว่างกรุงศรีอยุธยากับพม่า ก่อให้เกิดสงครามแย่งชิง อานาจในอย่างต่อเนื่องตลอดระยะเวลาการเป็นราชธานีกรุงศรีอยุธยา จนกระทั่งปี พ.ศ.2310 เป็น สงครามครั้งสุดท้ายระหว่างกรุงศรีอยุธยาและพม่า และเป็นสงครามที่ทาให้กรุงศรีอยุธยาสิ้นสุดความเป็น ราชธานีแห่งราชอาณาจักรสยาม ในปี พ.ศ.2310 รัชกาลที่ รายพระนาม ปีที่ครองราชย์ (โดยประมาณ) ปีที่สวรรคต (โดยประมาณ) 1 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) พ.ศ.1893 พ.ศ.1912 8 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ พ.ศ.1991 พ.ศ.2031 19 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช พ.ศ.2133 พ.ศ.2148 28 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช พ.ศ.2199 พ.ศ.2231 31 สมเด็จพระบรมราชาที่ 3 (พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ) พ.ศ.2275 พ.ศ.2301 33 สมเด็จพระเจ้าเอกทัศ (พระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์) พ.ศ.2301 พ.ศ.2310 1.ราชวงศ์อู่ทอง 3 พระองค์ 2.ราชวงศ์สุพรรณภูมิ 13 พระองค์ 3.ราชวงศ์พระร่วง 7 พระองค์ 4.ราชวงศ์ปราสาททอง 4 พระองค์ 5.ราชวงศ์บ้านพลูหลวง 6 พระองค์ ช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์ไทยสมัยอยุธยา ช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์ไทยสมัยอยุธยา (พ.ศ. 1893-พ.ศ. 2310) 4 พระมหากษัตริย์สาคัญสมัยอยุธยา 5 ราชวงศ์แห่งกรุงศรีอยุธยา
  • 2. 2 ปัจจัยที่ส่งเสริมให้อยุธยาเป็นราชธานีที่เจริญรุ่งเรืองยาวนานกว่า 417 ปี และแผ่ขยายอาณาเขต ออกไปอย่างกว้างขวาง สามารถสรุปได้ ดังนี้ อาณาจักรอยุธยาเกิดจากการรวมตัวของแคว้นสุพรรณภูมิ และแคว้นละโว้ เนื่องจากสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) ทรงรวม 2 แคว้น คือ แคว้นสุพรรณภูมิ ซึ่งมี อานาจทางภาคตะวันตกของแม่น้าเจ้าพระยา และแคว้นละโว้ซึ่งมีศูนย์กลางอยู่ที่ลพบุรี เนื่องจากพระองค์ทรงเป็นกษัตริย์ของแคว้นละโว้และทรงอภิเษกสมรสกับพระราชธิดาของ กษัตริย์แคว้นสุพรรณภูมิ ที่ตั้งของอาณาจักรอยุธยาเป็นจุดยุทธศาสตร์ด้านการป้องกันอาณาจักร กรุงศรีอยุธยามีสภาพเป็นเกาะเมือง ล้อมรอบด้วยแม่น้า 3 สาย ได้แก่ แม่น้าเจ้าพระยา แม่น้า ลพบุรี และแม่น้าป่าสัก ประกอบกับรอบเกาะเมืองมีสภาพเป็นที่ลุ่มน้าท่วมถึงในฤดูน้าหลาก ซึ่งเหมาะแก่การป้องกันข้าศึกได้ดีอีกทางหนึ่ง ที่ตั้งของอาณาจักรอยุธยาเป็นจุดยุทธศาสตร์ด้านการเกษตรกรรม ด้วยสภาพภูมิศาสตร์ที่ล้อมรอบด้วยแม่น้า 3 สาย จึงมีความอุดมสมบูรณ์ด้วยดินตะกอนพัดพา ยามฤดูน้าหลาก เหมาะแก่การเพาะปลูก โดยเฉพาะข้าวซึ่งเพียงพอต่อการบริโภคใน ราชอาณาจักร และสารองไว้ยามเกิดศึกสงคราม ที่ตั้งของอาณาจักรอยุธยาเป็นจุดยุทธศาสตร์ด้านการเป็นเมืองท่าการค้านานาชาติ ที่ตั้งของกรุงศรีอยุธยาอยู่ใกล้ทะเลมากกว่ากรุงสุโขทัย ทาให้เป็นศูนย์กลางทางการค้าระหว่าง ประเทศ และการค้ากับอาณาจักรใกล้เคียง ทาให้อยุธยามีความมั่นคงและมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ เป็นอย่างมาก ส่งผลต่อความเจริญรุ่งเรืองของอยุธยาในด้านต่างๆ มีแม่น้าหลายสายเหมาะแก่การคมนาคมทางน้า และการขนส่งสินค้า การสถาปนาอาณาจักรอยุธยา การปฏิรูปการปกครองสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 1 และการประกาศอิสรภาพของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช การต่างประเทศสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช การปฏิรูปการปกครองสมัยสมเด็จพระเพทราชา การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 และการกอบกู้เอกราชของชาติโดยพระยาตาก การเป็นเมืองท่าการค้านานาชาติของกรุงศรีอยุธยา ปัจจัยที่เอื้อต่อการสถาปนาอาณาจักรอยุธยา เหตุการณ์สาคัญทางประวัติศาสตร์สมัยอยุธยา
  • 3. 3 พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) คาให้การชาวกรุงเก่า คาให้การขุนหลวงหาวัด คาให้การขุนหลวงวัดประดู่ทรงธรรม วรรณกรรม เช่น ลิลิตโองการแช่งน้า ลิลิตยวนพ่าย จดหมายเหตุชาวต่างชาติ เช่น จดหมายเหตุวันวลิต จดหมายเหตุลาลูแบร์ จดหมายเหตุโยช เซาเต็น จดหมายเหตุจีน “หมิงสื่อลู่” ประวัติศาสตร์รายรัชกาลแห่งราชวงศ์หมิง โบราณสถาน ได้แก่ พระอุโบสถ วิหาร เจดีย์ โบราณวัตถุ ได้แก่ พระพุทธรูป ประติมากรรม งานจิตรกรรม งานศิลปกรรมแขนงต่างๆ ภาพถ่ายทางอากาศและภาพถ่ายทางดาวเทียม หลักฐานสาคัญในการศึกษาประวัติศาสตร์สมัยอยุธยา
  • 4. 4 1. อาณาจักรอยุธยา สถาปนาขึ้น ใน พ.ศ.1893-2310 2. กรุงศรีอยุธยามีสภาพเป็นเกาะเมืองมี แม่น้า 3 สาย ล้อมรอบได้แก่ แม่น้าป่าสัก แม่น้าลพบุรี และ แม่น้าเจ้าพระยา 3. สภาพภูมิศาสตร์ที่เป็นเกาะเมือง ส่งผลดีการที่กรุงศรีอยุธยาคือ 1. ค้าขาย 2. คมนาคมขนส่ง 3. ป้องกันข้าศึก 4. เกษตรกรรมสาคัญ 4. พระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยามีฐานะทางการปกครองที่เรียกว่า สมมติเทวราช หรือ สมบูรณาญาสิทธิราชย์ ซึ่งรับอิทธิพลมาจากศาสนา.พราหมณ์-ฮินดู จากอาณาจักร เขมร 5. พระมหากษัตริย์องค์สาคัญที่มีพระมหากรุณาธิคุณต่อการสร้างสรรค์อาณาจักรอยุธยา ได้แก่ พระมหากษัตริย์ พระมหากรุณาธิคุณ พระเจ้าอู่ทอง สถาปนากรุงศรีอยุธยา พระบรมไตรโลกนาถ ปฏิรูปการปกครอง วรรณคดี พระนเรศวรมหาราช กู้อิสรภาพ พระนารายณ์มหาราช การต่างประเทศก้าวหน้า โดยเฉพาะกับโปรตุเกส ฮอลันดา ฝรั่งเศส พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ วรรณคดีรุ่งเรือง 6. ปัจจัยใดบ้างที่ส่งผลต่อการสถาปนากรุงศรีอยุธยา อาณาจักรอยุธยาเกิดจากการรวมตัวของแคว้นสุพรรณภูมิ และแคว้นละโว้ ที่ตั้งของอาณาจักรอยุธยาเป็นจุดยุทธศาสตร์ด้านการป้องกันอาณาจักร ที่ตั้งของอาณาจักรอยุธยาเป็นจุดยุทธศาสตร์ด้านการเกษตรกรรม ที่ตั้งของอาณาจักรอยุธยาเป็นจุดยุทธศาสตร์ด้านการเป็นเมืองท่าการค้านานาชาติ 7. เพราะเหตุใดจึงกล่าวว่ากรุงศรีอยุธยาเป็นเมืองท่าการค้านานาชาติที่เจริญรุ่งเรือง เพราะมีชาวต่างชาติมาค้าขายเป็นจานวนมาก มีระบบการค้าเรียกว่า พระคลังสินค้า ในการติดต่อ ค้าขายกับต่างประเทศ มีสินค้าที่หลากหลาย แนวคิด “ซื้อถูก ขายแพง ของฟรีก็เอาไปขาย” ภูมิศาสตร์เหมาะสมต่อการเป็นศูนย์กลางทางการค้า เก็บภาษีผ่านด่านการค้าทั้งขาเข้าและขาออก ทาให้ร่ารวย การค้าในระบบบรรณาการกับจีน เรียกว่า การจิ้มก้อง กิจกรรมที่ 1 ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ แบบฝึกหัดทบทวน
  • 5. 5 8. จดหมายเหตุของชาวต่างชาติมีความสาคัญต่อการศึกษาประวัติศาสตร์อยุธยาอย่างไร จดหมายเหตุชาวต่างชาติ เช่น จดหมายเหตุวันวลิต (ฟานฟลีต-โปรตุเกส) จดหมายเหตุลาลูแบร์ จดหมายเหตุของโยช เซาเต็น จดหมายเหตุจีน “หมิงสื่อลู่” ประวัติศาสตร์รายรัชกาลแห่งราชวงศ์หมิง.......... 9. นักเรียนคิดว่าหลักฐานใดบ้าง ที่มีความสาคัญต่อการศึกษาประวัติศาสตร์อยุธยา เพราะเหตุใด ให้ นักเรียนอธิบายและยกตัวอย่างประกอบ พงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ มีความน่าเชื่อถือมากที่สุดในการศึกษา ประวัติศาสตร์อยุธยา