SlideShare a Scribd company logo
1 of 51
Download to read offline
หัวข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
ภูมิหลังของอาณาจักร
สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ ทรงสถาปนาอาณาจักรอยุธยาขึ้นในปี พ.ศ. ๑๘๙๓ หากพิจารณาจากปีที่ก่อตั้งจะเห็นได้ว่าอยุธยาเกิด
หลังอาณาจักรไทยอื่น ๆ ที่ก่อตั้งขึ้นในช่วงระยะปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๘ – ๑๙ คือ อาณาจักรสุโขทัย (พ.ศ. ๑๗๘๑) และอาณาจักรล้านนา
(พ.ศ. ๑๘๓๙) แต่อยุธยากลับเป็นอาณาจักรที่มีอานาจ มีความเจริญรุ่งเรือง และมีอายุยืนนานกว่าอาณาจักรไทยอื่นใด นอกจากนั้นอยุธยา
ยังได้มอบมรดกทางด้านวัฒนธรรมมากมายไม่ว่าจะเป็น ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมแก่อาณาจักรไทยในสมัยหลัง
อย่างไรก็ตามก่อนที่จะศึกษาสภาพการเมืองการปกครองของสมัยกรุงศรีอยุธยานั้น เพื่อเป็นพื้นฐานความเข้าใจที่ดีขึ้น เราควรจะรู้
ว่า สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ (พ.ศ. ๑๘๙๓ – ๑๙๑๒) หรือที่เรียกกันในอีกพระนามหนึ่งว่า พระเจ้าอู่ทองทรงเป็นใครและทรงครองเมืองใด
ก่อนที่จะทรงก่อตั้งอาณาจักรอยุธยา หรือมีปัจจัยอะไรที่เกื้อหนุนให้พระองค์ทรงสามารถสถาปนาอาณาจักรนี้ได้สาเร็จ และอาณาจักร
อยุธยามีพื้นฐานที่ดีในด้านใดจึงสามารถพัฒนาความเจริญรุ่งเรืองสร้างความเป็นปึกแผ่นได้อย่างรวดเร็ว จนก้าวขึ้นมาเป็นศูนย์อานาจทาง
การเมืองในลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาทั้งตอนบนและตอนล่างได้สาเร็จ
การสถาปนากรุงศรีอยุธยา
การศึกษาจนถึงขณะนี้ เรื่องราวเกี่ยวกับกาเนิดของอาณาจักรอยุธยา และพระราชประวัติของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ ผู้ก่อตั้ง
อาณาจักรนี้ยังเป็นเรื่องคลุมเครือ หาข้อยุติไม่ได้ และเป็นปัญหาที่ถกเถียงกันอย่างมากในหมู่นักประวัติศาสตร์ หลักฐานเท่าที่มีอยู่ซึ่งมีข้อ
ขัดแย้งกันอยู่มากซึ่งสามารถสรุปประเด็นที่เหมือนกันได้เพียงแต่ว่า สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ ทรงประสูติในราว พ.ศ. ๑๘๕๗ ต่อมาทรง
อภิเษกสมรสกับเจ้าหญิงแห่งแคว้นสุพรรณบุรี ซึ่งในขณะนั้น (พุทธศตวรรษที่ ๑๙) เป็นแคว้นที่มีอานาจทางการทหาร และเป็นคู่แข่งทาง
การเมืองของแคว้นละโว้ (แคว้นลพบุรี) พระองค์ทรงสร้างเมืองอยุธยาเมื่อ ปี พ.ศ. ๑๘๙๓ ขณะที่ทรงมีพระชนมายุได้ ๓๖ พรรษา
ส่วนปัญหาที่ว่าสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ เสด็จมาจากเมืองไหนนั้น เดิมเคยเชื่อกันว่าพระองค์ทรงครองราชย์อยู่ที่
เมืองอู่ทองก่อนที่จะทรงอพยพมาสร้างเมืองใหม่ที่อยุธยา เนื่องจากเมืองอู่ทองเกิดกันดารน้า อหิวาตกโรคระบาด ผู้คนล้มตายไปเป็นจานวน
มาก พระเจ้าอู่ทองจึงทรงพาไพร่พลอพยพมาก่อตั้งเมืองอยุธยาเมื่อปี พ.ศ. ๑๘๙๓ แต่จาการขุดค้นหลักฐานทางโบราณคดีใน ปี พ.ศ.
๒๕๐๖ พบว่าเมืองอู่ทองได้สลายตัวกลายเป็นเมืองร้างประมาณ ๒๐๐ – ๓๐๐ ปีก่อนการก่อตั้งอยุธยา สมมุติฐานดังกล่าวจึงถูกล้มล้างไป
และได้เกิดสมมุติฐานใหม่อีกหลายประการดังนี้ คือ
๑. พระเจ้าอู่ทองเสด็จมาจากเมืองเพชรบุรี โดยอ้างหลักฐานจากคาให้การชาวกรุงเก่า และจดหมายเหตุลาลูแบร์
๒. พระเจ้าอู่ทองทรงอพยพมาจากแถบเมืองสุพรรณบุรี และทรงเป็นพระราชบุตรเขยของเจ้าเมืองนี้ โดยอ้างหลักฐานคาว่า อู่ทอง
– สุพรรณบุรี เป็นคาที่มีความหมายเหมือนกัน เป็นหลักฐานยืนยันว่าคงเป็นสถานที่แห่งเดียวกัน คือ แถบเมืองสุพรรณบุรี
๓. พระเจ้าอู่ทองเสด็จมาจากเมืองกัมโพช โดยอ้างหลักฐานจากหนังสือเรื่องชินกาลมาลีปกรณ์ และพระราชพงศาวดารกรุงสยาม
ฉบับบริติชมิวเซียม เมืองกัมโพชนี้นักประวัติศาสตร์สันนิษฐานว่าน่าจะหมายถึงเมืองศูนย์กลางในลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาที่เคยอยู่ใต้อิทธิพลของ
เขมร คือ เมืองละโว้หรือลพบุรี
๔. พระเจ้าอู่ทองทรงมีถิ่นฐานดั้งเดิมอยู่แถวอยุธยา แถบวัดพนัญเชิง ทางฝั่งตะวันออกของแม่น้า ต่อมาเกิดโรคอหิวาต์ระบาด จึง
ทรงอพยพผู้คนข้ามฝากมาสร้างเมืองใหม่ทางฝั่งตรงข้ามและขนานนามเมืองที่ตั้งใหม่นี้ว่า “กรุงเทพทวารวดีศรีอยุธยา” สมมุติฐานนี้อ้างอิง
หลักฐานจากหลายแหล่งทั้งศิลาจารึก ตานาน พงศาวดาร รวมทั้งอ้างอิงหลักฐานทางด้านโบราณสถานและโบราณวัตถุต่าง ๆ ด้วย เช่น วัดพ
นัญเชิง วัดโสมณโกษ วัดกุฏีดาว วัดอโยธยา และพระพุทธรูปพระเจ้าพแนงเชิง (พระพุทธไตรรัตนนายก) โบราณสถานและโบราณวัตถุ
เหล่านี้อยู่ทางฟากฝั่งตะวันออก และล้วนแล้วแต่สร้างขึ้นก่อนการก่อตั้งกรุงศรีอยุธยา
สมมุติฐานทั้งสี่ประการนี้ ข้อสามและข้อสี่เป็นสมมุติฐานที่ได้รับการเชื่อถือกันมาก อย่างไรก็ตามเมื่อพิจารณาจากการที่สมเด็จพระ
รามาธิบดีที่ ๑ ทรงแต่งตั้งให้พระราเมศวร พระราชโอรสเสด็จไปครองเมืองลพบุรีหลังการก่อตั้งอยุธยาแล้ว ประกอบกับการที่สมเด็จพระรา
เมศวรเสด็จกลับมาประทับที่เมืองลพบุรี เมื่อทรงถูกขุนหลวงพะงั่วแย่งราชสมบัติเมื่อปี พ.ศ. ๑๙๑๓ ทาให้สมมุติฐานที่ว่า สมเด็จพระ
รามาธิบดีที่ ๑ เสด็จมาจากเมืองลพบุรีน่าจะเป็นจริง กล่าวคือ พระองค์คงจะทรงเป็นพระราชโอรสของเจ้าผู้ครองแคว้นละโว้ซึ่งขณะนั้น
(พุทธศตวรรษที่ ๑๙) เป็นอาณาจักรไทยในลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาตอนล่างทางด้านตะวันออกที่ตั้งตนเป็นอิสระจากเขมร ต่อมาพระองค์ทรง
อภิเษกสมรสกับเจ้าหญิงแห่งแคว้นสุพรรณบุรี ซึ่งเป็นแคว้นสาคัญของชาวไทยในลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาตอนล่างทางด้านตะวันตก แคว้น
๒
สุพรรณบุรีมีอานาจทางการทหาร และเป็นคู่แข่งทางการเมืองของแคว้นละโว้ จากพันธะทางด้านการแต่งงาน ทาให้เกิดการเชื่อมโยงทาง
การเมืองระหว่างแคว้นสาคัญทั้งสองในลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาตอนล่าง
หลังจากที่พระราชบิดาเสด็จสวรรคตแล้ว สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ ได้ทรงครองราชย์สมบัติที่ลพบุรีสืบต่อมา และได้ทรงย้ายมา
สร้างเมืองใหม่ที่อยุธยาในปี พ.ศ. ๑๘๙๓ การที่พระองค์ทรงตัดสินพระราชหฤทัยสร้างศูนย์อานาจทางการเมืองแห่งใหม่ที่อยุธยานั้น คงเป็น
เพราะว่าอยุธยามีทาเลที่เหมาะสมกว่าลพบุรีทั้งในด้านยุทธศาสตร์และในด้านทาเลการค้ากับต่างประเทศ อีกทั้งยังมีความอุดมสมบูรณ์ในด้าน
การเกษตรจึงเหมาะที่จะเป็นศูนย์อานาจทางการเมืองแห่งใหม่ในลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาตอนล่าง ที่เชื่อมโยงแคว้นละโว้และสุพรรณบุรีเข้าด้วยกัน
ส่วนปัจจัยที่เกื้อหนุนให้สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ ทรงสามารถก่อตั้งอาณาจักรอยุธยานั้น นอกจากปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจ ความ
เจริญทางด้านวัฒนธรรม และกาลังทหารที่ได้จากแคว้นละโว้และแคว้นสุพรรณบุรีแล้ว คือ ปัจจัยทางด้านช่องว่างอานาจทางการเมือง
ขณะนั้นอาณาจักรสุโขทัยซึ่งอยู่ทางเหนือและอาณาจักรเขมรซึ่งอยู่ทางตะวันออกกาลังเสื่อมอานาจลงมาก จึงเปิดโอกาสให้อยุธยาซึ่งอยู่ตรง
กลางก่อตัวขึ้นได้ในช่องว่างแห่งอานาจนี้
พื้นฐานของอาณาจักรอยุธยา
กรุงศรีอยุธยาที่สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ ทรงก่อตั้งในปี พ.ศ. ๑๘๙๓ นั้น มีทาเลที่ตั้งที่ดีทั้งในด้านยุทธศาสตร์และในด้านการค้า
กล่าวคือ ตัวเมืองอยุธยาอยู่ในบริเวณที่ลุ่ม มีแม่น้าล้อมรอบ ๓ ด้าน ได้แก่ แม่น้าลพบุรีทางด้านเหนือ แม่น้าเจ้าพระยาทางด้านตะวันตกและ
ด้านใต้ ดังนั้นเพียงแต่ขุดลาคลองทางด้านตะวันออกเชื่อมแม่น้าเหล่านั้นอยุธยาก็กลายเป็นเมืองเกาะที่มีลาน้าล้อมรอบทั้ง ๔ ด้าน
ลักษณะเช่นนี้นับเป็นปราการธรรมชาติอันมั่นคง ช่วยป้องกันการโจมตีของข้าศึกได้เป็นอย่างดี นอกจากนั้นการตั้งอยู่ในบริเวณที่ลุ่ม ทาให้
ช่วงระยะระหว่างเดือนกันยายน – ธันวาคมของทุกปี จะมีน้าหลากท่วมรอบกรุงศรีอยุธยาเป็นบริเวณกว้าง เท่ากับเป็นการบังคับให้ฝ่ายข้าศึก
มีโอกาสมาล้อมโจมตีกรุงศรีอยุธยาได้เพียงปีละ ๘ เดือนเท่านั้น และเมื่อล้อมอยู่ถึงหน้าน้าหลากแล้ว ก็จาต้องยกทัพกลับไปโดยปริยาย
ทาเลที่ตั้งเช่นนี้ นอกจากจะให้ผลดีในด้านยุทธศาสตร์แล้ว ยังทาให้อยุธยาสามารถติดต่อค้าขายกับอาณาจักรที่อยู่ลึกเข้าไป เช่น
สุโขทัย ได้สะดวก โดยอาศัยแม่น้าเจ้าพระยาและสาขา นอกจากนั้นการที่อยุธยาตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้าที่ลึกเข้าไปในผืนแผ่นดินแต่ก็ไม่ไกลจาก
ปากน้าจนเกินไป ทาให้อยุธยาสามารถติดต่อค้าขายทางเรือกับต่างประเทศได้อย่างสะดวก รวมทั้งสามารถทาหน้าที่เป็นพ่อค้าคนกลางในการ
ติดต่อค้าขายระหว่างพ่อค้าต่างชาติกับอาณาจักรที่อยู่ลึกเข้าไปหรือทาหน้าที่เป็นพ่อค้าคนกลางติดต่อค้าขายระหว่างพ่อค้าจีน ญี่ปุ่น กับพวก
พ่อค้าต่างชาติอื่น ๆ อยุธยาจึงเป็นศูนย์กลางการค้าที่สาคัญ
นอกจากทาเลที่ตั้งที่เหมาะสมทั้งในด้านยุทธศาสตร์และในด้านการค้าแล้ว มีข้อน่าสังเกตว่า ตั้งแต่แรกก่อตั้งอาณาจักร อยุธยามี
พื้นฐานที่ดีทั้งทางด้านเศรษฐกิจ วัฒนธรรม และด้านกาลังทหาร ซึ่งพื้นฐานที่ดีทั้ง ๓ ประการนี้มีส่วนอย่างมากในการช่วยเกื้อหนุนให้อยุธยา
สามารถพัฒนาความเจริญรุ่งเรืองได้อย่างรวดเร็ว จนก้าวขึ้นมาเป็นศูนย์อานาจทางการเมืองในลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาทั้งตอนบนและตอนล่าง ดังนี้
๑. พื้นฐานทางเศรษฐกิจ
การศึกษาหลักฐานทางด้านโบราณคดีและประวัติศาสตร์พบว่า บริเวณที่ตั้งของอยุธยาเป็นดินแดนที่เคยมีเมืองเก่าซึ่งเรียกกันว่าเมือ
งอโยธยา ตั้งอยู่ทางฟากฝั่งตะวันออกแถบวัดพนัญเชิง เมืองอโยธยานี้สันนิษฐานว่าตั้งขึ้นก่อนการสถาปนากรุงศรีอยุธยาประมาณ ๒๐๐ ปี
เคยเป็นชุมชนที่มีผู้คนอาศัยอยู่หนาแน่น มีความอุดมสมบูรณ์ทางเศรษฐกิจ มีความเจริญรุ่งเรืองในการติดต่อค้าขายกับจีน โดยอโยธยาส่ง
พริกไทย ไม้ฝาง ของป่าไปขายที่จีน และซื้อสินค้าพวกเครื่องเคลือบ แพร ไหม กลับมา อย่างไรก็ตาม ในช่วงระยะก่อนการก่อตั้งอยุธยา
นั้น เมืองอโยธยาได้ซบเซาลงจนเกือบเป็นเมืองร้าง โดยไม่มีหลักฐานใดบ่งบอกไว้อย่างชัดเจนว่าเหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น แม้ว่าอโยธยาจะเสื่อม
สลายไป แต่ก็ได้มอบมรดกทางเศรษฐกิจในด้านการติดต่อค้าขายกับจีนให้แก่อยุธยา
ด้วยเหตุนี้อยุธยาจึงมีพื้นฐานทางเศรษฐกิจที่ดีในด้านการค้าขายกับต่างประเทศ และยังมีความอุดมสมบูรณ์ทางการเกษตรอีกด้วย
เพราะอยุธยาตั้งอยู่ในบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาตอนล่าง พื้นดินมีความอุดมสมบูรณ์ เหมาะแก่การเพาะปลูกเป็นอย่างยิ่ง และพืชที่ปลูก
กันมากก็คือ ข้าว ความอุดมสมบูรณ์ทางการเกษตร ทาให้อยุธยาสามารถผลิตอาหารเลี้ยงผู้คนได้เป็นจานวนมาก ซึ่งนับว่ามีความสาคัญมาก
ต่ออยุธยา เพราะในสมัยก่อน กาลังคนเป็นทรัพยากรที่มีค่ายิ่ง และเป็นพื้นฐานสาคัญอย่างหนึ่งในการสร้างและแผ่ขยายอาณาจักร
ในคาให้การชาวกรุงเก่ากล่าวถึงความอุดมสมบูรณ์ของอยุธยาว่า ที่ตั้งของอยุธยาซึ่งเรียกกันว่าหนองโสนนั้น “...ประกอบด้วยพรรณ
มัจฉาชาติบริบูรณ์...” และในอีกตอนหนึ่งกล่าวว่า “…ในกรุงที่สร้างใหม่ในตาบลหนองโสนนั้น ปราศจากภัยพิบัติคือ ข้าวแพง และ
อหิวาตกโรค เป็นต้น ฝูงชนพลเมืองรู้ทามาหากิน มีการกสิกรรมทาไร่นา ทาพาณิชยกรรมแลกเปลี่ยนค้าขาย ทาการช่างหัตถกรรม เป็น
ต้นว่า จักสาน ทาหม้อไห ตุ่ม โอ่ง ใช้ใส่ข้าว ใส่น้ามากมูล ซื้อขายแก่กัน พวกราษฎรก็มีทรัพย์สินมั่งคั่ง เจริญสุขสมบูรณ์ขึ้นทุกที...”
๓
๒. พื้นฐานทางด้านวัฒนธรรม
อยุธยาได้รับมรดกทางด้านศิลปะ วิทยาการ และศาสนา ไม่ว่าจะเป็นศาสนาพุทธ พราหมณ์และฮินดูจากลพบุรี ซึ่งเป็นดินแดน
เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งในตอนกลางของประเทศไทย ตามตานานกล่าวว่าเมืองละโว้หรือลพบุรีนี้สร้างเมื่อ พ.ศ. ๑๐๐๒ และเชื่อกันว่าในสมัย
อาณาจักรทวารวดี ละโว้เป็นเมืองหลวงทางด้านตะวันออกของอาณาจักร ในขณะที่นครปฐม อู่ทอง และสุพรรณบุรี ตามลาดับเป็นเมือง
หลวงทางด้านตะวันตก นับตั้งแต่สมัยอาณาจักรทวารวดีเป็นต้นมาจนถึงสมัยที่อาณาจักรเขมรแผ่อานาจเข้ามาในลุ่มแม่น้าเจ้าพระยา ละโว้
มีบทบาทสาคัญในฐานะศูนย์กลางความเจริญรุ่งเรืองทางด้านวัฒนธรรมไม่ว่าจะเป็นวัฒนธรรมที่มีพื้นฐานมาจากศาสนาพุทธ พราหมณ์ หรือ
ฮินดู หลักฐานที่แสดงความเจริญรุ่งเรืองทางศิลปวิทยาการนี้ มีทั้งโบราณสถาน โบราณวัตถุ และเอกสารพวกตานานพงศาวดาร หลักฐาน
จากเอกสารมี อาทิเช่น
ในต้นพุทธศตวรรษที่ ๑๓ พระนางจามเทวี เจ้าหญิงละโว้ซึ่งจะเสด็จขึ้นไปครองเมืองหริภุญไชย (เมืองลาพูน) ได้ทรงนาเอาพุทธ
ศาสนา บัณฑิต หมอยา และช่างฝีมือจากละโว้ขึ้นไปด้วย
ในปี พ.ศ. ๑๔๐๔ เจ้าชายญี่ปุ่น ผู้ทรงมีจิตศรัทธาในศาสนา ได้เสด็จแสวงหาคัมภีร์พุทธศาสนาระหว่างจีนและอินเดีย ได้ทรงแวะ
มาค้นหาที่ละโว้ด้วย และสิ้นพระชนม์ที่นี่
นอกจากนั้นมีหลักฐานว่าปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๘ พ่อขุนรามคาแหง พ่อขุนเม็งราย และ พระยางาเมืองเสด็จมาทรงศึกษาที่ละโว้
จากหลักฐานที่กล่าวมานี้ จะเห็นได้ว่าละโว้หรือลพบุรีเป็นศูนย์กลางความเจริญรุ่งเรืองทางวัฒนธรรมและได้ถ่ายทอดมรดกทาง
วัฒนธรรมของตนไม่ว่าจะเป็นศิลปะ ศาสนา และวิทยาการต่าง ๆ แก่อยุธยา พื้นฐานทางด้านวัฒนธรรมที่อยุธยาได้รับมรดกมานี้ เป็นปัจจัย
สาคัญประการหนึ่งที่ช่วยเสริมสร้างความเจริญรุ่งเรืองและความเป็นปึกแผ่นแก่อาณาจักรต่อไป
๓. พื้นฐานทางด้านกาลังทหาร
ตั้งแต่แรกก่อตั้งอาณาจักรอยุธยานับว่ามีพื้นฐานทางด้านกาลังทหารที่มั่นคงพอสมควรเนื่องจากได้รับการสนับสนุนจากแคว้น
สุพรรณบุรี ซึ่งขณะนั้นเป็นศูนย์อานาจทางการทหารในเขตลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาตอนล่างทางด้านตะวันตก ความเข้มแข็งในด้านกาลังทหาร
ของแคว้นสุพรรณบุรี จะเห็นได้จากเหตุการณ์ในปี พ.ศ. ๑๙๑๒ เมื่อสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ โปรดเกล้าฯ ให้พระราเมศวรผู้ครองเมืองลพบุรี
เสด็จไปตีนครธมเมืองหลวงของเขมร แต่พระราเมศวรกลับทรงพ่ายแพ้แก่กองทัพเขมร สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ จึงโปรดเกล้าฯ ให้ขุน
หลวงพะงั่ว เจ้าเมืองสุพรรณบุรี ทรงยกกองทัพเมืองสุพรรณไปช่วย ปรากฏว่าขุนหลวงพะงั่วทรงสามารถตีนครธมได้สาเร็จ เหตุการณ์นี้
สะท้อนให้เห็นว่าสุพรรณบุรีเป็นเมืองที่มีความเข้มแข็งในด้านกาลังทหาร
จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดี สุพรรณบุรีเป็นเมืองเก่าแก่เมืองหนึ่งในเขตที่ราบลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาตอนล่างทางด้าน
ตะวันตก เป็นเมืองที่พื้นดินมีความอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูกมากนอกจากนั้นยังเป็นเมืองที่มีความเจริญทางด้านการค้า เชื่อกันว่า
เมื่อเมืองนครปฐมและเมืองอู่ทองซึ่งเป็นเมืองสาคัญของอาณาจักรทวารวดี ถูกทิ้งร้างไปเมื่อประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๖ สุพรรณบุรีได้เจริญ
ขึ้นมาแทนที่เมืองทั้งสอง กลายเป็นศูนย์อานาจทางการค้าและการทหารในเขตลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาตอนล่างทางด้านตะวันตก และยังทาหน้าที่
เป็นเมืองหลวงทางด้านตะวันตกของอาณาจักรด้วย สุพรรณบุรีพยายามขยายอานาจทางการทหารของตนอยู่เสมอ ดังจะเห็นได้จากการที่
สุพรรณบุรียกกองทัพไปโจมตรีเมืองนครศรีธรรมราชเมื่อประมาณปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๘
ได้กล่าวมาแล้วว่าพันธะจากการแต่งงานทาให้เกิดการเชื่อมโยงทางการเมืองระหว่างแคว้นสุพรรณบุรีและแคว้นละโว้ในปลายพุทธ
ศตวรรษที่ ๑๙ และต่อมาสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ ได้ทรงย้ายมาสร้างศูนย์อานาจทางการเมืองแห่งใหม่ที่อยุธยา ดังนั้น อาณาจักรอยุธยา
จึงมีพื้นฐานทางด้านกาลังทหารที่มั่นคงพอสมควรตั้งแต่ระยะเริ่มแรก เพราะได้รับการสนับสนุนจากแคว้นสุพรรณบุรี
การที่อยุธยามีพื้นฐานที่ดีทั้งทางด้านเศรษฐกิจ วัฒนธรรม และด้านกาลังทหารตั้งแต่แรกก่อตั้งอาณาจักร ทาให้อยุธยาสามารถสร้าง
ความเป็นปึกแผ่น และแผ่ขยายอาณาจักรออกไปได้อย่างรวดเร็ว ดังจะเห็นได้ว่าเพียงชั่วระยะเวลาประมาณ ๙๐ ปี หลังจากการก่อตั้ง
อยุธยาสามารถทาลายศูนย์อานาจทางการเมืองที่สาคัญในขณะนั้นให้หมดอานาจไป ๒ อาณาจักร คือ อาณาจักรเขมร (พ.ศ. ๑๙๗๔) และ
อาณาจักรสุโขทัย (พ.ศ. ๑๙๘๑) อีกทั้งยังได้ก้าวขึ้นมาเป็นศูนย์อานาจทางการเมืองของคนไทยในแถบลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาทั้งตอนบนและ
ตอนล่าง นับจากนั้นเป็นต้นมา (ปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๐) อยุธยาก็ได้ครองความเป็นผู้นาของโลกคนไทยมาจนถึงปี พ.ศ. ๒๓๑๐ จึงล่มสลาย
ไปจากเสียกรุงแก่พม่า นับเป็นการสิ้นสุดของอาณาจักรอยุธยาที่มีอายุยืนนานถึง ๔๑๗ ปี (พ.ศ. ๑๘๙๓ – ๒๓๑๐)
๔
สภาพทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมช่วง พ.ศ. ๑๘๙๓ – ๑๙๙๑
ลักษณะทางการเมืองการปกครอง
๑. ฐานะและอานาจหน้าที่ของพระมหากษัตริย์
อาณาจักรอยุธยาปกครองด้วยระบอบราชาธิปไตยเช่นเดียวกับอาณาจักรสุโขทัย ในระบอบนี้ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้นาสูงสุด
ของอาณาจักร และทรงไว้ซึ่งพระราชอานาจอย่างเด็ดขาดแต่พระองค์เดียวในการปกครองทั้งในยามสงบและในยามสงคราม แม้ว่าสุโขทัย
และอยุธยาจะใช้ระบอบการปกครองแบบเดียวกัน แต่ก็มีความแตกต่างกันในด้านคติหรือแนวคิดที่ใช้เป็นหลักในการกาหนดฐานะและอานาจ
หน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ในสมัยสุโขทัยแนวคิดหลักที่ใช้ในการกาหนดคือคติที่ว่า “พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประดุจบิดาของประชาชน”
แต่ในสมัยอยุธยาใช้คติที่ว่า “พระมหากษัตริย์ทรงมิใช่มนุษย์ธรรมดา หากทรงเป็นองค์อวตารของพระเป็นเจ้า” แนวคิดแบบนี้เรียกอีกอย่าง
หนึ่งว่า เทวราชา โดยรับแนวคิดมาจากเขมร ซึ่งเขมรเองก็ได้รับจากอินเดียอีกต่อหนึ่ง คติเรื่องเทวราชามีพื้นฐานมาจากลัทธิพราหมณ์โดยมี
ความเชื่อว่าพระมหากษัตริย์ทรงเป็นองค์อวตารของพระเป็นเจ้าในศาสนาพราหมณ์ซึ่งอาจจะเป็นพระศิวะหรือพระวิษณุองค์ใดองค์หนึ่ง ความ
เชื่อนี้จะปรากฏในพิธีบรมราชาภิเษก ในพิธีนี้พราหมณ์ซึ่งถือกันว่าเป็นชนกลุ่มเดียวที่สามารถติดต่อกับพระเป็นเจ้าได้โดยตรงจะเป็นผู้สาธยาย
มนต์อัญเชิญพระเป็นเจ้าให้เสด็จลงมาสถิตในองค์พระมหากษัตริย์ นอกจากนั้นในระหว่างประกอบพิธี พราหมณ์จะใช้คาพูดกับ
พระมหากษัตริย์เหมือนดังเช่นพูดกับพระศิวะหรือพระวิษณุ และจะถวายสัญลักษณ์ของพระเป็นเจ้าแด่พระมหากษัตริย์ด้วย เช่น พระสังวาย์ธุรา
พระแสงราชาวุธ และพระบรมนามาภิไธยที่มีคาว่า “ทิพยเทพาวตาร” ซึ่งแปลว่า “อวตารของพระเป็นเจ้าบนสวรรค์” สิ่งประกอบในพิธี
บรมราชาภิเษกเช่นนี้แสดงให้เห็นว่า องค์พระมหากษัตริย์ ได้ทรงกลายเป็นพระเป็นเจ้าแล้ว
เมื่อพระมหากษัตริย์ทรงอยู่ในฐานะเป็นเทพเจ้า ก็ต้องมีการสร้างระเบียบแบบแผนและกฎเกณฑ์เพื่อให้สอดคล้องกับฐานะและความ
ยิ่งใหญ่ของพระองค์ สถาบันพระมหากษัตริย์ในสมัยอยุธยาจึงมีลักษณะเฉพาะที่เป็นแบบแผนกว่าสมัยสุโขทัย กฎเกณฑ์ที่สร้างขึ้นมีอยู่หลาย
ประการพอจะสรุปได้ดังนี้คือ
ประการแรก มีกฎข้อบังคับว่า พระมหากษัตริย์จะต้องทรงอยู่ในที่สูงเหนือผู้อื่นใดทั้งสิ้น การตั้งที่ประทับของพระมหากษัตริย์จึง
ต้องอยู่เหนือคนอื่น ๆ จะอยู่ต่ากว่าหรือจะอยู่เสมอกันไม่ได้ กฎข้อบังคับนี้ต่อมาได้กลายเป็นขนบประเพณีทาให้ทุกคนต้องลดตนให้ต่าลงไป
เมื่ออยู่ต่อหน้าองค์พระมหากษัตริย์ เพราะพระองค์ทรงเป็นเทพเจ้า จาต้องทรงอยู่เหนือมนุษย์ทั้งปวง
ประการที่สอง พระมหากษัตริย์จะต้องทรงแยกพระองค์ต่างหากออกจากมนุษย์คนอื่น เพราะเมื่อพระองค์ทรงเป็นเทพเจ้าแล้ว จะ
ทรงคลุกคลีกับคนธรรมดาสามัญไม่ได้ จะทาให้ขาดความเคารพ และทาให้เสื่อมในคติความเชื่อ กฎเกณฑ์ข้อนี้ทาให้พระมหากษัตริย์ทรงอยู่ใน
ฐานะสูงส่งและลี้ลับ จนกระทั่งราษฎรธรรมดาไม่สามารถจะเข้าถึงได้อีกต่อไป
ประการที่สาม ที่ประทับของพระมหากษัตริย์ คือ พระบรมมหาราชวังนั้น จะได้รับการสร้างขึ้นโดยเจตนาให้มีกฎเกณฑ์และมีพิธีการ
เหมือนดั่งเป็นเทวสถานในศาสนาพราหมณ์ โดยปกติในเทวสถานจะมีเทวทาส คือ ทาสหญิงของพระเป็นเจ้าอยู่เป็นจานวนมาก ทาหน้าที่
ปรนนิบัติรับใช้พระเป็นเจ้า ในพระบรมมหาราชวังก็จะมีนางสนมกานัลอยู่เป็นจานวนมากเพื่อปรนนิบัติรับใช้องค์พระมหากษัตริย์
นอกจากนั้นจะมีพราหมณ์ประจาราชสานักมีหน้าที่ประกอบพิธีกรรมเพื่อบูชาพระมหากษัตริย์ซึ่งทรงมีฐานะเป็นเทพเจ้า
ประการที่สี่ มีการสร้างราชาศัพท์ขึ้นสาหรับใช้กับองค์พระมหากษัตริย์และพระราชวงศ์
ประการสุดท้าย การออกกฎข้อบังคับหรือข้อห้ามต่าง ๆ เกี่ยวกับองค์พระมหากษัตริย์ เช่น ห้ามจับต้ององค์พระมหากษัตริย์ ห้าม
มองพระมหากษัตริย์ ห้ามถามอาการพระประชวร ห้ามเอ่ยพระนามจริง และ ห้ามขุนนางวิวาทชกตีกันในเขตพระราชฐาน เป็นต้น ผู้ทาผิด
กฎข้อบังคับเหล่านี้จะได้รับโทษ
กล่าวได้ว่า พระมหากษัตริย์ในสมัยอยุธยาทรงอยู่ในฐานะเทพเจ้าตามคติความเชื่อของลัทธิพราหมณ์ และสถาบันพระมหากษัตริย์ใน
สมัยนี้มีหลักการและแบบแผนที่แน่นอนในด้านพระราชอานาจ เนื่องจากพระมหากษัตริย์ทรงมีฐานะสูงส่ง เป็นอวตารของพระเป็นเจ้า พระ
ราชอานาจจึงมิได้เกิดจาก “สัญญาประชาคม” แต่ได้จากการที่ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ และทรงมีความสูงส่ง ศักดิ์สิทธิ์ ในส่วนของ
ภาระหน้าที่ พระมหากษัตริย์ทรงมีหน้าที่ในการทาสงครามป้องกันราชอาณาจักรให้พ้นจากภัยของอริราชศัตรู รักษาความสงบเรียบร้อยของ
สังคม คุ้มครองชีวิตและทรัพย์สินของอาณาประชาราษฎร์ ทานุบารุงส่งเสริมศาสนา ศิลปวัฒนธรรม และประกอบพิธีต่าง ๆ สาหรับพระนคร
แม้ว่าพระมหากษัตริย์ในสมัยอยุธยาจะทรงได้รับคติเทวราชาจากเขมร แต่ความเป็นเทวราชาของพระองค์ก็มิได้มีลักษณะเด็ดขาด
และสมบูรณ์เหมือนเช่นประเทศต้นเค้าคติความเชื่อ ดังจะเห็นได้ว่าพระมหากษัตริย์อยุธยาไม่เคยทรงเกณฑ์แรงงานคนไปสร้างปราสาทหิน
ขนาดใหญ่เพื่อเก็บพระบรมศพดังเช่นที่กระทากันในอาณาจักรเขมรที่เป็นเช่นนี้เพราะพระมหากษัตริย์ไทยทรงได้รับอิทธิพลจากศาสนาพุทธ ซึ่ง
๕
เน้นว่าผู้ปกครองจะต้องยึดมั่นใน ทศพิธราชธรรม ราชจรรยานุวัตร และจักรวรรดิวัตร เทวราชาของอยุธยาจึงมีลักษณะปานกลางกล่าวคือ
ไม่เป็นเทพเจ้าที่สูงส่งมากอย่างเขมร แต่ในขณะเดียวกันก็มิได้เป็นคนธรรมดาอย่างสุโขทัย
อีกเรื่องหนึ่งที่ควรจะนามาพิจารณาก็คือ เพราะเหตุใดอาณาจักรอยุธยาจึงรับคติเทวราชาจากเขมรมาเป็นหลักในการกาหนดฐานะ
และอานาจหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ที่เป็นเช่นนี้ เพราะตั้งแต่แรกก่อตั้ง อยุธยามีนโยบายที่จะแผ่ขยายอาณาจักรออกไปอย่างกว้างขวาง
และทาลายศูนย์อานาจทางการเมืองอื่น ๆ เช่น อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรเขมร ดังนั้นอยุธยาจึงจาเป็นต้องสร้างสถาบันพระมหากษัตริย์ที่
มีความศักดิ์สิทธิ์ สูงส่ง และมีอานาจเด็ดขาดน่าเกรงขาม เพื่อให้การปกครองดาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเพื่อให้มีอานาจเด็ดขาดน่า
เกรงขาม เพื่อให้การปกครองดาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเพื่อให้อาณาจักรที่กาลังแผ่ขยายออกไปอย่างไพศาลดารงคงอยู่ได้ ปรากฎ
ว่าอยุธยาประสบความสาเร็จในการเอาคติเทวราชามาใช้ สามารถสร้างสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มีคุณลักษณะตามที่กล่าวมาข้างต้น
สถาบันพระมหากษัตริย์ที่มีความศักดิ์สิทธิ์ สูงส่ง และมีอานาจเด็ดขาดน่าเกรงขามนี้ได้มีส่วนอย่างมากในการช่วยสนับสนุนให้
อาณาจักรอยุธยาที่กว้างใหญ่ไพศาลสามารถดารงอยู่ได้หลายร้อยปี แม้เมื่อเผชิญกับคามผันผวนทางการเมือง เช่น การมีพระมหากษัตริย์ที่
อ่อนแอ การแย่งชิงราชสมบัติที่เกิดขึ้นหลายครั้ง และการสงครามที่ทากับพม่า เป็นต้น เดวิด เค วายอัตต์ ได้กล่าวถึงสถาบันพระมหากษัตริย์
ตามคติเทวราชาไว้ตอนหนึ่งว่า “…ลัทธิพราหมณ์ทาให้สถาบันพระมหากษัตริย์เป็นสถาบันที่เปล่งรัศมีอันงดงาม มหัศจรรย์ เป็นสถาบันที่
ตั้งอยู่ในชั้นจักรวาล ซึ่งค้าจุนพระราชอานาจของพระมหากษัตริย์ในการปกครองไพร่ฟ้าประชาราษฎร์ทั่วทุกสารทิศ…”
๒. การเมืองภายใน
ได้กล่าวมาแล้วว่า อาณาจักรอยุธยาเกิดจากการรวมตัวทางการเมืองของลพบุรีและสุพรรณบุรี ซึ่งเป็นแคว้นสาคัญในแถบลุ่มแม่น้า
เจ้าพระยาตอนล่าง ดังนั้นการเมืองภายในอาณาจักรอยุธยาในช่วงต้น จึงเป็นการแย่งอานาจทางการเมืองระหว่างเจ้านายจากลพบุรีและ
เจ้านายจากสุพรรณบุรี เป็นการเมืองซึ่งจากัดอยู่เฉพาะในกลุ่มชนชั้นสูงอันเป็นชนกลุ่มน้อยของสังคม ในรัชสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑
(พ.ศ. ๑๘๙๓ – ๑๙๑๒) การแย่งชิงอานาจมิได้เกิดขึ้น เนื่องจากพระองค์ทรงเป็นนักปกครองที่มีความสามารถมาก ได้ทรงประนีประนอมให้
กลุ่มการเมืองทั้งสองอยู่ร่วมกันได้ แต่เมื่อพระองค์เสด็จสวรรคตแล้ว การแย่งอานาจทางการเมืองระหว่างเจ้านายลพบุรี หรือราชวงศ์อู่ทอง
และเจ้านายสุพรรณบุรีหรือราชวงศ์สุพรรณภูมิ ก็ได้อุบัติขึ้น และได้ดาเนินอยู่นานประมาณ ๔๐ ปี (พ.ศ. ๑๙๑๓ – ๑๙๕๒) จึงได้ยุติลง
โดยราชวงศ์สุพรรณภูมิได้ครองอานาจทางการเมืองอย่างเด็ดขาด ส่วนราชวงศ์อู่ทองนั้นหมดบทบาทไปจากการเมืองอยุธยา
เมื่อสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ เสด็จสวรรคตในปี พ.ศ. ๑๙๑๒ พระราเมศวร พระราชโอรสซึ่งขณะนั้นครองเมืองลพบุรีได้เสด็จมา
ครองราชย์สมบัติที่กรุงศรีอยุธยาสืบต่อมา แต่พระองค์ทรงครองราชย์ได้เพียงปีเดียว (พ.ศ. ๑๙๑๒ – ๑๙๑๓) ขุนหลวงพะงั่วซึ่งมีศักดิ์เป็นพระ
ปิตุลา (ลุง) และครองเมืองสุพรรณบุรี ได้ยกกองทัพมาแย่งราชสมบัติจากสมเด็จพระราเมศวร ที่อยุธยา เมื่อ พ.ศ. ๑๙๑๓ สมเด็จพระราเมศวร
มิได้ทรงสู้รบ ทรงยอมแพ้แต่โดยดี และเสด็จกลับไปประทับที่ลพบุรีถิ่นเดิมของพระองค์
เมื่อขุนหลวงพะงั่วหรือสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๑ ทรงขึ้นครองราชย์ที่อยุธยาแล้วทางเมืองสุพรรณบุรีเจ้านายราชวงศ์สุพรรณภู
มิได้ครองเมืองนี้สืบต่อมา ขุนหลวงพะงั่วครองราชย์สมบัติระหว่างปี พ.ศ. ๑๙๑๓ – ๑๙๓๑ เมื่อพระองค์เสด็จสวรรคตแล้ว พระราชโอรสซึ่งมี
พระชนม์เพียง ๑๕ พรรษา ทรงพระนามว่า เจ้าทองลัน เสด็จขึ้นครองราชย์สืบต่อได้เพียง ๗ วัน สมเด็จพระราเมศวรได้เสด็จยกกองทัพจาก
ลพบุรีมาชิงราชสมบัติจากพระเจ้าทองลัน และโปรดให้สาเร็จโทษที่วัดโคกพระยา การแย่งอานาจทางการเมืองครั้งที่สองนี้เป็นการต่อสู้
ระหว่างลูกพี่ – ลูกน้อง และราชวงศ์อู่ทองก็ได้กลับขึ้นมามีอานาจที่อยุธยาอีกครั้งหนึ่ง ระหว่างที่ราชวงศ์อู่ทองมีอานาจที่อยุธยานั้นที่เมือง
สุพรรณบุรีซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรอยุธยา เจ้านายราชวงศ์สุพรรณภูมิยังคงมีอานาจอยู่ และดาเนินการเคลื่อนไหวทางการเมืองจากฐาน
ที่มั่นของตนเพื่อช่วงชิงอานาจคืนเช่นกัน
หลังจากที่สมเด็จพระราเมศวร (พ.ศ. ๑๙๓๑ – ๑๙๓๘) เสด็จสวรรคตแล้ว สมเด็จพระรามราชา พระราชโอรส
(พ.ศ. ๑๙๓๘ – ๑๙๕๒) ครองราชย์อยู่ที่อยุธยาได้ ๑๔ ปี ก็หมดอานาจและหมดบทบาทไปจากการเมืองอยุธยา กล่าวคือ
ในปี พ.ศ. ๑๙๕๒ สมเด็จพระรามราชาทรงมีเรื่องทะเลาะวิวาทกับเจ้าเสนาบดีซึ่งเป็นขุนนางผู้ใหญ่ เจ้าเสนาบดีจึงหนีจากอยุธยาไปเชิญ
พระอินทราชา เจ้าเมืองสุพรรณบุรี ซึ่งเป็นพระราชนัดดาของขุนหลวงพะงั่ว (พระโอรสของพระอนุชาขุนหลวงพะงั่ว) เสด็จยกกองทัพลงมายึด
กรุงศรีอยุธยาจากสมเด็จพระรามราชา และเนรเทศพระองค์ไปอยู่ที่ปท่าคูจาม ซึ่งปัจจุบันเราก็ยังไม่ทราบว่าคือสถานที่ใด
นับจากปี พ.ศ. ๑๙๕๒ ปัญหาการแย่งชิงอานาจทางการเมืองระหว่างราชวงศ์อู่ทองและสุพรรณภูมิได้ยุติลง โดยราชวงศ์อู่ทองเป็น
ฝ่ายพ่ายแพ้ และราชวงศ์สุพรรณภูมิได้ครองอานาจทางการเมืองอย่างเด็ดขาด มาจนถึงช่วงเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ ๑ ในปี พ.ศ. ๒๑๑๒
๖
เมื่อพิจารณาจากการแย่งชิงอานาจทางการเมืองระหว่างราชวงศ์ทั้งสองแล้ว กล่าวได้ว่าการจะได้อานาจทางการเมืองในสมัยอยุธยาตอนต้นนั้น
จะต้องอาศัยกาลังทหารเป็นพื้นฐานสาคัญ เห็นได้ว่า ราชวงศ์สุพรรณภูมิซึ่งมีความเข้มแข็งทางการทหารจึงเป็นฝ่ายประสบชัยชนะในที่สุด
อย่างไรก็ตาม นอกจากการต่อสู้โดยอาศัยกาลังทหารแล้ว ราชวงศ์อู่ทองและราชวงศ์สุพรรณภูมิยังต่อสู้โดยการแสวงหาการรับรอง
ทางการทูตจากจีน ซึ่งเป็นมหาอานาจทางการเมืองในดินแดนแถบนี้ เช่น ในช่วงที่สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๑ (ขุนหลวงพะงั่ว) ทรง
ครองราชย์โดยแย่งมาจากสมเด็จพระราเมศวรนั้น พระราชมารดาของสมเด็จพระราเมศวร (พระขนิษฐาของขุนหลวงพะงั่ว) ได้ส่งคณะทูตนา
เครื่องบรรณาการไปถวายพระมเหสีของพระจักรพรรดิจีนถึง ๒ ครั้งในปี พ.ศ. ๑๙๑๖ และทูลฟ้องว่าพระราชโอรสถูกแย่งราชสมบัติแต่ก็ถูก
ปฏิเสธไม่รับรองคณะทูตจากลพบุรี ในปีเดียวกันนั้น (พ.ศ. ๑๙๑๖) สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๑ ได้ทรงส่งคณะทูตไปจีนถึง ๒ ครั้ง
เช่นกัน และได้สร้างความสัมพันธ์ทางการทูตกับจีนแน่นแฟ้นกว่าทางฝ่ายลพบุรี อย่างไรก็ตาม การที่จะได้มาซึ่งอานาจทางการเมืองใน
อยุธยาจะต้องอาศัยกาลังทหารเป็นปัจจัยหลักที่สาคัญที่สุดส่วนการแสวงการรับรองทางการทูตจากจีนเป็นเพียงปัจจัยรองที่มาประกอบเท่านั้น
๓. การจัดรูปแบบการปกครอง
หลักฐานต่าง ๆ เท่าที่มีอยู่ในปัจจุบันเกี่ยวกับการจัดรูปแบบการปกครองของอาณาจักรอยุธยาในระยะเริ่มแรกมีอยู่ไม่มาก เราจึงไม่
ค่อยทราบรายละเอียดเกี่ยวกับการจัดรูปแบบการปกครองในสมัยอยุธยาตอนต้น ทราบเพียงแต่ว่า ในระยะแรก การบริหารราชการส่วนกลาง
คือ ในเขตเมืองหลวงและบริเวณโดยรอบเมืองหลวง มีกรมสาคัญอยู่ ๔ กรม คือ เวียง วัง คลัง นา ซึ่งรวมเรียกว่า “จตุสดมภ์” แปลว่า
“หลักทั้ง ๔” สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดารงราชานุภาพทรงสันนิษฐานว่า การจัดระเบียบการปกครองส่วนกลางในลักษณะนี้คง
จะได้แบบอย่างมาจากอินเดีย เพราะอาณาจักรอื่น ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ได้รับวัฒนธรรมอินเดีย เช่น อาณาจักรพม่า อาณาจักรเขมร
อาณาจักรชวา และอาณาจักรในมลายู ล้วนแต่จัดรูปแบบการปกครองส่วนกลางเป็น ๔ กรมสาคัญเช่นเดียวกับอาณาจักรอยุธยา
ส่วนนักประวัติศาสตร์ชาวต่างประเทศให้เหตุผลว่า การที่อินเดียและอาณาจักรต่าง ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จัดรูปแบบการ
ปกครองส่วนกลางเป็น ๔ กรมใหญ่นั้น เพราะต้องการจัดระเบียบบริหารราชการส่วนกลางให้เป็นไปตามคติความเชื่อเกี่ยวกับระเบียบของ
จักรวาล กล่าวคือ จักรวาลมีทิศสาคัญอยู่ ๔ ทิศ ทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก แต่ละทิศมียักษ์รักษาประจาอยู่รวม
ทั้งหมด ๔ ตน เรียกว่า “โลกบาล” การจัดให้มีขุนนางสาคัญ ๔ คนก็เพื่อให้เป็นตัวแทนของโลกบาลทั้ง ๔ นั่นเอง เชื่อกันว่า หากจัด
ระเบียบในโลกมนุษย์ให้สอดคล้องกับระเบียบของจักรวาลแล้ว อาณาจักรจะมีความเจริญรุ่งเรือง สาหรับขุนนางที่เป็นผู้บังคับบัญชากรมใหญ่
ทั้ง ๔ นี้ สันนิษฐานว่า เป็นพวกขุนนางที่มียศ “ขุน” ซึ่งเป็นยศสูงสุดของขุนนางในสมัยแรกก่อตั้งอาณาจักรอยุธยา ส่วนขอบเขตอานาจของ
ขุนนางเหล่านี้จะมีมากแค่ไหนไม่มีหลักฐานใดบ่งบอกอย่างแน่ชัด แต่เนื่องจากเป็นระยะเริ่มต้นของอาณาจักรอานาจที่มีอยู่จึงน่าจะมีในเขต
เมืองหลวงและบริเวณโดยรอบเท่านั้น คงไม่ขยายออกไปเหมือนในช่วงสมัยหลังการปฏิรูปการปกครองของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ใน
ด้านหน้าที่ความรับผิดชอบจตุสดมภ์มีอานาจหน้าที่พอสรุปได้ดังนี้ คือ
กรมเวียง เป็นพนักงานปกครองท้องที่ รักษาความสงบภายในเขตเมืองหลวงและบริเวณใกล้เคียง
กรมวัง เป็นหัวหน้าในพระราชสานัก และดูแลรับผิดชอบเรื่องความยุติธรรมด้วย
กรมคลัง เป็นพนักงานรับจ่ายและเก็บรักษาพระราชทรัพย์ ที่ได้มากจากภาษีอากร
กรมนา เป็นพนักงานตรวจตราการทาไร่นา ออกหนังสือแสดงกรรมสิทธิ์ในที่นาแก่ชาวนา รวมทั้งมีหน้าที่เก็บหางข้าวขึ้น
ฉางหลวงสาหรับเก็บไว้ใช้ในราชการ
นอกจากกรมสาคัญทั้ง ๔ กรมนี้แล้ว ในเมืองหลวงจะมีกรมย่อยลดหลั่นกันลงมาอีก แต่ไม่มีหลักฐานใดบ่งบอกไว้อย่างชัดว่ามีกรม
ใดบ้าง ต่อมาจานวนกรมย่อยหรือกรมขนาดเล็กคงเพิ่มมากขึ้น จนกระทั่งในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ. ๑๙๙๑ – ๒๐๓๑)
ปรากฎว่ามีกรมขนาดเล็กอยู่หลายสิบกรม
การบริหารราชการส่วนภูมิภาค อาณาจักรอยุธยาในสมัยต้น (พ.ศ. ๑๘๙๓ – ๑๙๙๑) มี เมืองอยุธยา ลพบุรีและสุพรรณบุรีเป็น
เมืองสาคัญ ทางทิศใต้มีเมืองนครปฐม ราชบุรี เพชรบุรี และอาจมีเมืองนครศรีธรรมราชไว้ในอาณาจักรด้วย ทางด้านตะวันตกจดเทือกเขาที่
กั้นแดนระหว่างตะนาวศรีกับไทย ทิศตะวันออกคงจะจดกับเขมร แถวดงพญาเย็น และลุ่มน้าบางปะกง ทางทิศเหนือถึงเมืองชัยนาท ติดกับ
อาณาเขตของอาณาจักรสุโขทัยซึ่งลงมาถึงเมืองนครสวรรค์ จนถึงสมัยสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๒ (เจ้าสามพระยา พ.ศ. ๑๙๖๗ – ๑๙๙๑)
อยุธยาจึงสามารถครอบครองดินแดนที่เดิมเคยเป็นอาณาจักรสุโขทัยได้อย่างแท้จริง
หัวเมืองที่อยู่ในอาณาบริเวณที่กล่าวมาข้างต้นนี้ ถ้าเป็นเมืองเล็กที่ไม่ค่อยมีความสาคัญ และอยู่ใกล้อยุธยา จะส่งขุนนางไปปกครอง
และขึ้นตรงต่อเมืองหลวง แต่ถ้าเป็นเมืองใหญ่ที่มีความสาคัญไม่ว่าจะเป็นด้านเศรษฐกิจหรือด้านกาลังทหาร อยุธยาจะส่งเจ้านายชั้นสูงไป
๗
ปกครองซึ่งเมืองที่เจ้านายเป็นเจ้าเมือง เรียกกันว่าเมืองลูกหลวง หรือเมืองหลานหลวง แล้วแต่ยศศักดิ์ของเจ้านายผู้ดารงตาแหน่งเจ้าเมือง
เมืองลูกหลวงและเมืองหลานหลวงจะมีเมืองเล็ก ๆ เป็นเมืองบริวารมาขึ้นอยู่ด้วย
เท่าที่ปรากฏในหลักฐานที่กล่าวถึงการส่งเจ้านายไปครองเมืองนั้น เมืองลูกหลวงในสมัยอยุธยาตอนต้นมี เมืองสุพรรณบุรี เมือง
ลพบุรี เมืองแพรกศรีราชาหรือเมืองสรรค์ และเมืองชัยนาท ส่วนเมืองหลานหลวงได้แก่ เมืองอินทบุรี เจ้านายที่ไปครองเมืองเหล่านี้ เช่น
ขุนหลวงพะงั่ว พระอินทราชา และเจ้าอ้ายพระยา ทรงครองเมืองสุพรรณบุรี สมเด็จพระราเมศวรเคยทรงครองเมืองลพบุรี เจ้ายี่พระยาเคย
ทรงครองเมืองแพรกศรีราชา เจ้าสามพระยาเคยทรงครองเมืองชัยนาทก่อนขึ้นเสวยราชย์ และสันนิษฐานว่าพระอินทราชาคงจะเคยทรงครอง
เมืองอินทบุรีก่อนที่จะมาเป็นเจ้าเมืองสุพรรณบุรี
เมืองลูกหลวงและเมืองหลานหลวงเหล่านี้จะมีอานาจในการปกครองตนเองค่อนข้างมากจนเกือบเป็นอิสระ ทั้งในการเก็บภาษีอากร
การควบคุมกาลังไพร่พล การพิจารณาไต่สวน ตัดสินคดีความที่เกิดขึ้นภายในเมือง และการตั้งตาแหน่งขุนนางชั้นผู้น้อยเพื่อช่วยบริหารราชการ
การที่เมืองหลวงให้เมืองลูกหลวง และเมืองหลานหลวงปกครองตนเองเกือบจะเป็นเอกเทศนั้น ทาให้ความสัมพันธ์ทางการปกครองระหว่าง
เมืองหลวงกับเมืองเหล่านี้ยังเป็นโครงสร้างทางการปกครองแบบหลวม ที่ก่อให้เกิดการแย่งชิงอานาจทางการเมืองขึ้นบ่อยครั้ง
“… เพราะการที่พระมหากษัตริย์ทรงกระจายอานาจการปกครองให้แก่เจ้านายในพระราชวงศ์ไปปกครองเมืองลูกหลวงหลานหลวง
อย่างกึ่งอิสระ โดยไม่สามารถควบคุมดูแลได้อย่างใกล้ชิดอย่างหนึ่ง และไว้วางพระราชหฤทัยเกินไปว่าเป็นเครือญาติเดียวกันอีกอย่างหนึ่ง ทา
ให้คิดไปว่า คงจะไม่ทรยศ กบฎต่อ“พระคุณ” เป็นแน่ อันที่จริงการใช้ “พระคุณ” มากกว่า “พระเดช” ในลักษณะนี้ก็เป็นผลดีอยู่เหมือนกัน
แต่ก็เป็นเพียงชั่วระยะหนึ่งที่พวกนั้นจะจงรักภักดีต่อพระองค์ ต่อเมื่อสิ้นรัชกาลผู้มีพระคุณแล้วนั่นแหละก็จะเกิดความวุ่นวายขึ้นเพราะจะต้องมี
เจ้าผู้ครองนครเมืองลูกหลวงเมืองใดเมืองหนึ่งซึ่งเป็นรัชทายาทเสวยราชสมบัติต่อ บรรดาเจ้าเมืองทั้งหลายที่เคยดารงตาแหน่งฐานะเท่าเทียม
กันมาก่อน ก็สิ้นความจงรักภักดี เพราะบางคนก็คิดอยากเป็นใหญ่เป็นโต ปัญหาการเมืองข้อนี้ อาจลุล่วงไปด้วยดี หากพระมหากษัตริย์องค์
ใหม่ทรงเข้มแข็ง เด็ดขาด และมีฝีไม้ลายมือเป็นที่เชื่อถือกันมาก่อนเสวยราชย์ แต่ถ้าพระมหากษัตริย์พระองค์ใดทรงอ่อนแอ เมืองลูกหลวง
หลานหลวงทั้งหลายก็อาจจะกระด้างกระเดื่อง คิดแยกตัวเป็นอิสระ หรือเตรียมพร้อมที่จะช่วงชิงราชบัลลังก์…”
ถัดจากเขตเมืองลูกหลวงเมืองหลานหลวงออกไป คือ หัวเมืองประเทศราช ซึ่งในสมัยอยุธยาตอนต้นน่าจะได้แก่ สุโขทัย
นครศรีธรรมราช หัวเมืองเหล่านี้อยุธยาจะให้เจ้านายเชื้อสายเจ้าเมืองเดิมเป็นผู้ปกครองอย่างอิสระตามประเพณีการปกครองของแต่ละเมือง
อยุธยาจะไม่เข้าแทรกแซงแต่ประการใด โดยหัวเมืองประเทศราชจะต้องส่งเครื่องราชบรรณาการมาให้อยุธยาตามเวลาที่กาหนดไว้
๔. การควบคุมกาลังคน
ในสมัยอยุธยา กาลังคนหรือแรงงานไพร่นับเป็นทรัพยากรที่มีค่ายิ่งอย่างหนึ่งของอาณาจักรทั้งในด้านการเมืองและเศรษฐกิจ คาว่า
“ไพร่” หมายถึง ราษฎรธรรมดาที่เป็นเสรีชน หรือ กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ ประชาชนทั่วไป คนส่วนใหญ่ของสังคมประมาณร้อยละ ๘๐ – ๙๐
จะเป็นไพร่ จากหลักฐานพบว่ากาลังคนมีความสาคัญอย่างมากต่อการเสริมสร้างและแผ่ขยายอาณาจักร ในด้านเศรษฐกิจกาลังคนเป็นบ่อเกิด
ของผลผลิตซึ่งยังความมั่งคั่งสมบูรณ์ให้แก่รัฐ ในขณะเดียวกันกาลังคนก็เป็นพื้นฐานสาคัญประการหนึ่งของการสร้างอานาจทางการเมือง เป็น
กองทัพในยามเกิดศึกสงคราม อีกทั้งยังเป็นแรงงานโยธาในการก่อสร้าง เช่น การสร้างป้อมปราการ กาแพงเมือง ขุดอ่างเก็บน้า คูเมือง
สร้างถนนหนทาง และวัดวาอารามต่าง ๆ ดังนั้นแต่ละอาณาจักรจึงต้องสร้างวิธีการหรือระบบที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมกาลังคน
เพื่อให้สามารถเกณฑ์แรงงานไพร่มาใช้ได้อย่างรวดเร็วในยามที่เกิดความต้องการ
อาณาจักรอยุธยาในช่วงต้นจะมีการจัดระบบการควบคุมกาลังคนหรือแรงงานไพร่เป็นอย่างไรนั้น ไม่มีหลักฐานใดบ่งบอกไว้อย่าง
ละเอียด สันนิษฐานว่าคงจะมีวิธีการควบคุมอย่างง่าย ๆ โดยแบ่งบุคคลในสังคมออกเป็น ๒ พวก คือ พวกที่ควบคุมบังคับบัญชาไพร่ เรียกว่า
มูลนาย ซึ่งได้แก่เจ้านายและขุนนาง ส่วนอีกพวกหนึ่งเป็นผู้ถูกควบคุมได้แก่ พวกไพร่หรือประชาชน
ส่วนวิธีการควบคุมนั้น ศาสตราจารย์ขจร สุขพานิช ได้เสนอข้อคิดเห็นว่า คงจะมีการรวบรวมไพร่ให้รวมเข้าด้วยกันเป็นกลุ่มก้อน
ไพร่ในกลุ่มเหล่านี้เรียกว่า ลูกหมู่ แล้วมีเจ้าหมู่เป็นหัวหน้าคอยควบคุมดูแลหลาย ๆ หมู่รวมเป็นแขวง มีหัวแขวงเป็นหัวหน้า และเพื่อความ
สะดวกในการเรียกเกณฑ์ไพร่พลจึงมีกฎข้อบังคับว่า ไพร่ต้องลงทะเบียนกับหัวหน้าของตนดังปรากฏในมาตรา ๑๐ ของกฎหมายลักษณะรับฟ้อง
พ.ศ. ๑๘๙๙ ที่ระบุว่า “...ราษฎรมาร้องฟ้องด้วยคดีประการใด ๆ แลมิได้ตั้งสังกัดมูลนาย อย่าพึงรับไว้บังคับบัญชาโดยอันขาดทีเดียว ให้ส่งตัว
หาสังกัดมูลนายมิได้นั้นแก่สัสดีเอาเป็นคนหลวง…”
๘
นอกจากที่ได้กล่าวมาข้างต้นแล้ว เราไม่ทราบรายละเอียดอื่นที่เกี่ยวกับวิธีการควบคุมกาลังคนในสมัยอยุธยาตอนต้น ในด้านความ
รับผิดชอบ มูลนายมีหน้าที่ปกครองดูแลไพร่ในสังกัดของตนให้อยู่อย่างเรียบร้อย รวมทั้งควบคุมดูแลความประพฤติของไพร่ในบังคับ และ
รับผิดชอบเกณฑ์ไพร่พลมาให้แก่รัฐ เมื่อรัฐมีความต้องการกาลังคนไปใช้
ลักษณะทางเศรษฐกิจ
อยุธยามีพื้นฐานทางเศรษฐกิจที่ดีตั้งแต่แรกก่อตั้งอาณาจักร และพื้นฐานทางเศรษฐกิจที่ดีนี้เป็นปัจจัยสาคัญที่ช่วยให้อยุธยาสามารถ
พัฒนาความเจริญรุ่งเรือง และสร้างความเป็นปึกแผ่นได้อย่างรวดเร็ว เศรษฐกิจของอาณาจักรอยุธยามีพื้นฐานอยู่ที่การเกษตรและการค้ากับ
ต่างประเทศ
๑. การเกษตร
อาณาจักรอยุธยาตั้งอยู่ในบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาตอนล่างซึ่งมีอาณาบริเวณตั้งแต่นครสวรรค์ลงมาถึงอ่าวไทย ที่ราบลุ่ม
แม่น้านี้เกิดจากการทับถมของโคลนตม เนื้อดินจึงมีความอุดมสมบูรณ์ เป็นดินตะกอนที่มีทรายปนเพียงเล็กน้อย และสามารถเก็บกักน้าได้เป็น
อย่างดี จึงเป็นดินที่เหมาะแก่การเพาะปลูกมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการปลูกข้าวนาลุ่ม ความเหมาะสมทางสภาพภูมิศาสตร์ ทาให้อยุธยาเป็น
แหล่งเพาะปลูกที่สาคัญแห่งหนึ่งในดินแดนแถบนี้
พืชสาคัญที่ปลูกกันมากในอาณาจักรอยุธยาจนกลายเป็นพืชหลัก คือ ข้าว รองลงมาได้แก่ พริกไทย ฝ้าย หมาก มะพร้าว เป็นต้น
แม้ว่าสภาพภูมิศาสตร์จะเอื้ออานวยต่อการเพาะปลูกเป็นอย่างมาก แต่การเกษตรของอยุธยาก็ยังเป็นการเกษตรแบบพอยังชีพ กล่าวคือ ใช้
เทคนิคการผลิตแบบดั้งเดิมที่ต้องพึ่งพาธรรมชาติเป็นหลักใหญ่ หากสภาพดินฟ้าอากาศไม่อานวยอันเนื่องมาจากเกิดภาวะฝนแล้งหรือน้าท่วม
ผลผลิตทางการเกษตรก็จะตกต่าจนนาไปสู่ภาวะขาดแคลนอาหาร นอกจากนั้นยังมีวัตถุประสงค์ในการผลิตเพียงเพื่อการบริโภคภายใน
อาณาจักรเท่านั้นมิได้ผลิตเพื่อขาย สินค้าทางการเกษตรที่อยุธยาส่งไปขายต่างประเทศน่าจะเป็นผลผลิตที่ไม่ได้บริโภคในอาณาจักร
ในด้านรัฐบาลดูแลการเพาะปลูกของราษฎรเพียงแค่ออกกฎหมายคุ้มครองการทานาบางส่วน ดังปรากฏในกฎหมายลักษณะเบ็ดเสร็จ
เช่น ให้เจ้าของช้าง ม้า โค กระบือ ระวังสัตว์เลี้ยงของตนให้ดี ไม่ให้ไปกินต้นข้าวในนาของผู้อื่น มิฉะนั้นจะถูกลงโทษ และ ห้ามมิให้ลักแอก
ไถ และคราดของชาวนา เป็นต้น นอกจากนั้นรัฐบาลได้ส่งเสริมและให้สิทธิแก่ราษฎรในการบุกเบิกที่ดินแหล่งใหม่เพื่อใช้เพาะปลูก ดัง
ปรากฏในกฎหมายลักษณะเบ็ดเสร็จมาตราที่ ๔๕ ระบุว่า
“...ถ้าผู้ใดก่นสร้างเลิกสร้างที่ไร่นาเรือกสวนนั้น ให้ไปบอกแก่เสนานายระวาง นายอากร ไปดูที่ไร่นาเรือกสวนที่ก่นสร้างนั้นให้รู้มาก
แลน้อย ให้เสนานายระวางนายอากรเขียนโฉนด ให้ไว้แก่ผู้เลิกร้างก่นสร้างนั้น ให้รู้ว่าผู้นั้นอยู่บ้านนั้น ก่นสร้างเลิกร้างตาบลนั้นขึ้นในปีนั้น
เท่านั้นไว้เป็นสาคัญ...” และ ปรากฏในมาตรา ๕๔ กล่าวไว้ตอนหนึ่งว่า
“..อนึ่งที่นอกเมืองชารุดอยู่นานก็ดี และมันผู้หนึ่งล้อมเอาที่นั้นเป็นไร่ เป็นสวนมัน มันได้ปลูกต้นไม้สรรพอะยะมานีในที่นั้นไว้ ให้
ลดอากรไว้แก่มันปีหนึ่งพ้นกว่านั้นเป็นอากรหลวงแล..”
ส่วนในด้านการชลประทานนั้นรัฐบาลไม่ได้ส่งเสริมแต่อย่างใด การขุดคลองที่เกิดขึ้นก็เพื่อสนองความต้องการทางด้านยุทธศาสตร์
การคมนาคม และการระบายน้าที่ท่วมตอนหน้าน้าเท่านั้น มิได้ขุดเพื่อผลประโยชน์ทางด้านเกษตรกรรมโดยตรง
แม้ว่ารัฐบาลในสมัยอยุธยาตอนต้นจะไม่ได้ส่งเสริมการเกษตรมากนัก แต่สภาพภูมิศาสตร์ที่เหมาะสมและความอุดมสมบูรณ์ของ
พื้นดิน ทาให้อยุธยาสามารถผลิตอาหารเลี้ยงดูผู้คนได้เป็นจานวนมาก ซึ่งนับเป็นรากฐานสาคัญอย่างหนึ่งของการเสริมสร้างและแผ่ขยาย
อาณาจักร การเกษตรจึงเป็นพื้นฐานสาคัญของเศรษฐกิจอยุธยามาตลอดระยะเวลา ๔๑๗ ปี
๒. การค้ากับต่างประเทศ
ทาเลที่ตั้งของอยุธยามีส่วนอย่างมากในการส่งเสริมให้อาณาจักรอยุธยามีความเจริญรุ่งเรืองทางการค้า กล่าวคือ อยุธยาตั้งอยู่บนฝั่ง
แม่น้าที่ลึกเข้าไปในผืนแผ่นดิน แต่ก็ไม่ไกลจากปากน้า (ทะเล) จนเกินไป ทาให้อยุธยาสามารถติดต่อค้าขายทางเรือกับต่างประเทศได้อย่าง
สะดวก รวมทั้งสามารถทาหน้าที่เป็นพ่อค้าคนกลางในการติดต่อค้าขายระหว่างพ่อค้าต่างชาติกับอาณาจักรที่อยู่ลึกเข้าไป เช่น สุโขทัย
ล้านนา หรือ เป็นการทาหน้าที่เป็นพ่อค้าคนกลางติดต่อค้าขายระหว่างพ่อค้าจีน ญี่ปุ่น กับพวกพ่อค้าต่างชาติอื่น ๆ อยุธยาจึงเป็นศูนย์กลาง
การค้าที่สาคัญและการค้ากับต่างประเทศนี้จึงเป็นพื้นฐานทางเศรษฐกิจที่สาคัญอีกอย่างหนึ่งของอาณาจักรอยุธยาตลอดระยะเวลา ๔๑๗ ปี
แต่การค้าในแต่ละช่วงก็มีลักษณะแตกต่างกันออกไปตามสภาพแวดล้อมในแต่ละช่วงเวลา
ในสมัยอยุธยาตอนต้น (พ.ศ. ๑๘๙๓ – ๑๙๙๑) การค้ากับต่างประเทศที่มีอยู่เป็นการค้าสาเภากับจีน ญี่ปุ่น อาหรับ มลายู
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา

More Related Content

What's hot

Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Pracha Wongsrida
 
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัยJulPcc CR
 
อาณาจักรส..
อาณาจักรส..อาณาจักรส..
อาณาจักรส..sandzii
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัยsangworn
 
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยาJulPcc CR
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

What's hot (20)

Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
 
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
 
การสถาปนา
การสถาปนาการสถาปนา
การสถาปนา
 
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
 
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
 
06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย
 
อาณาจักรส..
อาณาจักรส..อาณาจักรส..
อาณาจักรส..
 
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรมพัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
 
การเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทยการเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทย
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัย
 
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
การสถาปนา..
การสถาปนา..การสถาปนา..
การสถาปนา..
 
การปกครอง 604
การปกครอง 604การปกครอง 604
การปกครอง 604
 
ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
 
งานสังคม...
งานสังคม...งานสังคม...
งานสังคม...
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
 
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
 

Viewers also liked

บทที่ 10 ประกันภัยทางบกและขนส่ง
บทที่ 10 ประกันภัยทางบกและขนส่งบทที่ 10 ประกันภัยทางบกและขนส่ง
บทที่ 10 ประกันภัยทางบกและขนส่งchakaew4524
 
บทที่ 8 การประกันภัยทางทะเลและขนส่ง
บทที่ 8 การประกันภัยทางทะเลและขนส่งบทที่ 8 การประกันภัยทางทะเลและขนส่ง
บทที่ 8 การประกันภัยทางทะเลและขนส่งchakaew4524
 
บทที่ 7 ประกันภัยรถยนต์
บทที่ 7 ประกันภัยรถยนต์บทที่ 7 ประกันภัยรถยนต์
บทที่ 7 ประกันภัยรถยนต์chakaew4524
 
บทที่ 6 การประกันอัคคีภัย
บทที่ 6 การประกันอัคคีภัยบทที่ 6 การประกันอัคคีภัย
บทที่ 6 การประกันอัคคีภัยchakaew4524
 
บทที่ 5 วินาศภัย
บทที่ 5 วินาศภัยบทที่ 5 วินาศภัย
บทที่ 5 วินาศภัยchakaew4524
 
บทที่ 9 การประกันภัยเบ็ดเตล็ด
บทที่ 9  การประกันภัยเบ็ดเตล็ดบทที่ 9  การประกันภัยเบ็ดเตล็ด
บทที่ 9 การประกันภัยเบ็ดเตล็ดchakaew4524
 
หัวข้อที่ ๓ แหล่งกำเนิดของชนชาติไทย
หัวข้อที่  ๓  แหล่งกำเนิดของชนชาติไทยหัวข้อที่  ๓  แหล่งกำเนิดของชนชาติไทย
หัวข้อที่ ๓ แหล่งกำเนิดของชนชาติไทยchakaew4524
 
บทที่10ประกันภัยอุตสาหกรรมฯ
บทที่10ประกันภัยอุตสาหกรรมฯ บทที่10ประกันภัยอุตสาหกรรมฯ
บทที่10ประกันภัยอุตสาหกรรมฯ chakaew4524
 
การขนส่งและประกันภัย
การขนส่งและประกันภัยการขนส่งและประกันภัย
การขนส่งและประกันภัยonchuda
 
บทที่6การประกันอัคคีภัย
บทที่6การประกันอัคคีภัยบทที่6การประกันอัคคีภัย
บทที่6การประกันอัคคีภัยchakaew4524
 
บทที่3แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่3แนวความคิดพื้นฐานบทที่3แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่3แนวความคิดพื้นฐานchakaew4524
 
บทที่9ประกันภัยเบ็ตเตล็ด
บทที่9ประกันภัยเบ็ตเตล็ดบทที่9ประกันภัยเบ็ตเตล็ด
บทที่9ประกันภัยเบ็ตเตล็ดchakaew4524
 
Exim11การประกันภัยสินค้าระหว่างประเทศ
Exim11การประกันภัยสินค้าระหว่างประเทศExim11การประกันภัยสินค้าระหว่างประเทศ
Exim11การประกันภัยสินค้าระหว่างประเทศWannarat Wattananimitkul
 
บทที่4การประกันชีวิต
บทที่4การประกันชีวิตบทที่4การประกันชีวิต
บทที่4การประกันชีวิตchakaew4524
 
บทที่5การประกันวินาศภัย
บทที่5การประกันวินาศภัยบทที่5การประกันวินาศภัย
บทที่5การประกันวินาศภัยchakaew4524
 
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง Rungnapa Rungnapa
 
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3Oae Butrawong Skr
 

Viewers also liked (18)

บทที่ 10 ประกันภัยทางบกและขนส่ง
บทที่ 10 ประกันภัยทางบกและขนส่งบทที่ 10 ประกันภัยทางบกและขนส่ง
บทที่ 10 ประกันภัยทางบกและขนส่ง
 
บทที่ 8 การประกันภัยทางทะเลและขนส่ง
บทที่ 8 การประกันภัยทางทะเลและขนส่งบทที่ 8 การประกันภัยทางทะเลและขนส่ง
บทที่ 8 การประกันภัยทางทะเลและขนส่ง
 
บทที่ 7 ประกันภัยรถยนต์
บทที่ 7 ประกันภัยรถยนต์บทที่ 7 ประกันภัยรถยนต์
บทที่ 7 ประกันภัยรถยนต์
 
บทที่ 6 การประกันอัคคีภัย
บทที่ 6 การประกันอัคคีภัยบทที่ 6 การประกันอัคคีภัย
บทที่ 6 การประกันอัคคีภัย
 
บทที่ 5 วินาศภัย
บทที่ 5 วินาศภัยบทที่ 5 วินาศภัย
บทที่ 5 วินาศภัย
 
บทที่ 9 การประกันภัยเบ็ดเตล็ด
บทที่ 9  การประกันภัยเบ็ดเตล็ดบทที่ 9  การประกันภัยเบ็ดเตล็ด
บทที่ 9 การประกันภัยเบ็ดเตล็ด
 
หัวข้อที่ ๓ แหล่งกำเนิดของชนชาติไทย
หัวข้อที่  ๓  แหล่งกำเนิดของชนชาติไทยหัวข้อที่  ๓  แหล่งกำเนิดของชนชาติไทย
หัวข้อที่ ๓ แหล่งกำเนิดของชนชาติไทย
 
บทที่10ประกันภัยอุตสาหกรรมฯ
บทที่10ประกันภัยอุตสาหกรรมฯ บทที่10ประกันภัยอุตสาหกรรมฯ
บทที่10ประกันภัยอุตสาหกรรมฯ
 
การขนส่งและประกันภัย
การขนส่งและประกันภัยการขนส่งและประกันภัย
การขนส่งและประกันภัย
 
บทที่6การประกันอัคคีภัย
บทที่6การประกันอัคคีภัยบทที่6การประกันอัคคีภัย
บทที่6การประกันอัคคีภัย
 
บทที่3แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่3แนวความคิดพื้นฐานบทที่3แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่3แนวความคิดพื้นฐาน
 
บทที่9ประกันภัยเบ็ตเตล็ด
บทที่9ประกันภัยเบ็ตเตล็ดบทที่9ประกันภัยเบ็ตเตล็ด
บทที่9ประกันภัยเบ็ตเตล็ด
 
Exim11การประกันภัยสินค้าระหว่างประเทศ
Exim11การประกันภัยสินค้าระหว่างประเทศExim11การประกันภัยสินค้าระหว่างประเทศ
Exim11การประกันภัยสินค้าระหว่างประเทศ
 
บทที่4การประกันชีวิต
บทที่4การประกันชีวิตบทที่4การประกันชีวิต
บทที่4การประกันชีวิต
 
บทที่5การประกันวินาศภัย
บทที่5การประกันวินาศภัยบทที่5การประกันวินาศภัย
บทที่5การประกันวินาศภัย
 
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
 
Exim12การศุลกากร
Exim12การศุลกากรExim12การศุลกากร
Exim12การศุลกากร
 
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3
 

Similar to ~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา

111006099222748 13010713133143
111006099222748 13010713133143111006099222748 13010713133143
111006099222748 13010713133143sibsakul jutaphan
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาsangworn
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Pracha Wongsrida
 
Unit 1 early thailand from prehistory to sukhothai
Unit 1  early thailand from prehistory to sukhothaiUnit 1  early thailand from prehistory to sukhothai
Unit 1 early thailand from prehistory to sukhothaiThaiway Thanathep
 
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Pracha Wongsrida
 
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ยคร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ยปาล์มมี่ ไม่เล่นเกมส์
 
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Pracha Wongsrida
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Pracha Wongsrida
 
อาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยอาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยkrunrita
 
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรีเศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์
Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์
Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์Pracha Wongsrida
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยPadvee Academy
 

Similar to ~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา (17)

111006099222748 13010713133143
111006099222748 13010713133143111006099222748 13010713133143
111006099222748 13010713133143
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
กลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนากลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนา
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
 
Unit 1 early thailand from prehistory to sukhothai
Unit 1  early thailand from prehistory to sukhothaiUnit 1  early thailand from prehistory to sukhothai
Unit 1 early thailand from prehistory to sukhothai
 
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
 
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ยคร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
 
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
อาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยอาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัย
 
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
 
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรีเศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
 
Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์
Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์
Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
 

More from chakaew4524

หัวข้อที่ ๔ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
หัวข้อที่  ๔  ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทยหัวข้อที่  ๔  ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
หัวข้อที่ ๔ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทยchakaew4524
 
หัวข้อที่ ๒ หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๒  หลักฐานทางประวัติศาสตร์หัวข้อที่ ๒  หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๒ หลักฐานทางประวัติศาสตร์chakaew4524
 
หัวข้อที่ ๑ ความหมายของประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๑ ความหมายของประวัติศาสตร์หัวข้อที่ ๑ ความหมายของประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๑ ความหมายของประวัติศาสตร์chakaew4524
 
บทที่8แ
บทที่8แบทที่8แ
บทที่8แchakaew4524
 
บทที่7การประกันภัยรถยนต์
บทที่7การประกันภัยรถยนต์บทที่7การประกันภัยรถยนต์
บทที่7การประกันภัยรถยนต์chakaew4524
 
บทที่7การประกันภัยรถยนต์
บทที่7การประกันภัยรถยนต์บทที่7การประกันภัยรถยนต์
บทที่7การประกันภัยรถยนต์chakaew4524
 
บทที่ 4 การประกันชีวิต
บทที่ 4 การประกันชีวิตบทที่ 4 การประกันชีวิต
บทที่ 4 การประกันชีวิตchakaew4524
 

More from chakaew4524 (7)

หัวข้อที่ ๔ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
หัวข้อที่  ๔  ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทยหัวข้อที่  ๔  ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
หัวข้อที่ ๔ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
 
หัวข้อที่ ๒ หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๒  หลักฐานทางประวัติศาสตร์หัวข้อที่ ๒  หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๒ หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
หัวข้อที่ ๑ ความหมายของประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๑ ความหมายของประวัติศาสตร์หัวข้อที่ ๑ ความหมายของประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๑ ความหมายของประวัติศาสตร์
 
บทที่8แ
บทที่8แบทที่8แ
บทที่8แ
 
บทที่7การประกันภัยรถยนต์
บทที่7การประกันภัยรถยนต์บทที่7การประกันภัยรถยนต์
บทที่7การประกันภัยรถยนต์
 
บทที่7การประกันภัยรถยนต์
บทที่7การประกันภัยรถยนต์บทที่7การประกันภัยรถยนต์
บทที่7การประกันภัยรถยนต์
 
บทที่ 4 การประกันชีวิต
บทที่ 4 การประกันชีวิตบทที่ 4 การประกันชีวิต
บทที่ 4 การประกันชีวิต
 

~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา

  • 1. หัวข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา ภูมิหลังของอาณาจักร สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ ทรงสถาปนาอาณาจักรอยุธยาขึ้นในปี พ.ศ. ๑๘๙๓ หากพิจารณาจากปีที่ก่อตั้งจะเห็นได้ว่าอยุธยาเกิด หลังอาณาจักรไทยอื่น ๆ ที่ก่อตั้งขึ้นในช่วงระยะปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๘ – ๑๙ คือ อาณาจักรสุโขทัย (พ.ศ. ๑๗๘๑) และอาณาจักรล้านนา (พ.ศ. ๑๘๓๙) แต่อยุธยากลับเป็นอาณาจักรที่มีอานาจ มีความเจริญรุ่งเรือง และมีอายุยืนนานกว่าอาณาจักรไทยอื่นใด นอกจากนั้นอยุธยา ยังได้มอบมรดกทางด้านวัฒนธรรมมากมายไม่ว่าจะเป็น ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมแก่อาณาจักรไทยในสมัยหลัง อย่างไรก็ตามก่อนที่จะศึกษาสภาพการเมืองการปกครองของสมัยกรุงศรีอยุธยานั้น เพื่อเป็นพื้นฐานความเข้าใจที่ดีขึ้น เราควรจะรู้ ว่า สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ (พ.ศ. ๑๘๙๓ – ๑๙๑๒) หรือที่เรียกกันในอีกพระนามหนึ่งว่า พระเจ้าอู่ทองทรงเป็นใครและทรงครองเมืองใด ก่อนที่จะทรงก่อตั้งอาณาจักรอยุธยา หรือมีปัจจัยอะไรที่เกื้อหนุนให้พระองค์ทรงสามารถสถาปนาอาณาจักรนี้ได้สาเร็จ และอาณาจักร อยุธยามีพื้นฐานที่ดีในด้านใดจึงสามารถพัฒนาความเจริญรุ่งเรืองสร้างความเป็นปึกแผ่นได้อย่างรวดเร็ว จนก้าวขึ้นมาเป็นศูนย์อานาจทาง การเมืองในลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาทั้งตอนบนและตอนล่างได้สาเร็จ การสถาปนากรุงศรีอยุธยา การศึกษาจนถึงขณะนี้ เรื่องราวเกี่ยวกับกาเนิดของอาณาจักรอยุธยา และพระราชประวัติของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ ผู้ก่อตั้ง อาณาจักรนี้ยังเป็นเรื่องคลุมเครือ หาข้อยุติไม่ได้ และเป็นปัญหาที่ถกเถียงกันอย่างมากในหมู่นักประวัติศาสตร์ หลักฐานเท่าที่มีอยู่ซึ่งมีข้อ ขัดแย้งกันอยู่มากซึ่งสามารถสรุปประเด็นที่เหมือนกันได้เพียงแต่ว่า สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ ทรงประสูติในราว พ.ศ. ๑๘๕๗ ต่อมาทรง อภิเษกสมรสกับเจ้าหญิงแห่งแคว้นสุพรรณบุรี ซึ่งในขณะนั้น (พุทธศตวรรษที่ ๑๙) เป็นแคว้นที่มีอานาจทางการทหาร และเป็นคู่แข่งทาง การเมืองของแคว้นละโว้ (แคว้นลพบุรี) พระองค์ทรงสร้างเมืองอยุธยาเมื่อ ปี พ.ศ. ๑๘๙๓ ขณะที่ทรงมีพระชนมายุได้ ๓๖ พรรษา ส่วนปัญหาที่ว่าสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ เสด็จมาจากเมืองไหนนั้น เดิมเคยเชื่อกันว่าพระองค์ทรงครองราชย์อยู่ที่ เมืองอู่ทองก่อนที่จะทรงอพยพมาสร้างเมืองใหม่ที่อยุธยา เนื่องจากเมืองอู่ทองเกิดกันดารน้า อหิวาตกโรคระบาด ผู้คนล้มตายไปเป็นจานวน มาก พระเจ้าอู่ทองจึงทรงพาไพร่พลอพยพมาก่อตั้งเมืองอยุธยาเมื่อปี พ.ศ. ๑๘๙๓ แต่จาการขุดค้นหลักฐานทางโบราณคดีใน ปี พ.ศ. ๒๕๐๖ พบว่าเมืองอู่ทองได้สลายตัวกลายเป็นเมืองร้างประมาณ ๒๐๐ – ๓๐๐ ปีก่อนการก่อตั้งอยุธยา สมมุติฐานดังกล่าวจึงถูกล้มล้างไป และได้เกิดสมมุติฐานใหม่อีกหลายประการดังนี้ คือ ๑. พระเจ้าอู่ทองเสด็จมาจากเมืองเพชรบุรี โดยอ้างหลักฐานจากคาให้การชาวกรุงเก่า และจดหมายเหตุลาลูแบร์ ๒. พระเจ้าอู่ทองทรงอพยพมาจากแถบเมืองสุพรรณบุรี และทรงเป็นพระราชบุตรเขยของเจ้าเมืองนี้ โดยอ้างหลักฐานคาว่า อู่ทอง – สุพรรณบุรี เป็นคาที่มีความหมายเหมือนกัน เป็นหลักฐานยืนยันว่าคงเป็นสถานที่แห่งเดียวกัน คือ แถบเมืองสุพรรณบุรี ๓. พระเจ้าอู่ทองเสด็จมาจากเมืองกัมโพช โดยอ้างหลักฐานจากหนังสือเรื่องชินกาลมาลีปกรณ์ และพระราชพงศาวดารกรุงสยาม ฉบับบริติชมิวเซียม เมืองกัมโพชนี้นักประวัติศาสตร์สันนิษฐานว่าน่าจะหมายถึงเมืองศูนย์กลางในลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาที่เคยอยู่ใต้อิทธิพลของ เขมร คือ เมืองละโว้หรือลพบุรี ๔. พระเจ้าอู่ทองทรงมีถิ่นฐานดั้งเดิมอยู่แถวอยุธยา แถบวัดพนัญเชิง ทางฝั่งตะวันออกของแม่น้า ต่อมาเกิดโรคอหิวาต์ระบาด จึง ทรงอพยพผู้คนข้ามฝากมาสร้างเมืองใหม่ทางฝั่งตรงข้ามและขนานนามเมืองที่ตั้งใหม่นี้ว่า “กรุงเทพทวารวดีศรีอยุธยา” สมมุติฐานนี้อ้างอิง หลักฐานจากหลายแหล่งทั้งศิลาจารึก ตานาน พงศาวดาร รวมทั้งอ้างอิงหลักฐานทางด้านโบราณสถานและโบราณวัตถุต่าง ๆ ด้วย เช่น วัดพ นัญเชิง วัดโสมณโกษ วัดกุฏีดาว วัดอโยธยา และพระพุทธรูปพระเจ้าพแนงเชิง (พระพุทธไตรรัตนนายก) โบราณสถานและโบราณวัตถุ เหล่านี้อยู่ทางฟากฝั่งตะวันออก และล้วนแล้วแต่สร้างขึ้นก่อนการก่อตั้งกรุงศรีอยุธยา สมมุติฐานทั้งสี่ประการนี้ ข้อสามและข้อสี่เป็นสมมุติฐานที่ได้รับการเชื่อถือกันมาก อย่างไรก็ตามเมื่อพิจารณาจากการที่สมเด็จพระ รามาธิบดีที่ ๑ ทรงแต่งตั้งให้พระราเมศวร พระราชโอรสเสด็จไปครองเมืองลพบุรีหลังการก่อตั้งอยุธยาแล้ว ประกอบกับการที่สมเด็จพระรา เมศวรเสด็จกลับมาประทับที่เมืองลพบุรี เมื่อทรงถูกขุนหลวงพะงั่วแย่งราชสมบัติเมื่อปี พ.ศ. ๑๙๑๓ ทาให้สมมุติฐานที่ว่า สมเด็จพระ รามาธิบดีที่ ๑ เสด็จมาจากเมืองลพบุรีน่าจะเป็นจริง กล่าวคือ พระองค์คงจะทรงเป็นพระราชโอรสของเจ้าผู้ครองแคว้นละโว้ซึ่งขณะนั้น (พุทธศตวรรษที่ ๑๙) เป็นอาณาจักรไทยในลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาตอนล่างทางด้านตะวันออกที่ตั้งตนเป็นอิสระจากเขมร ต่อมาพระองค์ทรง อภิเษกสมรสกับเจ้าหญิงแห่งแคว้นสุพรรณบุรี ซึ่งเป็นแคว้นสาคัญของชาวไทยในลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาตอนล่างทางด้านตะวันตก แคว้น
  • 2. ๒ สุพรรณบุรีมีอานาจทางการทหาร และเป็นคู่แข่งทางการเมืองของแคว้นละโว้ จากพันธะทางด้านการแต่งงาน ทาให้เกิดการเชื่อมโยงทาง การเมืองระหว่างแคว้นสาคัญทั้งสองในลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาตอนล่าง หลังจากที่พระราชบิดาเสด็จสวรรคตแล้ว สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ ได้ทรงครองราชย์สมบัติที่ลพบุรีสืบต่อมา และได้ทรงย้ายมา สร้างเมืองใหม่ที่อยุธยาในปี พ.ศ. ๑๘๙๓ การที่พระองค์ทรงตัดสินพระราชหฤทัยสร้างศูนย์อานาจทางการเมืองแห่งใหม่ที่อยุธยานั้น คงเป็น เพราะว่าอยุธยามีทาเลที่เหมาะสมกว่าลพบุรีทั้งในด้านยุทธศาสตร์และในด้านทาเลการค้ากับต่างประเทศ อีกทั้งยังมีความอุดมสมบูรณ์ในด้าน การเกษตรจึงเหมาะที่จะเป็นศูนย์อานาจทางการเมืองแห่งใหม่ในลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาตอนล่าง ที่เชื่อมโยงแคว้นละโว้และสุพรรณบุรีเข้าด้วยกัน ส่วนปัจจัยที่เกื้อหนุนให้สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ ทรงสามารถก่อตั้งอาณาจักรอยุธยานั้น นอกจากปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจ ความ เจริญทางด้านวัฒนธรรม และกาลังทหารที่ได้จากแคว้นละโว้และแคว้นสุพรรณบุรีแล้ว คือ ปัจจัยทางด้านช่องว่างอานาจทางการเมือง ขณะนั้นอาณาจักรสุโขทัยซึ่งอยู่ทางเหนือและอาณาจักรเขมรซึ่งอยู่ทางตะวันออกกาลังเสื่อมอานาจลงมาก จึงเปิดโอกาสให้อยุธยาซึ่งอยู่ตรง กลางก่อตัวขึ้นได้ในช่องว่างแห่งอานาจนี้ พื้นฐานของอาณาจักรอยุธยา กรุงศรีอยุธยาที่สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ ทรงก่อตั้งในปี พ.ศ. ๑๘๙๓ นั้น มีทาเลที่ตั้งที่ดีทั้งในด้านยุทธศาสตร์และในด้านการค้า กล่าวคือ ตัวเมืองอยุธยาอยู่ในบริเวณที่ลุ่ม มีแม่น้าล้อมรอบ ๓ ด้าน ได้แก่ แม่น้าลพบุรีทางด้านเหนือ แม่น้าเจ้าพระยาทางด้านตะวันตกและ ด้านใต้ ดังนั้นเพียงแต่ขุดลาคลองทางด้านตะวันออกเชื่อมแม่น้าเหล่านั้นอยุธยาก็กลายเป็นเมืองเกาะที่มีลาน้าล้อมรอบทั้ง ๔ ด้าน ลักษณะเช่นนี้นับเป็นปราการธรรมชาติอันมั่นคง ช่วยป้องกันการโจมตีของข้าศึกได้เป็นอย่างดี นอกจากนั้นการตั้งอยู่ในบริเวณที่ลุ่ม ทาให้ ช่วงระยะระหว่างเดือนกันยายน – ธันวาคมของทุกปี จะมีน้าหลากท่วมรอบกรุงศรีอยุธยาเป็นบริเวณกว้าง เท่ากับเป็นการบังคับให้ฝ่ายข้าศึก มีโอกาสมาล้อมโจมตีกรุงศรีอยุธยาได้เพียงปีละ ๘ เดือนเท่านั้น และเมื่อล้อมอยู่ถึงหน้าน้าหลากแล้ว ก็จาต้องยกทัพกลับไปโดยปริยาย ทาเลที่ตั้งเช่นนี้ นอกจากจะให้ผลดีในด้านยุทธศาสตร์แล้ว ยังทาให้อยุธยาสามารถติดต่อค้าขายกับอาณาจักรที่อยู่ลึกเข้าไป เช่น สุโขทัย ได้สะดวก โดยอาศัยแม่น้าเจ้าพระยาและสาขา นอกจากนั้นการที่อยุธยาตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้าที่ลึกเข้าไปในผืนแผ่นดินแต่ก็ไม่ไกลจาก ปากน้าจนเกินไป ทาให้อยุธยาสามารถติดต่อค้าขายทางเรือกับต่างประเทศได้อย่างสะดวก รวมทั้งสามารถทาหน้าที่เป็นพ่อค้าคนกลางในการ ติดต่อค้าขายระหว่างพ่อค้าต่างชาติกับอาณาจักรที่อยู่ลึกเข้าไปหรือทาหน้าที่เป็นพ่อค้าคนกลางติดต่อค้าขายระหว่างพ่อค้าจีน ญี่ปุ่น กับพวก พ่อค้าต่างชาติอื่น ๆ อยุธยาจึงเป็นศูนย์กลางการค้าที่สาคัญ นอกจากทาเลที่ตั้งที่เหมาะสมทั้งในด้านยุทธศาสตร์และในด้านการค้าแล้ว มีข้อน่าสังเกตว่า ตั้งแต่แรกก่อตั้งอาณาจักร อยุธยามี พื้นฐานที่ดีทั้งทางด้านเศรษฐกิจ วัฒนธรรม และด้านกาลังทหาร ซึ่งพื้นฐานที่ดีทั้ง ๓ ประการนี้มีส่วนอย่างมากในการช่วยเกื้อหนุนให้อยุธยา สามารถพัฒนาความเจริญรุ่งเรืองได้อย่างรวดเร็ว จนก้าวขึ้นมาเป็นศูนย์อานาจทางการเมืองในลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาทั้งตอนบนและตอนล่าง ดังนี้ ๑. พื้นฐานทางเศรษฐกิจ การศึกษาหลักฐานทางด้านโบราณคดีและประวัติศาสตร์พบว่า บริเวณที่ตั้งของอยุธยาเป็นดินแดนที่เคยมีเมืองเก่าซึ่งเรียกกันว่าเมือ งอโยธยา ตั้งอยู่ทางฟากฝั่งตะวันออกแถบวัดพนัญเชิง เมืองอโยธยานี้สันนิษฐานว่าตั้งขึ้นก่อนการสถาปนากรุงศรีอยุธยาประมาณ ๒๐๐ ปี เคยเป็นชุมชนที่มีผู้คนอาศัยอยู่หนาแน่น มีความอุดมสมบูรณ์ทางเศรษฐกิจ มีความเจริญรุ่งเรืองในการติดต่อค้าขายกับจีน โดยอโยธยาส่ง พริกไทย ไม้ฝาง ของป่าไปขายที่จีน และซื้อสินค้าพวกเครื่องเคลือบ แพร ไหม กลับมา อย่างไรก็ตาม ในช่วงระยะก่อนการก่อตั้งอยุธยา นั้น เมืองอโยธยาได้ซบเซาลงจนเกือบเป็นเมืองร้าง โดยไม่มีหลักฐานใดบ่งบอกไว้อย่างชัดเจนว่าเหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น แม้ว่าอโยธยาจะเสื่อม สลายไป แต่ก็ได้มอบมรดกทางเศรษฐกิจในด้านการติดต่อค้าขายกับจีนให้แก่อยุธยา ด้วยเหตุนี้อยุธยาจึงมีพื้นฐานทางเศรษฐกิจที่ดีในด้านการค้าขายกับต่างประเทศ และยังมีความอุดมสมบูรณ์ทางการเกษตรอีกด้วย เพราะอยุธยาตั้งอยู่ในบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาตอนล่าง พื้นดินมีความอุดมสมบูรณ์ เหมาะแก่การเพาะปลูกเป็นอย่างยิ่ง และพืชที่ปลูก กันมากก็คือ ข้าว ความอุดมสมบูรณ์ทางการเกษตร ทาให้อยุธยาสามารถผลิตอาหารเลี้ยงผู้คนได้เป็นจานวนมาก ซึ่งนับว่ามีความสาคัญมาก ต่ออยุธยา เพราะในสมัยก่อน กาลังคนเป็นทรัพยากรที่มีค่ายิ่ง และเป็นพื้นฐานสาคัญอย่างหนึ่งในการสร้างและแผ่ขยายอาณาจักร ในคาให้การชาวกรุงเก่ากล่าวถึงความอุดมสมบูรณ์ของอยุธยาว่า ที่ตั้งของอยุธยาซึ่งเรียกกันว่าหนองโสนนั้น “...ประกอบด้วยพรรณ มัจฉาชาติบริบูรณ์...” และในอีกตอนหนึ่งกล่าวว่า “…ในกรุงที่สร้างใหม่ในตาบลหนองโสนนั้น ปราศจากภัยพิบัติคือ ข้าวแพง และ อหิวาตกโรค เป็นต้น ฝูงชนพลเมืองรู้ทามาหากิน มีการกสิกรรมทาไร่นา ทาพาณิชยกรรมแลกเปลี่ยนค้าขาย ทาการช่างหัตถกรรม เป็น ต้นว่า จักสาน ทาหม้อไห ตุ่ม โอ่ง ใช้ใส่ข้าว ใส่น้ามากมูล ซื้อขายแก่กัน พวกราษฎรก็มีทรัพย์สินมั่งคั่ง เจริญสุขสมบูรณ์ขึ้นทุกที...”
  • 3. ๓ ๒. พื้นฐานทางด้านวัฒนธรรม อยุธยาได้รับมรดกทางด้านศิลปะ วิทยาการ และศาสนา ไม่ว่าจะเป็นศาสนาพุทธ พราหมณ์และฮินดูจากลพบุรี ซึ่งเป็นดินแดน เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งในตอนกลางของประเทศไทย ตามตานานกล่าวว่าเมืองละโว้หรือลพบุรีนี้สร้างเมื่อ พ.ศ. ๑๐๐๒ และเชื่อกันว่าในสมัย อาณาจักรทวารวดี ละโว้เป็นเมืองหลวงทางด้านตะวันออกของอาณาจักร ในขณะที่นครปฐม อู่ทอง และสุพรรณบุรี ตามลาดับเป็นเมือง หลวงทางด้านตะวันตก นับตั้งแต่สมัยอาณาจักรทวารวดีเป็นต้นมาจนถึงสมัยที่อาณาจักรเขมรแผ่อานาจเข้ามาในลุ่มแม่น้าเจ้าพระยา ละโว้ มีบทบาทสาคัญในฐานะศูนย์กลางความเจริญรุ่งเรืองทางด้านวัฒนธรรมไม่ว่าจะเป็นวัฒนธรรมที่มีพื้นฐานมาจากศาสนาพุทธ พราหมณ์ หรือ ฮินดู หลักฐานที่แสดงความเจริญรุ่งเรืองทางศิลปวิทยาการนี้ มีทั้งโบราณสถาน โบราณวัตถุ และเอกสารพวกตานานพงศาวดาร หลักฐาน จากเอกสารมี อาทิเช่น ในต้นพุทธศตวรรษที่ ๑๓ พระนางจามเทวี เจ้าหญิงละโว้ซึ่งจะเสด็จขึ้นไปครองเมืองหริภุญไชย (เมืองลาพูน) ได้ทรงนาเอาพุทธ ศาสนา บัณฑิต หมอยา และช่างฝีมือจากละโว้ขึ้นไปด้วย ในปี พ.ศ. ๑๔๐๔ เจ้าชายญี่ปุ่น ผู้ทรงมีจิตศรัทธาในศาสนา ได้เสด็จแสวงหาคัมภีร์พุทธศาสนาระหว่างจีนและอินเดีย ได้ทรงแวะ มาค้นหาที่ละโว้ด้วย และสิ้นพระชนม์ที่นี่ นอกจากนั้นมีหลักฐานว่าปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๘ พ่อขุนรามคาแหง พ่อขุนเม็งราย และ พระยางาเมืองเสด็จมาทรงศึกษาที่ละโว้ จากหลักฐานที่กล่าวมานี้ จะเห็นได้ว่าละโว้หรือลพบุรีเป็นศูนย์กลางความเจริญรุ่งเรืองทางวัฒนธรรมและได้ถ่ายทอดมรดกทาง วัฒนธรรมของตนไม่ว่าจะเป็นศิลปะ ศาสนา และวิทยาการต่าง ๆ แก่อยุธยา พื้นฐานทางด้านวัฒนธรรมที่อยุธยาได้รับมรดกมานี้ เป็นปัจจัย สาคัญประการหนึ่งที่ช่วยเสริมสร้างความเจริญรุ่งเรืองและความเป็นปึกแผ่นแก่อาณาจักรต่อไป ๓. พื้นฐานทางด้านกาลังทหาร ตั้งแต่แรกก่อตั้งอาณาจักรอยุธยานับว่ามีพื้นฐานทางด้านกาลังทหารที่มั่นคงพอสมควรเนื่องจากได้รับการสนับสนุนจากแคว้น สุพรรณบุรี ซึ่งขณะนั้นเป็นศูนย์อานาจทางการทหารในเขตลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาตอนล่างทางด้านตะวันตก ความเข้มแข็งในด้านกาลังทหาร ของแคว้นสุพรรณบุรี จะเห็นได้จากเหตุการณ์ในปี พ.ศ. ๑๙๑๒ เมื่อสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ โปรดเกล้าฯ ให้พระราเมศวรผู้ครองเมืองลพบุรี เสด็จไปตีนครธมเมืองหลวงของเขมร แต่พระราเมศวรกลับทรงพ่ายแพ้แก่กองทัพเขมร สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ จึงโปรดเกล้าฯ ให้ขุน หลวงพะงั่ว เจ้าเมืองสุพรรณบุรี ทรงยกกองทัพเมืองสุพรรณไปช่วย ปรากฏว่าขุนหลวงพะงั่วทรงสามารถตีนครธมได้สาเร็จ เหตุการณ์นี้ สะท้อนให้เห็นว่าสุพรรณบุรีเป็นเมืองที่มีความเข้มแข็งในด้านกาลังทหาร จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดี สุพรรณบุรีเป็นเมืองเก่าแก่เมืองหนึ่งในเขตที่ราบลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาตอนล่างทางด้าน ตะวันตก เป็นเมืองที่พื้นดินมีความอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูกมากนอกจากนั้นยังเป็นเมืองที่มีความเจริญทางด้านการค้า เชื่อกันว่า เมื่อเมืองนครปฐมและเมืองอู่ทองซึ่งเป็นเมืองสาคัญของอาณาจักรทวารวดี ถูกทิ้งร้างไปเมื่อประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๖ สุพรรณบุรีได้เจริญ ขึ้นมาแทนที่เมืองทั้งสอง กลายเป็นศูนย์อานาจทางการค้าและการทหารในเขตลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาตอนล่างทางด้านตะวันตก และยังทาหน้าที่ เป็นเมืองหลวงทางด้านตะวันตกของอาณาจักรด้วย สุพรรณบุรีพยายามขยายอานาจทางการทหารของตนอยู่เสมอ ดังจะเห็นได้จากการที่ สุพรรณบุรียกกองทัพไปโจมตรีเมืองนครศรีธรรมราชเมื่อประมาณปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๘ ได้กล่าวมาแล้วว่าพันธะจากการแต่งงานทาให้เกิดการเชื่อมโยงทางการเมืองระหว่างแคว้นสุพรรณบุรีและแคว้นละโว้ในปลายพุทธ ศตวรรษที่ ๑๙ และต่อมาสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ ได้ทรงย้ายมาสร้างศูนย์อานาจทางการเมืองแห่งใหม่ที่อยุธยา ดังนั้น อาณาจักรอยุธยา จึงมีพื้นฐานทางด้านกาลังทหารที่มั่นคงพอสมควรตั้งแต่ระยะเริ่มแรก เพราะได้รับการสนับสนุนจากแคว้นสุพรรณบุรี การที่อยุธยามีพื้นฐานที่ดีทั้งทางด้านเศรษฐกิจ วัฒนธรรม และด้านกาลังทหารตั้งแต่แรกก่อตั้งอาณาจักร ทาให้อยุธยาสามารถสร้าง ความเป็นปึกแผ่น และแผ่ขยายอาณาจักรออกไปได้อย่างรวดเร็ว ดังจะเห็นได้ว่าเพียงชั่วระยะเวลาประมาณ ๙๐ ปี หลังจากการก่อตั้ง อยุธยาสามารถทาลายศูนย์อานาจทางการเมืองที่สาคัญในขณะนั้นให้หมดอานาจไป ๒ อาณาจักร คือ อาณาจักรเขมร (พ.ศ. ๑๙๗๔) และ อาณาจักรสุโขทัย (พ.ศ. ๑๙๘๑) อีกทั้งยังได้ก้าวขึ้นมาเป็นศูนย์อานาจทางการเมืองของคนไทยในแถบลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาทั้งตอนบนและ ตอนล่าง นับจากนั้นเป็นต้นมา (ปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๐) อยุธยาก็ได้ครองความเป็นผู้นาของโลกคนไทยมาจนถึงปี พ.ศ. ๒๓๑๐ จึงล่มสลาย ไปจากเสียกรุงแก่พม่า นับเป็นการสิ้นสุดของอาณาจักรอยุธยาที่มีอายุยืนนานถึง ๔๑๗ ปี (พ.ศ. ๑๘๙๓ – ๒๓๑๐)
  • 4. ๔ สภาพทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมช่วง พ.ศ. ๑๘๙๓ – ๑๙๙๑ ลักษณะทางการเมืองการปกครอง ๑. ฐานะและอานาจหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ อาณาจักรอยุธยาปกครองด้วยระบอบราชาธิปไตยเช่นเดียวกับอาณาจักรสุโขทัย ในระบอบนี้ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้นาสูงสุด ของอาณาจักร และทรงไว้ซึ่งพระราชอานาจอย่างเด็ดขาดแต่พระองค์เดียวในการปกครองทั้งในยามสงบและในยามสงคราม แม้ว่าสุโขทัย และอยุธยาจะใช้ระบอบการปกครองแบบเดียวกัน แต่ก็มีความแตกต่างกันในด้านคติหรือแนวคิดที่ใช้เป็นหลักในการกาหนดฐานะและอานาจ หน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ในสมัยสุโขทัยแนวคิดหลักที่ใช้ในการกาหนดคือคติที่ว่า “พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประดุจบิดาของประชาชน” แต่ในสมัยอยุธยาใช้คติที่ว่า “พระมหากษัตริย์ทรงมิใช่มนุษย์ธรรมดา หากทรงเป็นองค์อวตารของพระเป็นเจ้า” แนวคิดแบบนี้เรียกอีกอย่าง หนึ่งว่า เทวราชา โดยรับแนวคิดมาจากเขมร ซึ่งเขมรเองก็ได้รับจากอินเดียอีกต่อหนึ่ง คติเรื่องเทวราชามีพื้นฐานมาจากลัทธิพราหมณ์โดยมี ความเชื่อว่าพระมหากษัตริย์ทรงเป็นองค์อวตารของพระเป็นเจ้าในศาสนาพราหมณ์ซึ่งอาจจะเป็นพระศิวะหรือพระวิษณุองค์ใดองค์หนึ่ง ความ เชื่อนี้จะปรากฏในพิธีบรมราชาภิเษก ในพิธีนี้พราหมณ์ซึ่งถือกันว่าเป็นชนกลุ่มเดียวที่สามารถติดต่อกับพระเป็นเจ้าได้โดยตรงจะเป็นผู้สาธยาย มนต์อัญเชิญพระเป็นเจ้าให้เสด็จลงมาสถิตในองค์พระมหากษัตริย์ นอกจากนั้นในระหว่างประกอบพิธี พราหมณ์จะใช้คาพูดกับ พระมหากษัตริย์เหมือนดังเช่นพูดกับพระศิวะหรือพระวิษณุ และจะถวายสัญลักษณ์ของพระเป็นเจ้าแด่พระมหากษัตริย์ด้วย เช่น พระสังวาย์ธุรา พระแสงราชาวุธ และพระบรมนามาภิไธยที่มีคาว่า “ทิพยเทพาวตาร” ซึ่งแปลว่า “อวตารของพระเป็นเจ้าบนสวรรค์” สิ่งประกอบในพิธี บรมราชาภิเษกเช่นนี้แสดงให้เห็นว่า องค์พระมหากษัตริย์ ได้ทรงกลายเป็นพระเป็นเจ้าแล้ว เมื่อพระมหากษัตริย์ทรงอยู่ในฐานะเป็นเทพเจ้า ก็ต้องมีการสร้างระเบียบแบบแผนและกฎเกณฑ์เพื่อให้สอดคล้องกับฐานะและความ ยิ่งใหญ่ของพระองค์ สถาบันพระมหากษัตริย์ในสมัยอยุธยาจึงมีลักษณะเฉพาะที่เป็นแบบแผนกว่าสมัยสุโขทัย กฎเกณฑ์ที่สร้างขึ้นมีอยู่หลาย ประการพอจะสรุปได้ดังนี้คือ ประการแรก มีกฎข้อบังคับว่า พระมหากษัตริย์จะต้องทรงอยู่ในที่สูงเหนือผู้อื่นใดทั้งสิ้น การตั้งที่ประทับของพระมหากษัตริย์จึง ต้องอยู่เหนือคนอื่น ๆ จะอยู่ต่ากว่าหรือจะอยู่เสมอกันไม่ได้ กฎข้อบังคับนี้ต่อมาได้กลายเป็นขนบประเพณีทาให้ทุกคนต้องลดตนให้ต่าลงไป เมื่ออยู่ต่อหน้าองค์พระมหากษัตริย์ เพราะพระองค์ทรงเป็นเทพเจ้า จาต้องทรงอยู่เหนือมนุษย์ทั้งปวง ประการที่สอง พระมหากษัตริย์จะต้องทรงแยกพระองค์ต่างหากออกจากมนุษย์คนอื่น เพราะเมื่อพระองค์ทรงเป็นเทพเจ้าแล้ว จะ ทรงคลุกคลีกับคนธรรมดาสามัญไม่ได้ จะทาให้ขาดความเคารพ และทาให้เสื่อมในคติความเชื่อ กฎเกณฑ์ข้อนี้ทาให้พระมหากษัตริย์ทรงอยู่ใน ฐานะสูงส่งและลี้ลับ จนกระทั่งราษฎรธรรมดาไม่สามารถจะเข้าถึงได้อีกต่อไป ประการที่สาม ที่ประทับของพระมหากษัตริย์ คือ พระบรมมหาราชวังนั้น จะได้รับการสร้างขึ้นโดยเจตนาให้มีกฎเกณฑ์และมีพิธีการ เหมือนดั่งเป็นเทวสถานในศาสนาพราหมณ์ โดยปกติในเทวสถานจะมีเทวทาส คือ ทาสหญิงของพระเป็นเจ้าอยู่เป็นจานวนมาก ทาหน้าที่ ปรนนิบัติรับใช้พระเป็นเจ้า ในพระบรมมหาราชวังก็จะมีนางสนมกานัลอยู่เป็นจานวนมากเพื่อปรนนิบัติรับใช้องค์พระมหากษัตริย์ นอกจากนั้นจะมีพราหมณ์ประจาราชสานักมีหน้าที่ประกอบพิธีกรรมเพื่อบูชาพระมหากษัตริย์ซึ่งทรงมีฐานะเป็นเทพเจ้า ประการที่สี่ มีการสร้างราชาศัพท์ขึ้นสาหรับใช้กับองค์พระมหากษัตริย์และพระราชวงศ์ ประการสุดท้าย การออกกฎข้อบังคับหรือข้อห้ามต่าง ๆ เกี่ยวกับองค์พระมหากษัตริย์ เช่น ห้ามจับต้ององค์พระมหากษัตริย์ ห้าม มองพระมหากษัตริย์ ห้ามถามอาการพระประชวร ห้ามเอ่ยพระนามจริง และ ห้ามขุนนางวิวาทชกตีกันในเขตพระราชฐาน เป็นต้น ผู้ทาผิด กฎข้อบังคับเหล่านี้จะได้รับโทษ กล่าวได้ว่า พระมหากษัตริย์ในสมัยอยุธยาทรงอยู่ในฐานะเทพเจ้าตามคติความเชื่อของลัทธิพราหมณ์ และสถาบันพระมหากษัตริย์ใน สมัยนี้มีหลักการและแบบแผนที่แน่นอนในด้านพระราชอานาจ เนื่องจากพระมหากษัตริย์ทรงมีฐานะสูงส่ง เป็นอวตารของพระเป็นเจ้า พระ ราชอานาจจึงมิได้เกิดจาก “สัญญาประชาคม” แต่ได้จากการที่ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ และทรงมีความสูงส่ง ศักดิ์สิทธิ์ ในส่วนของ ภาระหน้าที่ พระมหากษัตริย์ทรงมีหน้าที่ในการทาสงครามป้องกันราชอาณาจักรให้พ้นจากภัยของอริราชศัตรู รักษาความสงบเรียบร้อยของ สังคม คุ้มครองชีวิตและทรัพย์สินของอาณาประชาราษฎร์ ทานุบารุงส่งเสริมศาสนา ศิลปวัฒนธรรม และประกอบพิธีต่าง ๆ สาหรับพระนคร แม้ว่าพระมหากษัตริย์ในสมัยอยุธยาจะทรงได้รับคติเทวราชาจากเขมร แต่ความเป็นเทวราชาของพระองค์ก็มิได้มีลักษณะเด็ดขาด และสมบูรณ์เหมือนเช่นประเทศต้นเค้าคติความเชื่อ ดังจะเห็นได้ว่าพระมหากษัตริย์อยุธยาไม่เคยทรงเกณฑ์แรงงานคนไปสร้างปราสาทหิน ขนาดใหญ่เพื่อเก็บพระบรมศพดังเช่นที่กระทากันในอาณาจักรเขมรที่เป็นเช่นนี้เพราะพระมหากษัตริย์ไทยทรงได้รับอิทธิพลจากศาสนาพุทธ ซึ่ง
  • 5. ๕ เน้นว่าผู้ปกครองจะต้องยึดมั่นใน ทศพิธราชธรรม ราชจรรยานุวัตร และจักรวรรดิวัตร เทวราชาของอยุธยาจึงมีลักษณะปานกลางกล่าวคือ ไม่เป็นเทพเจ้าที่สูงส่งมากอย่างเขมร แต่ในขณะเดียวกันก็มิได้เป็นคนธรรมดาอย่างสุโขทัย อีกเรื่องหนึ่งที่ควรจะนามาพิจารณาก็คือ เพราะเหตุใดอาณาจักรอยุธยาจึงรับคติเทวราชาจากเขมรมาเป็นหลักในการกาหนดฐานะ และอานาจหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ที่เป็นเช่นนี้ เพราะตั้งแต่แรกก่อตั้ง อยุธยามีนโยบายที่จะแผ่ขยายอาณาจักรออกไปอย่างกว้างขวาง และทาลายศูนย์อานาจทางการเมืองอื่น ๆ เช่น อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรเขมร ดังนั้นอยุธยาจึงจาเป็นต้องสร้างสถาบันพระมหากษัตริย์ที่ มีความศักดิ์สิทธิ์ สูงส่ง และมีอานาจเด็ดขาดน่าเกรงขาม เพื่อให้การปกครองดาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเพื่อให้มีอานาจเด็ดขาดน่า เกรงขาม เพื่อให้การปกครองดาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเพื่อให้อาณาจักรที่กาลังแผ่ขยายออกไปอย่างไพศาลดารงคงอยู่ได้ ปรากฎ ว่าอยุธยาประสบความสาเร็จในการเอาคติเทวราชามาใช้ สามารถสร้างสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มีคุณลักษณะตามที่กล่าวมาข้างต้น สถาบันพระมหากษัตริย์ที่มีความศักดิ์สิทธิ์ สูงส่ง และมีอานาจเด็ดขาดน่าเกรงขามนี้ได้มีส่วนอย่างมากในการช่วยสนับสนุนให้ อาณาจักรอยุธยาที่กว้างใหญ่ไพศาลสามารถดารงอยู่ได้หลายร้อยปี แม้เมื่อเผชิญกับคามผันผวนทางการเมือง เช่น การมีพระมหากษัตริย์ที่ อ่อนแอ การแย่งชิงราชสมบัติที่เกิดขึ้นหลายครั้ง และการสงครามที่ทากับพม่า เป็นต้น เดวิด เค วายอัตต์ ได้กล่าวถึงสถาบันพระมหากษัตริย์ ตามคติเทวราชาไว้ตอนหนึ่งว่า “…ลัทธิพราหมณ์ทาให้สถาบันพระมหากษัตริย์เป็นสถาบันที่เปล่งรัศมีอันงดงาม มหัศจรรย์ เป็นสถาบันที่ ตั้งอยู่ในชั้นจักรวาล ซึ่งค้าจุนพระราชอานาจของพระมหากษัตริย์ในการปกครองไพร่ฟ้าประชาราษฎร์ทั่วทุกสารทิศ…” ๒. การเมืองภายใน ได้กล่าวมาแล้วว่า อาณาจักรอยุธยาเกิดจากการรวมตัวทางการเมืองของลพบุรีและสุพรรณบุรี ซึ่งเป็นแคว้นสาคัญในแถบลุ่มแม่น้า เจ้าพระยาตอนล่าง ดังนั้นการเมืองภายในอาณาจักรอยุธยาในช่วงต้น จึงเป็นการแย่งอานาจทางการเมืองระหว่างเจ้านายจากลพบุรีและ เจ้านายจากสุพรรณบุรี เป็นการเมืองซึ่งจากัดอยู่เฉพาะในกลุ่มชนชั้นสูงอันเป็นชนกลุ่มน้อยของสังคม ในรัชสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ (พ.ศ. ๑๘๙๓ – ๑๙๑๒) การแย่งชิงอานาจมิได้เกิดขึ้น เนื่องจากพระองค์ทรงเป็นนักปกครองที่มีความสามารถมาก ได้ทรงประนีประนอมให้ กลุ่มการเมืองทั้งสองอยู่ร่วมกันได้ แต่เมื่อพระองค์เสด็จสวรรคตแล้ว การแย่งอานาจทางการเมืองระหว่างเจ้านายลพบุรี หรือราชวงศ์อู่ทอง และเจ้านายสุพรรณบุรีหรือราชวงศ์สุพรรณภูมิ ก็ได้อุบัติขึ้น และได้ดาเนินอยู่นานประมาณ ๔๐ ปี (พ.ศ. ๑๙๑๓ – ๑๙๕๒) จึงได้ยุติลง โดยราชวงศ์สุพรรณภูมิได้ครองอานาจทางการเมืองอย่างเด็ดขาด ส่วนราชวงศ์อู่ทองนั้นหมดบทบาทไปจากการเมืองอยุธยา เมื่อสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ เสด็จสวรรคตในปี พ.ศ. ๑๙๑๒ พระราเมศวร พระราชโอรสซึ่งขณะนั้นครองเมืองลพบุรีได้เสด็จมา ครองราชย์สมบัติที่กรุงศรีอยุธยาสืบต่อมา แต่พระองค์ทรงครองราชย์ได้เพียงปีเดียว (พ.ศ. ๑๙๑๒ – ๑๙๑๓) ขุนหลวงพะงั่วซึ่งมีศักดิ์เป็นพระ ปิตุลา (ลุง) และครองเมืองสุพรรณบุรี ได้ยกกองทัพมาแย่งราชสมบัติจากสมเด็จพระราเมศวร ที่อยุธยา เมื่อ พ.ศ. ๑๙๑๓ สมเด็จพระราเมศวร มิได้ทรงสู้รบ ทรงยอมแพ้แต่โดยดี และเสด็จกลับไปประทับที่ลพบุรีถิ่นเดิมของพระองค์ เมื่อขุนหลวงพะงั่วหรือสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๑ ทรงขึ้นครองราชย์ที่อยุธยาแล้วทางเมืองสุพรรณบุรีเจ้านายราชวงศ์สุพรรณภู มิได้ครองเมืองนี้สืบต่อมา ขุนหลวงพะงั่วครองราชย์สมบัติระหว่างปี พ.ศ. ๑๙๑๓ – ๑๙๓๑ เมื่อพระองค์เสด็จสวรรคตแล้ว พระราชโอรสซึ่งมี พระชนม์เพียง ๑๕ พรรษา ทรงพระนามว่า เจ้าทองลัน เสด็จขึ้นครองราชย์สืบต่อได้เพียง ๗ วัน สมเด็จพระราเมศวรได้เสด็จยกกองทัพจาก ลพบุรีมาชิงราชสมบัติจากพระเจ้าทองลัน และโปรดให้สาเร็จโทษที่วัดโคกพระยา การแย่งอานาจทางการเมืองครั้งที่สองนี้เป็นการต่อสู้ ระหว่างลูกพี่ – ลูกน้อง และราชวงศ์อู่ทองก็ได้กลับขึ้นมามีอานาจที่อยุธยาอีกครั้งหนึ่ง ระหว่างที่ราชวงศ์อู่ทองมีอานาจที่อยุธยานั้นที่เมือง สุพรรณบุรีซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรอยุธยา เจ้านายราชวงศ์สุพรรณภูมิยังคงมีอานาจอยู่ และดาเนินการเคลื่อนไหวทางการเมืองจากฐาน ที่มั่นของตนเพื่อช่วงชิงอานาจคืนเช่นกัน หลังจากที่สมเด็จพระราเมศวร (พ.ศ. ๑๙๓๑ – ๑๙๓๘) เสด็จสวรรคตแล้ว สมเด็จพระรามราชา พระราชโอรส (พ.ศ. ๑๙๓๘ – ๑๙๕๒) ครองราชย์อยู่ที่อยุธยาได้ ๑๔ ปี ก็หมดอานาจและหมดบทบาทไปจากการเมืองอยุธยา กล่าวคือ ในปี พ.ศ. ๑๙๕๒ สมเด็จพระรามราชาทรงมีเรื่องทะเลาะวิวาทกับเจ้าเสนาบดีซึ่งเป็นขุนนางผู้ใหญ่ เจ้าเสนาบดีจึงหนีจากอยุธยาไปเชิญ พระอินทราชา เจ้าเมืองสุพรรณบุรี ซึ่งเป็นพระราชนัดดาของขุนหลวงพะงั่ว (พระโอรสของพระอนุชาขุนหลวงพะงั่ว) เสด็จยกกองทัพลงมายึด กรุงศรีอยุธยาจากสมเด็จพระรามราชา และเนรเทศพระองค์ไปอยู่ที่ปท่าคูจาม ซึ่งปัจจุบันเราก็ยังไม่ทราบว่าคือสถานที่ใด นับจากปี พ.ศ. ๑๙๕๒ ปัญหาการแย่งชิงอานาจทางการเมืองระหว่างราชวงศ์อู่ทองและสุพรรณภูมิได้ยุติลง โดยราชวงศ์อู่ทองเป็น ฝ่ายพ่ายแพ้ และราชวงศ์สุพรรณภูมิได้ครองอานาจทางการเมืองอย่างเด็ดขาด มาจนถึงช่วงเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ ๑ ในปี พ.ศ. ๒๑๑๒
  • 6. ๖ เมื่อพิจารณาจากการแย่งชิงอานาจทางการเมืองระหว่างราชวงศ์ทั้งสองแล้ว กล่าวได้ว่าการจะได้อานาจทางการเมืองในสมัยอยุธยาตอนต้นนั้น จะต้องอาศัยกาลังทหารเป็นพื้นฐานสาคัญ เห็นได้ว่า ราชวงศ์สุพรรณภูมิซึ่งมีความเข้มแข็งทางการทหารจึงเป็นฝ่ายประสบชัยชนะในที่สุด อย่างไรก็ตาม นอกจากการต่อสู้โดยอาศัยกาลังทหารแล้ว ราชวงศ์อู่ทองและราชวงศ์สุพรรณภูมิยังต่อสู้โดยการแสวงหาการรับรอง ทางการทูตจากจีน ซึ่งเป็นมหาอานาจทางการเมืองในดินแดนแถบนี้ เช่น ในช่วงที่สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๑ (ขุนหลวงพะงั่ว) ทรง ครองราชย์โดยแย่งมาจากสมเด็จพระราเมศวรนั้น พระราชมารดาของสมเด็จพระราเมศวร (พระขนิษฐาของขุนหลวงพะงั่ว) ได้ส่งคณะทูตนา เครื่องบรรณาการไปถวายพระมเหสีของพระจักรพรรดิจีนถึง ๒ ครั้งในปี พ.ศ. ๑๙๑๖ และทูลฟ้องว่าพระราชโอรสถูกแย่งราชสมบัติแต่ก็ถูก ปฏิเสธไม่รับรองคณะทูตจากลพบุรี ในปีเดียวกันนั้น (พ.ศ. ๑๙๑๖) สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๑ ได้ทรงส่งคณะทูตไปจีนถึง ๒ ครั้ง เช่นกัน และได้สร้างความสัมพันธ์ทางการทูตกับจีนแน่นแฟ้นกว่าทางฝ่ายลพบุรี อย่างไรก็ตาม การที่จะได้มาซึ่งอานาจทางการเมืองใน อยุธยาจะต้องอาศัยกาลังทหารเป็นปัจจัยหลักที่สาคัญที่สุดส่วนการแสวงการรับรองทางการทูตจากจีนเป็นเพียงปัจจัยรองที่มาประกอบเท่านั้น ๓. การจัดรูปแบบการปกครอง หลักฐานต่าง ๆ เท่าที่มีอยู่ในปัจจุบันเกี่ยวกับการจัดรูปแบบการปกครองของอาณาจักรอยุธยาในระยะเริ่มแรกมีอยู่ไม่มาก เราจึงไม่ ค่อยทราบรายละเอียดเกี่ยวกับการจัดรูปแบบการปกครองในสมัยอยุธยาตอนต้น ทราบเพียงแต่ว่า ในระยะแรก การบริหารราชการส่วนกลาง คือ ในเขตเมืองหลวงและบริเวณโดยรอบเมืองหลวง มีกรมสาคัญอยู่ ๔ กรม คือ เวียง วัง คลัง นา ซึ่งรวมเรียกว่า “จตุสดมภ์” แปลว่า “หลักทั้ง ๔” สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดารงราชานุภาพทรงสันนิษฐานว่า การจัดระเบียบการปกครองส่วนกลางในลักษณะนี้คง จะได้แบบอย่างมาจากอินเดีย เพราะอาณาจักรอื่น ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ได้รับวัฒนธรรมอินเดีย เช่น อาณาจักรพม่า อาณาจักรเขมร อาณาจักรชวา และอาณาจักรในมลายู ล้วนแต่จัดรูปแบบการปกครองส่วนกลางเป็น ๔ กรมสาคัญเช่นเดียวกับอาณาจักรอยุธยา ส่วนนักประวัติศาสตร์ชาวต่างประเทศให้เหตุผลว่า การที่อินเดียและอาณาจักรต่าง ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จัดรูปแบบการ ปกครองส่วนกลางเป็น ๔ กรมใหญ่นั้น เพราะต้องการจัดระเบียบบริหารราชการส่วนกลางให้เป็นไปตามคติความเชื่อเกี่ยวกับระเบียบของ จักรวาล กล่าวคือ จักรวาลมีทิศสาคัญอยู่ ๔ ทิศ ทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก แต่ละทิศมียักษ์รักษาประจาอยู่รวม ทั้งหมด ๔ ตน เรียกว่า “โลกบาล” การจัดให้มีขุนนางสาคัญ ๔ คนก็เพื่อให้เป็นตัวแทนของโลกบาลทั้ง ๔ นั่นเอง เชื่อกันว่า หากจัด ระเบียบในโลกมนุษย์ให้สอดคล้องกับระเบียบของจักรวาลแล้ว อาณาจักรจะมีความเจริญรุ่งเรือง สาหรับขุนนางที่เป็นผู้บังคับบัญชากรมใหญ่ ทั้ง ๔ นี้ สันนิษฐานว่า เป็นพวกขุนนางที่มียศ “ขุน” ซึ่งเป็นยศสูงสุดของขุนนางในสมัยแรกก่อตั้งอาณาจักรอยุธยา ส่วนขอบเขตอานาจของ ขุนนางเหล่านี้จะมีมากแค่ไหนไม่มีหลักฐานใดบ่งบอกอย่างแน่ชัด แต่เนื่องจากเป็นระยะเริ่มต้นของอาณาจักรอานาจที่มีอยู่จึงน่าจะมีในเขต เมืองหลวงและบริเวณโดยรอบเท่านั้น คงไม่ขยายออกไปเหมือนในช่วงสมัยหลังการปฏิรูปการปกครองของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ใน ด้านหน้าที่ความรับผิดชอบจตุสดมภ์มีอานาจหน้าที่พอสรุปได้ดังนี้ คือ กรมเวียง เป็นพนักงานปกครองท้องที่ รักษาความสงบภายในเขตเมืองหลวงและบริเวณใกล้เคียง กรมวัง เป็นหัวหน้าในพระราชสานัก และดูแลรับผิดชอบเรื่องความยุติธรรมด้วย กรมคลัง เป็นพนักงานรับจ่ายและเก็บรักษาพระราชทรัพย์ ที่ได้มากจากภาษีอากร กรมนา เป็นพนักงานตรวจตราการทาไร่นา ออกหนังสือแสดงกรรมสิทธิ์ในที่นาแก่ชาวนา รวมทั้งมีหน้าที่เก็บหางข้าวขึ้น ฉางหลวงสาหรับเก็บไว้ใช้ในราชการ นอกจากกรมสาคัญทั้ง ๔ กรมนี้แล้ว ในเมืองหลวงจะมีกรมย่อยลดหลั่นกันลงมาอีก แต่ไม่มีหลักฐานใดบ่งบอกไว้อย่างชัดว่ามีกรม ใดบ้าง ต่อมาจานวนกรมย่อยหรือกรมขนาดเล็กคงเพิ่มมากขึ้น จนกระทั่งในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ. ๑๙๙๑ – ๒๐๓๑) ปรากฎว่ามีกรมขนาดเล็กอยู่หลายสิบกรม การบริหารราชการส่วนภูมิภาค อาณาจักรอยุธยาในสมัยต้น (พ.ศ. ๑๘๙๓ – ๑๙๙๑) มี เมืองอยุธยา ลพบุรีและสุพรรณบุรีเป็น เมืองสาคัญ ทางทิศใต้มีเมืองนครปฐม ราชบุรี เพชรบุรี และอาจมีเมืองนครศรีธรรมราชไว้ในอาณาจักรด้วย ทางด้านตะวันตกจดเทือกเขาที่ กั้นแดนระหว่างตะนาวศรีกับไทย ทิศตะวันออกคงจะจดกับเขมร แถวดงพญาเย็น และลุ่มน้าบางปะกง ทางทิศเหนือถึงเมืองชัยนาท ติดกับ อาณาเขตของอาณาจักรสุโขทัยซึ่งลงมาถึงเมืองนครสวรรค์ จนถึงสมัยสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๒ (เจ้าสามพระยา พ.ศ. ๑๙๖๗ – ๑๙๙๑) อยุธยาจึงสามารถครอบครองดินแดนที่เดิมเคยเป็นอาณาจักรสุโขทัยได้อย่างแท้จริง หัวเมืองที่อยู่ในอาณาบริเวณที่กล่าวมาข้างต้นนี้ ถ้าเป็นเมืองเล็กที่ไม่ค่อยมีความสาคัญ และอยู่ใกล้อยุธยา จะส่งขุนนางไปปกครอง และขึ้นตรงต่อเมืองหลวง แต่ถ้าเป็นเมืองใหญ่ที่มีความสาคัญไม่ว่าจะเป็นด้านเศรษฐกิจหรือด้านกาลังทหาร อยุธยาจะส่งเจ้านายชั้นสูงไป
  • 7. ๗ ปกครองซึ่งเมืองที่เจ้านายเป็นเจ้าเมือง เรียกกันว่าเมืองลูกหลวง หรือเมืองหลานหลวง แล้วแต่ยศศักดิ์ของเจ้านายผู้ดารงตาแหน่งเจ้าเมือง เมืองลูกหลวงและเมืองหลานหลวงจะมีเมืองเล็ก ๆ เป็นเมืองบริวารมาขึ้นอยู่ด้วย เท่าที่ปรากฏในหลักฐานที่กล่าวถึงการส่งเจ้านายไปครองเมืองนั้น เมืองลูกหลวงในสมัยอยุธยาตอนต้นมี เมืองสุพรรณบุรี เมือง ลพบุรี เมืองแพรกศรีราชาหรือเมืองสรรค์ และเมืองชัยนาท ส่วนเมืองหลานหลวงได้แก่ เมืองอินทบุรี เจ้านายที่ไปครองเมืองเหล่านี้ เช่น ขุนหลวงพะงั่ว พระอินทราชา และเจ้าอ้ายพระยา ทรงครองเมืองสุพรรณบุรี สมเด็จพระราเมศวรเคยทรงครองเมืองลพบุรี เจ้ายี่พระยาเคย ทรงครองเมืองแพรกศรีราชา เจ้าสามพระยาเคยทรงครองเมืองชัยนาทก่อนขึ้นเสวยราชย์ และสันนิษฐานว่าพระอินทราชาคงจะเคยทรงครอง เมืองอินทบุรีก่อนที่จะมาเป็นเจ้าเมืองสุพรรณบุรี เมืองลูกหลวงและเมืองหลานหลวงเหล่านี้จะมีอานาจในการปกครองตนเองค่อนข้างมากจนเกือบเป็นอิสระ ทั้งในการเก็บภาษีอากร การควบคุมกาลังไพร่พล การพิจารณาไต่สวน ตัดสินคดีความที่เกิดขึ้นภายในเมือง และการตั้งตาแหน่งขุนนางชั้นผู้น้อยเพื่อช่วยบริหารราชการ การที่เมืองหลวงให้เมืองลูกหลวง และเมืองหลานหลวงปกครองตนเองเกือบจะเป็นเอกเทศนั้น ทาให้ความสัมพันธ์ทางการปกครองระหว่าง เมืองหลวงกับเมืองเหล่านี้ยังเป็นโครงสร้างทางการปกครองแบบหลวม ที่ก่อให้เกิดการแย่งชิงอานาจทางการเมืองขึ้นบ่อยครั้ง “… เพราะการที่พระมหากษัตริย์ทรงกระจายอานาจการปกครองให้แก่เจ้านายในพระราชวงศ์ไปปกครองเมืองลูกหลวงหลานหลวง อย่างกึ่งอิสระ โดยไม่สามารถควบคุมดูแลได้อย่างใกล้ชิดอย่างหนึ่ง และไว้วางพระราชหฤทัยเกินไปว่าเป็นเครือญาติเดียวกันอีกอย่างหนึ่ง ทา ให้คิดไปว่า คงจะไม่ทรยศ กบฎต่อ“พระคุณ” เป็นแน่ อันที่จริงการใช้ “พระคุณ” มากกว่า “พระเดช” ในลักษณะนี้ก็เป็นผลดีอยู่เหมือนกัน แต่ก็เป็นเพียงชั่วระยะหนึ่งที่พวกนั้นจะจงรักภักดีต่อพระองค์ ต่อเมื่อสิ้นรัชกาลผู้มีพระคุณแล้วนั่นแหละก็จะเกิดความวุ่นวายขึ้นเพราะจะต้องมี เจ้าผู้ครองนครเมืองลูกหลวงเมืองใดเมืองหนึ่งซึ่งเป็นรัชทายาทเสวยราชสมบัติต่อ บรรดาเจ้าเมืองทั้งหลายที่เคยดารงตาแหน่งฐานะเท่าเทียม กันมาก่อน ก็สิ้นความจงรักภักดี เพราะบางคนก็คิดอยากเป็นใหญ่เป็นโต ปัญหาการเมืองข้อนี้ อาจลุล่วงไปด้วยดี หากพระมหากษัตริย์องค์ ใหม่ทรงเข้มแข็ง เด็ดขาด และมีฝีไม้ลายมือเป็นที่เชื่อถือกันมาก่อนเสวยราชย์ แต่ถ้าพระมหากษัตริย์พระองค์ใดทรงอ่อนแอ เมืองลูกหลวง หลานหลวงทั้งหลายก็อาจจะกระด้างกระเดื่อง คิดแยกตัวเป็นอิสระ หรือเตรียมพร้อมที่จะช่วงชิงราชบัลลังก์…” ถัดจากเขตเมืองลูกหลวงเมืองหลานหลวงออกไป คือ หัวเมืองประเทศราช ซึ่งในสมัยอยุธยาตอนต้นน่าจะได้แก่ สุโขทัย นครศรีธรรมราช หัวเมืองเหล่านี้อยุธยาจะให้เจ้านายเชื้อสายเจ้าเมืองเดิมเป็นผู้ปกครองอย่างอิสระตามประเพณีการปกครองของแต่ละเมือง อยุธยาจะไม่เข้าแทรกแซงแต่ประการใด โดยหัวเมืองประเทศราชจะต้องส่งเครื่องราชบรรณาการมาให้อยุธยาตามเวลาที่กาหนดไว้ ๔. การควบคุมกาลังคน ในสมัยอยุธยา กาลังคนหรือแรงงานไพร่นับเป็นทรัพยากรที่มีค่ายิ่งอย่างหนึ่งของอาณาจักรทั้งในด้านการเมืองและเศรษฐกิจ คาว่า “ไพร่” หมายถึง ราษฎรธรรมดาที่เป็นเสรีชน หรือ กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ ประชาชนทั่วไป คนส่วนใหญ่ของสังคมประมาณร้อยละ ๘๐ – ๙๐ จะเป็นไพร่ จากหลักฐานพบว่ากาลังคนมีความสาคัญอย่างมากต่อการเสริมสร้างและแผ่ขยายอาณาจักร ในด้านเศรษฐกิจกาลังคนเป็นบ่อเกิด ของผลผลิตซึ่งยังความมั่งคั่งสมบูรณ์ให้แก่รัฐ ในขณะเดียวกันกาลังคนก็เป็นพื้นฐานสาคัญประการหนึ่งของการสร้างอานาจทางการเมือง เป็น กองทัพในยามเกิดศึกสงคราม อีกทั้งยังเป็นแรงงานโยธาในการก่อสร้าง เช่น การสร้างป้อมปราการ กาแพงเมือง ขุดอ่างเก็บน้า คูเมือง สร้างถนนหนทาง และวัดวาอารามต่าง ๆ ดังนั้นแต่ละอาณาจักรจึงต้องสร้างวิธีการหรือระบบที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมกาลังคน เพื่อให้สามารถเกณฑ์แรงงานไพร่มาใช้ได้อย่างรวดเร็วในยามที่เกิดความต้องการ อาณาจักรอยุธยาในช่วงต้นจะมีการจัดระบบการควบคุมกาลังคนหรือแรงงานไพร่เป็นอย่างไรนั้น ไม่มีหลักฐานใดบ่งบอกไว้อย่าง ละเอียด สันนิษฐานว่าคงจะมีวิธีการควบคุมอย่างง่าย ๆ โดยแบ่งบุคคลในสังคมออกเป็น ๒ พวก คือ พวกที่ควบคุมบังคับบัญชาไพร่ เรียกว่า มูลนาย ซึ่งได้แก่เจ้านายและขุนนาง ส่วนอีกพวกหนึ่งเป็นผู้ถูกควบคุมได้แก่ พวกไพร่หรือประชาชน ส่วนวิธีการควบคุมนั้น ศาสตราจารย์ขจร สุขพานิช ได้เสนอข้อคิดเห็นว่า คงจะมีการรวบรวมไพร่ให้รวมเข้าด้วยกันเป็นกลุ่มก้อน ไพร่ในกลุ่มเหล่านี้เรียกว่า ลูกหมู่ แล้วมีเจ้าหมู่เป็นหัวหน้าคอยควบคุมดูแลหลาย ๆ หมู่รวมเป็นแขวง มีหัวแขวงเป็นหัวหน้า และเพื่อความ สะดวกในการเรียกเกณฑ์ไพร่พลจึงมีกฎข้อบังคับว่า ไพร่ต้องลงทะเบียนกับหัวหน้าของตนดังปรากฏในมาตรา ๑๐ ของกฎหมายลักษณะรับฟ้อง พ.ศ. ๑๘๙๙ ที่ระบุว่า “...ราษฎรมาร้องฟ้องด้วยคดีประการใด ๆ แลมิได้ตั้งสังกัดมูลนาย อย่าพึงรับไว้บังคับบัญชาโดยอันขาดทีเดียว ให้ส่งตัว หาสังกัดมูลนายมิได้นั้นแก่สัสดีเอาเป็นคนหลวง…”
  • 8. ๘ นอกจากที่ได้กล่าวมาข้างต้นแล้ว เราไม่ทราบรายละเอียดอื่นที่เกี่ยวกับวิธีการควบคุมกาลังคนในสมัยอยุธยาตอนต้น ในด้านความ รับผิดชอบ มูลนายมีหน้าที่ปกครองดูแลไพร่ในสังกัดของตนให้อยู่อย่างเรียบร้อย รวมทั้งควบคุมดูแลความประพฤติของไพร่ในบังคับ และ รับผิดชอบเกณฑ์ไพร่พลมาให้แก่รัฐ เมื่อรัฐมีความต้องการกาลังคนไปใช้ ลักษณะทางเศรษฐกิจ อยุธยามีพื้นฐานทางเศรษฐกิจที่ดีตั้งแต่แรกก่อตั้งอาณาจักร และพื้นฐานทางเศรษฐกิจที่ดีนี้เป็นปัจจัยสาคัญที่ช่วยให้อยุธยาสามารถ พัฒนาความเจริญรุ่งเรือง และสร้างความเป็นปึกแผ่นได้อย่างรวดเร็ว เศรษฐกิจของอาณาจักรอยุธยามีพื้นฐานอยู่ที่การเกษตรและการค้ากับ ต่างประเทศ ๑. การเกษตร อาณาจักรอยุธยาตั้งอยู่ในบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาตอนล่างซึ่งมีอาณาบริเวณตั้งแต่นครสวรรค์ลงมาถึงอ่าวไทย ที่ราบลุ่ม แม่น้านี้เกิดจากการทับถมของโคลนตม เนื้อดินจึงมีความอุดมสมบูรณ์ เป็นดินตะกอนที่มีทรายปนเพียงเล็กน้อย และสามารถเก็บกักน้าได้เป็น อย่างดี จึงเป็นดินที่เหมาะแก่การเพาะปลูกมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการปลูกข้าวนาลุ่ม ความเหมาะสมทางสภาพภูมิศาสตร์ ทาให้อยุธยาเป็น แหล่งเพาะปลูกที่สาคัญแห่งหนึ่งในดินแดนแถบนี้ พืชสาคัญที่ปลูกกันมากในอาณาจักรอยุธยาจนกลายเป็นพืชหลัก คือ ข้าว รองลงมาได้แก่ พริกไทย ฝ้าย หมาก มะพร้าว เป็นต้น แม้ว่าสภาพภูมิศาสตร์จะเอื้ออานวยต่อการเพาะปลูกเป็นอย่างมาก แต่การเกษตรของอยุธยาก็ยังเป็นการเกษตรแบบพอยังชีพ กล่าวคือ ใช้ เทคนิคการผลิตแบบดั้งเดิมที่ต้องพึ่งพาธรรมชาติเป็นหลักใหญ่ หากสภาพดินฟ้าอากาศไม่อานวยอันเนื่องมาจากเกิดภาวะฝนแล้งหรือน้าท่วม ผลผลิตทางการเกษตรก็จะตกต่าจนนาไปสู่ภาวะขาดแคลนอาหาร นอกจากนั้นยังมีวัตถุประสงค์ในการผลิตเพียงเพื่อการบริโภคภายใน อาณาจักรเท่านั้นมิได้ผลิตเพื่อขาย สินค้าทางการเกษตรที่อยุธยาส่งไปขายต่างประเทศน่าจะเป็นผลผลิตที่ไม่ได้บริโภคในอาณาจักร ในด้านรัฐบาลดูแลการเพาะปลูกของราษฎรเพียงแค่ออกกฎหมายคุ้มครองการทานาบางส่วน ดังปรากฏในกฎหมายลักษณะเบ็ดเสร็จ เช่น ให้เจ้าของช้าง ม้า โค กระบือ ระวังสัตว์เลี้ยงของตนให้ดี ไม่ให้ไปกินต้นข้าวในนาของผู้อื่น มิฉะนั้นจะถูกลงโทษ และ ห้ามมิให้ลักแอก ไถ และคราดของชาวนา เป็นต้น นอกจากนั้นรัฐบาลได้ส่งเสริมและให้สิทธิแก่ราษฎรในการบุกเบิกที่ดินแหล่งใหม่เพื่อใช้เพาะปลูก ดัง ปรากฏในกฎหมายลักษณะเบ็ดเสร็จมาตราที่ ๔๕ ระบุว่า “...ถ้าผู้ใดก่นสร้างเลิกสร้างที่ไร่นาเรือกสวนนั้น ให้ไปบอกแก่เสนานายระวาง นายอากร ไปดูที่ไร่นาเรือกสวนที่ก่นสร้างนั้นให้รู้มาก แลน้อย ให้เสนานายระวางนายอากรเขียนโฉนด ให้ไว้แก่ผู้เลิกร้างก่นสร้างนั้น ให้รู้ว่าผู้นั้นอยู่บ้านนั้น ก่นสร้างเลิกร้างตาบลนั้นขึ้นในปีนั้น เท่านั้นไว้เป็นสาคัญ...” และ ปรากฏในมาตรา ๕๔ กล่าวไว้ตอนหนึ่งว่า “..อนึ่งที่นอกเมืองชารุดอยู่นานก็ดี และมันผู้หนึ่งล้อมเอาที่นั้นเป็นไร่ เป็นสวนมัน มันได้ปลูกต้นไม้สรรพอะยะมานีในที่นั้นไว้ ให้ ลดอากรไว้แก่มันปีหนึ่งพ้นกว่านั้นเป็นอากรหลวงแล..” ส่วนในด้านการชลประทานนั้นรัฐบาลไม่ได้ส่งเสริมแต่อย่างใด การขุดคลองที่เกิดขึ้นก็เพื่อสนองความต้องการทางด้านยุทธศาสตร์ การคมนาคม และการระบายน้าที่ท่วมตอนหน้าน้าเท่านั้น มิได้ขุดเพื่อผลประโยชน์ทางด้านเกษตรกรรมโดยตรง แม้ว่ารัฐบาลในสมัยอยุธยาตอนต้นจะไม่ได้ส่งเสริมการเกษตรมากนัก แต่สภาพภูมิศาสตร์ที่เหมาะสมและความอุดมสมบูรณ์ของ พื้นดิน ทาให้อยุธยาสามารถผลิตอาหารเลี้ยงดูผู้คนได้เป็นจานวนมาก ซึ่งนับเป็นรากฐานสาคัญอย่างหนึ่งของการเสริมสร้างและแผ่ขยาย อาณาจักร การเกษตรจึงเป็นพื้นฐานสาคัญของเศรษฐกิจอยุธยามาตลอดระยะเวลา ๔๑๗ ปี ๒. การค้ากับต่างประเทศ ทาเลที่ตั้งของอยุธยามีส่วนอย่างมากในการส่งเสริมให้อาณาจักรอยุธยามีความเจริญรุ่งเรืองทางการค้า กล่าวคือ อยุธยาตั้งอยู่บนฝั่ง แม่น้าที่ลึกเข้าไปในผืนแผ่นดิน แต่ก็ไม่ไกลจากปากน้า (ทะเล) จนเกินไป ทาให้อยุธยาสามารถติดต่อค้าขายทางเรือกับต่างประเทศได้อย่าง สะดวก รวมทั้งสามารถทาหน้าที่เป็นพ่อค้าคนกลางในการติดต่อค้าขายระหว่างพ่อค้าต่างชาติกับอาณาจักรที่อยู่ลึกเข้าไป เช่น สุโขทัย ล้านนา หรือ เป็นการทาหน้าที่เป็นพ่อค้าคนกลางติดต่อค้าขายระหว่างพ่อค้าจีน ญี่ปุ่น กับพวกพ่อค้าต่างชาติอื่น ๆ อยุธยาจึงเป็นศูนย์กลาง การค้าที่สาคัญและการค้ากับต่างประเทศนี้จึงเป็นพื้นฐานทางเศรษฐกิจที่สาคัญอีกอย่างหนึ่งของอาณาจักรอยุธยาตลอดระยะเวลา ๔๑๗ ปี แต่การค้าในแต่ละช่วงก็มีลักษณะแตกต่างกันออกไปตามสภาพแวดล้อมในแต่ละช่วงเวลา ในสมัยอยุธยาตอนต้น (พ.ศ. ๑๘๙๓ – ๑๙๙๑) การค้ากับต่างประเทศที่มีอยู่เป็นการค้าสาเภากับจีน ญี่ปุ่น อาหรับ มลายู