SlideShare a Scribd company logo
1 of 41
Download to read offline
การสถาปนา
   สุ โขทัย

   กรุ งศรี อยุธยา

   ธนบุรี
จัดทาโดย
นายกรวิชญ์         ดอนชัย           เลขที่ 1
นายสรณัฐ           ใจนันท์          เลขที่ 6
นางสาวชิษณุชา จาอินต๊ะ              เลขที่ 15
นางสาวนันท์ภส บุญแรง
              ั                     เลขที่ 19
นางสาวภัทรธิดา พรมคา                เลขที่ 22
นางสาวสุ ธีรา ขุนนาม                เลขที่ 30
นางสาวอมราพร สื บจิตย์              เลขที่ 31
         ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6/2
เสนอ
     คุณครู สายพิน วงษารัตน์

โรงเรี ยนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
   ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2555
สุโขทัย
การสถาปนาสุ โขทัย




         อาณาจักรสุ โขทัยเป็ นอาณาจักรของคนไทยที่ได้รับการสถาปนา
ขึ้ นในพ.ศ.1792 ก่ อนหน้ า ที่ จะมี ก ารสถาปนาอาณาจั ก รสุ โขทั ย
ขึ้นนั้น สุ โขทัยเป็ นเมืองเก่าแก่ที่มีความเจริ ญรุ่ งเรื องมาก่อน จากการ
ตีความในศิลาจารึ กหลักที่ 2 (วัดศรี ชุม) ความว่า เมืองสุ โขทัยแต่เดิมมีผนา
                                                                        ู้
ชื่อ พ่อขุนศรี นาวนาถม เป็ นเจ้าเมืองปกครองอยู่
เมื่อพวกขอมเริ่ มเสื่ อมอานาจลง ในปี พ.ศ. 1780 ได้มีผนา        ู้
2 ท่าน คือ พ่อขุนบางกลางหาว และพ่อขุนผาเมือง ซึ่งเป็ นผูนาคนไทย
                                                              ้
ได้ร่ วมมื อ กัน รวบรวมก าลัง เข้า ขับ ไล่ ข อมออกจากดิ น แดนแถบนี้
และตั้งตนเป็ นอิ สระ         พร้ อมกับสถาปนากรุ งสุ โขทัย เป็ นราชธานี
ของอาณาจักรไทย และได้สถาปนาพ่อขุนบางกลางหาวขึ้นเป็ นกษัตริ ย ์
ปกครองกรุ งสุ โขทัยทรงพระนามว่า พ่อขุนศรี อินทราทิตย์ นับเป็ น
ปฐมกษัตริ ย แ ห่ งราชวงศ์สุ โขทัย หรื อราชวงศ์พ ระร่ ว ง
              ์                                                 นับตั้งแต่
พ.ศ. 1792 เป็ นต้นมา




                               พ่ อขุนผาเมือง       พ่ อขุนบางกลางหาว
1. ปัจจัยภายใน
           การมี ขวัญและกาลังใจดี ของประชาชนเนื่ องจากมี ผูน าที่
                                                            ้
            เข้มแข็งและมีความสามารถ
2. ปัจจัยภายนอก
      การเสื่ อมอานาจของขอม หลังจากที่พระเจ้าชัยวรมันที่ 7
       สิ้ นพระชนม์ลง กษัตริ ยองค์ต่อมาไม่สามารถรักษาอานาจ
                              ์
       ของตนในดินแดนที่ยึดครองมาได้ ทาให้หัวเมืองต่างๆ พากัน
       ตั้งตนเป็ นอิสระ
รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่ งสุ โขทัย

กรุงสุ โขทัย มีกษัตริย์ปกครอง 9 พระองค์ ดังนี้
         1. พ่อขุนศรี อินทราทิตย์
         2. พ่อขุนบานเมือง
         3. พ่อขุนรามคาแหงมหาราช
         4. พญาเลอไทย
         5. พญางัวนาถม
                  ่
         6. สมเด็จพระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไทย)
         7. สมเด็จพระมหาธรรมราชาที่ 2
         8. สมเด็จพระมหาธรรมราชาที่ 3 (ไสลือไทย)
         9. สมเด็จพระมหาธรรมราชาที่ 4 (บรมปาล)
กรุงศรีอยุธยา
ผู้ก่อตั้งอาณาจักรอยุธยา
         พระเจ้ าอู่ทอง(สมเด็จพระรามาธิบดีท1)
                                           ี่
                   สมเด็ จ พระเจ้ า อู่ ท อง ทรงเป็ นปฐม
      กษัตริ ยของกรุ งศรี อยุธยา เสด็จพระราชสมภพ
                 ์
      เมื่อปี พ.ศ.1875 ทรงสถาปนาอยุธยาเป็ นราชธานี
      เมื่ อ ปี พ.ศ.1893            ได้รั บ ถวายพระนามว่ า
      สมเด็ จ พระรามาธิ บ ดี ศรี สุ น ทรบรมบพิ ต ร
                    ่ ั
      พระเจ้าอยูหว กรุ งเทพมหานครบวรทวาราวดีศรี -
      อ ยุ ธ ย า ฯ ท ร ง ค ร อ ง ร า ช ย์ ร ะ ห ว่ า ง
      ปี พ.ศ.1893-1912 สมเด็จพระเจ้าอู่ทองครองราชย์
      ได้ 19            ปี เสด็ จ สวรรคต เมื่ อ ปี พ.ศ.1912
      พระชนมายุได้ 55 พรรษา
ทีต้งกรุงศรีอยุธยา
                               ่ ั

         พระเจ้า อู่ ท องก่ อ ตั้ง อาณาจัก รอยุ ธ ยาขึ้ น ณ บริ เวณลุ่ ม แม่ น้ า
เจ้า พระยาตอนล่ า ง กรุ ง ศรี อ ยุธ ยามี ค วามเหมาะสมในการเป็ นราชธานี
เพราะตั้งอยูในบริ เวณที่ราบลุ่มกว้างใหญ่มีความอุดมสมบูรณ์ เหมาะสาหรับ
              ่
การเพาะปลูก มีแม่น้ าไหลผ่านถึง 3 สาย คือ แม่น้ าเจ้าพระยา แม่น้ าป่ าสัก
และแม่ น้ าลพบุ รี ท าให้ ส ะดวกในการคมนาคม และการติ ด ต่ อ ค้า ขาย
นอกจากนี้ ยงสามารถใช้แม่น้ าเป็ นคูเมืองธรรมชาติ ป้ องกันการรุ กรานของ
                ั
ข้าศึกได้เป็ นอย่างดี
การสถาปนากรุงศรีอยุธยา

            ก่อนหน้าที่จะมีอาณาจักรอยุธยานั้น ดิ นแดนที่เป็ นประเทศไทย
ปั จ จุ บ ัน นี้ มี ผู ้น าคนไทยตั้ง บ้า นเมื อ งเป็ นอาณาจัก รหลายอาณาจัก ร
ที่สาคัญๆ นอกจากสุ โขทัยแล้วก็มีอาณาจักรล้านนา ทางเหนื อ และแคว้น
ละโว้กั บ สุ พรรณบุ รี ทางใต้ สั น นิ ษ ฐานว่ า แคว้น ละโว้ และแคว้น
สุ พรรณบุรีน้ ีเองที่สนับสนุนให้พระเจ้าอู่ทองสถาปนากรุ งศรี อยุธยาสาเร็ จ
พงศาวดารไทยกล่าวถึงเรื่ อง พระเจ้าอู่ทองทรงสร้างกรุ งศรี อยุธยาที่
                                      ่
บริ เวณหนองโสนหรื อบึงพระราม ซึ่ งอยูทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ าเจ้าพระยา
เสร็ จใน พ.ศ. 1893 ทรงขนานนาม ราชธานีว่า กรุ งเทพทวารวดีศรี อยุธยา และ
เสด็จขึ้นครองราชย์ ทรงพระนามว่า สมเด็จพระรามาธิบดีศรี สุนทรบรมบพิตร
เราเรี ยกพระองค์วา สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 หรื อ พระเจ้าอู่ทอง
                 ่
ความเป็ นมาของพระเจ้าอู่ทองยังเป็ นเรื่ องคลุมเครื อ เดิ มเคยเชื่ อ
กันว่าพระองค์เป็ นเจ้าเมื องอู่ทอง ซึ่ งอยู่ในสุ พรรณบุรี อยู่มาเมื องอู่ทอง
เกิ ด กัน ดารน้ าและอหิ ว าตกโรคระบาด จึ ง ย้า ยมา ตั้ง กรุ งศรี อยุ ธ ยา
เมื่อ พ.ศ. 1893 แต่จากการที่กอง โบราณคดี กรมศิลปากร ขุดแต่งโบราณ
สถานที่เมืองอู่ทองเมื่อ พ.ศ. 2506-2511 พบว่าเมืองอู่ทองร้างไปก่อนตั้ง
กรุ งศรี อยุธยาถึง 200ปี จึง เป็ นไปไม่ได้ที่พระเจ้าอู่ทองจะย้ายเมืองจากเมือง
อู่ทองไปตั้งกรุ งศรี อยุธยา
เรื่ องราวของพระเจ้าอู่ทองอพยพมาจากที่ใดหรื อมีเชื้ อสายมาจาก
เมืองใด มีผสนนิษฐานกันต่างๆนานา ดังจะนาเหตุผลมาสรุ ปได้ดงนี้
             ู้ ั                                           ั

          หนั ง สื อ จุ ล ยุ ท ธศาสตร์ การวงศ์ กล่ า วว่ า พระราชบิ ด าของ
พระเจ้ า อู่ ท อง คื อ พระเจ้ า ศรี วิ ชั ย เชี ย งแสน เดิ ม ชื่ อ นายแสนปม
เพราะร่ างกายเป็ นปุ่ มปมไปทั้งตัว พระราชมารดาเป็ น ราชธิดาของเจ้าเมือง
ไตรตรึ ง ส์ (อยู่ใ นก าแพงเพชร) ซึ่ ง สื บ เชื้ อ สายมาจากพระเจ้า เชี ย งราย
พระเจ้า ศรี วิ ชัย เชี ย งแสนครองเมื อ งเทพมหานคร (อยู่ใ นก าแพงเพชร)
เมื่อสวรรคตแล้ว พระเจ้าอู่ทอง ครองราชสมบัติต่อมาได้ 6 ปี ก็ยายไปสร้าง้
กรุ งศรี อยุธยาเมื่อ พ.ศ. 1893
นักประวัติศาสตร์ หลายท่านเชื่อว่า ขณะที่พระเจ้าอู่ทองทรง
สร้ างกรุ งศรี อยุธยาเป็ นราชธานี น้ ัน พระองค์ทรงมี พ ระบารมี แ ละ
             ่
อานาจอยูมาก และมีกาลังรี้ พลที่เข้มแข็ง พระองค์ทรงราชาภิเษกแล้ว
โปรดเกล้าฯ ให้พระราเมศวรราชโอรสขึ้นไปครองเมืองละโว้ หรื อ
ลพบุรี และโปรดเกล้าฯ ให้ขุนหลวงพะงัวไปครองเมืองสุ พรรณบุรี
                                           ่
แสดงให้เห็ นว่ามิ ได้อพยพมาสร้ างกรุ งศรี อยุธยา เพราะหนี ภยโรค
                                                              ั
ระบาด คือ อหิ วาตกโรค เพราะถ้าหนี ภยมาจริ งๆคงจะสร้างราชธานี
                                         ั
ให้ใหญ่โตเพราะสภาพของการหนี ภยจากโรคระบาดนั้น ผูคนที่รอด
                                       ั                  ้
ชี วิ ต จะมี ไ ม่ ม ากนัก และคงจะมี ส ภาพเสื่ อ มโทรมทางด้า นจิ ต ใจ
                                              ่
และอาหารการกินก็คงอดอยาก รี้ พลคงจะอยูในสภาพกะปลกกะเปลี้ย
ไม่สามารถที่จะแผ่อานาจได้อย่างรวดเร็ ว
นักประวัติศาสตร์บางท่านเชื่อว่าพระเจ้าอู่ทองมิได้อพยพมาจาก
ที่ใด คงจะปกครองเมืองเก่าที่อยู่แถบนั้น ซึ่ งมีชื่อเดิมว่า อโยธยา เพราะ
บริ เวณนั้นเป็ นแหล่งชุมชนหนาแน่ น ข้าวปลาอาหารอุดมสมบูรณ์ และ
ยังเป็ นชุมชนทางการค้าอีกด้วย
ส่ วนนักประวัติศาสตร์ ที่เชื่อว่า พระเจ้าอู่ทองอพยพมาจากเมือง
อื่นๆ ต่างมีความเห็นตรงกันว่าพระเจ้าอู่ทองจะต้องอพยพจากเมืองใหญ่
ที่มีความเข้มแข็ง อาจเป็ นเมืองสุ พรรณภูมิ หรื อ ละโว้กเ็ ป็ นได้
สาเหตุททาให้ สถาปนากรุ งศรีอยุธยาได้ สาเร็จ
                ี่


        พระเจ้าอู่ทองเป็ นเจ้าเมืองที่มีกาลังไพร่ พลมากจึงสามารถทา
การสร้างเมืองขึ้นมาใหม่ได้ เป็ นผลสาเร็ จ
สาเหตุททาให้ สถาปนากรุ งศรีอยุธยาได้ สาเร็จ
                    ี่




       ที่ ต้ ัง ของกรุ ง ศรี อ ยุธ ยาได้เ ปรี ย บมากกว่า กรุ ง สุ โ ขทัย ทั้ง ด้า น
เศรษฐกิจและยุทธศาสตร์
ด้ านเศรษฐกิจ
           บริ เวณที่ต้ งของกรุ งศรี อยุธยามีความอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การ
                        ั
เพาะปลูก เพราะมีแม่น้ าสายสาคัญๆผ่านล้อมรอบราชธานี 3 สาย คือ
แม่น้ าเจ้าพระยา แม่น้ าลพบุรี และแม่น้ าป่ าสัก ส่ งผลให้ตาแหน่งของเมือง
อยู่ใ กล้ปากแม่น้ า จึ งทาให้มีโอกาสติ ดต่อค้าขายกับต่ างชาติ ไ ด้สะดวก
โดยเฉพาะกับจักรวรรดิจีน
ด้ านยุทธศาสตร์
          เนื่ อ งจากการที่ ร อบเมื อ งมี แ ม่ น้ า ไหลผ่า นถึ ง 3 สาย ท าให้
กรุ งศรี อยุธยามีสภาพเป็ นเกาะ มีความมันคง ปลอดจากการรุ กรานจากข้าศึก
                                             ่
ได้ เ ป็ นอย่ า งดี เพราะข้ า ศึ ก จะไม่ ส ามารถบุ ก เข้ า มาในเขตเมื อ งได้
ในฤดู น้ าหลาก เนื่ อ งจากมี น้ าไหลท่ ว มบริ เวณนี้ หมด จะกระท าได้
เฉพาะในหน้าแล้ง
สาเหตุททาให้ สถาปนากรุ งศรีอยุธยาได้ สาเร็จ
               ี่


      ทรงใช้ น โยบายทางการทู ต ท าไมตรี กั บ แคว้ น ใกล้ เ คี ย ง
โดยเฉพาะกับเขมร ทาให้สามารถป้ องกันภัยจากอาณาจักรรอบข้างไปได้
โดยเฉพาะสุ โขทัยที่เริ่ มเสื่ อมอานาจลงไป
ภายหลังการสถาปนากรุ งศรี อยุธยาเป็ นราชธานี พระมหากษัตริ ย ์
แห่ ง กรุ ง ศรี อ ยุธ ยาพยายามสร้ า งความมั่น คงเป็ นปึ กแผ่น ให้แ ก่ อ าณาจัก ร
โดยการดาเนินการทางการเมือง ดังต่อไปนี้
  1. การขยายอานาจไปยังอาณาจักรเขมร
       พ ร ะ เ จ้ า อู่ ท อ ง ไ ด้ ส่ ง ก อ ง ทั พ อ ยุ ธ ย า ไ ป ตี เ ข ม ร 2 ค รั้ ง
           ใน พ.ศ. 1895 และ 1896 ทาให้เขมรเสื่ อมอานาจลง ฝ่ ายไทยจึง
            กวาดต้อนพราหมณ์ในราชสานักเขมรมายังกรุ งศรี อยุธยา ทาให้
            ศิลปวัฒนธรรมเขมรเผยแพร่ ในไทยมากขึ้น
       พระบรมราชาธิราชที่ 2 (สมเด็จพระเจ้าสามพระยา) เขมรต้อง
            ตกเป็ นประเทศราชของไทย ทางอยุธยายินยอมให้เขมรได้
            ปกครองตนเอง โดยส่ งเครื่ องราชบรรณาการมาถวายตาม
            ประเพณี
2. การรวมอาณาจักรสุ โขทัยเข้ าเป็ นส่ วนหนึ่งของอาณาจักรอยุธยา

      สมัยพระเจ้าอู่ทอง กองทัพอยุธยาตี เมืองสรรค์(ชัยนาท) เมืองหน้า -
       ด่านของสุ โขทัยไว้ได้ใน พ .ศ. 1900 แต่พระยาลิไทย กษัตริ ยสุโขทัย
                                                                ์
       ได้ส่งทูตมาเจรจาขอคืน ความสัมพันธ์ระหว่างอาณาจักรทั้งสองยัง
       ดาเนินไปด้วยดี
      สมัยสมเด็จพระบรมราชาธิ ราชที่ 1 (ขุนหลวงพะงัว) ได้ยกกองทัพ
                                                             ่
       ไปตี อ าณาจัก รสุ โ ขทัย หลายครั้ ง ใน พ.ศ. 1921 ได้เ ข้า ยึ ด เมื อ ง
       ก าแพงเพชร (ชากัง ราว) เมื อ งหน้ า ด่ า นของอาณาจัก รสุ โ ขทัย
       พระยาไสยลื อ ไทย กษัต ริ ย ์สุ โ ขทัย ต้อ งยอมอ่ อ นน้อ มไม่ คิ ด ต่ อ สู ้
       ทาให้อยุธยามีอานาจเหนืออาณาจักรสุ โขทัยตั้งแต่บดนั้น โดยยินยอม
                                                           ั
       ให้สุโขทัยปกครองตนเองในฐานะประเทศราช
   สมัยสมเด็จพระนคริ นทราธิราช ได้เสด็จขึ้นมาไกล่เกลี่ยปั ญหาการ
    แย่งชิงราชสมบัติระหว่างพระราชวงศ์ของสุ โขทัยด้วยกัน
    ใน พ.ศ. 1962 จนเหตุการณ์ยติดวยดี ในรัชกาลนี้ สุโขทัยกับอยุธยา
                                    ุ ้
    มี ค วามสั ม พัน ธ์ แ น่ น แฟ้ นกัน มากขึ้ น เมื่ อ มี ก ารอภิ เ ษกสมรส
    ระหว่างเจ้าสามพระยาพระโอรสแห่งกรุ งศรี อยุธยากับพระธิดาแห่ ง
    กรุ งสุ โขทัย
   สมัยพระบรมราชาธิ ราช ที่ 2 (สมเด็จเจ้าสามพระยา) โปรดให้
    พระราชโอรส พระราเมศวรในฐานะที่ ท รงมี เ ชื้ อ สายสุ โ ขทัย
                                                       ่
    ขึ้นปกครองอาณาจักรสุ โขทัย โดยมีศูนย์กลางอยูที่พิษณุโลก ทาให้
    สุ โขทั ย กลาย เ ป็ น ส่ ว น หนึ่ ง ขอ งอ า ณา จั ก รอยุ ธ ย า ตั้ ง แ ต่
    พ.ศ. 1983 เป็ นต้นมา
3. การขยายดินแดนให้ กว้ างขวาง ทาให้ เป็ นศูนย์ กลางอานาจทางการเมือง
   ของคนไทย

        อาณาจั ก รอยุ ธ ยาได้ ข ยายดิ น แดนออกไปอย่ า งกว้ า งขวาง
ครอบคลุมพื้นที่ในเขตที่ราบลุ่มแม่น้ าเจ้าพระยาทั้งตอนบนและตอนล่าง
กลายเป็ นอาณาจัก รของคนไทยที่ เ ข้ม แข็ง ที่ สุ ด และเป็ นศู น ย์ก ลางแห่ ง
อ านาจทางการเมื อ งของคนไทยในสมัย นั้ นอย่ า งแท้จ ริ ง มี อ าณาเขต
ดังต่อไปนี้
ทิศเหนือ : จรดอาณาจักรล้านนา และสุ โขทัย ต่อมาสุ โขทัยถูกผนวกให้เป็ น
           ส่ วนหนึ่ งของอยุธยา ในขณะที่อาณาจักรล้านนาตกอยู่ใต้อานาจ
           ของกรุ งศรี อยุธยาและพม่าสลับกัน
ทิศตะวันออก : จรดอาณาจักรเขมรซึ่ งบางสมัยต้องตกเป็ นประเทศราชของ
             ไทย และบางสมัยก็แข็งเมืองเป็ นอิสระ ไม่ข้ ึนต่อไทย
ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ : จรดอาณาจักรล้านช้าง(อาณาจักรของชนชาติลาว)
ทิศตะวันตก : อยุธยามีอานาจครอบครองอาณาจักรมอญ แถบเมืองหงสาวดี
           เมื องเมาะตะมะ เมื องทวาย เมื องตะนาวศรี และเมื องมะริ ด
           แต่ตองสูญเสี ยให้แก่พม่าในช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ 21
                ้
ทิศใต้ : อยุธยามี อานาจเหนื อแคว้นนครศรี ธรรมราช และหัวเมื องมะลายู
         บางเมือง เช่น ปัตตานี กลันตัน และไทรบุรี เป็ นต้น
รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่ งกรุงศรีอยุธยา

      ต ล อ ด ร ะ ย ะ เ ว ล า 417 ปี ที่ ก รุ ง ศ รี อ ยุ ธ ย า เ ป็ น ร า ช ธ า นี
ของไทย ได้มีพระมหากษัตริ ยปกครอง 5 ราชวงศ์ รวมทั้งสิ้ น 33 พระองค์
                              ์

 1. พระราชวงศ์ อู่ทอง
       - สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระจ้าอู่ทอง) (พ.ศ. 1893 – 1912)
       - สมเด็จพระราเมศวร พ.ศ. 1912 - 1913 และ (พ.ศ. 1931 – 1938)
       - สมเด็จพระรามราชาธิราช (พ.ศ. 1938 – 1952)
2. สุ พรรณภูมิ
        - สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 (ขุนหลวงพ่องัว) ( พ.ศ. 1913 – 1931)
                                                    ่
       - สมเด็จพระเจ้าทองลัน (ทองจันทร์) (พ.ศ. 1931 – 1931)
       - สมเด็จพระอินทราธิราช (เจ้านครอินทร์ ) (พ.ศ. 1952 – 1967)
       - สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) ( พ.ศ. 1967 – 1991)
       - สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ. 1991 – 2031)
       - สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3 (พ.ศ.2031 – 2034)
       - สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 (พ.ศ. 2034 – 2072)
       - สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 4 (หน่อพุทธางกูรหรื อพระอาทิตยวงศ์) (พ.ศ. 2072 – 2076)
       - สมเด็จพระรัษฎาธิราชราชกุมาร (พ.ศ. 2076 – 2077)
       - สมเด็จพระไขยราชาธิราช (พ.ศ. 2077 – 2089)
       - สมเด็จพระยอดฟ้ า (พระแก้วฟ้ า) (พ.ศ. 2089 – 2091)
       - สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ (พ.ศ. 2091 – 2111)
       - สมเด็จพระมหินทราธิราช (พ.ศ. 2111 – 2112)
3. สุ โขทัย
         - สมเด็จพระมหาธรรมราชา (พ.ศ. 2112 – 2133)
         - สมเด็จพระนเรศวรมหาราช (พ.ศ. 2133 – 2148)
         - สมเด็จพระเอกาทศรถ (พ.ศ. 2148 – 2163)
         - สมเด็จพระศรี เสาวภาคย์ (พ.ศ. 2163 – 2163)
         - สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม (พ.ศ. 2163 – 2173)
         - สมเด็จพระเชษฐาธิราช (พ.ศ. 2171 – 2173)
         - สมเด็จพระอาทิตยวงศ์ (พ.ศ. 2173 – 2173)
4. ปราสาททอง
       - สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง (พ.ศ. 2173 – 2198)
       - สมเด็จเจ้าฟ้ าไชย (พ.ศ. 2198 – 2199)
       - สมเด็จพระสุ ธรรมราชา (พ.ศ. 2199 – 2199)
       - สมเด็จพระนารายณ์มหาราช (พ.ศ. 2199 – 2231)




        สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง      สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
5. บ้ านพลูหลวง
        - สมเด็จพระเพทราชา (พ.ศ. 2231 – 2245)
        - สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8 (พระเจ้าเสื อ) (พ.ศ. 2245 – 2252)
        - สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 (พระเจ้าท้ายสระ) (พ.ศ. 2252 – 2275)
                          ่ ั
        - สมเด็จพระเจ้าอยูหวบรมโกศ (พ.ศ. 2275 – 2301)
        - สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร (ขุนหลวงหาวัด) (พ.ศ. 2301 – 2301)
        - สมเด็จพระที่นงสุ ริยาศน์อมริ นทร์ (พระเจ้าเอกทัศ)(พ.ศ. 2301 – 2310)
                       ั่
ธนบุรี
เมื่อพระยาตากกูเ้ อกราชได้สาเร็ จ ได้โปรดให้ขุดพระบรมศพ
พระเจ้าเอกทัศขึ้นมาถวายพระเพลิงอย่างสมพระเกียรติ ประชาชนต่าง
ก็ยอมรับพระเจ้าตากเป็ นพระเจ้าแผ่นดิน จึงได้ทรงปราบดาภิเษก
ขึ้นเป็ นพระมหากษัตริ ย ์ ใน พ.ศ.2311
หลังจากกอบกูเ้ อกราชได้แล้ว สมเด็จพระเจ้าตากสิ นมหาราช
                       ่
ทรงมีพระราชดาริ วา กรุ งศรี อยุธยามีสภาพทรุ ดโทรมมาก ไม่สามารถ
ซ่อมแซมฟื้ นฟูให้กลับคืนสภาพเดิมได้ ปราสาทราชมณเฑียร วัดวา
อารามพัง ย่ อ ยยับ จึ ง ทรงตัด สิ น พระทัย สร้ า งราชธานี ใ หม่ ข้ ึ นที่
เมื องธนบุ รี ซึ่ งมี ขอบเขตของราชธานี ครอบคลุ มสองฝั่ งน้ า โดยมี
แม่น้ าเจ้าพระยาตัดผ่านกลางเมือง
(1) กรุ งศรี อยุธยาชารุ ดเสี ยหายมาก ไม่สามารถบูรณปฏิสังขรณ์ให้
    มีสภาพเหมือนเดิมได้
(2) กาลังพลของพระองค์มีนอย ไม่สามารถรักษากรุ งศรี อยุธยาที่
                        ้
    เป็ นเมืองใหญ่ได้
(3) ข้าศึกรู ้ทิศทางที่จะมาตีกรุ งศรี อยุธยาดีแล้ว
                          ่
(4) กรุ งศรี อยุธยาตั้งอยูไกลจากปากแม่น้ ามากเกินไป ไม่สะดวก
    ต่อการติดต่อค้าขายกับต่างชาติที่มีจานวนเพิมขึ้นเรื่ อย ๆ
                                                ่
(1) กรุ งธนบุรีเป็ นเมืองเล็ก เหมาะต่อการป้ องกันรักษา
                  ั ่
(2) กรุ งธนบุรีต้ งอยูใกล้ปากแม่น้ า ทาให้สะดวกต่อการติดต่อค้าขาย
    กับต่างชาติ และการควบคุมการลาเลียงเสบียงอาหาร
                   ั ่
(3) กรุ งธนบุรีต้ งอยูใกล้ทะเล หากข้าศึกมีแต่ทพบกไม่มีทพเรื อ
                                              ั        ั
    ก็ยากที่จะชนะได้ และห ากตั้งรับไม่ไหวก็สามารถยกพลทางเรื อ
    ไปตั้งรับที่จนทบุรีได้
                 ั
(4) กรุ งธนบุรีเป็ นแหล่งรวมขวัญและกาลังใจของคนได้ดี เพราะ
           ่
    ตั้งอยูไม่ไกลจากกรุ งศรี อยุธยา
พระมหากษัตริย์แห่ งธนบุรี

                สมเด็ จ พระเจ้ า ตากสิ นมหาราช
      พระนามเดิมว่า สิ น ทรงพระราชสมภพ เมื่อปี
      พ.ศ. 2277 พระราชบิ ด ามี บ รรดาศัก ดิ์ เป็ น
      ขุนพัฒน์ พระราชมารดาชื่อ พระราชกรณี ยกิจ
      ของพระองค์ที่สาคัญคือ การรวบรวมความ
      เป็ นปึ กแผ่นของพระราชอาณาจักรจากชุมนุ ม
      ต่ า งๆ ได้ แ ก่ ชุ ม นุ ม เจ้ า พระยาพิ ษ ณุ โ ลก
      ชุมนุมเจ้าพระฝาง ชุมนุมเจ้าพิมาย และชุมนุม
      เจ้านครศรี ธรรมราช และสถาปนากรุ งธนบุรี
      เป็ นราชธานี
เอกสารอ้ างอิง
1. การสถาปนาอยุธยา.[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก
http://vichakarn.triamudom.ac.th/comtech/studentproject/soc/ayuttaya1/content01.htm
2. พระเจ้าอู่ทอง.[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก
http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80
%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%AD%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B8%9
7%E0%B8%AD%E0%B8%87
3. การสถาปนาอยุธยา.[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก http://www.thaigoodview.com/node/66523
4. การสถาปนาอยุธยา.[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก http://www.angelfire.com/hero/ayutthaya/page2.html
5. กรุ งธนบุรี.[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก http://chiraporn.igetweb.com/index.php?mo=3&art=200729
6. กรุ งธนบุรี.[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก http://www.thaigoodview.com/node/20272
7. กรุ งธนบุรี.[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก http://www.thaigoodview.com/node/20272
8. การสถาปนาสุ โขทัย.[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก
http://www.trueplookpanya.com/true/knowledge_detail.php?mul_content_id=1620
9. การสถาปนาสุ โขทัย.[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก http://www.thaigoodview.com/node/43987

More Related Content

What's hot

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นNattha Namm
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยาJulPcc CR
 
หัวข้อที่ ๖ อาณาจักรสุโขทัย
หัวข้อที่ ๖  อาณาจักรสุโขทัยหัวข้อที่ ๖  อาณาจักรสุโขทัย
หัวข้อที่ ๖ อาณาจักรสุโขทัยchakaew4524
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยchatsawat265
 

What's hot (20)

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
 
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจพัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
 
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
 
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
 
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
 
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
 
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
อยุธยา
อยุธยาอยุธยา
อยุธยา
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
การเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทยการเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทย
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรีประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
 
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
หัวข้อที่ ๖ อาณาจักรสุโขทัย
หัวข้อที่ ๖  อาณาจักรสุโขทัยหัวข้อที่ ๖  อาณาจักรสุโขทัย
หัวข้อที่ ๖ อาณาจักรสุโขทัย
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 

Viewers also liked

เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรีเศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
080+hisp4+dltv54+541116+a+สไลด์ การสถาปนาอาณาจักรสุโขทัย (1 หน้า)
080+hisp4+dltv54+541116+a+สไลด์ การสถาปนาอาณาจักรสุโขทัย (1 หน้า)080+hisp4+dltv54+541116+a+สไลด์ การสถาปนาอาณาจักรสุโขทัย (1 หน้า)
080+hisp4+dltv54+541116+a+สไลด์ การสถาปนาอาณาจักรสุโขทัย (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
Conscious Social Networking
Conscious Social NetworkingConscious Social Networking
Conscious Social NetworkingYfke Laanstra
 
Windows xp services
Windows xp servicesWindows xp services
Windows xp servicesproser tech
 
Kammerer Gaze Based Web Search The Impact Of Interface Design On Search Resul...
Kammerer Gaze Based Web Search The Impact Of Interface Design On Search Resul...Kammerer Gaze Based Web Search The Impact Of Interface Design On Search Resul...
Kammerer Gaze Based Web Search The Impact Of Interface Design On Search Resul...Kalle
 
08.03.2015-Ubuntu Server Guide 14.04
08.03.2015-Ubuntu Server Guide 14.0408.03.2015-Ubuntu Server Guide 14.04
08.03.2015-Ubuntu Server Guide 14.04El Alex Andrade
 

Viewers also liked (12)

ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทย
ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทยประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทย
ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทย
 
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรีเศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
 
080+hisp4+dltv54+541116+a+สไลด์ การสถาปนาอาณาจักรสุโขทัย (1 หน้า)
080+hisp4+dltv54+541116+a+สไลด์ การสถาปนาอาณาจักรสุโขทัย (1 หน้า)080+hisp4+dltv54+541116+a+สไลด์ การสถาปนาอาณาจักรสุโขทัย (1 หน้า)
080+hisp4+dltv54+541116+a+สไลด์ การสถาปนาอาณาจักรสุโขทัย (1 หน้า)
 
Wongnai Engineering Story
Wongnai Engineering StoryWongnai Engineering Story
Wongnai Engineering Story
 
Infra for startup
Infra for startupInfra for startup
Infra for startup
 
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
 
กำแพงเบอร น(สมบร ณ_)-1
กำแพงเบอร น(สมบร ณ_)-1กำแพงเบอร น(สมบร ณ_)-1
กำแพงเบอร น(สมบร ณ_)-1
 
สงครามเปอร์เซีย เลขที่ 12 14 ม.62
สงครามเปอร์เซีย เลขที่ 12 14 ม.62สงครามเปอร์เซีย เลขที่ 12 14 ม.62
สงครามเปอร์เซีย เลขที่ 12 14 ม.62
 
Conscious Social Networking
Conscious Social NetworkingConscious Social Networking
Conscious Social Networking
 
Windows xp services
Windows xp servicesWindows xp services
Windows xp services
 
Kammerer Gaze Based Web Search The Impact Of Interface Design On Search Resul...
Kammerer Gaze Based Web Search The Impact Of Interface Design On Search Resul...Kammerer Gaze Based Web Search The Impact Of Interface Design On Search Resul...
Kammerer Gaze Based Web Search The Impact Of Interface Design On Search Resul...
 
08.03.2015-Ubuntu Server Guide 14.04
08.03.2015-Ubuntu Server Guide 14.0408.03.2015-Ubuntu Server Guide 14.04
08.03.2015-Ubuntu Server Guide 14.04
 

Similar to กลุ่ม 1 การสถาปนา

สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัยsangworn
 
111006099222748 13010713133143
111006099222748 13010713133143111006099222748 13010713133143
111006099222748 13010713133143sibsakul jutaphan
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยfernbamoilsong
 
อาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยอาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยkrunrita
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาsangworn
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ยคร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ยปาล์มมี่ ไม่เล่นเกมส์
 
การสถาปนากรุงเทพ
การสถาปนากรุงเทพการสถาปนากรุงเทพ
การสถาปนากรุงเทพPonrawat Jangdee
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Pracha Wongsrida
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยาJulPcc CR
 

Similar to กลุ่ม 1 การสถาปนา (20)

สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัย
 
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
 
111006099222748 13010713133143
111006099222748 13010713133143111006099222748 13010713133143
111006099222748 13010713133143
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
 
พระมหาธรรมราชาที่ 1
พระมหาธรรมราชาที่ 1พระมหาธรรมราชาที่ 1
พระมหาธรรมราชาที่ 1
 
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราชพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
 
อาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยอาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัย
 
ประวัติรัชกาลที่ 3
ประวัติรัชกาลที่ 3ประวัติรัชกาลที่ 3
ประวัติรัชกาลที่ 3
 
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช1
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช1สมเด็จพระนเรศวรมหาราช1
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช1
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
Tonburi
TonburiTonburi
Tonburi
 
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราชพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
 
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
 
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ยคร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
 
การสถาปนากรุงเทพ
การสถาปนากรุงเทพการสถาปนากรุงเทพ
การสถาปนากรุงเทพ
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
 
สมเด็จพระนาราย์มหาราช
สมเด็จพระนาราย์มหาราชสมเด็จพระนาราย์มหาราช
สมเด็จพระนาราย์มหาราช
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand

พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand (20)

กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลินกำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลิน
 
รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social mediaรายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
 
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงานแบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
 
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็มผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
 
O net ม.3
O net ม.3O net ม.3
O net ม.3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
1
11
1
 
การแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาคการแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาค
 

กลุ่ม 1 การสถาปนา

  • 1. การสถาปนา  สุ โขทัย  กรุ งศรี อยุธยา  ธนบุรี
  • 2. จัดทาโดย นายกรวิชญ์ ดอนชัย เลขที่ 1 นายสรณัฐ ใจนันท์ เลขที่ 6 นางสาวชิษณุชา จาอินต๊ะ เลขที่ 15 นางสาวนันท์ภส บุญแรง ั เลขที่ 19 นางสาวภัทรธิดา พรมคา เลขที่ 22 นางสาวสุ ธีรา ขุนนาม เลขที่ 30 นางสาวอมราพร สื บจิตย์ เลขที่ 31 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6/2
  • 3. เสนอ คุณครู สายพิน วงษารัตน์ โรงเรี ยนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2555
  • 5. การสถาปนาสุ โขทัย อาณาจักรสุ โขทัยเป็ นอาณาจักรของคนไทยที่ได้รับการสถาปนา ขึ้ นในพ.ศ.1792 ก่ อนหน้ า ที่ จะมี ก ารสถาปนาอาณาจั ก รสุ โขทั ย ขึ้นนั้น สุ โขทัยเป็ นเมืองเก่าแก่ที่มีความเจริ ญรุ่ งเรื องมาก่อน จากการ ตีความในศิลาจารึ กหลักที่ 2 (วัดศรี ชุม) ความว่า เมืองสุ โขทัยแต่เดิมมีผนา ู้ ชื่อ พ่อขุนศรี นาวนาถม เป็ นเจ้าเมืองปกครองอยู่
  • 6. เมื่อพวกขอมเริ่ มเสื่ อมอานาจลง ในปี พ.ศ. 1780 ได้มีผนา ู้ 2 ท่าน คือ พ่อขุนบางกลางหาว และพ่อขุนผาเมือง ซึ่งเป็ นผูนาคนไทย ้ ได้ร่ วมมื อ กัน รวบรวมก าลัง เข้า ขับ ไล่ ข อมออกจากดิ น แดนแถบนี้ และตั้งตนเป็ นอิ สระ พร้ อมกับสถาปนากรุ งสุ โขทัย เป็ นราชธานี ของอาณาจักรไทย และได้สถาปนาพ่อขุนบางกลางหาวขึ้นเป็ นกษัตริ ย ์ ปกครองกรุ งสุ โขทัยทรงพระนามว่า พ่อขุนศรี อินทราทิตย์ นับเป็ น ปฐมกษัตริ ย แ ห่ งราชวงศ์สุ โขทัย หรื อราชวงศ์พ ระร่ ว ง ์ นับตั้งแต่ พ.ศ. 1792 เป็ นต้นมา พ่ อขุนผาเมือง พ่ อขุนบางกลางหาว
  • 7. 1. ปัจจัยภายใน  การมี ขวัญและกาลังใจดี ของประชาชนเนื่ องจากมี ผูน าที่ ้ เข้มแข็งและมีความสามารถ
  • 8. 2. ปัจจัยภายนอก  การเสื่ อมอานาจของขอม หลังจากที่พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 สิ้ นพระชนม์ลง กษัตริ ยองค์ต่อมาไม่สามารถรักษาอานาจ ์ ของตนในดินแดนที่ยึดครองมาได้ ทาให้หัวเมืองต่างๆ พากัน ตั้งตนเป็ นอิสระ
  • 9. รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่ งสุ โขทัย กรุงสุ โขทัย มีกษัตริย์ปกครอง 9 พระองค์ ดังนี้ 1. พ่อขุนศรี อินทราทิตย์ 2. พ่อขุนบานเมือง 3. พ่อขุนรามคาแหงมหาราช 4. พญาเลอไทย 5. พญางัวนาถม ่ 6. สมเด็จพระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไทย) 7. สมเด็จพระมหาธรรมราชาที่ 2 8. สมเด็จพระมหาธรรมราชาที่ 3 (ไสลือไทย) 9. สมเด็จพระมหาธรรมราชาที่ 4 (บรมปาล)
  • 11. ผู้ก่อตั้งอาณาจักรอยุธยา พระเจ้ าอู่ทอง(สมเด็จพระรามาธิบดีท1) ี่ สมเด็ จ พระเจ้ า อู่ ท อง ทรงเป็ นปฐม กษัตริ ยของกรุ งศรี อยุธยา เสด็จพระราชสมภพ ์ เมื่อปี พ.ศ.1875 ทรงสถาปนาอยุธยาเป็ นราชธานี เมื่ อ ปี พ.ศ.1893 ได้รั บ ถวายพระนามว่ า สมเด็ จ พระรามาธิ บ ดี ศรี สุ น ทรบรมบพิ ต ร ่ ั พระเจ้าอยูหว กรุ งเทพมหานครบวรทวาราวดีศรี - อ ยุ ธ ย า ฯ ท ร ง ค ร อ ง ร า ช ย์ ร ะ ห ว่ า ง ปี พ.ศ.1893-1912 สมเด็จพระเจ้าอู่ทองครองราชย์ ได้ 19 ปี เสด็ จ สวรรคต เมื่ อ ปี พ.ศ.1912 พระชนมายุได้ 55 พรรษา
  • 12. ทีต้งกรุงศรีอยุธยา ่ ั พระเจ้า อู่ ท องก่ อ ตั้ง อาณาจัก รอยุ ธ ยาขึ้ น ณ บริ เวณลุ่ ม แม่ น้ า เจ้า พระยาตอนล่ า ง กรุ ง ศรี อ ยุธ ยามี ค วามเหมาะสมในการเป็ นราชธานี เพราะตั้งอยูในบริ เวณที่ราบลุ่มกว้างใหญ่มีความอุดมสมบูรณ์ เหมาะสาหรับ ่ การเพาะปลูก มีแม่น้ าไหลผ่านถึง 3 สาย คือ แม่น้ าเจ้าพระยา แม่น้ าป่ าสัก และแม่ น้ าลพบุ รี ท าให้ ส ะดวกในการคมนาคม และการติ ด ต่ อ ค้า ขาย นอกจากนี้ ยงสามารถใช้แม่น้ าเป็ นคูเมืองธรรมชาติ ป้ องกันการรุ กรานของ ั ข้าศึกได้เป็ นอย่างดี
  • 13. การสถาปนากรุงศรีอยุธยา ก่อนหน้าที่จะมีอาณาจักรอยุธยานั้น ดิ นแดนที่เป็ นประเทศไทย ปั จ จุ บ ัน นี้ มี ผู ้น าคนไทยตั้ง บ้า นเมื อ งเป็ นอาณาจัก รหลายอาณาจัก ร ที่สาคัญๆ นอกจากสุ โขทัยแล้วก็มีอาณาจักรล้านนา ทางเหนื อ และแคว้น ละโว้กั บ สุ พรรณบุ รี ทางใต้ สั น นิ ษ ฐานว่ า แคว้น ละโว้ และแคว้น สุ พรรณบุรีน้ ีเองที่สนับสนุนให้พระเจ้าอู่ทองสถาปนากรุ งศรี อยุธยาสาเร็ จ
  • 14. พงศาวดารไทยกล่าวถึงเรื่ อง พระเจ้าอู่ทองทรงสร้างกรุ งศรี อยุธยาที่ ่ บริ เวณหนองโสนหรื อบึงพระราม ซึ่ งอยูทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ าเจ้าพระยา เสร็ จใน พ.ศ. 1893 ทรงขนานนาม ราชธานีว่า กรุ งเทพทวารวดีศรี อยุธยา และ เสด็จขึ้นครองราชย์ ทรงพระนามว่า สมเด็จพระรามาธิบดีศรี สุนทรบรมบพิตร เราเรี ยกพระองค์วา สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 หรื อ พระเจ้าอู่ทอง ่
  • 15. ความเป็ นมาของพระเจ้าอู่ทองยังเป็ นเรื่ องคลุมเครื อ เดิ มเคยเชื่ อ กันว่าพระองค์เป็ นเจ้าเมื องอู่ทอง ซึ่ งอยู่ในสุ พรรณบุรี อยู่มาเมื องอู่ทอง เกิ ด กัน ดารน้ าและอหิ ว าตกโรคระบาด จึ ง ย้า ยมา ตั้ง กรุ งศรี อยุ ธ ยา เมื่อ พ.ศ. 1893 แต่จากการที่กอง โบราณคดี กรมศิลปากร ขุดแต่งโบราณ สถานที่เมืองอู่ทองเมื่อ พ.ศ. 2506-2511 พบว่าเมืองอู่ทองร้างไปก่อนตั้ง กรุ งศรี อยุธยาถึง 200ปี จึง เป็ นไปไม่ได้ที่พระเจ้าอู่ทองจะย้ายเมืองจากเมือง อู่ทองไปตั้งกรุ งศรี อยุธยา
  • 16. เรื่ องราวของพระเจ้าอู่ทองอพยพมาจากที่ใดหรื อมีเชื้ อสายมาจาก เมืองใด มีผสนนิษฐานกันต่างๆนานา ดังจะนาเหตุผลมาสรุ ปได้ดงนี้ ู้ ั ั หนั ง สื อ จุ ล ยุ ท ธศาสตร์ การวงศ์ กล่ า วว่ า พระราชบิ ด าของ พระเจ้ า อู่ ท อง คื อ พระเจ้ า ศรี วิ ชั ย เชี ย งแสน เดิ ม ชื่ อ นายแสนปม เพราะร่ างกายเป็ นปุ่ มปมไปทั้งตัว พระราชมารดาเป็ น ราชธิดาของเจ้าเมือง ไตรตรึ ง ส์ (อยู่ใ นก าแพงเพชร) ซึ่ ง สื บ เชื้ อ สายมาจากพระเจ้า เชี ย งราย พระเจ้า ศรี วิ ชัย เชี ย งแสนครองเมื อ งเทพมหานคร (อยู่ใ นก าแพงเพชร) เมื่อสวรรคตแล้ว พระเจ้าอู่ทอง ครองราชสมบัติต่อมาได้ 6 ปี ก็ยายไปสร้าง้ กรุ งศรี อยุธยาเมื่อ พ.ศ. 1893
  • 17. นักประวัติศาสตร์ หลายท่านเชื่อว่า ขณะที่พระเจ้าอู่ทองทรง สร้ างกรุ งศรี อยุธยาเป็ นราชธานี น้ ัน พระองค์ทรงมี พ ระบารมี แ ละ ่ อานาจอยูมาก และมีกาลังรี้ พลที่เข้มแข็ง พระองค์ทรงราชาภิเษกแล้ว โปรดเกล้าฯ ให้พระราเมศวรราชโอรสขึ้นไปครองเมืองละโว้ หรื อ ลพบุรี และโปรดเกล้าฯ ให้ขุนหลวงพะงัวไปครองเมืองสุ พรรณบุรี ่ แสดงให้เห็ นว่ามิ ได้อพยพมาสร้ างกรุ งศรี อยุธยา เพราะหนี ภยโรค ั ระบาด คือ อหิ วาตกโรค เพราะถ้าหนี ภยมาจริ งๆคงจะสร้างราชธานี ั ให้ใหญ่โตเพราะสภาพของการหนี ภยจากโรคระบาดนั้น ผูคนที่รอด ั ้ ชี วิ ต จะมี ไ ม่ ม ากนัก และคงจะมี ส ภาพเสื่ อ มโทรมทางด้า นจิ ต ใจ ่ และอาหารการกินก็คงอดอยาก รี้ พลคงจะอยูในสภาพกะปลกกะเปลี้ย ไม่สามารถที่จะแผ่อานาจได้อย่างรวดเร็ ว
  • 18. นักประวัติศาสตร์บางท่านเชื่อว่าพระเจ้าอู่ทองมิได้อพยพมาจาก ที่ใด คงจะปกครองเมืองเก่าที่อยู่แถบนั้น ซึ่ งมีชื่อเดิมว่า อโยธยา เพราะ บริ เวณนั้นเป็ นแหล่งชุมชนหนาแน่ น ข้าวปลาอาหารอุดมสมบูรณ์ และ ยังเป็ นชุมชนทางการค้าอีกด้วย
  • 19. ส่ วนนักประวัติศาสตร์ ที่เชื่อว่า พระเจ้าอู่ทองอพยพมาจากเมือง อื่นๆ ต่างมีความเห็นตรงกันว่าพระเจ้าอู่ทองจะต้องอพยพจากเมืองใหญ่ ที่มีความเข้มแข็ง อาจเป็ นเมืองสุ พรรณภูมิ หรื อ ละโว้กเ็ ป็ นได้
  • 20. สาเหตุททาให้ สถาปนากรุ งศรีอยุธยาได้ สาเร็จ ี่ พระเจ้าอู่ทองเป็ นเจ้าเมืองที่มีกาลังไพร่ พลมากจึงสามารถทา การสร้างเมืองขึ้นมาใหม่ได้ เป็ นผลสาเร็ จ
  • 21. สาเหตุททาให้ สถาปนากรุ งศรีอยุธยาได้ สาเร็จ ี่ ที่ ต้ ัง ของกรุ ง ศรี อ ยุธ ยาได้เ ปรี ย บมากกว่า กรุ ง สุ โ ขทัย ทั้ง ด้า น เศรษฐกิจและยุทธศาสตร์
  • 22. ด้ านเศรษฐกิจ บริ เวณที่ต้ งของกรุ งศรี อยุธยามีความอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การ ั เพาะปลูก เพราะมีแม่น้ าสายสาคัญๆผ่านล้อมรอบราชธานี 3 สาย คือ แม่น้ าเจ้าพระยา แม่น้ าลพบุรี และแม่น้ าป่ าสัก ส่ งผลให้ตาแหน่งของเมือง อยู่ใ กล้ปากแม่น้ า จึ งทาให้มีโอกาสติ ดต่อค้าขายกับต่ างชาติ ไ ด้สะดวก โดยเฉพาะกับจักรวรรดิจีน
  • 23. ด้ านยุทธศาสตร์ เนื่ อ งจากการที่ ร อบเมื อ งมี แ ม่ น้ า ไหลผ่า นถึ ง 3 สาย ท าให้ กรุ งศรี อยุธยามีสภาพเป็ นเกาะ มีความมันคง ปลอดจากการรุ กรานจากข้าศึก ่ ได้ เ ป็ นอย่ า งดี เพราะข้ า ศึ ก จะไม่ ส ามารถบุ ก เข้ า มาในเขตเมื อ งได้ ในฤดู น้ าหลาก เนื่ อ งจากมี น้ าไหลท่ ว มบริ เวณนี้ หมด จะกระท าได้ เฉพาะในหน้าแล้ง
  • 24. สาเหตุททาให้ สถาปนากรุ งศรีอยุธยาได้ สาเร็จ ี่ ทรงใช้ น โยบายทางการทู ต ท าไมตรี กั บ แคว้ น ใกล้ เ คี ย ง โดยเฉพาะกับเขมร ทาให้สามารถป้ องกันภัยจากอาณาจักรรอบข้างไปได้ โดยเฉพาะสุ โขทัยที่เริ่ มเสื่ อมอานาจลงไป
  • 25. ภายหลังการสถาปนากรุ งศรี อยุธยาเป็ นราชธานี พระมหากษัตริ ย ์ แห่ ง กรุ ง ศรี อ ยุธ ยาพยายามสร้ า งความมั่น คงเป็ นปึ กแผ่น ให้แ ก่ อ าณาจัก ร โดยการดาเนินการทางการเมือง ดังต่อไปนี้ 1. การขยายอานาจไปยังอาณาจักรเขมร  พ ร ะ เ จ้ า อู่ ท อ ง ไ ด้ ส่ ง ก อ ง ทั พ อ ยุ ธ ย า ไ ป ตี เ ข ม ร 2 ค รั้ ง ใน พ.ศ. 1895 และ 1896 ทาให้เขมรเสื่ อมอานาจลง ฝ่ ายไทยจึง กวาดต้อนพราหมณ์ในราชสานักเขมรมายังกรุ งศรี อยุธยา ทาให้ ศิลปวัฒนธรรมเขมรเผยแพร่ ในไทยมากขึ้น  พระบรมราชาธิราชที่ 2 (สมเด็จพระเจ้าสามพระยา) เขมรต้อง ตกเป็ นประเทศราชของไทย ทางอยุธยายินยอมให้เขมรได้ ปกครองตนเอง โดยส่ งเครื่ องราชบรรณาการมาถวายตาม ประเพณี
  • 26. 2. การรวมอาณาจักรสุ โขทัยเข้ าเป็ นส่ วนหนึ่งของอาณาจักรอยุธยา  สมัยพระเจ้าอู่ทอง กองทัพอยุธยาตี เมืองสรรค์(ชัยนาท) เมืองหน้า - ด่านของสุ โขทัยไว้ได้ใน พ .ศ. 1900 แต่พระยาลิไทย กษัตริ ยสุโขทัย ์ ได้ส่งทูตมาเจรจาขอคืน ความสัมพันธ์ระหว่างอาณาจักรทั้งสองยัง ดาเนินไปด้วยดี  สมัยสมเด็จพระบรมราชาธิ ราชที่ 1 (ขุนหลวงพะงัว) ได้ยกกองทัพ ่ ไปตี อ าณาจัก รสุ โ ขทัย หลายครั้ ง ใน พ.ศ. 1921 ได้เ ข้า ยึ ด เมื อ ง ก าแพงเพชร (ชากัง ราว) เมื อ งหน้ า ด่ า นของอาณาจัก รสุ โ ขทัย พระยาไสยลื อ ไทย กษัต ริ ย ์สุ โ ขทัย ต้อ งยอมอ่ อ นน้อ มไม่ คิ ด ต่ อ สู ้ ทาให้อยุธยามีอานาจเหนืออาณาจักรสุ โขทัยตั้งแต่บดนั้น โดยยินยอม ั ให้สุโขทัยปกครองตนเองในฐานะประเทศราช
  • 27. สมัยสมเด็จพระนคริ นทราธิราช ได้เสด็จขึ้นมาไกล่เกลี่ยปั ญหาการ แย่งชิงราชสมบัติระหว่างพระราชวงศ์ของสุ โขทัยด้วยกัน ใน พ.ศ. 1962 จนเหตุการณ์ยติดวยดี ในรัชกาลนี้ สุโขทัยกับอยุธยา ุ ้ มี ค วามสั ม พัน ธ์ แ น่ น แฟ้ นกัน มากขึ้ น เมื่ อ มี ก ารอภิ เ ษกสมรส ระหว่างเจ้าสามพระยาพระโอรสแห่งกรุ งศรี อยุธยากับพระธิดาแห่ ง กรุ งสุ โขทัย  สมัยพระบรมราชาธิ ราช ที่ 2 (สมเด็จเจ้าสามพระยา) โปรดให้ พระราชโอรส พระราเมศวรในฐานะที่ ท รงมี เ ชื้ อ สายสุ โ ขทัย ่ ขึ้นปกครองอาณาจักรสุ โขทัย โดยมีศูนย์กลางอยูที่พิษณุโลก ทาให้ สุ โขทั ย กลาย เ ป็ น ส่ ว น หนึ่ ง ขอ งอ า ณา จั ก รอยุ ธ ย า ตั้ ง แ ต่ พ.ศ. 1983 เป็ นต้นมา
  • 28. 3. การขยายดินแดนให้ กว้ างขวาง ทาให้ เป็ นศูนย์ กลางอานาจทางการเมือง ของคนไทย อาณาจั ก รอยุ ธ ยาได้ ข ยายดิ น แดนออกไปอย่ า งกว้ า งขวาง ครอบคลุมพื้นที่ในเขตที่ราบลุ่มแม่น้ าเจ้าพระยาทั้งตอนบนและตอนล่าง กลายเป็ นอาณาจัก รของคนไทยที่ เ ข้ม แข็ง ที่ สุ ด และเป็ นศู น ย์ก ลางแห่ ง อ านาจทางการเมื อ งของคนไทยในสมัย นั้ นอย่ า งแท้จ ริ ง มี อ าณาเขต ดังต่อไปนี้
  • 29. ทิศเหนือ : จรดอาณาจักรล้านนา และสุ โขทัย ต่อมาสุ โขทัยถูกผนวกให้เป็ น ส่ วนหนึ่ งของอยุธยา ในขณะที่อาณาจักรล้านนาตกอยู่ใต้อานาจ ของกรุ งศรี อยุธยาและพม่าสลับกัน ทิศตะวันออก : จรดอาณาจักรเขมรซึ่ งบางสมัยต้องตกเป็ นประเทศราชของ ไทย และบางสมัยก็แข็งเมืองเป็ นอิสระ ไม่ข้ ึนต่อไทย ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ : จรดอาณาจักรล้านช้าง(อาณาจักรของชนชาติลาว) ทิศตะวันตก : อยุธยามีอานาจครอบครองอาณาจักรมอญ แถบเมืองหงสาวดี เมื องเมาะตะมะ เมื องทวาย เมื องตะนาวศรี และเมื องมะริ ด แต่ตองสูญเสี ยให้แก่พม่าในช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ 21 ้ ทิศใต้ : อยุธยามี อานาจเหนื อแคว้นนครศรี ธรรมราช และหัวเมื องมะลายู บางเมือง เช่น ปัตตานี กลันตัน และไทรบุรี เป็ นต้น
  • 30. รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่ งกรุงศรีอยุธยา ต ล อ ด ร ะ ย ะ เ ว ล า 417 ปี ที่ ก รุ ง ศ รี อ ยุ ธ ย า เ ป็ น ร า ช ธ า นี ของไทย ได้มีพระมหากษัตริ ยปกครอง 5 ราชวงศ์ รวมทั้งสิ้ น 33 พระองค์ ์ 1. พระราชวงศ์ อู่ทอง - สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระจ้าอู่ทอง) (พ.ศ. 1893 – 1912) - สมเด็จพระราเมศวร พ.ศ. 1912 - 1913 และ (พ.ศ. 1931 – 1938) - สมเด็จพระรามราชาธิราช (พ.ศ. 1938 – 1952)
  • 31. 2. สุ พรรณภูมิ - สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 (ขุนหลวงพ่องัว) ( พ.ศ. 1913 – 1931) ่ - สมเด็จพระเจ้าทองลัน (ทองจันทร์) (พ.ศ. 1931 – 1931) - สมเด็จพระอินทราธิราช (เจ้านครอินทร์ ) (พ.ศ. 1952 – 1967) - สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) ( พ.ศ. 1967 – 1991) - สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ. 1991 – 2031) - สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3 (พ.ศ.2031 – 2034) - สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 (พ.ศ. 2034 – 2072) - สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 4 (หน่อพุทธางกูรหรื อพระอาทิตยวงศ์) (พ.ศ. 2072 – 2076) - สมเด็จพระรัษฎาธิราชราชกุมาร (พ.ศ. 2076 – 2077) - สมเด็จพระไขยราชาธิราช (พ.ศ. 2077 – 2089) - สมเด็จพระยอดฟ้ า (พระแก้วฟ้ า) (พ.ศ. 2089 – 2091) - สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ (พ.ศ. 2091 – 2111) - สมเด็จพระมหินทราธิราช (พ.ศ. 2111 – 2112)
  • 32. 3. สุ โขทัย - สมเด็จพระมหาธรรมราชา (พ.ศ. 2112 – 2133) - สมเด็จพระนเรศวรมหาราช (พ.ศ. 2133 – 2148) - สมเด็จพระเอกาทศรถ (พ.ศ. 2148 – 2163) - สมเด็จพระศรี เสาวภาคย์ (พ.ศ. 2163 – 2163) - สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม (พ.ศ. 2163 – 2173) - สมเด็จพระเชษฐาธิราช (พ.ศ. 2171 – 2173) - สมเด็จพระอาทิตยวงศ์ (พ.ศ. 2173 – 2173)
  • 33. 4. ปราสาททอง - สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง (พ.ศ. 2173 – 2198) - สมเด็จเจ้าฟ้ าไชย (พ.ศ. 2198 – 2199) - สมเด็จพระสุ ธรรมราชา (พ.ศ. 2199 – 2199) - สมเด็จพระนารายณ์มหาราช (พ.ศ. 2199 – 2231) สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
  • 34. 5. บ้ านพลูหลวง - สมเด็จพระเพทราชา (พ.ศ. 2231 – 2245) - สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8 (พระเจ้าเสื อ) (พ.ศ. 2245 – 2252) - สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 (พระเจ้าท้ายสระ) (พ.ศ. 2252 – 2275) ่ ั - สมเด็จพระเจ้าอยูหวบรมโกศ (พ.ศ. 2275 – 2301) - สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร (ขุนหลวงหาวัด) (พ.ศ. 2301 – 2301) - สมเด็จพระที่นงสุ ริยาศน์อมริ นทร์ (พระเจ้าเอกทัศ)(พ.ศ. 2301 – 2310) ั่
  • 36. เมื่อพระยาตากกูเ้ อกราชได้สาเร็ จ ได้โปรดให้ขุดพระบรมศพ พระเจ้าเอกทัศขึ้นมาถวายพระเพลิงอย่างสมพระเกียรติ ประชาชนต่าง ก็ยอมรับพระเจ้าตากเป็ นพระเจ้าแผ่นดิน จึงได้ทรงปราบดาภิเษก ขึ้นเป็ นพระมหากษัตริ ย ์ ใน พ.ศ.2311
  • 37. หลังจากกอบกูเ้ อกราชได้แล้ว สมเด็จพระเจ้าตากสิ นมหาราช ่ ทรงมีพระราชดาริ วา กรุ งศรี อยุธยามีสภาพทรุ ดโทรมมาก ไม่สามารถ ซ่อมแซมฟื้ นฟูให้กลับคืนสภาพเดิมได้ ปราสาทราชมณเฑียร วัดวา อารามพัง ย่ อ ยยับ จึ ง ทรงตัด สิ น พระทัย สร้ า งราชธานี ใ หม่ ข้ ึ นที่ เมื องธนบุ รี ซึ่ งมี ขอบเขตของราชธานี ครอบคลุ มสองฝั่ งน้ า โดยมี แม่น้ าเจ้าพระยาตัดผ่านกลางเมือง
  • 38. (1) กรุ งศรี อยุธยาชารุ ดเสี ยหายมาก ไม่สามารถบูรณปฏิสังขรณ์ให้ มีสภาพเหมือนเดิมได้ (2) กาลังพลของพระองค์มีนอย ไม่สามารถรักษากรุ งศรี อยุธยาที่ ้ เป็ นเมืองใหญ่ได้ (3) ข้าศึกรู ้ทิศทางที่จะมาตีกรุ งศรี อยุธยาดีแล้ว ่ (4) กรุ งศรี อยุธยาตั้งอยูไกลจากปากแม่น้ ามากเกินไป ไม่สะดวก ต่อการติดต่อค้าขายกับต่างชาติที่มีจานวนเพิมขึ้นเรื่ อย ๆ ่
  • 39. (1) กรุ งธนบุรีเป็ นเมืองเล็ก เหมาะต่อการป้ องกันรักษา ั ่ (2) กรุ งธนบุรีต้ งอยูใกล้ปากแม่น้ า ทาให้สะดวกต่อการติดต่อค้าขาย กับต่างชาติ และการควบคุมการลาเลียงเสบียงอาหาร ั ่ (3) กรุ งธนบุรีต้ งอยูใกล้ทะเล หากข้าศึกมีแต่ทพบกไม่มีทพเรื อ ั ั ก็ยากที่จะชนะได้ และห ากตั้งรับไม่ไหวก็สามารถยกพลทางเรื อ ไปตั้งรับที่จนทบุรีได้ ั (4) กรุ งธนบุรีเป็ นแหล่งรวมขวัญและกาลังใจของคนได้ดี เพราะ ่ ตั้งอยูไม่ไกลจากกรุ งศรี อยุธยา
  • 40. พระมหากษัตริย์แห่ งธนบุรี สมเด็ จ พระเจ้ า ตากสิ นมหาราช พระนามเดิมว่า สิ น ทรงพระราชสมภพ เมื่อปี พ.ศ. 2277 พระราชบิ ด ามี บ รรดาศัก ดิ์ เป็ น ขุนพัฒน์ พระราชมารดาชื่อ พระราชกรณี ยกิจ ของพระองค์ที่สาคัญคือ การรวบรวมความ เป็ นปึ กแผ่นของพระราชอาณาจักรจากชุมนุ ม ต่ า งๆ ได้ แ ก่ ชุ ม นุ ม เจ้ า พระยาพิ ษ ณุ โ ลก ชุมนุมเจ้าพระฝาง ชุมนุมเจ้าพิมาย และชุมนุม เจ้านครศรี ธรรมราช และสถาปนากรุ งธนบุรี เป็ นราชธานี
  • 41. เอกสารอ้ างอิง 1. การสถาปนาอยุธยา.[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก http://vichakarn.triamudom.ac.th/comtech/studentproject/soc/ayuttaya1/content01.htm 2. พระเจ้าอู่ทอง.[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80 %E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%AD%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B8%9 7%E0%B8%AD%E0%B8%87 3. การสถาปนาอยุธยา.[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก http://www.thaigoodview.com/node/66523 4. การสถาปนาอยุธยา.[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก http://www.angelfire.com/hero/ayutthaya/page2.html 5. กรุ งธนบุรี.[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก http://chiraporn.igetweb.com/index.php?mo=3&art=200729 6. กรุ งธนบุรี.[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก http://www.thaigoodview.com/node/20272 7. กรุ งธนบุรี.[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก http://www.thaigoodview.com/node/20272 8. การสถาปนาสุ โขทัย.[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก http://www.trueplookpanya.com/true/knowledge_detail.php?mul_content_id=1620 9. การสถาปนาสุ โขทัย.[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก http://www.thaigoodview.com/node/43987