SlideShare a Scribd company logo
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
รายวิชาที่นำามาบูรณาการ ภาษาไทย การงานอาชีพและ
เทคโนโลยี สังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม
1. มาตรฐานการเรียนรู้ประจำาหน่วย
มฐ. ส 1.1
2. ตัวชี้วัดชั้นปีที่เกี่ยวข้อง
ส 1.1 ม.4 / 13,15
3. สาระการเรียนรู้
3.1 พระรัตนตรัย
3.2 อริยสัจ 4
1) ทุกข์
- ขันธ์ 5
- นามรูป
2) สมุทัย
- หลักกรรม
- นิยาม 5
- วิตก 3
3) นิโรธ
- ภาวนา 4
4) มรรค
- พระสัทธรรม 3
- ปัญญาวุฒิธรรม 4
- พละ 5
- อุบาสกธรรม
- มงคล 38
- สงเคราะห์บุตร
- สงเคราะห์ภรรยา
- สันโดษ
3.3 ภาษาบาลี
3.4 พุทธศาสนสุภาษิต
3.5 พระไตรปิฎก
3.6 คำาศัพท์ทางพระพุทธศาสนา
4. ร่องรอยการเรียนรู้
4.1 ผลงาน / ชิ้นงาน ได้แก่
1) การศึกษาเรื่อง การวิเคราะห์พระรัตนตรัย
2) การศึกษาเรื่อง อริยสัจ 4
47
3) ผลงานกลุ่มจากการศึกษาเรื่อง ภาษาบาลี
4) ผลงานกลุ่มจากการศึกษาเรื่อง พุทธศาสน
สุภาษิต
5) ผลงานกลุ่มจากการศึกษาเรื่อง คำาศัพท์ทาง
พระพุทธศาสนา
6) ผลงานกลุ่มจากการฟังวิทยากรเรื่อง พระ
ไตรปิฎก
4.2 กระบวนการปฏิบัติงาน ได้แก่
1) มีความรู้ความเข้าใจเรื่อง พระรัตนตรัย
2) มีความรู้ความเข้าใจเรื่อง อริยสัจ 4
3) อ่านและเขียน ภาษาบาลี ได้
4) อ่าน และนำาพุทธศาสนสุภาษิตไปใช้ในการ
ดำาเนินชีวิต
5) มีความรู้ความเข้าใจ ความหมายของคำาศัพท์
ทางพระพุทธศาสนา
6) มีความรู้ความเข้าใจ พระไตรปิฎก
4.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลัง
เรียนจบหน่วยการเรียน
1) แบบทดสอบหลังเรียน
2) การตอบคำาถาม
5. แนวทางการจัดการเรียนรู้ในภาพรวม
ร่องรอยการเรียนรู้
แนวทางการจัดการเรียนรู้
บทบาทครู บทบาท
นักเรียน
5.1 ผลงาน / ชิ้นงาน
1) การศึกษาเรื่อง การ
วิเคราะห์พระรัตนตรัย
2) การศึกษาเรื่อง อริยสัจ
4
3) ผลงานกลุ่มจากการ
ศึกษาเรื่อง ภาษาบาลี
- อธิบาย ยก
ตัวอย่างแบบ
ฝึกทักษะ
- อธิบาย ยก
ตัวอย่าง แบบ
ฝึกทักษะ
- อธิบาย
ตัวอย่าง ฝึก
อ่านและเขียน
- ศึกษาเรียนรู้
รวบรวมข้อมูล
ทำาแบบฝึก
ทักษะ
- ศึกษาเรียนรู้
รวบรวมข้อมูล
ทำาแบบฝึก
ทักษะ
- ศึกษาเรียนรู้
ฝึกอ่าน ทำา
แบบฝึกทักษะ
48
ร่องรอยการเรียนรู้
แนวทางการจัดการเรียนรู้
บทบาทครู บทบาท
นักเรียน
4) ผลงานกลุ่มจากการศึกษา
เรื่อง พุทธ- ศาสนสุภาษิต
5) ผลงานกลุ่มจากการ
ศึกษาเรื่อง คำาศัพท์ทาง
พระพุทธศาสนา
6) ผลงานกลุ่มจากการ
ฟังวิทยากรเรื่อง พระไตรปิฎก
- อธิบาย ยก
ตัวอย่าง ฝึก
อ่านและแปล
แบบฝึกทักษะ
- อธิบาย ยก
ตัวอย่าง
- เชิญ
วิทยากร ตั้ง
คำาถาม
- ศึกษาเรียนรู้
ฝึกอ่าน แปล
ทำาแบบฝึก
ทักษะ
- ศึกษาเรียนรู้
ค้นคว้า แปล
ความหมาย
ทำาแบบฝึก
ทักษะ
- ฟัง สรุป
รวบรวมเป็นรูป
เล่ม ทำาแบบ
ฝึกทักษะ
5.2 การปฏิบัติงาน
1) กิจกรรมกลุ่ม
2) ศึกษาเรียนรู้จากแหล่ง
เรียนรู้ต่าง ๆ
3) สรุปความรู้จากการ
ค้นคว้ารวบรวมเป็น รูปเล่ม /
จัดป้ายนิเทศ
- แนะนำาการ
ปฏิบัติกิจกรรม
กลุ่ม
- เตรียมแหล่ง
เรียนรู้และ
เสนอแนะ
แหล่งเรียนรู้
- เตรียม
ตัวอย่าง ข้อ
เสนอแนะ
- แสดงความ
คิดเห็นและร่วม
ปรึกษา
รวบรวมข้อมูล
- ศึกษา และ
รวบรวมข้อมูล
- สรุปข้อมูล
นำาเสนอ
5.3 การทดสอบวัดผล
สัมฤทธิ์ทางการเรียน
- อธิบายสรุป
เนื้อหาสำาคัญ
เมื่อเรียนจบใน
แต่ละหน่วย
ย่อย
- ทำาแบบฝึก
ทักษะในแต่ละ
หน่วยย่อย
- ทำาแบบ
ทดสอบ หลัง
จบหน่วย
49
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 / 1 เรื่อง พระรัตนตรัย
เวลา 1 ชั่วโมง
1. เป้าหมายการเรียนรู้
1.1 ผลการเรียนรู้
รู้และเข้าใจความหมายของพระรัตนตรัยและสามารถนำา
มาเป็นที่พึ่งของชีวิตได้
1.2 จุดประสงค์การเรียนรู้
วิเคราะห์ความหมาย และบอกคุณค่าของพระพุทธ
ศาสนาได้
2. สาระสำาคัญ
2.1 สาระการเรียนรู้
1) พระรัตนตรัย
2) วิเคราะห์ความหมายและคุณค่าของพระพุทธ
ศาสนา
2.2 ทักษะกระบวนการ
1) ทักษะกระบวนการตามธรรมชาติวิชา
- การศึกษา การปฏิบัติ
2) ทักษะการเรียนรู้ทั่วไป
- กระบวนการกลุ่ม กระบวนการสังเกต
กระบวนการปฏิบัติ
3) ทักษะการคิด
- ทักษะการคิดวิเคราะห์ ทักษะการคิดระบุ และ
ทักษะการคิดสรุปความ
3. ร่องรอยการเรียนรู้
3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน ได้แก่
การศึกษาเรื่อง การวิเคราะห์พระรัตนตรัย
3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน ได้แก่
1) การทำางานกลุ่มจากการศึกษาเรื่อง การ
วิเคราะห์พระรัตนตรัย
50
2) การตอบคำาถามเรื่อง การวิเคราะห์พระรัตนตรัย
3.3 พฤติกรรมลักษณะพึงประสงค์
ความรับผิดชอบ ความเสียสละ ความมีระเบียบ
การตรงต่อเวลา การมีส่วนร่วมจากกระบวนการกลุ่ม
3.4 ด้านความรู้ความเข้าใจ
1) ความเข้าใจของนักเรียนเกี่ยวกับเรื่อง การ
วิเคราะห์พระรัตนตรัย จากการตอบ คำาถาม
2) ความรู้ความเข้าใจของนักเรียนจากการ
ทำางานกลุ่มเรื่อง การวิเคราะห์พระรัตนตรัย
4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล
วิธีการประเมินผล
ด้านผลงาน
- ผลงานกลุ่มจากการศึกษาเรื่อง การวิเคราะห์พระ
รัตนตรัย
ด้านกระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
1) สังเกตพฤติกรรมการทำางานกลุ่มจากการศึกษาเรื่อง การ
วิเคราะห์พระรัตนตรัย
2) สังเกตพฤติกรรมจากการตอบคำาถามเรื่อง การวิเคราะห์
พระรัตนตรัย
ด้านลักษณะพึงประสงค์
- ประเมินผลงานกลุ่มด้านความรับผิดชอบ ความเสียสละ
ความมีระเบียบ
การตรงต่อเวลา การมีส่วนร่วมจากกระบวนการกลุ่ม
ด้านความรู้ความเข้าใจ
1) ประเมินผลสัมฤทธิ์จากการเรียนรู้ด้านความเข้าใจของ
นักเรียนเกี่ยวกับเรื่อง
การวิเคราะห์พระรัตนตรัย จากการตอบคำาถาม
2) ประเมินความรู้ความเข้าใจของนักเรียนจากการทำางาน
กลุ่มเรื่อง การวิเคราะห์
พระรัตนตรัย
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผล
1) แบบประเมินผลงานกลุ่มด้านความรับผิดชอบ ความเสีย
สละ การตรงต่อเวลา
ความมีระเบียบและการมีส่วนร่วม
2) แบบสังเกตพฤติกรรมในกระบวนการทำางานกลุ่ม ในด้าน
การวางแผน การเสนอแนวคิดและข้อคิด เช่น การฟังความคิดเห็น
เป็นต้น
51
3) แบบประเมินการนำาเสนองานในด้านการเตรียมความ
พร้อม เนื้อหาสาระ รูปแบบการนำาเสนอ การมีส่วนร่วมของ
สมาชิกในกลุ่ม การรักษาเวลา และความสนใจของผู้ฟัง
4) แบบทดสอบก่อนเรียน
5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู้
5.1 ขั้นนำา
1) นักเรียนสวดมนต์ก่อนเรียน
2) นักเรียนทำาแบบทดสอบก่อนเรียน
3) ครูสนทนากับนักเรียน
4) พระรัตนตรัยคืออะไร
5) ประกอบไปด้วยอะไรบ้าง
5.2 ขั้นสอน
กิจกรรมการเรียนการสอน ฝึกทักษะการคิดแบบ
1. นักเรียนสวดมนต์แปลบท
บูชาพระรัตนตรัยพร้อมกัน
2. ครูสนทนากับนักเรียน
- ในบทสวดมีข้อความกล่าว
ถึงพระคุณของพระพุทธ พระ
ธรรม พระสงฆ์อย่างไรบ้าง
ทักษะการคิดระบุ
3. นักเรียนแบ่งกลุ่ม 6 กลุ่มตาม
ความสมัครใจ ปฏิบัติดังนี้
3.1 ศึกษาและวิเคราะห์
พุทธคุณ 3 ประการ
3.2 บอกประโยชน์ของ
พุทธคุณ 3
3.3 การนำาไปประยุกต์ใช้
ในการดำาเนินชีวิต
3.4 นำาไปเปรียบเทียบกับ
พุทธคุณ 9
3.5 ยกตัวอย่างประกอบการ
อธิบาย โดยใช้ ภาพข่าว
การกระทำาที่พบเห็นในชีวิต
ประจำาวัน
ทักษะการคิดวิเคราะห์
4. ตัวแทนกลุ่มนำาเสนอหน้าชั้น ทักษะการคิดสรุปความ
52
เรียน ครูและ นักเรียนร่วม
กันสนทนาซักถาม
5. นักเรียนทำาแบบฝึกทักษะ
เรื่อง พระรัตนตรัยร่วมกันเฉลย
5.3 ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปการวิเคราะห์พระรัตนตรัย
และการนำาไปประยุกต์ใช้ในการดำาเนินชีวิต
6. สื่อการเรียนรู้ / แหล่งเรียนรู้
6.1 สื่อการเรียนรู้
1) หนังสือเรียนพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
2) แบบฝึกทักษะเรื่อง พระรัตนตรัย
6.2 แหล่งเรียนรู้
1) ห้องสมุดโรงเรียน
2) ห้องสมุดกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
7. กิจกรรมเสนอแนะ
7.1 กิจกรรมฝึกการคิดวิเคราะห์
นักเรียนจัดทำาเรื่อง พุทธคุณ 3 ลงบนปฏิทินตั้งโต๊ะ
แล้วนำาเสนอคุณครูที่นักเรียนรัก
ขั้นตอนการปฏิบัติ
1. ขั้นรวบรวมข้อมูล
- ศึกษาพุทธคุณ 3 จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ
2. ขั้นวิเคราะห์
- ทำาไมต้องเรียนรู้พุทธคุณ 3
- เรียนรู้แล้วได้ประโยชน์อะไร
3. ขั้นสรุป
- ลงมือประดิษฐ์พุทธคุณ 3 ลงบนปฏิทินตั้งโต๊ะ โดยใช้
วิธีการที่เหมาะสม
4. ขั้นประยุกต์ใช้
- เป็นของขวัญแด่คนที่รัก
7.2 กิจกรรมบูรณาการ
ครูสามารถบูรณาการการเรียนการสอนกับกลุ่มสาระ
การเรียนรู้ภาษาไทย โดยกำาหนดภาระงานเขียนเรียงความเรื่อง
สะอาด สว่าง สงบ
53
ภาระงาน “ เขียนเรียงความเรื่อง สะอาด สว่าง
สงบ ”
การบูรณาการ มฐ. ท 2.1 ม.4 / 2
ผลการเรียนรู้ เขียนเรียงความเรื่อง สะอาด สว่าง สงบ ได้
ผลงานที่ต้องการ เรียงความเรื่อง สะอาด สว่าง สงบ
ขั้นตอนการทำางาน
1. วางโครงเรื่องและศึกษาข้อมูลเพิ่ม
2. เขียนเรียงความตามหัวข้อที่กำาหนด
3. ความยาวตามความเหมาะสม
เกณฑ์การประเมิน
1. ความถูกต้องตามหลักการเขียนเรียงความ
2. ความคิดสร้างสรรค์
3. เนื้อหาสอดคล้องกับชื่อเรื่อง
8. บันทึกสรุปผลการจัดการเรียนการสอน
บันทึกหลังสอน
(บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีข้อมูลสารสนเทศชัดเจน)
ประเด็นการบันทึก จุดเด่น จุดที่ควร
ปรับปรุง
1. การจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้
2. การใช้สื่อการเรียนรู้
3. การประเมินผลการ
เรียนรู้
4. การบรรลุผลการ
เรียนรู้ของผู้เรียน
54
บันทึกเพิ่มเติม
.......................................................................................
.............................................
.......................................................................................
.............................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
...
ล ง ชื่ อ
........................................................................ผู้สอน
ลงชื่อ .............................................
ตำาแหน่ง ........................................
แบบฝึกทักษะ
เรื่อง พระรัตนตรัย
คำาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนเปรียบเทียบพุทธคุณ 9 กับพุทธคุณ 3
พระรัตนตรัย
พระปัญญาธิคุณ พระกรุณาคุณ พระวิสุทธิคุณ
55
บันทึกความเห็นของผู้ตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................
.................................................................................................................................
.........................
นักเรียนศึกษาข่าวและสรุปเรื่องที่มีเนื้อหาแสดงถึงพุทธคุณ 3 ของ
พระพุทธเจ้าที่นำาไปประยุกต์ใช้
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
..................................................................
เฉลยแบบฝึกทักษะ
เรื่อง พระรัตนตรัย
คำาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนเปรียบเทียบพุทธคุณ 9 กับพุทธคุณ 3
พระรัตนตรัย
พระปัญญาธิคุณ พระกรุณาคุณ พระวิสุทธิคุณ
ใช้สมองในการ
ศึกษาจน
ค้นพบความจริง
- สัมมาสัม
เผยแผ่พระพุทธ
ศาสนา
- อนุตตะโร ปุ
หลุดพ้นจากกิเลส
ทั้งปวงอยู่เหนือ
ความดีความชั่ว
ไม่ยึดติด
56
พุทโธ
- โลกะวิทู
- พุทโธ
ริสะทัมมะสาระถิ
- สัตถาเทวะ
มะนุสสานัง
- สุคะโต
- อะระหัง
- วิชชาจะ
ระณะ
สัมปันโน
- ภะคะวา
นักเรียนศึกษาข่าวและสรุปเรื่องที่มีเนื้อหาแสดงถึงพุทธคุณ 3
ของพระพุทธเจ้าที่นำาไปประยุกต์ใช้
( อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน )
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 / 2 เรื่อง อริยสัจ
เวลา 5 ชั่วโมง
1. เป้าหมายการเรียนรู้
1.1 ผลการเรียนรู้
รู้และเข้าใจตระหนักถึงความสำาคัญของอริยสัจ 4 และ
สามารถนำาไปปฏิบัติในชีวิต
ประจำาวันได้
1.2 จุดประสงค์การเรียนรู้
อธิบายความสำาคัญของอริยสัจ 4 และสามารถนำาไป
ปฏิบัติในชีวิตประจำาวันได้
2. สาระสำาคัญ
2.1 สาระการเรียนรู้
• อริยสัจ 4
57
ทุกข์
- ขันธ์ 5
- นามรูป
สมุทัย
- หลักกรรม
- นิยาม 5
- วิตก 3
นิโรธ
- ภาวนา 4
มรรค
- พระสัทธรรม 3
- ปัญญาวุฒิธรรม 4
- พละ 5
- อุบาสกธรรม
- มงคล 38
- สงเคราะห์บุตร
- สงเคราะห์ภรรยา
- สันโดษ
2.2 ทักษะกระบวนการ
1) ทักษะกระบวนการตามธรรมชาติวิชา
- การศึกษา การปฏิบัติ
2) ทักษะกระบวนการทั่วไป
- กระบวนการกลุ่ม กระบวนการสังเกต
กระบวนการปฏิบัติ
3) ทักษะการคิด
- ทักษะการคิดแสดงความคิดเห็น ทักษะการคิด
วิเคราะห์ ทักษะการคิดเชื่อมโยง ทักษะการคิดระบุ และทักษะ
การคิดสร้างสรรค์
3. ร่องรอยการเรียนรู้
3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน
อธิบายความสำาคัญของอริยสัจ 4 และสามารถนำาไป
ปฏิบัติในชีวิตประจำาวันได้
3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
1) การทำางานกลุ่มจากการศึกษาเรื่อง อริยสัจ 4
2) การตอบคำาถามเรื่อง อริยสัจ 4
58
3.3 พฤติกรรมลักษณะพึงประสงค์
- ความรับผิดชอบ ความเสียสละ ความมีระเบียบ การ
ตรงต่อเวลา การมีส่วนร่วมจากกระบวนการกลุ่ม
3.4 ความรู้ความเข้าใจ
1) ความรู้ความเข้าใจของนักเรียนเกี่ยวกับเรื่อง
อริยสัจ 4 จากการตอบคำาถาม
2) ความรู้ความเข้าใจของนักเรียนจากการทำางานกลุ่ม
เรื่อง อริยสัจ 4
4. แนวทางการวัดผลประเมินผล
วิธีการประเมินผล
ด้านผลงาน
- อธิบายความสำาคัญของอริยสัจ 4 และสามารถนำา
ไปปฏิบัติในชีวิตประจำาวันได้
ด้านกระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
1) สังเกตพฤติกรรมการทำางานกลุ่มจากการศึกษาเรื่อง
อริยสัจ 4
2) สังเกตพฤติกรรมจากการตอบคำาถามเรื่อง อริยสัจ 4
ด้านลักษณะพึงประสงค์
- ประเมินผลงานกลุ่มด้านความรับผิดชอบ ความเสียสละ
ความมีระเบียบ การตรงต่อเวลา การมีส่วนร่วมจากกระบวนการ
กลุ่ม
ด้านความรู้ความเข้าใจ
1) ประเมินผลสัมฤทธิ์จากการเรียนรู้ด้านความเข้าใจของ
นักเรียนเกี่ยวกับเรื่อง อริยสัจ 4
จากการตอบคำาถาม
2) ประเมินความรู้ความเข้าใจของนักเรียนจากการทำางาน
กลุ่มเรื่อง อริยสัจ 4
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผล
1) แบบประเมินผลงานกลุ่มด้านความรับผิดชอบ ความเสีย
สละ การตรงต่อเวลา
ความมีระเบียบและการมีส่วนร่วม
2) แบบสังเกตพฤติกรรมในกระบวนการทำางานกลุ่ม ในด้าน
การวางแผน การเสนอแนวคิด
และข้อคิด เช่น การฟังความคิดเห็น เป็นต้น
59
3) แบบประเมินการนำาเสนองานในด้านการเตรียมความ
พร้อม เนื้อหาสาระ รูปแบบการนำา
เสนอ การมีส่วนร่วมของสมาชิกในกลุ่ม การรักษาเวลา และ
ความสนใจของผู้ฟัง
5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู้
5.1 ขั้นนำา
1) นักเรียนสวดมนต์ก่อนเรียน
2) นักเรียนดูภาพ การทะเลาะวิวาทของนักเรียน ครู
ตั้งคำาถาม
- เป็นการกระทำาที่ถูกหรือผิด
- การแก้ปัญหาที่ถูกต้องควรเป็นอย่างไร
5.2 ขั้นสอน
กิจกรรมการเรียนการสอน ฝึกทักษะการคิดแบบ
1. นักเรียนดูวีซีดีการแก้ปัญหา
ของบุคคล หลาย ๆ คน
นักเรียนร่วมกันแสดงความคิด
เห็น
1.1 ใครที่ใช้วิธีการแก้
ปัญหาที่ไม่ถูกต้องและไม่ถูก
ต้องอย่างไร และวิธีที่ถูกต้อง
ควร เป็นอย่างไร
1.2 ใครที่ใช้วิธีการแก้
ทักษะการคิดแสดงความคิดเห็น
60
ปัญหาที่ถูกต้อง และ ใช้วิธีการ
อย่างไร
2. ครูสุ่มถามนักเรียนถึงปัจจัย
ที่ทำาให้คนเราสามารถแก้ปัญหา
ได้ถูกทาง ครูอธิบายเพิ่มเติม
ทักษะการคิดระบุ
3. ครูสนทนากับนักเรียนใน
เรื่องหลักอริยสัจ 4
ในหัวข้อ
- ใช้ในการแก้ปัญหาได้
อย่างไร
ทักษะการคิดแสดงความคิดเห็น
4. ครูให้หัวหน้าชั้นเสนอ
ปัญหา 1 ปัญหา นักเรียน
ในห้องร่วมกันแก้ปัญหาโดยใช้
หลักอริยสัจ 4
ทักษะการคิดแสดงความคิดเห็น
5. นักเรียนแบ่งกลุ่ม 9 กลุ่ม
ปฏิบัติดังนี้
5.1 จับฉลากเลือกหัวข้อ
ธรรมที่ใช้ในการแก้ปัญหาตาม
หลักอริยสัจ โดยใช้หลักธรรม
กลุ่มละ 1 หลักธรรม
5.2 แต่ละกลุ่มศึกษา
1) ความหมาย
2) องค์ประกอบ
3) การนำาไป
ประยุกต์ใช้
4) ใช้กรณีตัวอย่าง
ดังต่อไปนี้
- เหตุการณ์
- บทเพลง
ทักษะการคิดวิเคราะห์
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
กิจกรรมการเรียน
การสอน
ฝึกทักษะการคิด
แบบ
- คำาประพันธ์
- บุคคล
61
- ข่าว
- แบบฝึกหัดท้ายเรื่อง
5.3 การนำาเสนอในรูปสื่อ
อิเล็กทรอนิกส์
6. ตัวแทนกลุ่มนำาเสนอโดยใช้
ห้องศูนย์สื่อ ครูและนักเรียน
ร่วมสนทนาซักถามหลังแต่ละ
กลุ่มนำาเสนอ
7. นักเรียนทำาแบบฝึกหัดจาก
กลุ่มที่นำาเสนอ และร่วมกันเฉลย
5.3 ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเรื่อง อริยสัจ 4 โดยการ
สนทนาซักถาม
6. สื่อการเรียนรู้ / แหล่งเรียนรู้
6.1 สื่อการเรียนรู้
1) หนังสือเรียนพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
2) รูปภาพการทะเลาะวิวาทของนักเรียน
3) วีซีดีเรื่อง วิธีการแก้ปัญหาต่าง ๆ ของคนในสังคม
6.2 แหล่งเรียนรู้
1) ห้องสมุดโรงเรียน
2) ห้องสมุดกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
7. กิจกรรมเสนอแนะ
7.1 กิจกรรมฝึกการคิดวิเคราะห์
นิมนต์พระสงฆ์ / ผู้มีความรู้ในท้องถิ่นมาให้ความรู้เรื่อง
อริยสัจ 4
ขั้นตอนการปฏิบัติ
1. ขั้นรวบรวมข้อมูล
- นิมนต์พระสงฆ์ในท้องถิ่นมาให้ความรู้เรื่อง อริยสัจ 4
2. ขั้นวิเคราะห์
- ใช้แก้ปัญหาต่าง ๆ ได้จริงหรือไม่
- ทำาไมคนส่วนใหญ่จึงไม่นำามาใช้
3. ขั้นสรุป
- ฟังจากพระสงฆ์ สนทนาซักถาม
- บันทึกลงสมุด
62
4. ขั้นประยุกต์ใช้
- เปรียบเทียบกับการใช้หลักธรรมของศาสนาอื่นใน
การแก้ปัญหา
7.2 กิจกรรมบูรณาการ
ครูสามารถบูรณาการการเรียนการสอนกับกลุ่มสาระการ
เรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี โดยกำาหนดภาระงาน โครง
งานคุณธรรมกับการประกอบอาชีพ
ภาระงาน “ โครงงานคุณธรรมกับการประกอบอาชีพ ”
การบูรณาการ มฐ. ง 1.2 ม.4 / 1
ผลการเรียนรู้ เข้าใจการทำาโครงงาน
ผลงานที่ต้องการ โครงงานคุณธรรมกับการประกอบ
อาชีพ
ขั้นตอนการทำางาน
1. ศึกษาการทำาโครงงาน จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ
2. ลงมือทำาโครงงาน
3. นำาเสนอในงานกิจกรรมโรงเรียน
เกณฑ์การประเมิน
1. ความเหมาะสมของแผนการดำาเนินการโครงงาน
2. การดำาเนินงานตามแผนที่กำาหนด
3. ผลสำาเร็จของการทำาโครงงาน
4. แนวทางการนำาเสนอผลการทำาโครงงาน
8. บันทึกสรุปผลการจัดการเรียนการสอน
บันทึกหลังสอน
(บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีข้อมูลสารสนเทศชัดเจน)
63
ประเด็นการบันทึก จุดเด่น จุดที่ควร
ปรับปรุง
1. การจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้
2. การใช้สื่อการเรียนรู้
3. การประเมินผลการ
เรียนรู้
4. การบรรลุผลการ
เรียนรู้ของผู้เรียน
บันทึกเพิ่มเติม
.......................................................................................
.............................................
.......................................................................................
.............................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
...
ล ง ชื่ อ
........................................................................ผู้สอน
ลงชื่อ .............................................
ตำาแหน่ง ........................................
64
บันทึกความเห็นของผู้ตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................
.................................................................................................................................
.........................
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 / 3 เรื่อง ภาษาบาลีและพุทธ
ศาสนสุภาษิต
เวลา 3 ชั่วโมง
1. เป้าหมายการเรียนรู้
1.1 ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
รู้และเข้าใจหลักการอ่านและเขียนภาษาบาลี และ
สามารถอ่าน คำาบาลีในพระไตร-
ปิฎกได้
1.2 จุดประสงค์การเรียนรู้
1) อธิบายวิธีการอ่านและเขียนภาษาบาลีได้
2) อธิบายและวิเคราะห์พุทธศาสนสุภาษิตได้
2. สาระสำาคัญ
2.1 สาระการเรียนรู้
1) ภาษาบาลี
2) พุทธศาสนสุภาษิต
2.2 ทักษะกระบวนการ
1) ทักษะกระบวนการตามธรรมชาติวิชา
- การศึกษา การปฏิบัติ
2) ทักษะกระบวนการทั่วไป
- กระบวนการกลุ่ม กระบวนการสังเกต กระบวนการ
ปฏิบัติ
3) ทักษะการคิด
- ทักษะการคิดเชื่อมโยง ทักษะการคิดนำาเสนอ
ข้อมูล ทักษะการคิดแสดงความคิดเห็น ทักษะการคิดสังเกต และ
ทักษะการคิดระบุ
3. ร่องรอยการเรียนรู้
3.1 ด้านผลงาน / ชิ้นงาน ได้แก่
1) ผลงานกลุ่มจากการศึกษาเรื่อง ภาษาบาลี
2) ผลงานกลุ่มจากการศึกษาเรื่อง พุทธศาสนสุภาษิต
3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน ได้แก่
1) การทำางานกลุ่มจากการศึกษาเรื่อง ภาษาบาลี
2) การทำางานกลุ่มจากการศึกษาเรื่อง พุทธศาสน
สุภาษิต
3) การตอบคำาถามเรื่อง ภาษาบาลี
4) การตอบคำาถามเรื่อง พุทธศาสนสุภาษิต
65
3.3 พฤติกรรมลักษณะพึงประสงค์
ความรับผิดชอบ ความเสียสละ ความมีระเบียบ การ
ตรงต่อเวลา การมีส่วนร่วมจาก
กระบวนการกลุ่ม
3.4 ความรู้ความเข้าใจ
1) การเรียนรู้ด้านความเข้าใจของนักเรียนเกี่ยวกับ
เรื่อง ภาษาบาลี จากการตอบคำาถาม
2) การเรียนรู้ด้านความเข้าใจของนักเรียนเกี่ยวกับ
เรื่อง พุทธศาสนสุภาษิต จากการ
ตอบคำาถาม
3) ความรู้ความเข้าใจของนักเรียนจากการทำางานกลุ่ม
เรื่อง ภาษาบาลี
4) ความรู้ความเข้าใจของนักเรียนจากการทำางานกลุ่ม
เรื่อง พุทธศาสนสุภาษิต
4. แนวทางการวัดผลประเมินผล
วิธีการประเมินผล
ด้านผลงาน
1) ผลงานกลุ่มจากการศึกษาเรื่อง ภาษาบาลี
2) ผลงานกลุ่มจากการศึกษาเรื่อง พุทธศาสนสุภาษิต
ด้านกระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
1) สังเกตพฤติกรรมการทำางานกลุ่มจากการศึกษาเรื่อง
ภาษาบาลี
2) สังเกตพฤติกรรมการทำางานกลุ่มจากการศึกษาเรื่อง
พุทธศาสนสุภาษิต
3) สังเกตพฤติกรรมจากการตอบคำาถามเรื่อง ภาษาบาลี
4) สังเกตพฤติกรรมจากการตอบคำาถามเรื่อง พุทธศาสน
สุภาษิต
ด้านลักษณะพึงประสงค์
- ประเมินผลงานกลุ่มด้านความรับผิดชอบ ความเสียสละ
ความมีระเบียบ การตรงต่อเวลา
การมีส่วนร่วมจากกระบวนการกลุ่ม
ด้านความรู้ความเข้าใจ
1) ประเมินผลสัมฤทธิ์จากการเรียนรู้ด้านความเข้าใจของ
นักเรียนเกี่ยวกับเรื่อง ภาษาบาลี
จากการตอบคำาถาม
2) ประเมินผลสัมฤทธิ์จากการเรียนรู้ด้านความเข้าใจของ
นักเรียนเกี่ยวกับเรื่อง พุทธศาสน-
66
สุภาษิต จากการตอบคำาถาม
3) ประเมินความรู้ความเข้าใจของนักเรียนจากการทำางาน
กลุ่มเรื่อง ภาษาบาลี
4) ประเมินความรู้ความเข้าใจของนักเรียนจากการทำางาน
กลุ่มเรื่อง พุทธศาสนสุภาษิต
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผล
1) แบบประเมินผลงานกลุ่มด้านความรับผิดชอบ ความเสีย
สละ การตรงต่อเวลา
ความมีระเบียบและการมีส่วนร่วม
2) แบบสังเกตพฤติกรรมในกระบวนการทำางานกลุ่ม ในด้าน
การวางแผน การเสนอแนวคิด
และข้อคิด เช่น การฟังความคิดเห็น เป็นต้น
3) แบบประเมินการนำาเสนองานในด้านการเตรียมความ
พร้อม เนื้อหาสาระ รูปแบบการนำา
เสนอ การมีส่วนร่วมของสมาชิกในกลุ่ม การรักษาเวลา และ
ความสนใจของผู้ฟัง
5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู้
5.1 ขั้นนำา
1) นักเรียนสวดมนต์ก่อนเรียน
2) นักเรียน อ่านบัตรคำา “ สวากฺขาโต ภควคา ธมฺโม
” ครูตั้งคำาถาม
- ตัวที่จุดข้างล่างหมายความว่าอย่างไร
5.2 ขั้นสอน
กิจกรรมการเรียนการสอน ฝึกทักษะการคิดแบบ
1. ครูสนทนากับนักเรียนใน
เรื่อง ภาษาบาลีโดยตั้งคำาถาม
- ภาษาบาลีมีความสำาคัญ
อย่างไร
ทักษะการคิดแสดงความคิดเห็น
2. นักเรียนแบ่งกลุ่ม 6 กลุ่ม
ปฏิบัติดังนี้
2.1 ทุกกลุ่มรับหนังสือสวด
มนต์กลุ่มละ 3 เล่ม
ทักษะการคิดเชื่อมโยง
67
2.2 เลือกบทสวดมนต์ที่มี
ความยาวพอประมาณ 1 บท
2.3 เขียนบทสวดมนต์เป็น
ภาษาบาลีและภาษาไทย
กิจกรรมการเรียนการสอน ฝึกทักษะการคิดแบบ
2.4 สรุปหลักการอ่าน
ภาษาบาลีจากบท สวดมนต์ที่
นักเรียนเลือก
2.5 ทุกรายการทำาบน
กระดาษขาวเทา
3. ตัวแทนกลุ่มนำาเสนอผลการ
ศึกษาค้นคว้าหน้าชั้น ครูและ
นักเรียนร่วมกันสนทนาซักถาม
ทักษะการคิดนำาเสนอข้อมูล
4. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุป
เรื่อง ภาษาบาลีโดยใช้เอกสารที่
นำาเรียนนำาเสนอ
5. นักเรียนทำาแบบฝึกทักษะ
เรื่อง ภาษาบาลี ร่วมกันเฉลย
6. ครูยกบัตรคำา “ อตฺตา หิ
อตฺตโนนาโถ ”
ให้นักเรียนอ่าน ครูตั้งคำาถาม
6.1 บัตรคำาที่นักเรียนอ่าน
เรียกว่าอะไร
6.2 มีความหมายว่า
อย่างไร
ทักษะการคิดสังเกต
ทักษะการคิดระบุ
7. นักเรียนแบ่งกลุ่ม 8 กลุ่ม
ปฏิบัติดังนี้
7.1 กลุ่มที่ 1 , 2 ศึกษา
คำา จิตฺตำ ทนฺตำ
สุขาวหำ : จิตที่ฝึกดีแล้วย่อมนำา
ทักษะการคิดเชื่อมโยง
68
ความสุขมาให้
7.2 กลุ่มที่ 3 , 4 ศึกษา
คำา น อุจฺจาวจำ ปณฺฑิตา
ทสฺสยนฺติ : บัณฑิตย่อมไม่แสดง
อาการขึ้น ๆ ลง ๆ
7.3 กลุ่มที่ 5 , 6 ศึกษา
นตฺถิ โลเก อนินฺทิโต :
คนไม่ถูกนินทาไม่มีในโลก
7.4 กลุ่มที่ 7,8 ศึกษา
โกธำ ฆตฺวา สุขำ เสติ : ฆ่า
ความโกรธเสียได้ย่อมอยู่เป็นสุข
โดย
1) เขียนเป็นคำาอ่าน
ภาษาไทย
2) อธิบายความหมาย
ให้ชัดเจน
3) บอกวิธีการนำาเสนอ
กิจกรรมการเรียนการสอน ฝึกทักษะการคิดแบบ
4) ยกตัวอย่างประกอบ
การอธิบาย เช่น
จากนวนิยาย ละคร คำา
ประพันธ์ บทเพลง การ์ตูน
นิทาน เป็นต้น
5) นำาเสนอโดยวิธีการ
ที่หลากหลายและ
กลุ่มที่รับหัวข้อเดียวกันห้ามนำา
เสนอด้วยวิธีเดียวกัน
8. ตัวแทนกลุ่มนำาเสนอผลการ
ศึกษาค้นคว้า หน้าชั้น ครูและ
นักเรียนร่วมกันสนทนาซักถาม
ทักษะการคิดนำาเสนอข้อมูล
9. นักเรียนทำาแบบฝึกทักษะ
เรื่อง พุทธศาสน-สุภาษิต แล้ว
69
ร่วมกันเฉลย
5.3 ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเรื่อง ภาษาบาลีและ
พุทธศาสนสุภาษิต โดยการสนทนา ซักถาม
6. สื่อการเรียนรู้/ แหล่งเรียนรู้
6.1 สื่อการเรียนรู้
1) หนังสือเรียนพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
2) บัตรคำาภาษาบาลี
3) หนังสือสวดมนต์
4) แบบฝึกทักษะเรื่อง ภาษาบาลี
5) บัตรคำาพุทธศาสนสุภาษิต
6) แบบฝึกทักษะเรื่อง พุทธศาสนสุภาษิต
6.2 แหล่งเรียนรู้
1) ห้องสมุดโรงเรียน
2) ห้องสมุดกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
7. กิจกรรมเสนอแนะ
7.1 กิจกรรมฝึกการคิดวิเคราะห์
นักเรียนศึกษาคำาพุทธศาสนสุภาษิตจากแหล่งเรียนรู้อื่น
ที่ไม่ใช่หนังสือ แล้วทำาเป็นหนังสือเล่มเล็ก
ขั้นตอนการปฏิบัติ
1. ขั้นรวบรวมข้อมูล
- ศึกษาคำาพุทธศาสนสุภาษิตจากแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ
2. ขั้นวิเคราะห์
- มีประโยชน์อย่างไร
3. ขั้นสรุป
- จัดทำาเป็นหนังสือเล่มเล็กสำาหรับพกพา
4. ขั้นประยุกต์ใช้
- นำามาจัดมุมความรู้ในชั้นเรียน
7.2 กิจกรรมบูรณาการ
ครูสามารถบูรณาการการเรียนการสอนกับกลุ่มสาระ
การเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระพระพุทธ
ศาสนาโดยกำาหนดภาระงาน เขียนเรียงความแก้กระทู้ธรรมชั้นโท
ภาระงาน “ ”เขียนเรียงความแก้กระทู้ธรรมชั้นโท
การบูรณาการ มฐ. ส 1.3 ม.4 / 1
70
ผลการเรียนรู้ เขียนเรียงความแก้กระทู้ธรรมชั้นโทได้
ผลงานที่ต้องการ เรียงความแก้กระทู้ธรรมชั้นโท
ขั้นตอนการทำางาน
1. ศึกษาวิธีการเขียนเรียงความแก้กระทู้ธรรมกับผู้รู้
2. เขียนเรียงความแก้กระทู้ธรรมชั้นโท
เกณฑ์การประเมิน
1. ความถูกต้องตามหลักการเขียนเรียงความแก้กระทู้ธรรม
2. เนื้อหามีความสอดคล้องกับเรื่องที่กำาหนด
3. รูปแบบการเขียนครบถ้วนและถูกต้อง
8. บันทึกสรุปผลการจัดการเรียนการสอน
บันทึกหลังสอน
(บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีข้อมูลสารสนเทศชัดเจน)
ประเด็นการบันทึก จุดเด่น จุดที่ควร
ปรับปรุง
1. การจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้
2. การใช้สื่อการเรียนรู้
3. การประเมินผลการ
เรียนรู้
4. การบรรลุผลการ
เรียนรู้ของผู้เรียน
71
บันทึกเพิ่มเติม
.......................................................................................
.............................................
.......................................................................................
.............................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
...
ล ง ชื่ อ
........................................................................ผู้สอน
ลงชื่อ .............................................
ตำาแหน่ง ........................................
แบบฝึกทักษะ
เรื่อง ภาษาบาลี
คำาชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาและหาคำาภาษาบาลีและภาษาไทยมา
เติมลงในช่องที่กำาหนดให้
ที่ ภาษาบาลี ภาษาไทย
1 อรหำ อะระหัง
2 สัมมาสัมพุทโธ
3 วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน
4 สุคะโต
5 โลกะวิทู
6 อนุตฺตโร
7
8
72
บันทึกความเห็นของผู้ตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................
.................................................................................................................................
.........................
9
1
0
1
1
1
2
1
3
1
4
1
5
1
6
1
7
1
8
1
9
2
0

เฉลยแบบฝึกทักษะ
เรื่อง ภาษาบาลี
คำาชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาและหาคำาภาษาบาลีและภาษาไทยมา
เติมลงในช่องที่กำาหนดให้
73
ที่ ภาษาบาลี ภาษาไทย
1 อรหำ อะระหัง
2 สมฺมาสมฺพุทฺโธ สัมมาสัมพุทโธ
3 วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน วิชชาจะระณะสัมปันโน
4 สุคโต สุคะโต
5 โลกวิทู โลกะวิทู
6 อนุตฺตโร อะนุตตะโร
แบบฝึกทักษะ
เรื่อง พุทธศาสนสุภาษิต
คำาชี้แจง ให้นักเรียนบันทึกประสบการณ์ที่เกิดจากการนำาพุทธ
ศาสนสุภาษิตไปใช้ในการดำาเนินชีวิต
ท
ีี
ี่
พุทธศาสน
สุภาษิต
ความหมาย การนำาไป
ใช้
ผล
74

เฉลยแบบฝึกทักษะ
เรื่อง พุทธศาสนสุภาษิต
คำาชี้แจง ให้นักเรียนบันทึกประสบการณ์ที่เกิดจากการนำาพุทธ
ศาสนสุภาษิตไปใช้ในการดำาเนินชีวิต
75
ท
ีี
ี่
พุทธศาสน
สุภาษิต
ความหมาย การนำาไป
ใช้
ผล
( อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน )
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 / 4 เรื่อง พระไตรปิฎกและ
คำาศัพท์ทางพระพุทธศาสนา
เวลา 2 ชั่วโมง
1. เป้าหมายการเรียนรู้
1.1 ผลการเรียนรู้
76
รู้และเข้าใจเกี่ยวกับพระไตรปิฎกและคำาศัพท์ทาง
พระพุทธศาสนา
1.2 จุดประสงค์การเรียนรู้
1) บอกความหมายและโครงสร้างของพระไตรปิฎก
และศึกษาพระไตรปิฎกได้
2) อธิบายคำาศัพท์ทางพระพุทธศาสนาได้
2. สาระสำาคัญ
2.1 สาระการเรียนรู้
1) พระไตรปิฎก
2) คำาศัพท์ทางพระพุทธศาสนา
2.2 ทักษะกระบวนการ
1) ทักษะกระบวนการตามธรรมชาติวิชา
- การศึกษา การปฏิบัติ
2) ทักษะกระบวนการทั่วไป
- กระบวนการกลุ่ม กระบวนการสังเกต
กระบวนการปฏิบัติ
3) ทักษะการคิด
- ทักษะการคิดทำาความรู้ให้กระจ่าง ทักษะการ
คิดสรุปความ ทักษะการคิดระบุ และทักษะการคิดนำาเสนอข้อมูล
3. ร่องรอยการเรียนรู้
3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน ได้แก่
1) ผลงานกลุ่มจากการศึกษาเรื่อง คำาศัพท์ทาง
พระพุทธศาสนา
2) ผลงานกลุ่มจากการฟังวิทยากรเรื่อง พระไตรปิฎก
3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน ได้แก่
1) การทำางานกลุ่มจากการศึกษาเรื่อง คำาศัพท์ทาง
พระพุทธศาสนา
2) การฟังวิทยากรเรื่อง พระไตรปิฎก
3) การตอบคำาถามเรื่อง พระไตรปิฎก
4) การตอบคำาถามเรื่อง คำาศัพท์ทางพระพุทธศาสนา
3.3 พฤติกรรมลักษณะพึงประสงค์
ความรับผิดชอบ ความเสียสละ ความมีระเบียบ การ
ตรงต่อเวลา การมีส่วนร่วมจากกระบวนการกลุ่ม
3.4 ความรู้ความเข้าใจ
77
1) ความเข้าใจของนักเรียนเกี่ยวกับเรื่อง พระ
ไตรปิฎก จากการตอบคำาถาม
2) ความรู้ความเข้าใจของนักเรียนจากการทำางานกลุ่ม
เรื่อง คำาศัพท์ทางพระพุทธ-
ศาสนา
4. แนวทางการวัดผลประเมินผล
วิธีการประเมินผล
ด้านผลงาน
1) ผลงานกลุ่มจากการศึกษาเรื่อง คำาศัพท์ทางพระพุทธ
ศาสนา
2) ผลงานกลุ่มจากการฟังวิทยากรเรื่อง พระไตรปิฎก
ด้านกระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
1) สังเกตพฤติกรรมการทำางานกลุ่มจากการศึกษาเรื่อง คำา
ศัพท์ทางพระพุทธศาสนา
2) สังเกตพฤติกรรมการฟังวิทยากรเรื่อง พระไตรปิฎก
3) สังเกตพฤติกรรมจากการตอบคำาถามเรื่อง พระไตรปิฎก
4) สังเกตพฤติกรรมจากการตอบคำาถามเรื่อง คำาศัพท์ทาง
พระพุทธศาสนา
ด้านลักษณะพึงประสงค์
- ประเมินผลงานกลุ่มด้านความรับผิดชอบ ความเสียสละ
ความมีระเบียบ
การตรงต่อเวลา การมีส่วนร่วมจากกระบวนการกลุ่ม
ด้านความรู้ความเข้าใจ
1) ประเมินผลสัมฤทธิ์จากการเรียนรู้ด้านความเข้าใจของ
นักเรียนเกี่ยวกับเรื่อง
พระไตรปิฎก จากการตอบคำาถาม
2) ประเมินความรู้ความเข้าใจของนักเรียนจากการทำางาน
กลุ่มเรื่อง คำาศัพท์ทาง
พระพุทธศาสนา
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผล
1) แบบประเมินผลงานกลุ่มด้านความรับผิดชอบ ความเสีย
สละ การตรงต่อเวลา
ความมีระเบียบและการมีส่วนร่วม
2) แบบสังเกตพฤติกรรมในกระบวนการทำางานกลุ่ม ในด้าน
การวางแผน การเสนอแนวคิด
และข้อคิด เช่น การฟังความคิดเห็น เป็นต้น
78
3) แบบประเมินการนำาเสนองานในด้านการเตรียมความ
พร้อม เนื้อหาสาระ รูปแบบการ
นำาเสนอ การมีส่วนร่วมของสมาชิกในกลุ่ม การรักษาเวลา และ
ความสนใจของผู้ฟัง
5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู้
5.1 ขั้นนำา
1) นักเรียนสวดมนต์ก่อนเรียน
2) ครูนำาหนังสือพระไตรปิฎกมาให้นักเรียนดู
ครูตั้งคำาถาม
- คืออะไร
- มีความสำาคัญอย่างไร
5.2 ขั้นสอน
กิจกรรมการเรียนการสอน ฝึกทักษะการคิดแบบ
1. นิมนต์พระสงฆ์ในท้องถิ่นมา
ให้ความรู้ กับนักเรียนใน
เรื่อง
1.1 พระไตรปิฎก
1.2 คำาศัพท์ทางพระพุทธ
ศาสนา
ทักษะการคิดทำาความรู้ให้
กระจ่าง
2. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุป
เรื่อง พระไตร-ปิฎก
3. นักเรียนทำาแบบฝึกทักษะ
เรื่อง พระไตรปิฎกและร่วมกัน
เฉลย
4. นักเรียนแบ่งกลุ่ม 4 กลุ่ม
ปฏิบัติดังนี้
4.1 ศึกษาคำาศัพท์ทาง
พระพุทธศาสนาจากพระ
ไตรปิฎก กลุ่มละ 20 คำา
4.2 นำาเสนอโดยใช้ป้าย
นิเทศ
ทักษะการคิดระบุ
5. ตัวแทนกลุ่มนำาผลการศึกษา
ติดบอร์ดและร่วมกันศึกษาเรียน
รู้ พร้อมจดบันทึก
ทักษะการคิดนำาเสนอข้อมูล
6. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุป
เรื่อง ความสำาคัญของคำาศัพท์
79
ทางพระพุทธศาสนา
5.3 ขั้นสรุป
1) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเรื่อง หลักธรรม
ทางพระพุทธศาสนาโดยการสนทนา ซักถาม
2) นักเรียนทำาแบบทดสอบหลังเรียน
6. สื่อการเรียนรู้ / แหล่งเรียนรู้
6.1 สื่อการเรียนรู้
1) หนังสือเรียนพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
2) แบบฝึกทักษะเรื่อง พระไตรปิฎก
3) หนังสือพระไตรปิฎก
4) ห้องสมุดโรงเรียน
6.2 แหล่งเรียนรู้
1) ห้องสมุดกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
2) วัด
7. กิจกรรมเสนอแนะ
7.1 กิจกรรมฝึกการคิดวิเคราะห์
นักเรียนจัดป้ายนิเทศการศึกษาพระไตรปิฎกและคัมภีร์
ศาสนาอื่น
ขั้นตอนการปฏิบัติ
1. ขั้นรวบรวมข้อมูล
- ศึกษาข้อมูลวิธีการศึกษาพระไตรปิฎกและคัมภีร์
ศาสนาอื่น
2. ขั้นวิเคราะห์
- มีวิธีการอย่างไร
- มีความเหมือนหรือต่างกันอย่างไร
- ใครเป็นผู้กระทำา
3. ขั้นสรุป
- นำาเสนอข้อมูลสรุปจากการคิดวิเคราะห์บนป้ายนิเทศ
4. ขั้นประยุกต์ใช้
- เขียนเป็นคู่มือการใช้พระไตรปิฎกแจกเพื่อนนักเรียน
7.2 กิจกรรมบูรณาการ
ครูสามารถบูรณาการการเรียนการสอนกับกลุ่มสาระ
การเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระหน้าที่พลเมือง
80
วัฒนธรรมและการดำาเนินชีวิต โดยกำาหนดภาระงาน สัมภาษณ์
บุคคลที่เป็นพลเมืองดีของท้องถิ่น
ภาระงาน “ สัมภาษณ์บุคคลที่เป็นพลเมืองดีของท้องถิ่น ”
การบูรณาการ มฐ. ส 2.1 ม.4 / 2
ผลการเรียนรู้ สัมภาษณ์บุคคลในท้องถิ่นได้
ผลงานที่ต้องการ สัมภาษณ์บุคคลที่เป็นพลเมืองดีของ
ท้องถิ่น 1 คน
ขั้นตอนการทำางาน
1. ศึกษาข้อมูลบุคคลที่เป็นพลเมืองดีของท้องถิ่น 1 คน
2. ลงพื้นที่สัมภาษณ์
3. บันทึกผลเป็นรายงาน
เกณฑ์การประเมิน
1. ความน่าสนใจและความชัดเจนของบทสัมภาษณ์
2. ข้อสรุปจากการสัมภาษณ์มีประโยชน์อย่างไร
81
แบบฝึกทักษะ
เรื่อง พระไตรปิฎก
คำาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนอธิบายโครงสร้างของพระไตรปิฎก
82
พระไตรปิฎก
เฉลยแบบฝึกทักษะ
เรื่อง พระไตรปิฎก
คำาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนอธิบายโครงสร้างของพระไตรปิฎก
83
พระไตรปิฎก
วินัยปิฎก
ประมวลระเบียบ
ข้อบังคับสำาหรับ
ภิกษุและภิกษุณี
สุตตันตปิฎก
ประมวลพระ
ธรรมเทศนา
ประวัติและเรื่อง
ราวต่าง ๆ
อภิธรรมปิฎก
ประมวลหลัก
ธรรมและคำา
อธิบายตามหลัก
วิชาล้วน ๆ
มหาวิภังค์
วินัยที่เป็นหลัก
ของภิกษุ
ภิกขุณีวิภังค์
วินัยที่เป็นหลัก
ของภิกษุณี
มหาวรรค
กำาเนิดภิกษุและ
ระเบียบความ
จุลวรรค
ระเบียบความ
เป็นอยู่และ
กิจการของภิกษุ
เรื่องภิกษุณีและ
ปริวาร คู่มือ
ถามตอบซักซ้อม
ความรู้พระวินัย
ทีฆนิกาย
ชุมนุม พระ
สูตรขนาดยาว
มัชฌิมนิกาย
ชุมนุม พระสูตร
ขนาดกลาง
สังยุตตนิกาย
ชุมนุมพระ-สูตรจัด
เป็นกลุ่มตามเรื่องที่
เกี่ยวข้องกัน
อังคุตตรนิกาย
ชุมนุมพระ-สูตรที่
จัดเป็นหมวดตาม
จำานวนข้อธรรม
ขุททกนิกาย
ชุมนุมพระสูตร
ภาษิต คำาอธิบาย
และเรื่องราว
ธัมมสังคณี แจงนับ
ธรรมที่จัดรวมเป็น
หมวดประเภท
เดียวกัน
วิภังค์ อธิบาย
ธรรมแต่ละเรื่อง
แยกแยะออกชี้แจง
วินิจฉัยโดยละเอียด
ธาตุกถา
สงเคราะห์ข้อธรรม
ต่าง ๆ เข้าในขันธ
อายตนะ ธาตุ
ปุคคลบัญัติ
บัญญัติความหมาย
บุคคลประเภทต่าง
ๆ ตามคุณธรรมที่มี
กถาวัตถุ แถลง
และวินิจฉัยทัศนะ
ของนิกายต่าง ๆ
สมัย
ยมก ยกข้อธรรม
ขึ้นวินิจฉัยโดยตอบ
คำาถามที่ตั้งย้อนกัน
เป็นคู่ ๆ
ปัฏฐาน อธิบาย
ปัจจัยคือลักษณะ
ความสัมพันธ์เนื่อง
อาศัยกัน 24 แบบ
แบบประเมินผลงานกลุ่ม
ชื่อกลุ่ม ...............................................................ชั้น
.........../.........
ที่
พฤติกรรม
ชื่อ - สกุล
ความ
รับผิด
ชอบ
ความ
เสียสละ
การ
ตรงต่อ
เวลา
ความมี
ระเบียบ
ผลการ
ประเมิน
3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1
ลงชื่อ ............................................... ผู้ประเมิน
เกณฑ์การให้คะแนน 3 - ปฏิบัติสมำ่าเสมอ 2 - ปฏิบัติ
เป็นบางครั้ง 1 - ไม่เคยปฏิบัติ
เกณฑ์การตัดสิน
11 - 12 คะแนน ดีมาก
9 - 10 คะแนน ดี
7 - 8 คะแนน พอใช้
ตำ่ากว่า 7 คะแนน ปรับปรุง
84
แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคลของนักเรียนใน
กระบวนการกลุ่ม
ชื่อกลุ่ม ........................................................ เรื่อง
................................................ชั้น .........
ท
ีี
ี่
พฤติกรรม
ชื่อ - สกุล
ความ
ร่วมมือ
การ
แสดง
ความ
คิดเห็น
การ
ยอมรับ
ฟังผู้อื่น
ความ
ตั้งใจ
ผลการ
ประเมิน
3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1
หมายเหตุ ครูมอบให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสังเกตพฤติกรรมในการปฏิบัติ
งานกลุ่มของสมาชิกเป็นรายบุคคล
เกณฑ์การให้คะแนน 3 - ปฏิบัติสมำ่าเสมอ 2 - ปฏิบัติ
เป็นบางครั้ง 1 - ไม่เคยปฏิบัติ
เกณฑ์การตัดสิน
11 - 12 คะแนน ดีมาก
9 - 10 คะแนน ดี
7 - 8 คะแนน พอใช้
85
ตำ่ำกว่ำ 7 คะแนน ปรับปรุง
แบบประเมินกำรนำำเสนอผลงำน
เรื่อง ..............................................................
ชื่อกลุ่ม .....................................................ชั้น
..............................
สมำชิกในกลุ่ม
1. ..........................................................
2. ...........................................................
3. ......................................................
4. ...........................................................
5. ............................................................
ที่ รำยกำรประเมิน
คะแนน
ข้อคิดเห็น3 2 1
1 กำรเตรียมควำมพร้อม
2 เนื้อหำสำระครอบคลุม
ชัดเจน
3 รูปแบบกำรนำำเสนอ
4 กำรมีส่วนร่วมของ
สมำชิกในกลุ่ม
5 กำรรักษำเวลำ
6 ควำมสนใจของผู้ฟัง/ผู้
ชม
รวม
ผู้ประเมิน ...........................................
.........../............/...........
เกณฑ์กำรประเมิน
1. กำรเตรียมควำมพร้อม
3 คะแนน มีกำรจัดเตรียมสถำนที่ สื่อ/ อุปกรณ์ไว้อย่ำง
พร้อมเพรียง
2 คะแนน มีสื่ออุปกรณ์พร้อม แต่ขำดกำรจัดเตรียมสถำนที่
1 คะแนน สื่อและอุปกรณ์ไม่เพียงพอ
86
2. เนื้อหำสำระครอบคลุมชัดเจน
3 คะแนน มีสำระสำำคัญครบถ้วน ตรงตำมจุดประสงค์
2 คะแนน สำระสำำคัญไม่ครบถ้วนแต่ตรงตำมจุดประสงค์
1 คะแนน สำระสำำคัญไม่ตรงตำมจุดประสงค์
3. รูปแบบกำรนำำเสนอ
3 คะแนน มีรูปแบบกำรนำำเสนอที่เหมำะสม มีกำรใช้
เทคนิคที่แปลกใหม่
2 คะแนน มีรูปแบบกำรนำำเสนอที่เหมำะสม น่ำสนใจ
1 คะแนน มีรูปแบบกำรนำำเสนอที่ไม่เหมำะสม ไม่น่ำ
สนใจ
4. กำรมีส่วนร่วมของสมำชิกในกลุ่ม
3 คะแนน สมำชิกทุกคนมีบทบำทและมีส่วนร่วมในกิจกรรม
กลุ่ม
2 คะแนน สมำชิกส่วนใหญ่มีบทบำทและมีส่วนร่วมใน
กิจกรรมกลุ่ม
1 คะแนน สมำชิกส่วนน้อยมีบทบำทและมีส่วนร่วมใน
กิจกรรมกลุ่ม
5. กำรรักษำเวลำ
3 คะแนน ดำำเนินกิจกรรมได้สำำเร็จตำมเวลำที่กำำหนด
2 คะแนน ดำำเนินกิจกรรมเร็วกว่ำเวลำที่กำำหนด
1 คะแนน ดำำเนินกิจกรรมสำำเร็จช้ำกว่ำเวลำที่กำำหนด
6. ควำมสนใจของผู้ฟัง
3 คะแนน ผู้ฟังร้อยละ 90 สนใจและให้ควำมร่วมมือ
2 คะแนน ผู้ฟังร้อยละ 70 สนใจและให้ควำมร่วมมือ
1 คะแนน ผู้ฟังร้อยละ 50 สนใจฟังและให้ควำมร่วมมือ
87
กำรประเมินและสะท้อนตนเองหลังเสร็จสิ้นกำรเรียนใน
หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 2
(Self Reflection)
1. กำรประเมินตนเองของผู้เรียน ให้ดำำเนินกำรดังนี้
1.1 ครูทบทวนผลกำรเรียนรู้ประจำำหน่วยทุกข้อให้
นักเรียนได้ทรำบ โดยอำจเขียนไว้บนกระดำนดำำ พร้อม
ทั้งทบทวนถึงหัวข้อกิจกรรมกำรเรียนว่ำได้เรียนอะไรบ้ำง
1.2 ให้นักเรียนเขียนบันทึกกำรประเมินตนเองไว้ในสมุด
งำนด้ำนหลังตำมหัวข้อ ดังนี้
บันทึกกำรประเมินและสะท้อนตนเองประจำำหน่วย
ที่.....................................
วัน/เดือน/ปี ที่บันทึก
................./...................../....................
รำยกำรบันทึก
1. จำกกำรเรียนที่ผ่ำนมำได้มีควำมรู้อะไรบ้ำง
.............................................................................
.......................................................................
.............................................................................
.......................................................................
2. ปัจจุบันนี้มีควำมสำมำรถปฏิบัติสิ่งใดได้แล้วบ้ำง
.............................................................................
.......................................................................
.............................................................................
.......................................................................
3. สิ่งที่ยังไม่รู้ ไม่กระจ่ำง ไม่เข้ำใจ มีอะไรบ้ำง
.............................................................................
.......................................................................
.............................................................................
.......................................................................
4. ผลงำนหรือชิ้นงำนที่เน้นควำมภำคภูมิใจจำกกำรเรียนใน
หน่วยนี้คืออะไร ทำำไมจึงภำคภูมิใจ
88
.............................................................................
.......................................................................
.............................................................................
.......................................................................
1. กำรพัฒนำกำรเรียนกำรสอนโดยใช้กระบวนกำรวิจัย
ในชั้นเรียนของครู
ชื่ อ เ รื่ อ ง ที่
วิจัย.............................................................
1. ควำมเป็นมำของปัญหำ
สิ่ ง ที่ ค ำ ด
หวัง........................................................................
.......................................................
.............................................................................
.......................................................................
.............................................................................
.......................................................................
สิ่ ง ที่ เ ป็ น
จริง............................................................................
....................................................
.............................................................................
.......................................................................
ปั ญ ห ำ ที่ พ บ
คือ.............................................................................
...............................................
.............................................................................
.......................................................................
ส ำ เ ห ตุ ข อ ง ปั ญ ห ำ
คือ.............................................................................
......................................
.............................................................................
.......................................................................
แ น ว ท ำ ง ก ำ ร แ ก้ ไ ข ปั ญ ห ำ
คือ.............................................................................
...........................
2. วัตถุประสงค์ในกำรแก้ปัญหำ
89
2.1 เพื่อแก้ปัญหำ
เรื่อง............................................................................
..............................
ของนักเรียน
ชั้น................................ห้อง..............จำำนวน........... คน
โดยใช้.......................
.......................................................................
....................................................................
2.2 เพื่อศึกษำผลกำรแก้ไขปัญหำเกี่ยว
กับ...........................................................................
..................................หลังจำกที่ได้ทดลองใช้วิธีแก้
ปัญหำโดย...........................................
3. ขอบเขตของกำรแก้ปัญหำ
3.1 กลุ่มเป้ำหมำยในกำรแก้ปัญหำคือ นักเรียน
ชั้น............... ห้อง............ จำำนวน................คน
ในภำคเรียนที่................. ปีกำรศึกษำ.................. ที่มี
ปัญหำเกี่ยวกับ...................................
3.2 เนื้อหำที่ใช้ในกำรศึกษำคือ
เรื่อง................................. หน่วยกำรเรียน
รู้..............................
วิชำ............................................................................
......................
3.3 ระยะเวลำในกำรศึกษำ ประมำณ................. สัปดำห์/
เดือน ตั้งแต่วันที่ .............................
เดือน...................... พ.ศ. ........... ถึงวันที่
............. เดือน ............................. พ.ศ. ...............
4. วิธีดำำเนินกำรในกำรแก้ไขปัญหำ
4.1 เครื่องมือที่ใช้ในกำรแก้ปัญหำ
คือ..............................................................................
........... ......................................................................
..............................................................................
ซึ่งมีขั้นตอนในกำรสร้ำงและพัฒนำ
ดังนี้............................................................................
.
.............................................................................
.......................................................................
90
.............................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.........................................................
4.2 เครื่องมือที่ใช้ในกำรเก็บรวบรวมข้อมูล
คือ.........................................................................
.
.............................................................................
.......................................................................
ซึ่งมีขั้นตอนในกำรสร้ำงและตรวจสอบคุณภำพ
ดังนี้...........................................................
.............................................................................
.......................................................................
.............................................................................
.......................................................................
.............................................................................
......................................................................
4.3 กำรเก็บรวบรวมข้อมูล ได้ดำำเนินกำรเก็บรวบรวมข้อมูล
ตำมวิธีกำร ดังนี้
1) นำำเครื่องมือที่ใช้ในกำรแก้ปัญหำไปทดลองใช้กับ
นักเรียนในเวลำ.............................
โดย....................................................................
..........................................................
........................................................................
..........................................................................
........................................................................
..........................................................................
2) นำำเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลไปเก็บข้อมูลเกี่ยว
กับ.....................................................
โดย............................................................................
...................................................
91
4.4 กำรวิเครำะห์ข้อมูลและกำรสรุปผล ได้ดำำเนินกำร
วิเครำะห์ข้อมูลและสรุปผล ดังนี้............
.............................................................................
.......................................................................
.............................................................................
.......................................................................
.............................................................................
.......................................................................
5. ผลกำรแก้ปัญหำ
ผลกำรแก้ปัญหำเกี่ยว
กับ..............................................................................
...............................
ของนักเรียนกลุ่มเป้ำหมำย ปรำกฏผลดังนี้
.................................................................................
.............................................................................
.......................................................................
.............................................................................
.......................................................................
.............................................................................
.......................................................................
.............................................................................
.......................................................................
.............................................................................
.......................................................................
.............................................................................
.......................................................................
92
แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง หลักธรรมทำงพระพุทธศำสนำ
คำำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว
1. คำำว่ำ “ ”พุทธ แปลว่ำอะไร
ก. พระผู้มีพระภำคเจ้ำ
ข. เป็นพระอรหันต์
ค. ผู้ตรัสรู้เอง
ง. ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบำน
2. หลักธรรมใดที่พระพุทธเจ้ำทรงใช้สั่งสอนมำกที่สุด
ก. สติ - สัมปชัญญะ
ข. อริยสัจ 4
ค. ฆรำวำสธรรม
ง. สังคหวัตถุ 4
3. ควำมอยำกมี อยำกเป็น เป็นตัณหำใด
ก. ภวตัณหำ
ข. กำมตัณหำ
ค. วิภำวตัณหำ
ง. นิโรธตัณหำ
4. สัมมำวำยำมะแปลว่ำอะไร
ก. มำนีรับจ้ำงขำยของที่ตลำด
ข. มำนะถีบสำมล้อรับจ้ำง
ค. สุนีย์พยำยำมร้อยสำยสร้อยให้แม่ในวันแม่
ง. สำยใยตั้งใจฝึกสมำธิเพื่อรักษำสุขภำพ
5. ยำยมียังจำำได้ว่ำเคยกรำบหลวงพ่อขอมตอนท่ำนยังมีชีวิตอยู่
ในงำนวัดไผ่โรงวัว ตรงกับควำม
หมำยข้อใด
ก. สังขำร
ข. รูป
ค. เวทนำ
ง. สัญญำ
6. ขันธ์ 5 ประด้วยหัวข้อใดบ้ำง
93
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2

More Related Content

What's hot

การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนkrupornpana55
 
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐานPochchara Tiamwong
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้aumkpru45
 
การจัดการเรียนการสอนที่มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
การจัดการเรียนการสอนที่มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์การจัดการเรียนการสอนที่มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
การจัดการเรียนการสอนที่มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์Jintana Kujapan
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
Lamai Fungcholjitt
 
Foreign55
Foreign55Foreign55
Foreign55krutip
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
somdetpittayakom school
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stadnangnut
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
Boonlert Aroonpiboon
 
การประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติการประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติ
NU
 
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]Siriphan Kristiansen
 
คู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
คู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนคู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
คู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนKrooIndy Csaru
 
Sufficiency55
Sufficiency55Sufficiency55
Sufficiency55wongsrida
 
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริงเอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
talktomongkol
 

What's hot (18)

การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
 
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
การจัดการเรียนการสอนที่มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
การจัดการเรียนการสอนที่มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์การจัดการเรียนการสอนที่มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
การจัดการเรียนการสอนที่มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
 
Foreign55
Foreign55Foreign55
Foreign55
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
 
หน่วยที่๑๐
หน่วยที่๑๐หน่วยที่๑๐
หน่วยที่๑๐
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
 
การประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติการประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติ
 
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
 
คู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
คู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนคู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
คู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
 
Sufficiency55
Sufficiency55Sufficiency55
Sufficiency55
 
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริงเอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
หน่วยที่๗
หน่วยที่๗หน่วยที่๗
หน่วยที่๗
 
หน่วยที่๖
หน่วยที่๖หน่วยที่๖
หน่วยที่๖
 

Similar to Unit2

แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
Mko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยาMko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยา
Nanzzy Sutthanont
 
มคอ.3 professional guide
มคอ.3 professional guideมคอ.3 professional guide
มคอ.3 professional guidechickyshare
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01witthawat silad
 
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)ชนาธิป ศรีโท
 
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogangแผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
Wichai Likitponrak
 
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยาMko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Nanzzy Sutthanont
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1dechathon
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4dechathon
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02witthawat silad
 
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนหลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนPitima Boonprasit
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
guest5660a9a
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
pornpimonnuy
 

Similar to Unit2 (20)

แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
 
Mko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยาMko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยา
 
มคอ.3 professional guide
มคอ.3 professional guideมคอ.3 professional guide
มคอ.3 professional guide
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
 
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
 
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogangแผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
 
Pcm
PcmPcm
Pcm
 
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยาMko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
 
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนหลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
หน่วยที่๘
หน่วยที่๘หน่วยที่๘
หน่วยที่๘
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
 

Unit2

  • 1. หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา รายวิชาที่นำามาบูรณาการ ภาษาไทย การงานอาชีพและ เทคโนโลยี สังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม 1. มาตรฐานการเรียนรู้ประจำาหน่วย มฐ. ส 1.1 2. ตัวชี้วัดชั้นปีที่เกี่ยวข้อง ส 1.1 ม.4 / 13,15 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 พระรัตนตรัย 3.2 อริยสัจ 4 1) ทุกข์ - ขันธ์ 5 - นามรูป 2) สมุทัย - หลักกรรม - นิยาม 5 - วิตก 3 3) นิโรธ - ภาวนา 4 4) มรรค - พระสัทธรรม 3 - ปัญญาวุฒิธรรม 4 - พละ 5 - อุบาสกธรรม - มงคล 38 - สงเคราะห์บุตร - สงเคราะห์ภรรยา - สันโดษ 3.3 ภาษาบาลี 3.4 พุทธศาสนสุภาษิต 3.5 พระไตรปิฎก 3.6 คำาศัพท์ทางพระพุทธศาสนา 4. ร่องรอยการเรียนรู้ 4.1 ผลงาน / ชิ้นงาน ได้แก่ 1) การศึกษาเรื่อง การวิเคราะห์พระรัตนตรัย 2) การศึกษาเรื่อง อริยสัจ 4 47
  • 2. 3) ผลงานกลุ่มจากการศึกษาเรื่อง ภาษาบาลี 4) ผลงานกลุ่มจากการศึกษาเรื่อง พุทธศาสน สุภาษิต 5) ผลงานกลุ่มจากการศึกษาเรื่อง คำาศัพท์ทาง พระพุทธศาสนา 6) ผลงานกลุ่มจากการฟังวิทยากรเรื่อง พระ ไตรปิฎก 4.2 กระบวนการปฏิบัติงาน ได้แก่ 1) มีความรู้ความเข้าใจเรื่อง พระรัตนตรัย 2) มีความรู้ความเข้าใจเรื่อง อริยสัจ 4 3) อ่านและเขียน ภาษาบาลี ได้ 4) อ่าน และนำาพุทธศาสนสุภาษิตไปใช้ในการ ดำาเนินชีวิต 5) มีความรู้ความเข้าใจ ความหมายของคำาศัพท์ ทางพระพุทธศาสนา 6) มีความรู้ความเข้าใจ พระไตรปิฎก 4.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลัง เรียนจบหน่วยการเรียน 1) แบบทดสอบหลังเรียน 2) การตอบคำาถาม 5. แนวทางการจัดการเรียนรู้ในภาพรวม ร่องรอยการเรียนรู้ แนวทางการจัดการเรียนรู้ บทบาทครู บทบาท นักเรียน 5.1 ผลงาน / ชิ้นงาน 1) การศึกษาเรื่อง การ วิเคราะห์พระรัตนตรัย 2) การศึกษาเรื่อง อริยสัจ 4 3) ผลงานกลุ่มจากการ ศึกษาเรื่อง ภาษาบาลี - อธิบาย ยก ตัวอย่างแบบ ฝึกทักษะ - อธิบาย ยก ตัวอย่าง แบบ ฝึกทักษะ - อธิบาย ตัวอย่าง ฝึก อ่านและเขียน - ศึกษาเรียนรู้ รวบรวมข้อมูล ทำาแบบฝึก ทักษะ - ศึกษาเรียนรู้ รวบรวมข้อมูล ทำาแบบฝึก ทักษะ - ศึกษาเรียนรู้ ฝึกอ่าน ทำา แบบฝึกทักษะ 48
  • 3. ร่องรอยการเรียนรู้ แนวทางการจัดการเรียนรู้ บทบาทครู บทบาท นักเรียน 4) ผลงานกลุ่มจากการศึกษา เรื่อง พุทธ- ศาสนสุภาษิต 5) ผลงานกลุ่มจากการ ศึกษาเรื่อง คำาศัพท์ทาง พระพุทธศาสนา 6) ผลงานกลุ่มจากการ ฟังวิทยากรเรื่อง พระไตรปิฎก - อธิบาย ยก ตัวอย่าง ฝึก อ่านและแปล แบบฝึกทักษะ - อธิบาย ยก ตัวอย่าง - เชิญ วิทยากร ตั้ง คำาถาม - ศึกษาเรียนรู้ ฝึกอ่าน แปล ทำาแบบฝึก ทักษะ - ศึกษาเรียนรู้ ค้นคว้า แปล ความหมาย ทำาแบบฝึก ทักษะ - ฟัง สรุป รวบรวมเป็นรูป เล่ม ทำาแบบ ฝึกทักษะ 5.2 การปฏิบัติงาน 1) กิจกรรมกลุ่ม 2) ศึกษาเรียนรู้จากแหล่ง เรียนรู้ต่าง ๆ 3) สรุปความรู้จากการ ค้นคว้ารวบรวมเป็น รูปเล่ม / จัดป้ายนิเทศ - แนะนำาการ ปฏิบัติกิจกรรม กลุ่ม - เตรียมแหล่ง เรียนรู้และ เสนอแนะ แหล่งเรียนรู้ - เตรียม ตัวอย่าง ข้อ เสนอแนะ - แสดงความ คิดเห็นและร่วม ปรึกษา รวบรวมข้อมูล - ศึกษา และ รวบรวมข้อมูล - สรุปข้อมูล นำาเสนอ 5.3 การทดสอบวัดผล สัมฤทธิ์ทางการเรียน - อธิบายสรุป เนื้อหาสำาคัญ เมื่อเรียนจบใน แต่ละหน่วย ย่อย - ทำาแบบฝึก ทักษะในแต่ละ หน่วยย่อย - ทำาแบบ ทดสอบ หลัง จบหน่วย 49
  • 4. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 / 1 เรื่อง พระรัตนตรัย เวลา 1 ชั่วโมง 1. เป้าหมายการเรียนรู้ 1.1 ผลการเรียนรู้ รู้และเข้าใจความหมายของพระรัตนตรัยและสามารถนำา มาเป็นที่พึ่งของชีวิตได้ 1.2 จุดประสงค์การเรียนรู้ วิเคราะห์ความหมาย และบอกคุณค่าของพระพุทธ ศาสนาได้ 2. สาระสำาคัญ 2.1 สาระการเรียนรู้ 1) พระรัตนตรัย 2) วิเคราะห์ความหมายและคุณค่าของพระพุทธ ศาสนา 2.2 ทักษะกระบวนการ 1) ทักษะกระบวนการตามธรรมชาติวิชา - การศึกษา การปฏิบัติ 2) ทักษะการเรียนรู้ทั่วไป - กระบวนการกลุ่ม กระบวนการสังเกต กระบวนการปฏิบัติ 3) ทักษะการคิด - ทักษะการคิดวิเคราะห์ ทักษะการคิดระบุ และ ทักษะการคิดสรุปความ 3. ร่องรอยการเรียนรู้ 3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน ได้แก่ การศึกษาเรื่อง การวิเคราะห์พระรัตนตรัย 3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน ได้แก่ 1) การทำางานกลุ่มจากการศึกษาเรื่อง การ วิเคราะห์พระรัตนตรัย 50
  • 5. 2) การตอบคำาถามเรื่อง การวิเคราะห์พระรัตนตรัย 3.3 พฤติกรรมลักษณะพึงประสงค์ ความรับผิดชอบ ความเสียสละ ความมีระเบียบ การตรงต่อเวลา การมีส่วนร่วมจากกระบวนการกลุ่ม 3.4 ด้านความรู้ความเข้าใจ 1) ความเข้าใจของนักเรียนเกี่ยวกับเรื่อง การ วิเคราะห์พระรัตนตรัย จากการตอบ คำาถาม 2) ความรู้ความเข้าใจของนักเรียนจากการ ทำางานกลุ่มเรื่อง การวิเคราะห์พระรัตนตรัย 4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล วิธีการประเมินผล ด้านผลงาน - ผลงานกลุ่มจากการศึกษาเรื่อง การวิเคราะห์พระ รัตนตรัย ด้านกระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1) สังเกตพฤติกรรมการทำางานกลุ่มจากการศึกษาเรื่อง การ วิเคราะห์พระรัตนตรัย 2) สังเกตพฤติกรรมจากการตอบคำาถามเรื่อง การวิเคราะห์ พระรัตนตรัย ด้านลักษณะพึงประสงค์ - ประเมินผลงานกลุ่มด้านความรับผิดชอบ ความเสียสละ ความมีระเบียบ การตรงต่อเวลา การมีส่วนร่วมจากกระบวนการกลุ่ม ด้านความรู้ความเข้าใจ 1) ประเมินผลสัมฤทธิ์จากการเรียนรู้ด้านความเข้าใจของ นักเรียนเกี่ยวกับเรื่อง การวิเคราะห์พระรัตนตรัย จากการตอบคำาถาม 2) ประเมินความรู้ความเข้าใจของนักเรียนจากการทำางาน กลุ่มเรื่อง การวิเคราะห์ พระรัตนตรัย เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผล 1) แบบประเมินผลงานกลุ่มด้านความรับผิดชอบ ความเสีย สละ การตรงต่อเวลา ความมีระเบียบและการมีส่วนร่วม 2) แบบสังเกตพฤติกรรมในกระบวนการทำางานกลุ่ม ในด้าน การวางแผน การเสนอแนวคิดและข้อคิด เช่น การฟังความคิดเห็น เป็นต้น 51
  • 6. 3) แบบประเมินการนำาเสนองานในด้านการเตรียมความ พร้อม เนื้อหาสาระ รูปแบบการนำาเสนอ การมีส่วนร่วมของ สมาชิกในกลุ่ม การรักษาเวลา และความสนใจของผู้ฟัง 4) แบบทดสอบก่อนเรียน 5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู้ 5.1 ขั้นนำา 1) นักเรียนสวดมนต์ก่อนเรียน 2) นักเรียนทำาแบบทดสอบก่อนเรียน 3) ครูสนทนากับนักเรียน 4) พระรัตนตรัยคืออะไร 5) ประกอบไปด้วยอะไรบ้าง 5.2 ขั้นสอน กิจกรรมการเรียนการสอน ฝึกทักษะการคิดแบบ 1. นักเรียนสวดมนต์แปลบท บูชาพระรัตนตรัยพร้อมกัน 2. ครูสนทนากับนักเรียน - ในบทสวดมีข้อความกล่าว ถึงพระคุณของพระพุทธ พระ ธรรม พระสงฆ์อย่างไรบ้าง ทักษะการคิดระบุ 3. นักเรียนแบ่งกลุ่ม 6 กลุ่มตาม ความสมัครใจ ปฏิบัติดังนี้ 3.1 ศึกษาและวิเคราะห์ พุทธคุณ 3 ประการ 3.2 บอกประโยชน์ของ พุทธคุณ 3 3.3 การนำาไปประยุกต์ใช้ ในการดำาเนินชีวิต 3.4 นำาไปเปรียบเทียบกับ พุทธคุณ 9 3.5 ยกตัวอย่างประกอบการ อธิบาย โดยใช้ ภาพข่าว การกระทำาที่พบเห็นในชีวิต ประจำาวัน ทักษะการคิดวิเคราะห์ 4. ตัวแทนกลุ่มนำาเสนอหน้าชั้น ทักษะการคิดสรุปความ 52
  • 7. เรียน ครูและ นักเรียนร่วม กันสนทนาซักถาม 5. นักเรียนทำาแบบฝึกทักษะ เรื่อง พระรัตนตรัยร่วมกันเฉลย 5.3 ขั้นสรุป ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปการวิเคราะห์พระรัตนตรัย และการนำาไปประยุกต์ใช้ในการดำาเนินชีวิต 6. สื่อการเรียนรู้ / แหล่งเรียนรู้ 6.1 สื่อการเรียนรู้ 1) หนังสือเรียนพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 2) แบบฝึกทักษะเรื่อง พระรัตนตรัย 6.2 แหล่งเรียนรู้ 1) ห้องสมุดโรงเรียน 2) ห้องสมุดกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 7. กิจกรรมเสนอแนะ 7.1 กิจกรรมฝึกการคิดวิเคราะห์ นักเรียนจัดทำาเรื่อง พุทธคุณ 3 ลงบนปฏิทินตั้งโต๊ะ แล้วนำาเสนอคุณครูที่นักเรียนรัก ขั้นตอนการปฏิบัติ 1. ขั้นรวบรวมข้อมูล - ศึกษาพุทธคุณ 3 จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ 2. ขั้นวิเคราะห์ - ทำาไมต้องเรียนรู้พุทธคุณ 3 - เรียนรู้แล้วได้ประโยชน์อะไร 3. ขั้นสรุป - ลงมือประดิษฐ์พุทธคุณ 3 ลงบนปฏิทินตั้งโต๊ะ โดยใช้ วิธีการที่เหมาะสม 4. ขั้นประยุกต์ใช้ - เป็นของขวัญแด่คนที่รัก 7.2 กิจกรรมบูรณาการ ครูสามารถบูรณาการการเรียนการสอนกับกลุ่มสาระ การเรียนรู้ภาษาไทย โดยกำาหนดภาระงานเขียนเรียงความเรื่อง สะอาด สว่าง สงบ 53
  • 8. ภาระงาน “ เขียนเรียงความเรื่อง สะอาด สว่าง สงบ ” การบูรณาการ มฐ. ท 2.1 ม.4 / 2 ผลการเรียนรู้ เขียนเรียงความเรื่อง สะอาด สว่าง สงบ ได้ ผลงานที่ต้องการ เรียงความเรื่อง สะอาด สว่าง สงบ ขั้นตอนการทำางาน 1. วางโครงเรื่องและศึกษาข้อมูลเพิ่ม 2. เขียนเรียงความตามหัวข้อที่กำาหนด 3. ความยาวตามความเหมาะสม เกณฑ์การประเมิน 1. ความถูกต้องตามหลักการเขียนเรียงความ 2. ความคิดสร้างสรรค์ 3. เนื้อหาสอดคล้องกับชื่อเรื่อง 8. บันทึกสรุปผลการจัดการเรียนการสอน บันทึกหลังสอน (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีข้อมูลสารสนเทศชัดเจน) ประเด็นการบันทึก จุดเด่น จุดที่ควร ปรับปรุง 1. การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ 2. การใช้สื่อการเรียนรู้ 3. การประเมินผลการ เรียนรู้ 4. การบรรลุผลการ เรียนรู้ของผู้เรียน 54
  • 9. บันทึกเพิ่มเติม ....................................................................................... ............................................. ....................................................................................... ............................................. ....................................................................................... ....................................................................................... ....................................................................................... ... ล ง ชื่ อ ........................................................................ผู้สอน ลงชื่อ ............................................. ตำาแหน่ง ........................................ แบบฝึกทักษะ เรื่อง พระรัตนตรัย คำาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนเปรียบเทียบพุทธคุณ 9 กับพุทธคุณ 3 พระรัตนตรัย พระปัญญาธิคุณ พระกรุณาคุณ พระวิสุทธิคุณ 55 บันทึกความเห็นของผู้ตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้ ...................................................................................................................... ...................................................................................................................... ...................................................................... ................................................................................................................................. .........................
  • 10. นักเรียนศึกษาข่าวและสรุปเรื่องที่มีเนื้อหาแสดงถึงพุทธคุณ 3 ของ พระพุทธเจ้าที่นำาไปประยุกต์ใช้ ................................................................................. ................................................................................. ................................................................................. ................................................................................. ................................................................................. .................................................................. เฉลยแบบฝึกทักษะ เรื่อง พระรัตนตรัย คำาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนเปรียบเทียบพุทธคุณ 9 กับพุทธคุณ 3 พระรัตนตรัย พระปัญญาธิคุณ พระกรุณาคุณ พระวิสุทธิคุณ ใช้สมองในการ ศึกษาจน ค้นพบความจริง - สัมมาสัม เผยแผ่พระพุทธ ศาสนา - อนุตตะโร ปุ หลุดพ้นจากกิเลส ทั้งปวงอยู่เหนือ ความดีความชั่ว ไม่ยึดติด 56
  • 11. พุทโธ - โลกะวิทู - พุทโธ ริสะทัมมะสาระถิ - สัตถาเทวะ มะนุสสานัง - สุคะโต - อะระหัง - วิชชาจะ ระณะ สัมปันโน - ภะคะวา นักเรียนศึกษาข่าวและสรุปเรื่องที่มีเนื้อหาแสดงถึงพุทธคุณ 3 ของพระพุทธเจ้าที่นำาไปประยุกต์ใช้ ( อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน ) แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 / 2 เรื่อง อริยสัจ เวลา 5 ชั่วโมง 1. เป้าหมายการเรียนรู้ 1.1 ผลการเรียนรู้ รู้และเข้าใจตระหนักถึงความสำาคัญของอริยสัจ 4 และ สามารถนำาไปปฏิบัติในชีวิต ประจำาวันได้ 1.2 จุดประสงค์การเรียนรู้ อธิบายความสำาคัญของอริยสัจ 4 และสามารถนำาไป ปฏิบัติในชีวิตประจำาวันได้ 2. สาระสำาคัญ 2.1 สาระการเรียนรู้ • อริยสัจ 4 57
  • 12. ทุกข์ - ขันธ์ 5 - นามรูป สมุทัย - หลักกรรม - นิยาม 5 - วิตก 3 นิโรธ - ภาวนา 4 มรรค - พระสัทธรรม 3 - ปัญญาวุฒิธรรม 4 - พละ 5 - อุบาสกธรรม - มงคล 38 - สงเคราะห์บุตร - สงเคราะห์ภรรยา - สันโดษ 2.2 ทักษะกระบวนการ 1) ทักษะกระบวนการตามธรรมชาติวิชา - การศึกษา การปฏิบัติ 2) ทักษะกระบวนการทั่วไป - กระบวนการกลุ่ม กระบวนการสังเกต กระบวนการปฏิบัติ 3) ทักษะการคิด - ทักษะการคิดแสดงความคิดเห็น ทักษะการคิด วิเคราะห์ ทักษะการคิดเชื่อมโยง ทักษะการคิดระบุ และทักษะ การคิดสร้างสรรค์ 3. ร่องรอยการเรียนรู้ 3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน อธิบายความสำาคัญของอริยสัจ 4 และสามารถนำาไป ปฏิบัติในชีวิตประจำาวันได้ 3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1) การทำางานกลุ่มจากการศึกษาเรื่อง อริยสัจ 4 2) การตอบคำาถามเรื่อง อริยสัจ 4 58
  • 13. 3.3 พฤติกรรมลักษณะพึงประสงค์ - ความรับผิดชอบ ความเสียสละ ความมีระเบียบ การ ตรงต่อเวลา การมีส่วนร่วมจากกระบวนการกลุ่ม 3.4 ความรู้ความเข้าใจ 1) ความรู้ความเข้าใจของนักเรียนเกี่ยวกับเรื่อง อริยสัจ 4 จากการตอบคำาถาม 2) ความรู้ความเข้าใจของนักเรียนจากการทำางานกลุ่ม เรื่อง อริยสัจ 4 4. แนวทางการวัดผลประเมินผล วิธีการประเมินผล ด้านผลงาน - อธิบายความสำาคัญของอริยสัจ 4 และสามารถนำา ไปปฏิบัติในชีวิตประจำาวันได้ ด้านกระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1) สังเกตพฤติกรรมการทำางานกลุ่มจากการศึกษาเรื่อง อริยสัจ 4 2) สังเกตพฤติกรรมจากการตอบคำาถามเรื่อง อริยสัจ 4 ด้านลักษณะพึงประสงค์ - ประเมินผลงานกลุ่มด้านความรับผิดชอบ ความเสียสละ ความมีระเบียบ การตรงต่อเวลา การมีส่วนร่วมจากกระบวนการ กลุ่ม ด้านความรู้ความเข้าใจ 1) ประเมินผลสัมฤทธิ์จากการเรียนรู้ด้านความเข้าใจของ นักเรียนเกี่ยวกับเรื่อง อริยสัจ 4 จากการตอบคำาถาม 2) ประเมินความรู้ความเข้าใจของนักเรียนจากการทำางาน กลุ่มเรื่อง อริยสัจ 4 เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผล 1) แบบประเมินผลงานกลุ่มด้านความรับผิดชอบ ความเสีย สละ การตรงต่อเวลา ความมีระเบียบและการมีส่วนร่วม 2) แบบสังเกตพฤติกรรมในกระบวนการทำางานกลุ่ม ในด้าน การวางแผน การเสนอแนวคิด และข้อคิด เช่น การฟังความคิดเห็น เป็นต้น 59
  • 14. 3) แบบประเมินการนำาเสนองานในด้านการเตรียมความ พร้อม เนื้อหาสาระ รูปแบบการนำา เสนอ การมีส่วนร่วมของสมาชิกในกลุ่ม การรักษาเวลา และ ความสนใจของผู้ฟัง 5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู้ 5.1 ขั้นนำา 1) นักเรียนสวดมนต์ก่อนเรียน 2) นักเรียนดูภาพ การทะเลาะวิวาทของนักเรียน ครู ตั้งคำาถาม - เป็นการกระทำาที่ถูกหรือผิด - การแก้ปัญหาที่ถูกต้องควรเป็นอย่างไร 5.2 ขั้นสอน กิจกรรมการเรียนการสอน ฝึกทักษะการคิดแบบ 1. นักเรียนดูวีซีดีการแก้ปัญหา ของบุคคล หลาย ๆ คน นักเรียนร่วมกันแสดงความคิด เห็น 1.1 ใครที่ใช้วิธีการแก้ ปัญหาที่ไม่ถูกต้องและไม่ถูก ต้องอย่างไร และวิธีที่ถูกต้อง ควร เป็นอย่างไร 1.2 ใครที่ใช้วิธีการแก้ ทักษะการคิดแสดงความคิดเห็น 60
  • 15. ปัญหาที่ถูกต้อง และ ใช้วิธีการ อย่างไร 2. ครูสุ่มถามนักเรียนถึงปัจจัย ที่ทำาให้คนเราสามารถแก้ปัญหา ได้ถูกทาง ครูอธิบายเพิ่มเติม ทักษะการคิดระบุ 3. ครูสนทนากับนักเรียนใน เรื่องหลักอริยสัจ 4 ในหัวข้อ - ใช้ในการแก้ปัญหาได้ อย่างไร ทักษะการคิดแสดงความคิดเห็น 4. ครูให้หัวหน้าชั้นเสนอ ปัญหา 1 ปัญหา นักเรียน ในห้องร่วมกันแก้ปัญหาโดยใช้ หลักอริยสัจ 4 ทักษะการคิดแสดงความคิดเห็น 5. นักเรียนแบ่งกลุ่ม 9 กลุ่ม ปฏิบัติดังนี้ 5.1 จับฉลากเลือกหัวข้อ ธรรมที่ใช้ในการแก้ปัญหาตาม หลักอริยสัจ โดยใช้หลักธรรม กลุ่มละ 1 หลักธรรม 5.2 แต่ละกลุ่มศึกษา 1) ความหมาย 2) องค์ประกอบ 3) การนำาไป ประยุกต์ใช้ 4) ใช้กรณีตัวอย่าง ดังต่อไปนี้ - เหตุการณ์ - บทเพลง ทักษะการคิดวิเคราะห์ ทักษะการคิดสร้างสรรค์ กิจกรรมการเรียน การสอน ฝึกทักษะการคิด แบบ - คำาประพันธ์ - บุคคล 61
  • 16. - ข่าว - แบบฝึกหัดท้ายเรื่อง 5.3 การนำาเสนอในรูปสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ 6. ตัวแทนกลุ่มนำาเสนอโดยใช้ ห้องศูนย์สื่อ ครูและนักเรียน ร่วมสนทนาซักถามหลังแต่ละ กลุ่มนำาเสนอ 7. นักเรียนทำาแบบฝึกหัดจาก กลุ่มที่นำาเสนอ และร่วมกันเฉลย 5.3 ขั้นสรุป ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเรื่อง อริยสัจ 4 โดยการ สนทนาซักถาม 6. สื่อการเรียนรู้ / แหล่งเรียนรู้ 6.1 สื่อการเรียนรู้ 1) หนังสือเรียนพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 2) รูปภาพการทะเลาะวิวาทของนักเรียน 3) วีซีดีเรื่อง วิธีการแก้ปัญหาต่าง ๆ ของคนในสังคม 6.2 แหล่งเรียนรู้ 1) ห้องสมุดโรงเรียน 2) ห้องสมุดกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 7. กิจกรรมเสนอแนะ 7.1 กิจกรรมฝึกการคิดวิเคราะห์ นิมนต์พระสงฆ์ / ผู้มีความรู้ในท้องถิ่นมาให้ความรู้เรื่อง อริยสัจ 4 ขั้นตอนการปฏิบัติ 1. ขั้นรวบรวมข้อมูล - นิมนต์พระสงฆ์ในท้องถิ่นมาให้ความรู้เรื่อง อริยสัจ 4 2. ขั้นวิเคราะห์ - ใช้แก้ปัญหาต่าง ๆ ได้จริงหรือไม่ - ทำาไมคนส่วนใหญ่จึงไม่นำามาใช้ 3. ขั้นสรุป - ฟังจากพระสงฆ์ สนทนาซักถาม - บันทึกลงสมุด 62
  • 17. 4. ขั้นประยุกต์ใช้ - เปรียบเทียบกับการใช้หลักธรรมของศาสนาอื่นใน การแก้ปัญหา 7.2 กิจกรรมบูรณาการ ครูสามารถบูรณาการการเรียนการสอนกับกลุ่มสาระการ เรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี โดยกำาหนดภาระงาน โครง งานคุณธรรมกับการประกอบอาชีพ ภาระงาน “ โครงงานคุณธรรมกับการประกอบอาชีพ ” การบูรณาการ มฐ. ง 1.2 ม.4 / 1 ผลการเรียนรู้ เข้าใจการทำาโครงงาน ผลงานที่ต้องการ โครงงานคุณธรรมกับการประกอบ อาชีพ ขั้นตอนการทำางาน 1. ศึกษาการทำาโครงงาน จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ 2. ลงมือทำาโครงงาน 3. นำาเสนอในงานกิจกรรมโรงเรียน เกณฑ์การประเมิน 1. ความเหมาะสมของแผนการดำาเนินการโครงงาน 2. การดำาเนินงานตามแผนที่กำาหนด 3. ผลสำาเร็จของการทำาโครงงาน 4. แนวทางการนำาเสนอผลการทำาโครงงาน 8. บันทึกสรุปผลการจัดการเรียนการสอน บันทึกหลังสอน (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีข้อมูลสารสนเทศชัดเจน) 63
  • 18. ประเด็นการบันทึก จุดเด่น จุดที่ควร ปรับปรุง 1. การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ 2. การใช้สื่อการเรียนรู้ 3. การประเมินผลการ เรียนรู้ 4. การบรรลุผลการ เรียนรู้ของผู้เรียน บันทึกเพิ่มเติม ....................................................................................... ............................................. ....................................................................................... ............................................. ....................................................................................... ....................................................................................... ....................................................................................... ... ล ง ชื่ อ ........................................................................ผู้สอน ลงชื่อ ............................................. ตำาแหน่ง ........................................ 64 บันทึกความเห็นของผู้ตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้ ...................................................................................................................... ...................................................................................................................... ...................................................................... ................................................................................................................................. .........................
  • 19. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 / 3 เรื่อง ภาษาบาลีและพุทธ ศาสนสุภาษิต เวลา 3 ชั่วโมง 1. เป้าหมายการเรียนรู้ 1.1 ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รู้และเข้าใจหลักการอ่านและเขียนภาษาบาลี และ สามารถอ่าน คำาบาลีในพระไตร- ปิฎกได้ 1.2 จุดประสงค์การเรียนรู้ 1) อธิบายวิธีการอ่านและเขียนภาษาบาลีได้ 2) อธิบายและวิเคราะห์พุทธศาสนสุภาษิตได้ 2. สาระสำาคัญ 2.1 สาระการเรียนรู้ 1) ภาษาบาลี 2) พุทธศาสนสุภาษิต 2.2 ทักษะกระบวนการ 1) ทักษะกระบวนการตามธรรมชาติวิชา - การศึกษา การปฏิบัติ 2) ทักษะกระบวนการทั่วไป - กระบวนการกลุ่ม กระบวนการสังเกต กระบวนการ ปฏิบัติ 3) ทักษะการคิด - ทักษะการคิดเชื่อมโยง ทักษะการคิดนำาเสนอ ข้อมูล ทักษะการคิดแสดงความคิดเห็น ทักษะการคิดสังเกต และ ทักษะการคิดระบุ 3. ร่องรอยการเรียนรู้ 3.1 ด้านผลงาน / ชิ้นงาน ได้แก่ 1) ผลงานกลุ่มจากการศึกษาเรื่อง ภาษาบาลี 2) ผลงานกลุ่มจากการศึกษาเรื่อง พุทธศาสนสุภาษิต 3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน ได้แก่ 1) การทำางานกลุ่มจากการศึกษาเรื่อง ภาษาบาลี 2) การทำางานกลุ่มจากการศึกษาเรื่อง พุทธศาสน สุภาษิต 3) การตอบคำาถามเรื่อง ภาษาบาลี 4) การตอบคำาถามเรื่อง พุทธศาสนสุภาษิต 65
  • 20. 3.3 พฤติกรรมลักษณะพึงประสงค์ ความรับผิดชอบ ความเสียสละ ความมีระเบียบ การ ตรงต่อเวลา การมีส่วนร่วมจาก กระบวนการกลุ่ม 3.4 ความรู้ความเข้าใจ 1) การเรียนรู้ด้านความเข้าใจของนักเรียนเกี่ยวกับ เรื่อง ภาษาบาลี จากการตอบคำาถาม 2) การเรียนรู้ด้านความเข้าใจของนักเรียนเกี่ยวกับ เรื่อง พุทธศาสนสุภาษิต จากการ ตอบคำาถาม 3) ความรู้ความเข้าใจของนักเรียนจากการทำางานกลุ่ม เรื่อง ภาษาบาลี 4) ความรู้ความเข้าใจของนักเรียนจากการทำางานกลุ่ม เรื่อง พุทธศาสนสุภาษิต 4. แนวทางการวัดผลประเมินผล วิธีการประเมินผล ด้านผลงาน 1) ผลงานกลุ่มจากการศึกษาเรื่อง ภาษาบาลี 2) ผลงานกลุ่มจากการศึกษาเรื่อง พุทธศาสนสุภาษิต ด้านกระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1) สังเกตพฤติกรรมการทำางานกลุ่มจากการศึกษาเรื่อง ภาษาบาลี 2) สังเกตพฤติกรรมการทำางานกลุ่มจากการศึกษาเรื่อง พุทธศาสนสุภาษิต 3) สังเกตพฤติกรรมจากการตอบคำาถามเรื่อง ภาษาบาลี 4) สังเกตพฤติกรรมจากการตอบคำาถามเรื่อง พุทธศาสน สุภาษิต ด้านลักษณะพึงประสงค์ - ประเมินผลงานกลุ่มด้านความรับผิดชอบ ความเสียสละ ความมีระเบียบ การตรงต่อเวลา การมีส่วนร่วมจากกระบวนการกลุ่ม ด้านความรู้ความเข้าใจ 1) ประเมินผลสัมฤทธิ์จากการเรียนรู้ด้านความเข้าใจของ นักเรียนเกี่ยวกับเรื่อง ภาษาบาลี จากการตอบคำาถาม 2) ประเมินผลสัมฤทธิ์จากการเรียนรู้ด้านความเข้าใจของ นักเรียนเกี่ยวกับเรื่อง พุทธศาสน- 66
  • 21. สุภาษิต จากการตอบคำาถาม 3) ประเมินความรู้ความเข้าใจของนักเรียนจากการทำางาน กลุ่มเรื่อง ภาษาบาลี 4) ประเมินความรู้ความเข้าใจของนักเรียนจากการทำางาน กลุ่มเรื่อง พุทธศาสนสุภาษิต เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผล 1) แบบประเมินผลงานกลุ่มด้านความรับผิดชอบ ความเสีย สละ การตรงต่อเวลา ความมีระเบียบและการมีส่วนร่วม 2) แบบสังเกตพฤติกรรมในกระบวนการทำางานกลุ่ม ในด้าน การวางแผน การเสนอแนวคิด และข้อคิด เช่น การฟังความคิดเห็น เป็นต้น 3) แบบประเมินการนำาเสนองานในด้านการเตรียมความ พร้อม เนื้อหาสาระ รูปแบบการนำา เสนอ การมีส่วนร่วมของสมาชิกในกลุ่ม การรักษาเวลา และ ความสนใจของผู้ฟัง 5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู้ 5.1 ขั้นนำา 1) นักเรียนสวดมนต์ก่อนเรียน 2) นักเรียน อ่านบัตรคำา “ สวากฺขาโต ภควคา ธมฺโม ” ครูตั้งคำาถาม - ตัวที่จุดข้างล่างหมายความว่าอย่างไร 5.2 ขั้นสอน กิจกรรมการเรียนการสอน ฝึกทักษะการคิดแบบ 1. ครูสนทนากับนักเรียนใน เรื่อง ภาษาบาลีโดยตั้งคำาถาม - ภาษาบาลีมีความสำาคัญ อย่างไร ทักษะการคิดแสดงความคิดเห็น 2. นักเรียนแบ่งกลุ่ม 6 กลุ่ม ปฏิบัติดังนี้ 2.1 ทุกกลุ่มรับหนังสือสวด มนต์กลุ่มละ 3 เล่ม ทักษะการคิดเชื่อมโยง 67
  • 22. 2.2 เลือกบทสวดมนต์ที่มี ความยาวพอประมาณ 1 บท 2.3 เขียนบทสวดมนต์เป็น ภาษาบาลีและภาษาไทย กิจกรรมการเรียนการสอน ฝึกทักษะการคิดแบบ 2.4 สรุปหลักการอ่าน ภาษาบาลีจากบท สวดมนต์ที่ นักเรียนเลือก 2.5 ทุกรายการทำาบน กระดาษขาวเทา 3. ตัวแทนกลุ่มนำาเสนอผลการ ศึกษาค้นคว้าหน้าชั้น ครูและ นักเรียนร่วมกันสนทนาซักถาม ทักษะการคิดนำาเสนอข้อมูล 4. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุป เรื่อง ภาษาบาลีโดยใช้เอกสารที่ นำาเรียนนำาเสนอ 5. นักเรียนทำาแบบฝึกทักษะ เรื่อง ภาษาบาลี ร่วมกันเฉลย 6. ครูยกบัตรคำา “ อตฺตา หิ อตฺตโนนาโถ ” ให้นักเรียนอ่าน ครูตั้งคำาถาม 6.1 บัตรคำาที่นักเรียนอ่าน เรียกว่าอะไร 6.2 มีความหมายว่า อย่างไร ทักษะการคิดสังเกต ทักษะการคิดระบุ 7. นักเรียนแบ่งกลุ่ม 8 กลุ่ม ปฏิบัติดังนี้ 7.1 กลุ่มที่ 1 , 2 ศึกษา คำา จิตฺตำ ทนฺตำ สุขาวหำ : จิตที่ฝึกดีแล้วย่อมนำา ทักษะการคิดเชื่อมโยง 68
  • 23. ความสุขมาให้ 7.2 กลุ่มที่ 3 , 4 ศึกษา คำา น อุจฺจาวจำ ปณฺฑิตา ทสฺสยนฺติ : บัณฑิตย่อมไม่แสดง อาการขึ้น ๆ ลง ๆ 7.3 กลุ่มที่ 5 , 6 ศึกษา นตฺถิ โลเก อนินฺทิโต : คนไม่ถูกนินทาไม่มีในโลก 7.4 กลุ่มที่ 7,8 ศึกษา โกธำ ฆตฺวา สุขำ เสติ : ฆ่า ความโกรธเสียได้ย่อมอยู่เป็นสุข โดย 1) เขียนเป็นคำาอ่าน ภาษาไทย 2) อธิบายความหมาย ให้ชัดเจน 3) บอกวิธีการนำาเสนอ กิจกรรมการเรียนการสอน ฝึกทักษะการคิดแบบ 4) ยกตัวอย่างประกอบ การอธิบาย เช่น จากนวนิยาย ละคร คำา ประพันธ์ บทเพลง การ์ตูน นิทาน เป็นต้น 5) นำาเสนอโดยวิธีการ ที่หลากหลายและ กลุ่มที่รับหัวข้อเดียวกันห้ามนำา เสนอด้วยวิธีเดียวกัน 8. ตัวแทนกลุ่มนำาเสนอผลการ ศึกษาค้นคว้า หน้าชั้น ครูและ นักเรียนร่วมกันสนทนาซักถาม ทักษะการคิดนำาเสนอข้อมูล 9. นักเรียนทำาแบบฝึกทักษะ เรื่อง พุทธศาสน-สุภาษิต แล้ว 69
  • 24. ร่วมกันเฉลย 5.3 ขั้นสรุป ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเรื่อง ภาษาบาลีและ พุทธศาสนสุภาษิต โดยการสนทนา ซักถาม 6. สื่อการเรียนรู้/ แหล่งเรียนรู้ 6.1 สื่อการเรียนรู้ 1) หนังสือเรียนพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 2) บัตรคำาภาษาบาลี 3) หนังสือสวดมนต์ 4) แบบฝึกทักษะเรื่อง ภาษาบาลี 5) บัตรคำาพุทธศาสนสุภาษิต 6) แบบฝึกทักษะเรื่อง พุทธศาสนสุภาษิต 6.2 แหล่งเรียนรู้ 1) ห้องสมุดโรงเรียน 2) ห้องสมุดกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 7. กิจกรรมเสนอแนะ 7.1 กิจกรรมฝึกการคิดวิเคราะห์ นักเรียนศึกษาคำาพุทธศาสนสุภาษิตจากแหล่งเรียนรู้อื่น ที่ไม่ใช่หนังสือ แล้วทำาเป็นหนังสือเล่มเล็ก ขั้นตอนการปฏิบัติ 1. ขั้นรวบรวมข้อมูล - ศึกษาคำาพุทธศาสนสุภาษิตจากแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ 2. ขั้นวิเคราะห์ - มีประโยชน์อย่างไร 3. ขั้นสรุป - จัดทำาเป็นหนังสือเล่มเล็กสำาหรับพกพา 4. ขั้นประยุกต์ใช้ - นำามาจัดมุมความรู้ในชั้นเรียน 7.2 กิจกรรมบูรณาการ ครูสามารถบูรณาการการเรียนการสอนกับกลุ่มสาระ การเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระพระพุทธ ศาสนาโดยกำาหนดภาระงาน เขียนเรียงความแก้กระทู้ธรรมชั้นโท ภาระงาน “ ”เขียนเรียงความแก้กระทู้ธรรมชั้นโท การบูรณาการ มฐ. ส 1.3 ม.4 / 1 70
  • 25. ผลการเรียนรู้ เขียนเรียงความแก้กระทู้ธรรมชั้นโทได้ ผลงานที่ต้องการ เรียงความแก้กระทู้ธรรมชั้นโท ขั้นตอนการทำางาน 1. ศึกษาวิธีการเขียนเรียงความแก้กระทู้ธรรมกับผู้รู้ 2. เขียนเรียงความแก้กระทู้ธรรมชั้นโท เกณฑ์การประเมิน 1. ความถูกต้องตามหลักการเขียนเรียงความแก้กระทู้ธรรม 2. เนื้อหามีความสอดคล้องกับเรื่องที่กำาหนด 3. รูปแบบการเขียนครบถ้วนและถูกต้อง 8. บันทึกสรุปผลการจัดการเรียนการสอน บันทึกหลังสอน (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีข้อมูลสารสนเทศชัดเจน) ประเด็นการบันทึก จุดเด่น จุดที่ควร ปรับปรุง 1. การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ 2. การใช้สื่อการเรียนรู้ 3. การประเมินผลการ เรียนรู้ 4. การบรรลุผลการ เรียนรู้ของผู้เรียน 71
  • 26. บันทึกเพิ่มเติม ....................................................................................... ............................................. ....................................................................................... ............................................. ....................................................................................... ....................................................................................... ....................................................................................... ... ล ง ชื่ อ ........................................................................ผู้สอน ลงชื่อ ............................................. ตำาแหน่ง ........................................ แบบฝึกทักษะ เรื่อง ภาษาบาลี คำาชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาและหาคำาภาษาบาลีและภาษาไทยมา เติมลงในช่องที่กำาหนดให้ ที่ ภาษาบาลี ภาษาไทย 1 อรหำ อะระหัง 2 สัมมาสัมพุทโธ 3 วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน 4 สุคะโต 5 โลกะวิทู 6 อนุตฺตโร 7 8 72 บันทึกความเห็นของผู้ตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้ ...................................................................................................................... ...................................................................................................................... ...................................................................... ................................................................................................................................. .........................
  • 28. ที่ ภาษาบาลี ภาษาไทย 1 อรหำ อะระหัง 2 สมฺมาสมฺพุทฺโธ สัมมาสัมพุทโธ 3 วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน วิชชาจะระณะสัมปันโน 4 สุคโต สุคะโต 5 โลกวิทู โลกะวิทู 6 อนุตฺตโร อะนุตตะโร แบบฝึกทักษะ เรื่อง พุทธศาสนสุภาษิต คำาชี้แจง ให้นักเรียนบันทึกประสบการณ์ที่เกิดจากการนำาพุทธ ศาสนสุภาษิตไปใช้ในการดำาเนินชีวิต ท ีี ี่ พุทธศาสน สุภาษิต ความหมาย การนำาไป ใช้ ผล 74
  • 30. ท ีี ี่ พุทธศาสน สุภาษิต ความหมาย การนำาไป ใช้ ผล ( อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน ) แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 / 4 เรื่อง พระไตรปิฎกและ คำาศัพท์ทางพระพุทธศาสนา เวลา 2 ชั่วโมง 1. เป้าหมายการเรียนรู้ 1.1 ผลการเรียนรู้ 76
  • 31. รู้และเข้าใจเกี่ยวกับพระไตรปิฎกและคำาศัพท์ทาง พระพุทธศาสนา 1.2 จุดประสงค์การเรียนรู้ 1) บอกความหมายและโครงสร้างของพระไตรปิฎก และศึกษาพระไตรปิฎกได้ 2) อธิบายคำาศัพท์ทางพระพุทธศาสนาได้ 2. สาระสำาคัญ 2.1 สาระการเรียนรู้ 1) พระไตรปิฎก 2) คำาศัพท์ทางพระพุทธศาสนา 2.2 ทักษะกระบวนการ 1) ทักษะกระบวนการตามธรรมชาติวิชา - การศึกษา การปฏิบัติ 2) ทักษะกระบวนการทั่วไป - กระบวนการกลุ่ม กระบวนการสังเกต กระบวนการปฏิบัติ 3) ทักษะการคิด - ทักษะการคิดทำาความรู้ให้กระจ่าง ทักษะการ คิดสรุปความ ทักษะการคิดระบุ และทักษะการคิดนำาเสนอข้อมูล 3. ร่องรอยการเรียนรู้ 3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน ได้แก่ 1) ผลงานกลุ่มจากการศึกษาเรื่อง คำาศัพท์ทาง พระพุทธศาสนา 2) ผลงานกลุ่มจากการฟังวิทยากรเรื่อง พระไตรปิฎก 3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน ได้แก่ 1) การทำางานกลุ่มจากการศึกษาเรื่อง คำาศัพท์ทาง พระพุทธศาสนา 2) การฟังวิทยากรเรื่อง พระไตรปิฎก 3) การตอบคำาถามเรื่อง พระไตรปิฎก 4) การตอบคำาถามเรื่อง คำาศัพท์ทางพระพุทธศาสนา 3.3 พฤติกรรมลักษณะพึงประสงค์ ความรับผิดชอบ ความเสียสละ ความมีระเบียบ การ ตรงต่อเวลา การมีส่วนร่วมจากกระบวนการกลุ่ม 3.4 ความรู้ความเข้าใจ 77
  • 32. 1) ความเข้าใจของนักเรียนเกี่ยวกับเรื่อง พระ ไตรปิฎก จากการตอบคำาถาม 2) ความรู้ความเข้าใจของนักเรียนจากการทำางานกลุ่ม เรื่อง คำาศัพท์ทางพระพุทธ- ศาสนา 4. แนวทางการวัดผลประเมินผล วิธีการประเมินผล ด้านผลงาน 1) ผลงานกลุ่มจากการศึกษาเรื่อง คำาศัพท์ทางพระพุทธ ศาสนา 2) ผลงานกลุ่มจากการฟังวิทยากรเรื่อง พระไตรปิฎก ด้านกระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1) สังเกตพฤติกรรมการทำางานกลุ่มจากการศึกษาเรื่อง คำา ศัพท์ทางพระพุทธศาสนา 2) สังเกตพฤติกรรมการฟังวิทยากรเรื่อง พระไตรปิฎก 3) สังเกตพฤติกรรมจากการตอบคำาถามเรื่อง พระไตรปิฎก 4) สังเกตพฤติกรรมจากการตอบคำาถามเรื่อง คำาศัพท์ทาง พระพุทธศาสนา ด้านลักษณะพึงประสงค์ - ประเมินผลงานกลุ่มด้านความรับผิดชอบ ความเสียสละ ความมีระเบียบ การตรงต่อเวลา การมีส่วนร่วมจากกระบวนการกลุ่ม ด้านความรู้ความเข้าใจ 1) ประเมินผลสัมฤทธิ์จากการเรียนรู้ด้านความเข้าใจของ นักเรียนเกี่ยวกับเรื่อง พระไตรปิฎก จากการตอบคำาถาม 2) ประเมินความรู้ความเข้าใจของนักเรียนจากการทำางาน กลุ่มเรื่อง คำาศัพท์ทาง พระพุทธศาสนา เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผล 1) แบบประเมินผลงานกลุ่มด้านความรับผิดชอบ ความเสีย สละ การตรงต่อเวลา ความมีระเบียบและการมีส่วนร่วม 2) แบบสังเกตพฤติกรรมในกระบวนการทำางานกลุ่ม ในด้าน การวางแผน การเสนอแนวคิด และข้อคิด เช่น การฟังความคิดเห็น เป็นต้น 78
  • 33. 3) แบบประเมินการนำาเสนองานในด้านการเตรียมความ พร้อม เนื้อหาสาระ รูปแบบการ นำาเสนอ การมีส่วนร่วมของสมาชิกในกลุ่ม การรักษาเวลา และ ความสนใจของผู้ฟัง 5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู้ 5.1 ขั้นนำา 1) นักเรียนสวดมนต์ก่อนเรียน 2) ครูนำาหนังสือพระไตรปิฎกมาให้นักเรียนดู ครูตั้งคำาถาม - คืออะไร - มีความสำาคัญอย่างไร 5.2 ขั้นสอน กิจกรรมการเรียนการสอน ฝึกทักษะการคิดแบบ 1. นิมนต์พระสงฆ์ในท้องถิ่นมา ให้ความรู้ กับนักเรียนใน เรื่อง 1.1 พระไตรปิฎก 1.2 คำาศัพท์ทางพระพุทธ ศาสนา ทักษะการคิดทำาความรู้ให้ กระจ่าง 2. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุป เรื่อง พระไตร-ปิฎก 3. นักเรียนทำาแบบฝึกทักษะ เรื่อง พระไตรปิฎกและร่วมกัน เฉลย 4. นักเรียนแบ่งกลุ่ม 4 กลุ่ม ปฏิบัติดังนี้ 4.1 ศึกษาคำาศัพท์ทาง พระพุทธศาสนาจากพระ ไตรปิฎก กลุ่มละ 20 คำา 4.2 นำาเสนอโดยใช้ป้าย นิเทศ ทักษะการคิดระบุ 5. ตัวแทนกลุ่มนำาผลการศึกษา ติดบอร์ดและร่วมกันศึกษาเรียน รู้ พร้อมจดบันทึก ทักษะการคิดนำาเสนอข้อมูล 6. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุป เรื่อง ความสำาคัญของคำาศัพท์ 79
  • 34. ทางพระพุทธศาสนา 5.3 ขั้นสรุป 1) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเรื่อง หลักธรรม ทางพระพุทธศาสนาโดยการสนทนา ซักถาม 2) นักเรียนทำาแบบทดสอบหลังเรียน 6. สื่อการเรียนรู้ / แหล่งเรียนรู้ 6.1 สื่อการเรียนรู้ 1) หนังสือเรียนพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 2) แบบฝึกทักษะเรื่อง พระไตรปิฎก 3) หนังสือพระไตรปิฎก 4) ห้องสมุดโรงเรียน 6.2 แหล่งเรียนรู้ 1) ห้องสมุดกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 2) วัด 7. กิจกรรมเสนอแนะ 7.1 กิจกรรมฝึกการคิดวิเคราะห์ นักเรียนจัดป้ายนิเทศการศึกษาพระไตรปิฎกและคัมภีร์ ศาสนาอื่น ขั้นตอนการปฏิบัติ 1. ขั้นรวบรวมข้อมูล - ศึกษาข้อมูลวิธีการศึกษาพระไตรปิฎกและคัมภีร์ ศาสนาอื่น 2. ขั้นวิเคราะห์ - มีวิธีการอย่างไร - มีความเหมือนหรือต่างกันอย่างไร - ใครเป็นผู้กระทำา 3. ขั้นสรุป - นำาเสนอข้อมูลสรุปจากการคิดวิเคราะห์บนป้ายนิเทศ 4. ขั้นประยุกต์ใช้ - เขียนเป็นคู่มือการใช้พระไตรปิฎกแจกเพื่อนนักเรียน 7.2 กิจกรรมบูรณาการ ครูสามารถบูรณาการการเรียนการสอนกับกลุ่มสาระ การเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระหน้าที่พลเมือง 80
  • 35. วัฒนธรรมและการดำาเนินชีวิต โดยกำาหนดภาระงาน สัมภาษณ์ บุคคลที่เป็นพลเมืองดีของท้องถิ่น ภาระงาน “ สัมภาษณ์บุคคลที่เป็นพลเมืองดีของท้องถิ่น ” การบูรณาการ มฐ. ส 2.1 ม.4 / 2 ผลการเรียนรู้ สัมภาษณ์บุคคลในท้องถิ่นได้ ผลงานที่ต้องการ สัมภาษณ์บุคคลที่เป็นพลเมืองดีของ ท้องถิ่น 1 คน ขั้นตอนการทำางาน 1. ศึกษาข้อมูลบุคคลที่เป็นพลเมืองดีของท้องถิ่น 1 คน 2. ลงพื้นที่สัมภาษณ์ 3. บันทึกผลเป็นรายงาน เกณฑ์การประเมิน 1. ความน่าสนใจและความชัดเจนของบทสัมภาษณ์ 2. ข้อสรุปจากการสัมภาษณ์มีประโยชน์อย่างไร 81
  • 37. เฉลยแบบฝึกทักษะ เรื่อง พระไตรปิฎก คำาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนอธิบายโครงสร้างของพระไตรปิฎก 83 พระไตรปิฎก วินัยปิฎก ประมวลระเบียบ ข้อบังคับสำาหรับ ภิกษุและภิกษุณี สุตตันตปิฎก ประมวลพระ ธรรมเทศนา ประวัติและเรื่อง ราวต่าง ๆ อภิธรรมปิฎก ประมวลหลัก ธรรมและคำา อธิบายตามหลัก วิชาล้วน ๆ มหาวิภังค์ วินัยที่เป็นหลัก ของภิกษุ ภิกขุณีวิภังค์ วินัยที่เป็นหลัก ของภิกษุณี มหาวรรค กำาเนิดภิกษุและ ระเบียบความ จุลวรรค ระเบียบความ เป็นอยู่และ กิจการของภิกษุ เรื่องภิกษุณีและ ปริวาร คู่มือ ถามตอบซักซ้อม ความรู้พระวินัย ทีฆนิกาย ชุมนุม พระ สูตรขนาดยาว มัชฌิมนิกาย ชุมนุม พระสูตร ขนาดกลาง สังยุตตนิกาย ชุมนุมพระ-สูตรจัด เป็นกลุ่มตามเรื่องที่ เกี่ยวข้องกัน อังคุตตรนิกาย ชุมนุมพระ-สูตรที่ จัดเป็นหมวดตาม จำานวนข้อธรรม ขุททกนิกาย ชุมนุมพระสูตร ภาษิต คำาอธิบาย และเรื่องราว ธัมมสังคณี แจงนับ ธรรมที่จัดรวมเป็น หมวดประเภท เดียวกัน วิภังค์ อธิบาย ธรรมแต่ละเรื่อง แยกแยะออกชี้แจง วินิจฉัยโดยละเอียด ธาตุกถา สงเคราะห์ข้อธรรม ต่าง ๆ เข้าในขันธ อายตนะ ธาตุ ปุคคลบัญัติ บัญญัติความหมาย บุคคลประเภทต่าง ๆ ตามคุณธรรมที่มี กถาวัตถุ แถลง และวินิจฉัยทัศนะ ของนิกายต่าง ๆ สมัย ยมก ยกข้อธรรม ขึ้นวินิจฉัยโดยตอบ คำาถามที่ตั้งย้อนกัน เป็นคู่ ๆ ปัฏฐาน อธิบาย ปัจจัยคือลักษณะ ความสัมพันธ์เนื่อง อาศัยกัน 24 แบบ
  • 38. แบบประเมินผลงานกลุ่ม ชื่อกลุ่ม ...............................................................ชั้น .........../......... ที่ พฤติกรรม ชื่อ - สกุล ความ รับผิด ชอบ ความ เสียสละ การ ตรงต่อ เวลา ความมี ระเบียบ ผลการ ประเมิน 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 ลงชื่อ ............................................... ผู้ประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน 3 - ปฏิบัติสมำ่าเสมอ 2 - ปฏิบัติ เป็นบางครั้ง 1 - ไม่เคยปฏิบัติ เกณฑ์การตัดสิน 11 - 12 คะแนน ดีมาก 9 - 10 คะแนน ดี 7 - 8 คะแนน พอใช้ ตำ่ากว่า 7 คะแนน ปรับปรุง 84
  • 39. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคลของนักเรียนใน กระบวนการกลุ่ม ชื่อกลุ่ม ........................................................ เรื่อง ................................................ชั้น ......... ท ีี ี่ พฤติกรรม ชื่อ - สกุล ความ ร่วมมือ การ แสดง ความ คิดเห็น การ ยอมรับ ฟังผู้อื่น ความ ตั้งใจ ผลการ ประเมิน 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 หมายเหตุ ครูมอบให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสังเกตพฤติกรรมในการปฏิบัติ งานกลุ่มของสมาชิกเป็นรายบุคคล เกณฑ์การให้คะแนน 3 - ปฏิบัติสมำ่าเสมอ 2 - ปฏิบัติ เป็นบางครั้ง 1 - ไม่เคยปฏิบัติ เกณฑ์การตัดสิน 11 - 12 คะแนน ดีมาก 9 - 10 คะแนน ดี 7 - 8 คะแนน พอใช้ 85
  • 40. ตำ่ำกว่ำ 7 คะแนน ปรับปรุง แบบประเมินกำรนำำเสนอผลงำน เรื่อง .............................................................. ชื่อกลุ่ม .....................................................ชั้น .............................. สมำชิกในกลุ่ม 1. .......................................................... 2. ........................................................... 3. ...................................................... 4. ........................................................... 5. ............................................................ ที่ รำยกำรประเมิน คะแนน ข้อคิดเห็น3 2 1 1 กำรเตรียมควำมพร้อม 2 เนื้อหำสำระครอบคลุม ชัดเจน 3 รูปแบบกำรนำำเสนอ 4 กำรมีส่วนร่วมของ สมำชิกในกลุ่ม 5 กำรรักษำเวลำ 6 ควำมสนใจของผู้ฟัง/ผู้ ชม รวม ผู้ประเมิน ........................................... .........../............/........... เกณฑ์กำรประเมิน 1. กำรเตรียมควำมพร้อม 3 คะแนน มีกำรจัดเตรียมสถำนที่ สื่อ/ อุปกรณ์ไว้อย่ำง พร้อมเพรียง 2 คะแนน มีสื่ออุปกรณ์พร้อม แต่ขำดกำรจัดเตรียมสถำนที่ 1 คะแนน สื่อและอุปกรณ์ไม่เพียงพอ 86
  • 41. 2. เนื้อหำสำระครอบคลุมชัดเจน 3 คะแนน มีสำระสำำคัญครบถ้วน ตรงตำมจุดประสงค์ 2 คะแนน สำระสำำคัญไม่ครบถ้วนแต่ตรงตำมจุดประสงค์ 1 คะแนน สำระสำำคัญไม่ตรงตำมจุดประสงค์ 3. รูปแบบกำรนำำเสนอ 3 คะแนน มีรูปแบบกำรนำำเสนอที่เหมำะสม มีกำรใช้ เทคนิคที่แปลกใหม่ 2 คะแนน มีรูปแบบกำรนำำเสนอที่เหมำะสม น่ำสนใจ 1 คะแนน มีรูปแบบกำรนำำเสนอที่ไม่เหมำะสม ไม่น่ำ สนใจ 4. กำรมีส่วนร่วมของสมำชิกในกลุ่ม 3 คะแนน สมำชิกทุกคนมีบทบำทและมีส่วนร่วมในกิจกรรม กลุ่ม 2 คะแนน สมำชิกส่วนใหญ่มีบทบำทและมีส่วนร่วมใน กิจกรรมกลุ่ม 1 คะแนน สมำชิกส่วนน้อยมีบทบำทและมีส่วนร่วมใน กิจกรรมกลุ่ม 5. กำรรักษำเวลำ 3 คะแนน ดำำเนินกิจกรรมได้สำำเร็จตำมเวลำที่กำำหนด 2 คะแนน ดำำเนินกิจกรรมเร็วกว่ำเวลำที่กำำหนด 1 คะแนน ดำำเนินกิจกรรมสำำเร็จช้ำกว่ำเวลำที่กำำหนด 6. ควำมสนใจของผู้ฟัง 3 คะแนน ผู้ฟังร้อยละ 90 สนใจและให้ควำมร่วมมือ 2 คะแนน ผู้ฟังร้อยละ 70 สนใจและให้ควำมร่วมมือ 1 คะแนน ผู้ฟังร้อยละ 50 สนใจฟังและให้ควำมร่วมมือ 87
  • 42. กำรประเมินและสะท้อนตนเองหลังเสร็จสิ้นกำรเรียนใน หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 2 (Self Reflection) 1. กำรประเมินตนเองของผู้เรียน ให้ดำำเนินกำรดังนี้ 1.1 ครูทบทวนผลกำรเรียนรู้ประจำำหน่วยทุกข้อให้ นักเรียนได้ทรำบ โดยอำจเขียนไว้บนกระดำนดำำ พร้อม ทั้งทบทวนถึงหัวข้อกิจกรรมกำรเรียนว่ำได้เรียนอะไรบ้ำง 1.2 ให้นักเรียนเขียนบันทึกกำรประเมินตนเองไว้ในสมุด งำนด้ำนหลังตำมหัวข้อ ดังนี้ บันทึกกำรประเมินและสะท้อนตนเองประจำำหน่วย ที่..................................... วัน/เดือน/ปี ที่บันทึก ................./...................../.................... รำยกำรบันทึก 1. จำกกำรเรียนที่ผ่ำนมำได้มีควำมรู้อะไรบ้ำง ............................................................................. ....................................................................... ............................................................................. ....................................................................... 2. ปัจจุบันนี้มีควำมสำมำรถปฏิบัติสิ่งใดได้แล้วบ้ำง ............................................................................. ....................................................................... ............................................................................. ....................................................................... 3. สิ่งที่ยังไม่รู้ ไม่กระจ่ำง ไม่เข้ำใจ มีอะไรบ้ำง ............................................................................. ....................................................................... ............................................................................. ....................................................................... 4. ผลงำนหรือชิ้นงำนที่เน้นควำมภำคภูมิใจจำกกำรเรียนใน หน่วยนี้คืออะไร ทำำไมจึงภำคภูมิใจ 88
  • 43. ............................................................................. ....................................................................... ............................................................................. ....................................................................... 1. กำรพัฒนำกำรเรียนกำรสอนโดยใช้กระบวนกำรวิจัย ในชั้นเรียนของครู ชื่ อ เ รื่ อ ง ที่ วิจัย............................................................. 1. ควำมเป็นมำของปัญหำ สิ่ ง ที่ ค ำ ด หวัง........................................................................ ....................................................... ............................................................................. ....................................................................... ............................................................................. ....................................................................... สิ่ ง ที่ เ ป็ น จริง............................................................................ .................................................... ............................................................................. ....................................................................... ปั ญ ห ำ ที่ พ บ คือ............................................................................. ............................................... ............................................................................. ....................................................................... ส ำ เ ห ตุ ข อ ง ปั ญ ห ำ คือ............................................................................. ...................................... ............................................................................. ....................................................................... แ น ว ท ำ ง ก ำ ร แ ก้ ไ ข ปั ญ ห ำ คือ............................................................................. ........................... 2. วัตถุประสงค์ในกำรแก้ปัญหำ 89
  • 44. 2.1 เพื่อแก้ปัญหำ เรื่อง............................................................................ .............................. ของนักเรียน ชั้น................................ห้อง..............จำำนวน........... คน โดยใช้....................... ....................................................................... .................................................................... 2.2 เพื่อศึกษำผลกำรแก้ไขปัญหำเกี่ยว กับ........................................................................... ..................................หลังจำกที่ได้ทดลองใช้วิธีแก้ ปัญหำโดย........................................... 3. ขอบเขตของกำรแก้ปัญหำ 3.1 กลุ่มเป้ำหมำยในกำรแก้ปัญหำคือ นักเรียน ชั้น............... ห้อง............ จำำนวน................คน ในภำคเรียนที่................. ปีกำรศึกษำ.................. ที่มี ปัญหำเกี่ยวกับ................................... 3.2 เนื้อหำที่ใช้ในกำรศึกษำคือ เรื่อง................................. หน่วยกำรเรียน รู้.............................. วิชำ............................................................................ ...................... 3.3 ระยะเวลำในกำรศึกษำ ประมำณ................. สัปดำห์/ เดือน ตั้งแต่วันที่ ............................. เดือน...................... พ.ศ. ........... ถึงวันที่ ............. เดือน ............................. พ.ศ. ............... 4. วิธีดำำเนินกำรในกำรแก้ไขปัญหำ 4.1 เครื่องมือที่ใช้ในกำรแก้ปัญหำ คือ.............................................................................. ........... ...................................................................... .............................................................................. ซึ่งมีขั้นตอนในกำรสร้ำงและพัฒนำ ดังนี้............................................................................ . ............................................................................. ....................................................................... 90
  • 45. ............................................................................. ................................................................................. ................................................................................. ......................................................... 4.2 เครื่องมือที่ใช้ในกำรเก็บรวบรวมข้อมูล คือ......................................................................... . ............................................................................. ....................................................................... ซึ่งมีขั้นตอนในกำรสร้ำงและตรวจสอบคุณภำพ ดังนี้........................................................... ............................................................................. ....................................................................... ............................................................................. ....................................................................... ............................................................................. ...................................................................... 4.3 กำรเก็บรวบรวมข้อมูล ได้ดำำเนินกำรเก็บรวบรวมข้อมูล ตำมวิธีกำร ดังนี้ 1) นำำเครื่องมือที่ใช้ในกำรแก้ปัญหำไปทดลองใช้กับ นักเรียนในเวลำ............................. โดย.................................................................... .......................................................... ........................................................................ .......................................................................... ........................................................................ .......................................................................... 2) นำำเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลไปเก็บข้อมูลเกี่ยว กับ..................................................... โดย............................................................................ ................................................... 91
  • 46. 4.4 กำรวิเครำะห์ข้อมูลและกำรสรุปผล ได้ดำำเนินกำร วิเครำะห์ข้อมูลและสรุปผล ดังนี้............ ............................................................................. ....................................................................... ............................................................................. ....................................................................... ............................................................................. ....................................................................... 5. ผลกำรแก้ปัญหำ ผลกำรแก้ปัญหำเกี่ยว กับ.............................................................................. ............................... ของนักเรียนกลุ่มเป้ำหมำย ปรำกฏผลดังนี้ ................................................................................. ............................................................................. ....................................................................... ............................................................................. ....................................................................... ............................................................................. ....................................................................... ............................................................................. ....................................................................... ............................................................................. ....................................................................... ............................................................................. ....................................................................... 92
  • 47. แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง หลักธรรมทำงพระพุทธศำสนำ คำำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. คำำว่ำ “ ”พุทธ แปลว่ำอะไร ก. พระผู้มีพระภำคเจ้ำ ข. เป็นพระอรหันต์ ค. ผู้ตรัสรู้เอง ง. ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบำน 2. หลักธรรมใดที่พระพุทธเจ้ำทรงใช้สั่งสอนมำกที่สุด ก. สติ - สัมปชัญญะ ข. อริยสัจ 4 ค. ฆรำวำสธรรม ง. สังคหวัตถุ 4 3. ควำมอยำกมี อยำกเป็น เป็นตัณหำใด ก. ภวตัณหำ ข. กำมตัณหำ ค. วิภำวตัณหำ ง. นิโรธตัณหำ 4. สัมมำวำยำมะแปลว่ำอะไร ก. มำนีรับจ้ำงขำยของที่ตลำด ข. มำนะถีบสำมล้อรับจ้ำง ค. สุนีย์พยำยำมร้อยสำยสร้อยให้แม่ในวันแม่ ง. สำยใยตั้งใจฝึกสมำธิเพื่อรักษำสุขภำพ 5. ยำยมียังจำำได้ว่ำเคยกรำบหลวงพ่อขอมตอนท่ำนยังมีชีวิตอยู่ ในงำนวัดไผ่โรงวัว ตรงกับควำม หมำยข้อใด ก. สังขำร ข. รูป ค. เวทนำ ง. สัญญำ 6. ขันธ์ 5 ประด้วยหัวข้อใดบ้ำง 93