SlideShare a Scribd company logo
รูบิค (Rubics) เปนเครื่องมือใหคะแนนชนิดหนึ่งใชในการประเมินการ
ปฏิบติงานหรือผลงานนักเรียน เปนเหมือนการกําหนดลักษณะเฉพาะในเชิงคุณภาพ
     ั
หรือเชิงปริมาณ หรือทั้ง 2 ประการรวมกัน ประกอบดวย 2 สวน คือ

1. เกณฑทใชประเมินการปฏิบัติหรือผลงาน บอกวาจะพิจารณาสิงใดบาง
          ่ี                                            ่
2. ระดับคุณภาพหรือระดับคะแนน บอกวาจะไดรับคุณภาพระดับใด
• สําหรับครู
 - ชวยควบคุมการปฏิบัติการตามความคาดหวังในผลงานนักเรียน
  - ลดเวลาครูในการประเมินงานนักเรียน เห็นจุดเดนและสิ่งที่
    นักเรียนตองปรับปรุง
  - มีความยืดหยุน คือมีระดับคุณภาพตั้งแตดเี ยียมจนถึงตอง
                                              ่
    ปรับปรุงใชกับนักเรียนคละความสามารถได โดยใชเกณฑ
    สะทอนผลงานของเขา
• สําหรับนักเรียน
  - ชวยปรับปรุงพัฒนาการการปฏิบัติและการแสดงออกของนักเรียน
  - ชวยตัดสินคุณภาพผลงานของตนเองและของคนอื่นอยางมีเหตุผล
  - นักเรียนเกิดการเรียนรูมากขึ้น รูวาอะไรคือผลงานสุดทายที่ออกมาดี
     และจะเตรียมตัวตามประเด็นการประเมินอยางไร
  - ใชงายและอธิบายไดงาย รูชัดเจนวาจะเรียนรูอะไร
     และจะประเมินอยางไร
รูบิคมี 2 ชนิด
     1. รูบริคแบบภาพรวม (Holistic Rubrics)
     2. รูบริคแบบแยกสวน (Analytic Rubrics)
•   ดูภาพรวมของกระบวนการหรือผลงาน
•   ดูคุณภาพโดยรวมมากกวาขอบกพรองสวนยอย
•   เหมาะกับการปฏิบัติที่ตองการใหนักเรียนสรางสรรค
•   ไมมีคําตอบที่ถูกตองชัดเจน
•   กระบวนการใหคะแนนเร็ว
•   ครูตองอาน พิจารณาโดยตลอด
•   นักเรียนไดรับผลสะทอนกลับนอยมาก
คะแนน                    รายละเอียด
 5       แสดงความเขาใจปญหาอยางสมบูรณ คําตอบ
         ประกอบดวยทุกประเด็นที่ตองการ
 4       แสดงความเขาใจปญหาคอนขางมาก คําตอบปรากฏทุก
         ประเด็นที่ตองการ
     3   แสดงความเขาใจบางสวน คําตอบประกอบดวยประเด็น
         สวนใหญที่ตองการ
 2       แสดงความเขาใจปญหาเพียงเล็กนอย ประเด็นสวนใหญที่
         ตองการไมปรากฏ
1        แสดงความไมเขาใจ
•   เนนชนิดหรือลักษณะเฉพาะของการตอบสนอง
•   ไมเนนประเด็นความคิดสรางสรรค
•   ผลลัพธขั้นตนจะมีคะแนนหลายตัว ตามดวยคะแนนรวม
•   หลายทักษะหรือหลายคุณลักษณะ
•   ใชเวลามาก แตไดผลคอนขางสมบูรณ
•   สะทอนผลกลับตอนักเรียนและครู
ระดับ
เกณฑ              เริ่มตน            พัฒนา              สมบูรณ            เปนตัวอยางได คะแนน

การวิเคราะห    สรุปขอมูลที่เก็บ   พยายามวิเคราะห       ใชวิธีวิเคราะห   วิธีวิเคราะหที่ใช
                มาไมได            ขอมูลแตใชวิธีไม   เหมาะสม            เพื่อสรุปขอมูล
ทางสถิติ                            เหมาะสม               แตการวิเคราะห    เหมาะสม
                                                          ไมสมบูรณ         ทังหมด
                                                                               ้

การสํารวจ/       ใชคาถามในการ
                     ํ              คําถามตรงประเด็น คําถามตรงประเด็น คําถามตรงประเด็น
                 เก็บขอมูลไม      นอยขอมูลไม    เปนสวนใหญขอมูล ทุกขอขอมูลจาก
สัมภาษณ/        เหมาะสม            เพียงพอ          จากตัวอยาง        ตัวอยางสมบูรณ
คําถาม                                               พอเพียง
                                                                                            รวม
1. จับคูแนวทางการใหคะแนนกับจุดประสงคการเรียนรูที่ตองใชในการทํางาน
2. อธิบายคุณลักษณะและทักษะหรือพฤติกรรมที่ครูตองการเห็นและขอผิดพลาดที่ไม
    ตองการใหเกิด
3. อธิบายคุณลักษณะการปฏิบัติที่สูงกวาระดับคาเฉลี่ย คาเฉลี่ย และต่ํากวาคาเฉลี่ย
4. รูบริคแบบภาพรวมเขียนบรรยายลักษณะที่ดีและงานไมดี รวมทุกเกณฑเขาดวยกัน
    รูบริคแบบแยกสวนเขียนบรรยายลักษณะที่ดีและไมดีโดยแยกตางหากแตละเกณฑ
5. รวบรวมตัวอยางงานตัวแทนของแตละระดับ
6. ทบทวนรูบริคที่ทําแลว
1. การบรรยายดานปริมาณมักใชระดับ 1-4
2. การบรรยายดานคุณภาพมักใชคําที่ยืดหยุน เชน เชี่ยวชาญ ชํานาญ ฝกหัด มือใหม
3. การแปลงระดับเปนเกรดไมควรเทียบกับคะแนนรอยละ ถารูบริคมี 6 ระดับ
   ระดับ 3 ไมควรถือวาเทากับ 50%
4. คะแนนรูบริคมักพิจารณาจากคาเฉลี่ย ปกติเปนเกรด c
5. ครูตองจัดทําระบบเปลี่ยนรูบริคเปนเกรดเพื่อการรายงาน
   ผลการปฏิบัติอยางลงตัว

More Related Content

What's hot

4.ใบงาน
4.ใบงาน4.ใบงาน
4.ใบงานparichat441
 
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3Mam Chongruk
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552waranyuati
 
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6teerachon
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
Sunisa199444
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2
KruGift Girlz
 
แบบฟอร์ม โครงงานคณิตศาสตร์
แบบฟอร์ม โครงงานคณิตศาสตร์แบบฟอร์ม โครงงานคณิตศาสตร์
แบบฟอร์ม โครงงานคณิตศาสตร์
sarawut saoklieo
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
peter dontoom
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
somdetpittayakom school
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
krunueng1
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapkrupornpana55
 
แบบฟอร์มใบความรู้ใบงาน
แบบฟอร์มใบความรู้ใบงานแบบฟอร์มใบความรู้ใบงาน
แบบฟอร์มใบความรู้ใบงาน
Totsaporn Inthanin
 
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
Thanawut Rattanadon
 
ใบงานที่ 6.1 เรื่อง อินเตอร์เน็ตและการใช้งาน
ใบงานที่  6.1 เรื่อง อินเตอร์เน็ตและการใช้งานใบงานที่  6.1 เรื่อง อินเตอร์เน็ตและการใช้งาน
ใบงานที่ 6.1 เรื่อง อินเตอร์เน็ตและการใช้งาน
โรงเรียนหาดใหญ่รัฐประชาสรรค์
 

What's hot (20)

4.ใบงาน
4.ใบงาน4.ใบงาน
4.ใบงาน
 
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
 
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
รายการประเมิน
รายการประเมินรายการประเมิน
รายการประเมิน
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2
 
แบบฟอร์ม โครงงานคณิตศาสตร์
แบบฟอร์ม โครงงานคณิตศาสตร์แบบฟอร์ม โครงงานคณิตศาสตร์
แบบฟอร์ม โครงงานคณิตศาสตร์
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind map
 
แบบฟอร์มใบความรู้ใบงาน
แบบฟอร์มใบความรู้ใบงานแบบฟอร์มใบความรู้ใบงาน
แบบฟอร์มใบความรู้ใบงาน
 
ปพ5 ปีการศึกษา2553 รายปี ชั้น ม3 วิชาคณิตศาสตร์
ปพ5 ปีการศึกษา2553 รายปี ชั้น ม3 วิชาคณิตศาสตร์ปพ5 ปีการศึกษา2553 รายปี ชั้น ม3 วิชาคณิตศาสตร์
ปพ5 ปีการศึกษา2553 รายปี ชั้น ม3 วิชาคณิตศาสตร์
 
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
 
ใบงานที่ 6.1 เรื่อง อินเตอร์เน็ตและการใช้งาน
ใบงานที่  6.1 เรื่อง อินเตอร์เน็ตและการใช้งานใบงานที่  6.1 เรื่อง อินเตอร์เน็ตและการใช้งาน
ใบงานที่ 6.1 เรื่อง อินเตอร์เน็ตและการใช้งาน
 

Viewers also liked

โจทย์พิเศษ 500 ข้อสอบยาก คณิตศาสตร์ ป.6 สอบเข้า ม.1
โจทย์พิเศษ 500 ข้อสอบยาก คณิตศาสตร์ ป.6 สอบเข้า ม.1โจทย์พิเศษ 500 ข้อสอบยาก คณิตศาสตร์ ป.6 สอบเข้า ม.1
โจทย์พิเศษ 500 ข้อสอบยาก คณิตศาสตร์ ป.6 สอบเข้า ม.1
Tutor Ferry
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
Ritthinarongron School
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ความน่าจะเป็น
แบบฝึกเสริมทักษะ  ความน่าจะเป็นแบบฝึกเสริมทักษะ  ความน่าจะเป็น
แบบฝึกเสริมทักษะ ความน่าจะเป็น
Krukomnuan
 
ข้อสอบเข้าจริง ม.1 -สาธิตศิลปากร คณิตศาสตร์
ข้อสอบเข้าจริง ม.1 -สาธิตศิลปากร คณิตศาสตร์ข้อสอบเข้าจริง ม.1 -สาธิตศิลปากร คณิตศาสตร์
ข้อสอบเข้าจริง ม.1 -สาธิตศิลปากร คณิตศาสตร์Kam Nimpunyagampong
 
ใบความรู้แผ่นพับ
ใบความรู้แผ่นพับใบความรู้แผ่นพับ
ใบความรู้แผ่นพับdevilp Nnop
 

Viewers also liked (6)

โจทย์พิเศษ 500 ข้อสอบยาก คณิตศาสตร์ ป.6 สอบเข้า ม.1
โจทย์พิเศษ 500 ข้อสอบยาก คณิตศาสตร์ ป.6 สอบเข้า ม.1โจทย์พิเศษ 500 ข้อสอบยาก คณิตศาสตร์ ป.6 สอบเข้า ม.1
โจทย์พิเศษ 500 ข้อสอบยาก คณิตศาสตร์ ป.6 สอบเข้า ม.1
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ความน่าจะเป็น
แบบฝึกเสริมทักษะ  ความน่าจะเป็นแบบฝึกเสริมทักษะ  ความน่าจะเป็น
แบบฝึกเสริมทักษะ ความน่าจะเป็น
 
ข้อสอบเข้าจริง ม.1 -สาธิตศิลปากร คณิตศาสตร์
ข้อสอบเข้าจริง ม.1 -สาธิตศิลปากร คณิตศาสตร์ข้อสอบเข้าจริง ม.1 -สาธิตศิลปากร คณิตศาสตร์
ข้อสอบเข้าจริง ม.1 -สาธิตศิลปากร คณิตศาสตร์
 
แผ่นพับโครงงาน
แผ่นพับโครงงานแผ่นพับโครงงาน
แผ่นพับโครงงาน
 
ใบความรู้แผ่นพับ
ใบความรู้แผ่นพับใบความรู้แผ่นพับ
ใบความรู้แผ่นพับ
 

Similar to การให้คะแนนแบบรูบิค[1]

02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุkruannchem
 
Reasoning1552
Reasoning1552Reasoning1552
Reasoning1552wongsrida
 
Reasoning155
Reasoning155Reasoning155
Reasoning155wongsrida
 
Focus on measurement and evaluation
Focus on measurement and evaluationFocus on measurement and evaluation
Focus on measurement and evaluationtadpinijsawitree
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงBenz_benz2534
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงBenz_benz2534
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงmickyindbsk
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
Kobwit Piriyawat
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
คุณครูพี่อั๋น
 
Plan30 สำหรับนิเทศ
Plan30 สำหรับนิเทศPlan30 สำหรับนิเทศ
Plan30 สำหรับนิเทศpummath
 
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกันบทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกันnoi1
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backwardparichat441
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backwardparichat441
 

Similar to การให้คะแนนแบบรูบิค[1] (20)

02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
 
Reasoning1552
Reasoning1552Reasoning1552
Reasoning1552
 
Reasoning155
Reasoning155Reasoning155
Reasoning155
 
Focus on measurement and evaluation
Focus on measurement and evaluationFocus on measurement and evaluation
Focus on measurement and evaluation
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
 
Event2555
Event2555Event2555
Event2555
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
 
1principletest
1principletest1principletest
1principletest
 
1principletest
1principletest1principletest
1principletest
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Plan30 สำหรับนิเทศ
Plan30 สำหรับนิเทศPlan30 สำหรับนิเทศ
Plan30 สำหรับนิเทศ
 
Event
EventEvent
Event
 
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกันบทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward
 

การให้คะแนนแบบรูบิค[1]

  • 1. รูบิค (Rubics) เปนเครื่องมือใหคะแนนชนิดหนึ่งใชในการประเมินการ ปฏิบติงานหรือผลงานนักเรียน เปนเหมือนการกําหนดลักษณะเฉพาะในเชิงคุณภาพ ั หรือเชิงปริมาณ หรือทั้ง 2 ประการรวมกัน ประกอบดวย 2 สวน คือ 1. เกณฑทใชประเมินการปฏิบัติหรือผลงาน บอกวาจะพิจารณาสิงใดบาง ่ี ่ 2. ระดับคุณภาพหรือระดับคะแนน บอกวาจะไดรับคุณภาพระดับใด
  • 2. • สําหรับครู - ชวยควบคุมการปฏิบัติการตามความคาดหวังในผลงานนักเรียน - ลดเวลาครูในการประเมินงานนักเรียน เห็นจุดเดนและสิ่งที่ นักเรียนตองปรับปรุง - มีความยืดหยุน คือมีระดับคุณภาพตั้งแตดเี ยียมจนถึงตอง  ่ ปรับปรุงใชกับนักเรียนคละความสามารถได โดยใชเกณฑ สะทอนผลงานของเขา
  • 3. • สําหรับนักเรียน - ชวยปรับปรุงพัฒนาการการปฏิบัติและการแสดงออกของนักเรียน - ชวยตัดสินคุณภาพผลงานของตนเองและของคนอื่นอยางมีเหตุผล - นักเรียนเกิดการเรียนรูมากขึ้น รูวาอะไรคือผลงานสุดทายที่ออกมาดี และจะเตรียมตัวตามประเด็นการประเมินอยางไร - ใชงายและอธิบายไดงาย รูชัดเจนวาจะเรียนรูอะไร และจะประเมินอยางไร
  • 4. รูบิคมี 2 ชนิด 1. รูบริคแบบภาพรวม (Holistic Rubrics) 2. รูบริคแบบแยกสวน (Analytic Rubrics)
  • 5. ดูภาพรวมของกระบวนการหรือผลงาน • ดูคุณภาพโดยรวมมากกวาขอบกพรองสวนยอย • เหมาะกับการปฏิบัติที่ตองการใหนักเรียนสรางสรรค • ไมมีคําตอบที่ถูกตองชัดเจน • กระบวนการใหคะแนนเร็ว • ครูตองอาน พิจารณาโดยตลอด • นักเรียนไดรับผลสะทอนกลับนอยมาก
  • 6. คะแนน รายละเอียด 5 แสดงความเขาใจปญหาอยางสมบูรณ คําตอบ ประกอบดวยทุกประเด็นที่ตองการ 4 แสดงความเขาใจปญหาคอนขางมาก คําตอบปรากฏทุก ประเด็นที่ตองการ 3 แสดงความเขาใจบางสวน คําตอบประกอบดวยประเด็น สวนใหญที่ตองการ 2 แสดงความเขาใจปญหาเพียงเล็กนอย ประเด็นสวนใหญที่ ตองการไมปรากฏ 1 แสดงความไมเขาใจ
  • 7. เนนชนิดหรือลักษณะเฉพาะของการตอบสนอง • ไมเนนประเด็นความคิดสรางสรรค • ผลลัพธขั้นตนจะมีคะแนนหลายตัว ตามดวยคะแนนรวม • หลายทักษะหรือหลายคุณลักษณะ • ใชเวลามาก แตไดผลคอนขางสมบูรณ • สะทอนผลกลับตอนักเรียนและครู
  • 8. ระดับ เกณฑ เริ่มตน พัฒนา สมบูรณ เปนตัวอยางได คะแนน การวิเคราะห สรุปขอมูลที่เก็บ พยายามวิเคราะห ใชวิธีวิเคราะห วิธีวิเคราะหที่ใช มาไมได ขอมูลแตใชวิธีไม เหมาะสม เพื่อสรุปขอมูล ทางสถิติ เหมาะสม แตการวิเคราะห เหมาะสม ไมสมบูรณ ทังหมด ้ การสํารวจ/ ใชคาถามในการ ํ คําถามตรงประเด็น คําถามตรงประเด็น คําถามตรงประเด็น เก็บขอมูลไม นอยขอมูลไม เปนสวนใหญขอมูล ทุกขอขอมูลจาก สัมภาษณ/ เหมาะสม เพียงพอ จากตัวอยาง ตัวอยางสมบูรณ คําถาม พอเพียง รวม
  • 9. 1. จับคูแนวทางการใหคะแนนกับจุดประสงคการเรียนรูที่ตองใชในการทํางาน 2. อธิบายคุณลักษณะและทักษะหรือพฤติกรรมที่ครูตองการเห็นและขอผิดพลาดที่ไม ตองการใหเกิด 3. อธิบายคุณลักษณะการปฏิบัติที่สูงกวาระดับคาเฉลี่ย คาเฉลี่ย และต่ํากวาคาเฉลี่ย 4. รูบริคแบบภาพรวมเขียนบรรยายลักษณะที่ดีและงานไมดี รวมทุกเกณฑเขาดวยกัน รูบริคแบบแยกสวนเขียนบรรยายลักษณะที่ดีและไมดีโดยแยกตางหากแตละเกณฑ 5. รวบรวมตัวอยางงานตัวแทนของแตละระดับ 6. ทบทวนรูบริคที่ทําแลว
  • 10. 1. การบรรยายดานปริมาณมักใชระดับ 1-4 2. การบรรยายดานคุณภาพมักใชคําที่ยืดหยุน เชน เชี่ยวชาญ ชํานาญ ฝกหัด มือใหม 3. การแปลงระดับเปนเกรดไมควรเทียบกับคะแนนรอยละ ถารูบริคมี 6 ระดับ ระดับ 3 ไมควรถือวาเทากับ 50% 4. คะแนนรูบริคมักพิจารณาจากคาเฉลี่ย ปกติเปนเกรด c 5. ครูตองจัดทําระบบเปลี่ยนรูบริคเปนเกรดเพื่อการรายงาน ผลการปฏิบัติอยางลงตัว