SlideShare a Scribd company logo
ภาวะผู้น ำา
สมาชิก กลุ่ม
• น.ส.ฐิติภัทร ทาแกง       รหัส
  5302102047029
• น.ส.ทัศนีวรรณ ต๊ะวงค์    รหัส
  5302102047026
• น.ส.กันยารัตน์ สุยะยอด   รหัส
  5302102047022
• น.ส.กนกจันทร์ มะโนปิน    รหัส
  5302102047031
• น.ส.อัมพิกา ปัญญา               รหัส
  5202202047081
ภาวะผู้น ำา
                     (Leadership)
           กล่าวได้ว่า ผู้นำาเป็นปัจจัยสำาคัญต่อความสำาเร็จของงาน
และองค์การ ในอดีตมีความเชื่อว่า การเป็นผู้นำานั้นเป็นมาโดย
กำาเนิด พร้อมกับคุณลักษณะเฉพาะที่คนทั่วไปไม่มี ปัจจุบันความ
เชื่อ       ดังกล่าวได้เปลี่ยนไปว่า ผู้นำามิได้เป็นมาโดยกำาเนิด การ
เป็นผู้นำาสามารถสร้างขึ้นได้ จากการที่ผู้นั้นใช้ความพยายามและ
การทำางานหนัก (Leaders are not born, leaders are made
and they are made by effort and hard work) การเป็นผู้นำา
จึงเป็นเรื่องที่เรียนรู้ได้ ภาวะผู้นำาเป็นคำาที่มีผู้ให้นิยามมากมาย แต่ที่
คนส่วนใหญ่เข้าใจตรงกันก็คือ เป็นกระบวนการอิทธิพลทางสังคมที่
บุคคลหนึ่งตั้งใจใช้อิทธิพลต่อผู้อื่น เพื่อให้ปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ตาม
ที่กำาหนด รวมทั้งการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในองค์การ
ภาวะผู้นำาจึงเป็นกระบวนการอิทธิผลที่ช่วยให้กลุ่มสามารถบรรลุเป้า
หมาย
           การศึกษาภาวะผู้นำาอย่างมีระบบได้ดำาเนินการต่อเนื่องมา
ร่วมร้อยปี เกิดมุมมองและความเชื่อต่าง ๆ ที่พัฒนามาเป็นทฤษฎี
ภาวะผู้นำาจำานวนมากมาย ในที่นี้จะแบ่งเป็นกลุ่มทฤษฎีและยกมาเป็น
ความหมายของภาวะผู้น ำา
มีคนให้ความหมายไว้มาก แต่สรุปได้ว่า
       ภาวะผูนำา คือ บุคคลที่มีอิทธิพลต่อกลุ่ม ซึ่ง
                ้
สามารถนำากลุ่มปฏิบติงานต่าง ๆ เพื่อให้บรรลุเป้า
                       ั
หมายขององค์การ
       มีคำาสำาคัญอยู่ 2 คำาที่จำาเป็นต้องเข้าใจใน
เริ่มแรก ก็คอคำาว่า “leadership” ซึ่งมักเรียกว่า
              ื
“ภาวะ       ผู้นำา” หรือ “การเป็นผู้นำา” กับอีกคำา
หนึ่งคือ “Management” ซึ่งเรียกว่า “การ
บริหาร” หรือ             “การบริหารจัดการ” ทั้ง
สองคำามีความหมายแตกต่างกัน
คุณ ลัก ษณะหลัก ของการเป็น
            ผู้น ำา ที่ด ี
1. ความมีพลังและความทะเยอทะยาน (Energy
   and ambition)
2. ความปรารถนาที่จะนำาผู้อื่น (The desire to
   lead)
3. ความซื่อสัตย์มีจริยธรรมยึดมั่นหลักการ
   (Honesty and integrity)
4. ความเชือมันตนเอง (Self-confidence)
           ่ ่
5. ความเฉลียวฉลาด (Intelligence)
6. ความรอบรู้ในงาน (Job-relevant
   knowledge)
ทฤษฎีคุณลักษณะของผู้นำา
      (Trait theory)
ในช่วงปลายทศวรรษ 1940 นักวิจัยส่วน
ใหญ่หันเหการศึกษาภาวะผู้นำาทีมุ่งเน้นด้าน
                               ่
        คุณลักษณะไปสู่การศึกษาภาวะผู้นำา
ในเชิงกระบวนการและกิจกรรมของผูนำาซึง    ้ ่
สามารถมองเห็นได้      ชัดเจน ซึงเรียกว่า
                                 ่
การศึกษาภาวะผู้นำาเชิงพฤติกรรม โดย
พิจารณาว่า มีพฤติกรรมใดบ้างทีผนำาที่
                                   ่ ู้
ประสบความสำาเร็จแตกต่างจากผูนำาทีไม่้
ประสบความสำาเร็จ การศึกษาภาวะผู้นำาเชิง
พฤติกรรมทีจะกล่าวถึงในทีนี้มี 3 ทฤษฎี
           ่              ่
ได้แก่ การศึกษาภาวะผู้นำาทีมหาวิทยาลัย
                            ่
โอไฮโอสเตท (Ohio state studies) การ
ศึกษาภาวะผูนำาทีมหาวิทยาลัยมิชิแกน
             ้  ่
(University of Michigan studies) และ
การศึกษาภาวะผู้นำาทีมหาวิทยา
                     ่
       ลัยโอไฮโอสเตท
  (The Ohio state studies)
คณะนักวิจัยของมหาวิทยาลัยโอไฮโอส
เตท ในสหรัฐ ได้สรุปผลการวิจัยโดย
จำาแนก
พฤติกรรมของผู้นำาออกเป็น 2 มิติ ได้แก่
ด้านกิจสัมพันธ์ (Initiating structure)
กับด้านมิตรสัมพันธ์ (Consideration)
เป็นครั้งแรกที่เน้นความสำาคัญทั้งของงาน
และคนในการประเมินพฤติกรรมของผู้นำา
การศึกษาภาวะผู้นำาที่
      มหาวิทยาลัยมิชแกน
                     ิ
  (The University of Michigan
           studies)
ในขณะเดียวกันกับการศึกษาภาวะผูนำาที่ ้
โอไฮโอสเตทนั้น คณะนักวิจัยของ
มหาวิทยาลัย           มิชแกน ก็ได้ทำาการ
                         ิ
วิจัยเช่นกัน โดยจำาแนกพฤติกรรมของ
ผู้นำาออกเป็น 2 แบบ ได้แก่ พฤติกรรม
ของ ผู้นำาที่มุ่งผลผลิต (Production-
centered leaders) กับพฤติกรรมของ
ผู้นำาที่มุ่งคนงาน (Employee – centered
ทฤษฎีตาข่ายภาวะผู้นำา
       (Leadership grid)
เดิมเรียกว่าตาข่ายการบริหาร
(Managerial grid) ซึ่งเบลคและมูตัน
(Blake and Mouton) แห่งมหาวิทยาลัย
เท็กซัส ได้พัฒนาจากแนวคิดจากการ
ศึกษาของมหาวิทยาลัยโอไฮโอสเตท โดย
นำา       พฤติกรรมของผู้นำาทั้งสองด้าน
มาจัดตารางตาข่ายสองมิติ โดยแต่ละ
ด้านแบ่งเป็น 9 ระดับ เกิดเป็นตาราง
ตาข่ายแทนพฤติกรรมของผู้นำาขึ้น 81
ช่อง หรือ 81 แบบ แต่ที่เป็นแบบ
ทฤษฎีการแลกเปลียนระหว่างผู้นำากับ
                ่
            สมาชิก
    (Leader-Member Exchange Theory)
แนวคิดของทฤษฎีภาวะผู้นำาส่วนใหญ่จะมองถึงความ
สัมพันธ์ระหว่างผูนำากับผูตามในลักษณะทีผู้นำาปฏิบัติ
                   ้      ้                  ่
ต่อผู้ตามเป็นกลุมโดยเฉลียใช้ภาวะผูนำาต่อผู้ตาม
                 ่          ่            ้
แต่ละคนเท่ากัน แต่ทฤษฎีการแลกเปลียนระหว่างผู้นำา
                                           ่
กับสมาชิก ซึ่งจะเรียกโดยย่อว่า “ทฤษฎี LMX” เชื่อ
ว่าความสัมพันธ์ระหว่างผูนำากับผูตามแต่ละคนเป็นก
                              ้   ้
ระบวนการแลกเปลี่ยนทีไม่เท่ากัน โดยมากหรือน้อย
                        ่
ขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์แบบสองต่อสองระหว่างตัวผูนำา
                                                ้
กับผูตามแต่ละคนเป็นสำาคัญ ทั้งนี้ผตามแต่ละคนที่มี
      ้                               ู้
ความสัมพันธ์ใกล้ชิดสนิทสนมกับผูนำามักจะได้รับการ
                                    ้
ปฏิบัตทดีจากผูนำา ผูตามเหล่านี้จึงมีลักษณะเป็น
        ิ ี่   ้     ้
“คนวงใน” (in-group) ส่วน ผู้ตามอีกส่วนหนึ่ง ซึ่ง
แต่ละคนมีความสัมพันธ์กับผูนำาแบบปกติธรรมดาตาม
                                ้
ทฤษฎีภาวะผู้นำาเชิงสถานการณ์
  (Situational Theories of
        Leadership)
ภาวะผูนำาเป็นกระบวนการที่มีความสลับ
      ้
ซับซ้อนที่เกิดขึ้นจากความสัมพันธ์ทาง
สังคม โดยมีผลกระทบมาจากปัจจัย
แวดล้อมต่าง ๆ ซึ่งรวมเรียกว่า
สถานการณ์ (Situation) ที่ประกอบด้วย
ลักษณะของผู้ใต้บงคับบัญชา ลักษณะ
                   ั
ของงานที่ต้องปฏิบติ และธรรมชาติของ
                     ั
องค์การ มีทฤษฎีภาวะผู้นำาหลายทฤษฎีซึ่ง
ให้ความสำาคัญของสถานการณ์ ดังจะ
กล่าวเป็นตัวอย่างเพียง 2 ทฤษฎี ได้แก่
ทฤษฎีสถานการณ์ของฟีดเลอร์
  (Fiedler Contingency
         Theory)
แม้จะมีนักวิชาการหลายคนที่เสนอแนวคิดเกี่ยว
กับภาวะผู้นำาที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์กตาม แต่
                                        ็
บุคคลแรกที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางที่สุด
ได้แก่ ฟีดเลอร์ (Fiedler, 1967) ซึ่งเรียกว่า
ทฤษฎีสถานการณ์ของฟีดเลอร์ ซึ่งประกอบด้วย
หลักการสำาคัญอยู่ 3 ประการ ได้แก่
1.     แบบภาวะผู้นำาถูกกำาหนดโดยระบบแรง
จูงใจของผู้นำา
2.     การควบคุมสถานการณ์ขึ้นอยู่กบสามปัจจัย
                                      ั
คือ บรรยากาศ          ของกลุ่ม โครงสร้างของงาน
 และอำานาจในตำาแหน่งของผู้นำา
ทฤษฎีวถีทาง-เป้าหมาย
            ิ
      (Path - Goal Theory)
เป็นทฤษฎีเชิงสถานการณ์ที่พัฒนาโดยเฮาส์
และมิทเชลล์ (House & Mitchell, 1974)
ซึ่งมีความเชื่อว่า ผู้นำาสามารถสร้างแรง
จูงใจในการทำางานแก่ผู้ตามได้ โดยเพิ่ม
จำานวนและชนิดของรางวัลผลตอบแทนทีได้         ่
รับจากการทำางานนั้น ผู้นำายังสามารถสร้าง
แรงจูงใจด้วยการทำาให้วิถีทาง (Path) ทีจะ่
ไปสู่ เป้าหมายชัดเจนขึ้น และง่ายพอทีผู้   ่
ปฏิบัตจะสามารถทำาสำาเร็จ ซึงผู้นำาแสดง
       ิ                       ่
พฤติกรรมด้วยการช่วยเหลือแนะนำา สอน
งานและนำาทางหรือเป็นพี่เลียงคอยดูแล
                             ้
นอกจากนี้ผู้นำายังช่วยสร้างแรงจูงใจได้ด้วย
การช่วยแก้ไขอุปสรรคขวางกันหนทางไปสู่
                                 ้
เป้าหมาย รวมทั้งสามารถช่วยในการทำาให้
พฤติกรรมผู้นำา
           (Leader Behavior)
เฮาส์และมิทเชลล์ (House and Mitchell, 1974)
แบ่งประเภทพฤติกรรมของผู้นำาตามทฤษฎี
วิถีทาง – เป้าหมาย ออกเป็น 4 ประเภท แต่ละ
ประเภทแทนได้ด้วยแบบภาวะผู้นำา (leadership
style)ได้แก่
1.ภาวะผูนำาแบบสนับสนุน
         ้
2.ภาวะผูนำาแบบสั่งการ
           ้
3.ภาวะผูนำาแบบมุ่งความสำาเร็จของงาน
             ้
4.ภาวะผูนำาแบบให้มส่วนร่วม
               ้   ี
ทฤษฎีภาวะผู้นำาใหม่เชิงเสน่หา
      (Neocharismatic Theories)
เป็นกลุ่มของทฤษฎีภาวะผู้นำาล่าสุดทีให้ความสำาคัญด้าน
                                     ่
คุณลักษณะของผู้นำาทีเป็นความสามารถพิเศษหรือความมี
                        ่
เสน่หา (Charisma) เฉพาะบุคคลซึ่งเป็นแนวคิดภาวะ
ผู้นำาเชิงวีรบุรุษ (Heroic leadership) ได้แก่ ทฤษฎีภาวะ
ผู้นำาทีถูกกล่าวขานมากในปัจจุบัน ภายใต้ชื่อต่าง ๆ เช่น
        ่
ภาวะผู้นำาโดยเสน่หา (Charismatic leadership) ภาวะ
ผู้นำาเปลี่ยนสภาพ (Transformational leadership)
ภาวะผู้นำาเชิงวิสยทัศน์ (Visionary leadership) ภาวะ
                   ั
ผู้นำาเชิงศีลธรรม (Moral leadership) เป็นต้น
ทฤษฎีภาวะผู้นำาแบบเปลียนสภาพ
                      ่
     (Transformational
        Leadership)
แนวคิดเกี่ยวกับภาวะผู้นำาที่มีการศึกษาวิจัยมากใน
ช่วงตั้งแต่ทศวรรษ 1980 เป็นต้นมาได้แก่
ภาวะผู้นำาแบบเปลี่ยนสภาพ (Transformational
leadership) จากชือของทฤษฎีนี้ได้บงบอกถึง
                    ่                ่
กระบวนการเปลียนแปลงหรือการแปรสภาพในตัว
                ่
บุคคล โดยผู้นำาจะมุ่งเน้นการเปลี่ยนแปลงเรื่องค่านิยม
คุณธรรม มาตรฐานและการมองการณ์ไกลไปใน
อนาคต ผู้นำาเปลียนสภาพจะให้ความสำาคัญต่อการ
                  ่
ประเมินเพื่อทราบถึงระดับแรงจูงใจของผู้ตาม แล้ว
พยายามหาแนวทางตอบสนองความต้องการและ
ปฏิบติต่อผู้ตามด้วยคุณค่าความเป็นมนุษย์ โดยสาระ
     ั
ของทฤษฎีแล้ว ภาวะผู้นำาแบบเปลี่ยนสภาพจะกว้าง
ขวางครอบคลุมแนวคิดของภาวะผู้นำาโดยเสน่หา
(Charismatic leadership) ภาวะผู้นำาเชิงวิสยทัศน์
                                            ั
(Visionary leadership) รวมทั้งภาวะผู้นำาเชิง
บทสรุป
ทฤษฎีภาวะผู้นำาต่าง ๆ ตามแนวคิดเก่าที่
เน้นการใช้คำาสั่งและการกำากับควบคุม
ไม่เหมาะสม ที่จะนำามาใช้ให้เกิด
ประสิทธิผลในยุคปัจจุบัน ทั้งด้านสังคม
และวัฒนธรรม โดยเฉพาะการปรับเปลี่ยน
ขององค์การทั่วโลกให้มีความยืดหยุ่นเพื่อ
เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันมาก
ขึ้น ผูนำาจึงจำาเป็นต้องปรับแนวคิดและ
        ้
บทบาทใหม่ ให้สอดคล้องกับประเด็นการ
เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
สวัสดี

More Related Content

What's hot

พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานChainarong Maharak
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำklarharn
 
การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จ
การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จการพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จ
การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จmarkable33
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 
[บทที่10]ภาวะผู้นำ
[บทที่10]ภาวะผู้นำ[บทที่10]ภาวะผู้นำ
[บทที่10]ภาวะผู้นำguest817d3d
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกPadvee Academy
 
หลักธรรมาภิบาล ใหม่
หลักธรรมาภิบาล ใหม่หลักธรรมาภิบาล ใหม่
หลักธรรมาภิบาล ใหม่Chalermpon Dondee
 
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการบทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการNapin Yeamprayunsawasd
 
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนathapol anunthavorasakul
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่Wijitta DevilTeacher
 
การแนะแนวและให้คำปรึกษา
การแนะแนวและให้คำปรึกษาการแนะแนวและให้คำปรึกษา
การแนะแนวและให้คำปรึกษาAoun หมูอ้วน
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยkhanidthakpt
 
ผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthree
ผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthreeผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthree
ผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthreePattie Pattie
 
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"พัน พัน
 
อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒Evesu Goodevening
 
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหารแนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหารguest3d68ee
 
การประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติการประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติNU
 
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนาบทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนาSaiiew
 

What's hot (20)

พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
 
การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จ
การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จการพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จ
การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จ
 
Leadership
LeadershipLeadership
Leadership
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
[บทที่10]ภาวะผู้นำ
[บทที่10]ภาวะผู้นำ[บทที่10]ภาวะผู้นำ
[บทที่10]ภาวะผู้นำ
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
 
หลักธรรมาภิบาล ใหม่
หลักธรรมาภิบาล ใหม่หลักธรรมาภิบาล ใหม่
หลักธรรมาภิบาล ใหม่
 
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการบทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
 
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
 
การแนะแนวและให้คำปรึกษา
การแนะแนวและให้คำปรึกษาการแนะแนวและให้คำปรึกษา
การแนะแนวและให้คำปรึกษา
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
 
ผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthree
ผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthreeผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthree
ผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthree
 
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
 
อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒
 
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหารแนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
 
การประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติการประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติ
 
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนาบทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
 

Viewers also liked

บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรองบทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรองAj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 9 การอภิปราย
บทที่ 9 การอภิปรายบทที่ 9 การอภิปราย
บทที่ 9 การอภิปรายAj.Mallika Phongphaew
 
วัฒนธรรมองค์กร
วัฒนธรรมองค์กรวัฒนธรรมองค์กร
วัฒนธรรมองค์กรNingnoi Ohlunla
 
พฤติกรรมองค์กร
พฤติกรรมองค์กร พฤติกรรมองค์กร
พฤติกรรมองค์กร Prathum Charoenroop
 
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กรงานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กรsukanya56106930005
 
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Aj.Mallika Phongphaew
 
9789740330660
97897403306609789740330660
9789740330660CUPress
 
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่มบทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่มAj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำบทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำAj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาบทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาAj.Mallika Phongphaew
 
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)Ritthiporn Lekdee
 
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องบทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องAj.Mallika Phongphaew
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทDr.Krisada [Hua] RMUTT
 

Viewers also liked (14)

บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรองบทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
 
บทที่ 9 การอภิปราย
บทที่ 9 การอภิปรายบทที่ 9 การอภิปราย
บทที่ 9 การอภิปราย
 
วัฒนธรรมองค์กร
วัฒนธรรมองค์กรวัฒนธรรมองค์กร
วัฒนธรรมองค์กร
 
พฤติกรรมองค์กร
พฤติกรรมองค์กร พฤติกรรมองค์กร
พฤติกรรมองค์กร
 
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กรงานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
 
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
 
Oganization Culture
Oganization CultureOganization Culture
Oganization Culture
 
9789740330660
97897403306609789740330660
9789740330660
 
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่มบทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
 
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำบทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
 
บทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาบทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนา
 
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
 
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องบทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 

Similar to ภาวะผู้นำ

ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารguest6b6fea3
 
โครงการสัมมนาใช้จริง
โครงการสัมมนาใช้จริงโครงการสัมมนาใช้จริง
โครงการสัมมนาใช้จริงthawiwat dasdsadas
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfTeetut Tresirichod
 
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษาสื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษาRatchaphon Cherngchon
 
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่Chatnakrop Sukhonthawat
 
Leadership
LeadershipLeadership
Leadershippapatsa
 
การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)Yingjira Panomai
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมPhakawat Owat
 
Organization Behavior
Organization BehaviorOrganization Behavior
Organization Behaviortltutortutor
 
พระวินัย ปรัชญาวินัย 0
พระวินัย ปรัชญาวินัย 0พระวินัย ปรัชญาวินัย 0
พระวินัย ปรัชญาวินัย 0Yota Bhikkhu
 
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดสัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดSani Satjachaliao
 
วิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลง
วิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลงวิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลง
วิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลงstjohnbatch753
 
Cw059 00 ประมวลการสอน ความเป็นผู้นำ ..
Cw059 00 ประมวลการสอน ความเป็นผู้นำ ..Cw059 00 ประมวลการสอน ความเป็นผู้นำ ..
Cw059 00 ประมวลการสอน ความเป็นผู้นำ ..Prapaporn Boonplord
 
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่Aj.Mallika Phongphaew
 
ทฤษฎีผู้นำชั้นยอด
ทฤษฎีผู้นำชั้นยอดทฤษฎีผู้นำชั้นยอด
ทฤษฎีผู้นำชั้นยอดLampang Rajabhat University
 

Similar to ภาวะผู้นำ (20)

Leadership
LeadershipLeadership
Leadership
 
ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหาร
 
โครงการสัมมนาใช้จริง
โครงการสัมมนาใช้จริงโครงการสัมมนาใช้จริง
โครงการสัมมนาใช้จริง
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
 
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษาสื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
 
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
 
OM Theory (Ch.2)
OM Theory (Ch.2)OM Theory (Ch.2)
OM Theory (Ch.2)
 
Leadership
LeadershipLeadership
Leadership
 
Leadership
LeadershipLeadership
Leadership
 
การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
Organization Behavior
Organization BehaviorOrganization Behavior
Organization Behavior
 
พระวินัย ปรัชญาวินัย 0
พระวินัย ปรัชญาวินัย 0พระวินัย ปรัชญาวินัย 0
พระวินัย ปรัชญาวินัย 0
 
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดสัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
 
บทที่ ๔ (จริง)
บทที่ ๔ (จริง)บทที่ ๔ (จริง)
บทที่ ๔ (จริง)
 
วิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลง
วิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลงวิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลง
วิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลง
 
Cw059 00 ประมวลการสอน ความเป็นผู้นำ ..
Cw059 00 ประมวลการสอน ความเป็นผู้นำ ..Cw059 00 ประมวลการสอน ความเป็นผู้นำ ..
Cw059 00 ประมวลการสอน ความเป็นผู้นำ ..
 
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
 
Ba.453 ch8
Ba.453 ch8 Ba.453 ch8
Ba.453 ch8
 
ทฤษฎีผู้นำชั้นยอด
ทฤษฎีผู้นำชั้นยอดทฤษฎีผู้นำชั้นยอด
ทฤษฎีผู้นำชั้นยอด
 

ภาวะผู้นำ

  • 2. สมาชิก กลุ่ม • น.ส.ฐิติภัทร ทาแกง รหัส 5302102047029 • น.ส.ทัศนีวรรณ ต๊ะวงค์ รหัส 5302102047026 • น.ส.กันยารัตน์ สุยะยอด รหัส 5302102047022 • น.ส.กนกจันทร์ มะโนปิน รหัส 5302102047031 • น.ส.อัมพิกา ปัญญา รหัส 5202202047081
  • 3. ภาวะผู้น ำา (Leadership) กล่าวได้ว่า ผู้นำาเป็นปัจจัยสำาคัญต่อความสำาเร็จของงาน และองค์การ ในอดีตมีความเชื่อว่า การเป็นผู้นำานั้นเป็นมาโดย กำาเนิด พร้อมกับคุณลักษณะเฉพาะที่คนทั่วไปไม่มี ปัจจุบันความ เชื่อ ดังกล่าวได้เปลี่ยนไปว่า ผู้นำามิได้เป็นมาโดยกำาเนิด การ เป็นผู้นำาสามารถสร้างขึ้นได้ จากการที่ผู้นั้นใช้ความพยายามและ การทำางานหนัก (Leaders are not born, leaders are made and they are made by effort and hard work) การเป็นผู้นำา จึงเป็นเรื่องที่เรียนรู้ได้ ภาวะผู้นำาเป็นคำาที่มีผู้ให้นิยามมากมาย แต่ที่ คนส่วนใหญ่เข้าใจตรงกันก็คือ เป็นกระบวนการอิทธิพลทางสังคมที่ บุคคลหนึ่งตั้งใจใช้อิทธิพลต่อผู้อื่น เพื่อให้ปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ตาม ที่กำาหนด รวมทั้งการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในองค์การ ภาวะผู้นำาจึงเป็นกระบวนการอิทธิผลที่ช่วยให้กลุ่มสามารถบรรลุเป้า หมาย การศึกษาภาวะผู้นำาอย่างมีระบบได้ดำาเนินการต่อเนื่องมา ร่วมร้อยปี เกิดมุมมองและความเชื่อต่าง ๆ ที่พัฒนามาเป็นทฤษฎี ภาวะผู้นำาจำานวนมากมาย ในที่นี้จะแบ่งเป็นกลุ่มทฤษฎีและยกมาเป็น
  • 4. ความหมายของภาวะผู้น ำา มีคนให้ความหมายไว้มาก แต่สรุปได้ว่า ภาวะผูนำา คือ บุคคลที่มีอิทธิพลต่อกลุ่ม ซึ่ง ้ สามารถนำากลุ่มปฏิบติงานต่าง ๆ เพื่อให้บรรลุเป้า ั หมายขององค์การ มีคำาสำาคัญอยู่ 2 คำาที่จำาเป็นต้องเข้าใจใน เริ่มแรก ก็คอคำาว่า “leadership” ซึ่งมักเรียกว่า ื “ภาวะ ผู้นำา” หรือ “การเป็นผู้นำา” กับอีกคำา หนึ่งคือ “Management” ซึ่งเรียกว่า “การ บริหาร” หรือ “การบริหารจัดการ” ทั้ง สองคำามีความหมายแตกต่างกัน
  • 5. คุณ ลัก ษณะหลัก ของการเป็น ผู้น ำา ที่ด ี 1. ความมีพลังและความทะเยอทะยาน (Energy and ambition) 2. ความปรารถนาที่จะนำาผู้อื่น (The desire to lead) 3. ความซื่อสัตย์มีจริยธรรมยึดมั่นหลักการ (Honesty and integrity) 4. ความเชือมันตนเอง (Self-confidence) ่ ่ 5. ความเฉลียวฉลาด (Intelligence) 6. ความรอบรู้ในงาน (Job-relevant knowledge)
  • 6. ทฤษฎีคุณลักษณะของผู้นำา (Trait theory) ในช่วงปลายทศวรรษ 1940 นักวิจัยส่วน ใหญ่หันเหการศึกษาภาวะผู้นำาทีมุ่งเน้นด้าน ่ คุณลักษณะไปสู่การศึกษาภาวะผู้นำา ในเชิงกระบวนการและกิจกรรมของผูนำาซึง ้ ่ สามารถมองเห็นได้ ชัดเจน ซึงเรียกว่า ่ การศึกษาภาวะผู้นำาเชิงพฤติกรรม โดย พิจารณาว่า มีพฤติกรรมใดบ้างทีผนำาที่ ่ ู้ ประสบความสำาเร็จแตกต่างจากผูนำาทีไม่้ ประสบความสำาเร็จ การศึกษาภาวะผู้นำาเชิง พฤติกรรมทีจะกล่าวถึงในทีนี้มี 3 ทฤษฎี ่ ่ ได้แก่ การศึกษาภาวะผู้นำาทีมหาวิทยาลัย ่ โอไฮโอสเตท (Ohio state studies) การ ศึกษาภาวะผูนำาทีมหาวิทยาลัยมิชิแกน ้ ่ (University of Michigan studies) และ
  • 7. การศึกษาภาวะผู้นำาทีมหาวิทยา ่ ลัยโอไฮโอสเตท (The Ohio state studies) คณะนักวิจัยของมหาวิทยาลัยโอไฮโอส เตท ในสหรัฐ ได้สรุปผลการวิจัยโดย จำาแนก พฤติกรรมของผู้นำาออกเป็น 2 มิติ ได้แก่ ด้านกิจสัมพันธ์ (Initiating structure) กับด้านมิตรสัมพันธ์ (Consideration) เป็นครั้งแรกที่เน้นความสำาคัญทั้งของงาน และคนในการประเมินพฤติกรรมของผู้นำา
  • 8. การศึกษาภาวะผู้นำาที่ มหาวิทยาลัยมิชแกน ิ (The University of Michigan studies) ในขณะเดียวกันกับการศึกษาภาวะผูนำาที่ ้ โอไฮโอสเตทนั้น คณะนักวิจัยของ มหาวิทยาลัย มิชแกน ก็ได้ทำาการ ิ วิจัยเช่นกัน โดยจำาแนกพฤติกรรมของ ผู้นำาออกเป็น 2 แบบ ได้แก่ พฤติกรรม ของ ผู้นำาที่มุ่งผลผลิต (Production- centered leaders) กับพฤติกรรมของ ผู้นำาที่มุ่งคนงาน (Employee – centered
  • 9. ทฤษฎีตาข่ายภาวะผู้นำา (Leadership grid) เดิมเรียกว่าตาข่ายการบริหาร (Managerial grid) ซึ่งเบลคและมูตัน (Blake and Mouton) แห่งมหาวิทยาลัย เท็กซัส ได้พัฒนาจากแนวคิดจากการ ศึกษาของมหาวิทยาลัยโอไฮโอสเตท โดย นำา พฤติกรรมของผู้นำาทั้งสองด้าน มาจัดตารางตาข่ายสองมิติ โดยแต่ละ ด้านแบ่งเป็น 9 ระดับ เกิดเป็นตาราง ตาข่ายแทนพฤติกรรมของผู้นำาขึ้น 81 ช่อง หรือ 81 แบบ แต่ที่เป็นแบบ
  • 10.
  • 11. ทฤษฎีการแลกเปลียนระหว่างผู้นำากับ ่ สมาชิก (Leader-Member Exchange Theory) แนวคิดของทฤษฎีภาวะผู้นำาส่วนใหญ่จะมองถึงความ สัมพันธ์ระหว่างผูนำากับผูตามในลักษณะทีผู้นำาปฏิบัติ ้ ้ ่ ต่อผู้ตามเป็นกลุมโดยเฉลียใช้ภาวะผูนำาต่อผู้ตาม ่ ่ ้ แต่ละคนเท่ากัน แต่ทฤษฎีการแลกเปลียนระหว่างผู้นำา ่ กับสมาชิก ซึ่งจะเรียกโดยย่อว่า “ทฤษฎี LMX” เชื่อ ว่าความสัมพันธ์ระหว่างผูนำากับผูตามแต่ละคนเป็นก ้ ้ ระบวนการแลกเปลี่ยนทีไม่เท่ากัน โดยมากหรือน้อย ่ ขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์แบบสองต่อสองระหว่างตัวผูนำา ้ กับผูตามแต่ละคนเป็นสำาคัญ ทั้งนี้ผตามแต่ละคนที่มี ้ ู้ ความสัมพันธ์ใกล้ชิดสนิทสนมกับผูนำามักจะได้รับการ ้ ปฏิบัตทดีจากผูนำา ผูตามเหล่านี้จึงมีลักษณะเป็น ิ ี่ ้ ้ “คนวงใน” (in-group) ส่วน ผู้ตามอีกส่วนหนึ่ง ซึ่ง แต่ละคนมีความสัมพันธ์กับผูนำาแบบปกติธรรมดาตาม ้
  • 12. ทฤษฎีภาวะผู้นำาเชิงสถานการณ์ (Situational Theories of Leadership) ภาวะผูนำาเป็นกระบวนการที่มีความสลับ ้ ซับซ้อนที่เกิดขึ้นจากความสัมพันธ์ทาง สังคม โดยมีผลกระทบมาจากปัจจัย แวดล้อมต่าง ๆ ซึ่งรวมเรียกว่า สถานการณ์ (Situation) ที่ประกอบด้วย ลักษณะของผู้ใต้บงคับบัญชา ลักษณะ ั ของงานที่ต้องปฏิบติ และธรรมชาติของ ั องค์การ มีทฤษฎีภาวะผู้นำาหลายทฤษฎีซึ่ง ให้ความสำาคัญของสถานการณ์ ดังจะ กล่าวเป็นตัวอย่างเพียง 2 ทฤษฎี ได้แก่
  • 13. ทฤษฎีสถานการณ์ของฟีดเลอร์ (Fiedler Contingency Theory) แม้จะมีนักวิชาการหลายคนที่เสนอแนวคิดเกี่ยว กับภาวะผู้นำาที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์กตาม แต่ ็ บุคคลแรกที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางที่สุด ได้แก่ ฟีดเลอร์ (Fiedler, 1967) ซึ่งเรียกว่า ทฤษฎีสถานการณ์ของฟีดเลอร์ ซึ่งประกอบด้วย หลักการสำาคัญอยู่ 3 ประการ ได้แก่ 1. แบบภาวะผู้นำาถูกกำาหนดโดยระบบแรง จูงใจของผู้นำา 2. การควบคุมสถานการณ์ขึ้นอยู่กบสามปัจจัย ั คือ บรรยากาศ ของกลุ่ม โครงสร้างของงาน และอำานาจในตำาแหน่งของผู้นำา
  • 14. ทฤษฎีวถีทาง-เป้าหมาย ิ (Path - Goal Theory) เป็นทฤษฎีเชิงสถานการณ์ที่พัฒนาโดยเฮาส์ และมิทเชลล์ (House & Mitchell, 1974) ซึ่งมีความเชื่อว่า ผู้นำาสามารถสร้างแรง จูงใจในการทำางานแก่ผู้ตามได้ โดยเพิ่ม จำานวนและชนิดของรางวัลผลตอบแทนทีได้ ่ รับจากการทำางานนั้น ผู้นำายังสามารถสร้าง แรงจูงใจด้วยการทำาให้วิถีทาง (Path) ทีจะ่ ไปสู่ เป้าหมายชัดเจนขึ้น และง่ายพอทีผู้ ่ ปฏิบัตจะสามารถทำาสำาเร็จ ซึงผู้นำาแสดง ิ ่ พฤติกรรมด้วยการช่วยเหลือแนะนำา สอน งานและนำาทางหรือเป็นพี่เลียงคอยดูแล ้ นอกจากนี้ผู้นำายังช่วยสร้างแรงจูงใจได้ด้วย การช่วยแก้ไขอุปสรรคขวางกันหนทางไปสู่ ้ เป้าหมาย รวมทั้งสามารถช่วยในการทำาให้
  • 15. พฤติกรรมผู้นำา (Leader Behavior) เฮาส์และมิทเชลล์ (House and Mitchell, 1974) แบ่งประเภทพฤติกรรมของผู้นำาตามทฤษฎี วิถีทาง – เป้าหมาย ออกเป็น 4 ประเภท แต่ละ ประเภทแทนได้ด้วยแบบภาวะผู้นำา (leadership style)ได้แก่ 1.ภาวะผูนำาแบบสนับสนุน ้ 2.ภาวะผูนำาแบบสั่งการ ้ 3.ภาวะผูนำาแบบมุ่งความสำาเร็จของงาน ้ 4.ภาวะผูนำาแบบให้มส่วนร่วม ้ ี
  • 16. ทฤษฎีภาวะผู้นำาใหม่เชิงเสน่หา (Neocharismatic Theories) เป็นกลุ่มของทฤษฎีภาวะผู้นำาล่าสุดทีให้ความสำาคัญด้าน ่ คุณลักษณะของผู้นำาทีเป็นความสามารถพิเศษหรือความมี ่ เสน่หา (Charisma) เฉพาะบุคคลซึ่งเป็นแนวคิดภาวะ ผู้นำาเชิงวีรบุรุษ (Heroic leadership) ได้แก่ ทฤษฎีภาวะ ผู้นำาทีถูกกล่าวขานมากในปัจจุบัน ภายใต้ชื่อต่าง ๆ เช่น ่ ภาวะผู้นำาโดยเสน่หา (Charismatic leadership) ภาวะ ผู้นำาเปลี่ยนสภาพ (Transformational leadership) ภาวะผู้นำาเชิงวิสยทัศน์ (Visionary leadership) ภาวะ ั ผู้นำาเชิงศีลธรรม (Moral leadership) เป็นต้น
  • 17. ทฤษฎีภาวะผู้นำาแบบเปลียนสภาพ ่ (Transformational Leadership) แนวคิดเกี่ยวกับภาวะผู้นำาที่มีการศึกษาวิจัยมากใน ช่วงตั้งแต่ทศวรรษ 1980 เป็นต้นมาได้แก่ ภาวะผู้นำาแบบเปลี่ยนสภาพ (Transformational leadership) จากชือของทฤษฎีนี้ได้บงบอกถึง ่ ่ กระบวนการเปลียนแปลงหรือการแปรสภาพในตัว ่ บุคคล โดยผู้นำาจะมุ่งเน้นการเปลี่ยนแปลงเรื่องค่านิยม คุณธรรม มาตรฐานและการมองการณ์ไกลไปใน อนาคต ผู้นำาเปลียนสภาพจะให้ความสำาคัญต่อการ ่ ประเมินเพื่อทราบถึงระดับแรงจูงใจของผู้ตาม แล้ว พยายามหาแนวทางตอบสนองความต้องการและ ปฏิบติต่อผู้ตามด้วยคุณค่าความเป็นมนุษย์ โดยสาระ ั ของทฤษฎีแล้ว ภาวะผู้นำาแบบเปลี่ยนสภาพจะกว้าง ขวางครอบคลุมแนวคิดของภาวะผู้นำาโดยเสน่หา (Charismatic leadership) ภาวะผู้นำาเชิงวิสยทัศน์ ั (Visionary leadership) รวมทั้งภาวะผู้นำาเชิง
  • 18. บทสรุป ทฤษฎีภาวะผู้นำาต่าง ๆ ตามแนวคิดเก่าที่ เน้นการใช้คำาสั่งและการกำากับควบคุม ไม่เหมาะสม ที่จะนำามาใช้ให้เกิด ประสิทธิผลในยุคปัจจุบัน ทั้งด้านสังคม และวัฒนธรรม โดยเฉพาะการปรับเปลี่ยน ขององค์การทั่วโลกให้มีความยืดหยุ่นเพื่อ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันมาก ขึ้น ผูนำาจึงจำาเป็นต้องปรับแนวคิดและ ้ บทบาทใหม่ ให้สอดคล้องกับประเด็นการ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น