SlideShare a Scribd company logo
ปรัชญาและแนวความคิดหลักเกี่ยวกับ
การรักษาวินัย









“ปรัชญา” และ “แนวความคิดหลัก” คืออะไร
“ปรัชญา” ตรงกับภาษาอังกฤษว่า
PHILOSOPHY” หมายถึง ทฤษฎีแห่งความรู้
“ปรัชญาเกี่ยวกับการรักษาวินัย” คือ ทฤษฎี
แห่งความรู้เกี่ยวกับการรักษาวินัย
“แนวความคิดหลัก” ตรงกับภาษาอังกฤษว่า
“KEY CONCEPT” หมายถึงหลักที่คดขึ้น
ิ
“แนวความคิดหลักเกี่ยวกับการรักษาวินัย”
คือ หลักที่คิดขึ้นเกี่ยวกับการรักษาวินย
ั
ปรัชญาเกียวกับการรักษาวินย
่
ั
ทฤษฎีแห่งความรู้เกี่ยวกับการรักษาวินัย มี
สิ่งที่ควรรู้อยู่
4 ประการ คือ
1. ความหมายของวินัย
2. ความสำาคัญของวินัย
3. จุดมุ่งหมายและขอบเขตของวินัย
4. ความหมายของการรักษาวินัย
1. ความหมายของวินย
ั
คำาว่า “วินัย” ตรงกับภาษาอังกฤษว่า
DISCIPLINE มีความหมายตามแต่จะมองในแง่ใด
ซึ่งแตกต่างกันตามความเห็นของคนที่มอง

มองในแง่ถ้อยคำา
“วิ” แปลว่า “ดี” หรือ “ต่าง”
“นัย” แปลว่า “ทาง” (คำานาม) “นำาไป” (คำา
กริยา)
“วินัย” แปลว่า “เครื่องนำาไปในทางที่ดี” ผู้มี
วินัยจะเป็นคนดี
มองในแง่รูปลักษณ์
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานให้
ความหมายของคำาว่า “วินัย” ไว้ 2 ลักษณะ คือ
ข้อปฏิบัติและการอยู่ในแบบแผน การมอง “วินย”
ั
ในแง่รูปลักษณ์ เช่นนีจะทำาให้มองเห็นวิธีสร้าง
้
วินัยว่ามี 2 ลักษณะ คือ สร้างปทัสถาน (NORM)
ลักษณะหนึง และสร้างพฤติกรรม (BEHAVIOR)
่

มองในแง่บทบาท
พ.อ.ปิ่น มุทกันต์ อดีตอธิบดีกรมการศาสนา
ุ
เขียนไว้ในหนังสือ “มงคลชีวิต” ว่า “วินย” เป็น
ั
“แบบของคน” ที่ปั้นหลอมคนให้เป็นคนดี การมอง
มองในแง่ลกษณะ
ั
1) ในลักษณะที่เป็น “การควบคุมตนเอง”
(Self - control)
ซึ่งอาจเรียว่า “อัตวินัย” (Self - discipline)
2) ในลักษณะที่เป็น “เงื่อนไขที่ทำาให้มี
พฤติกรรมอันเป็นระเบียบเรียบร้อย” (condition
for orderly behavior)
3) ในลักษณะที่เป็น “กระบวนการทาง
นิติธรรม” (judicial due process)
มองในแง่การใช้บงคับ
ั
เมื่อจะนำาวินัยมาใช้บังคับกับคน จะมีคำา
พูดอยู่ 2 คำา คือ
(1) ผิดวินัย – ไม่ผิดวินย
ั
(2) มีวินย – ไม่มีวินัย
ั
2. ความสำาคัญของวินัย
วินัย เป็นพลังในการทำางาน มีแนวคิดใน
วิชาแรงงานว่า
ในการทำางานของคนนัน จะปลดปล่อยพลังงานใน
้
ตัวคนออกมาเป็น
พลังงานทวิภาวะ (DUPLEX ENERGY) คือ
- พลังกายภาพ (PHYSICAL ENGERGY)
ปลดปล่อยออกมาเป็น “แรงงาน” ซึ่งประกอบด้วย
พลังร่างกายและพลังสมอง
- พลังจิตภาพ (MENTAL ENERGY) ปลด
3. จุดมุ่งหมายและขอบเขตของวินย
ั
1) จุดมุ่งหมายของวินย เพื่อบรรลุ
ั
วัตถุประสงค์หลักของงาน เช่น งานราชการมี
วัตถุประสงค์หลักเพื่อความสำาเร็จบรรลุผลตาม
เป้าหมายของงาน
2) ขอบเขตของวินัย วินัยมีขอบเขตเท่า
ที่กำาหนดไว้ใน
ข้อปฏิบัติ

4. ความหมายของการรักษาวินย
ั
แนวความคิดหลักเกี่ยวกับการรักษา
วินย
ั
1. วิธีการรักษาวินัย
การรักษาวินยโดยตัวข้าราชการเอง
ั
1. เรียนรู้และเข้าใจวินัยต้องมีการอบรม
2. สำานึกในหน้าที่ที่จะต้องรักษาวินย
ั
การรักษาวินยโดยผู้บงคับบัญชา มีแนวความ
ั
ั
คิดของนักวิชาการ
บางคน ดังนี้
ทฤษฎี x ตั้งอยู่บนสมมติฐานว่า โดยพื้นฐาน
แล้วคนไม่ชอบทำางานและไม่อยากรับผิดชอบ จึง
ต้องบังคับให้คนทำางาน ในการรักษาวินัยต้องทำาให้
คนมีวินัยโดยการบังคับ วิธนี้สุภาษิตไทย สอนว่า
ี
“มือหนึ่งถือเงิน มือหนึ่งถือหวาย” แนวความคิดนี้มุ่ง
ในทางสร้างวินัยรายบุคคล (individual
discipline)
ทฤษฎี y ตั้งอยู่บนสมมติฐานว่า โดยพื้นฐาน
แล้วคนจะสนุกกับงานได้เช่นเดียวกับการเล่น หรือ
การพักผ่อนหย่อนใจ ถ้ามีบรรยากาศเป็นที่พอใจ
จึงสามารถควบคุมและสั่งการแก่ตัวเองในการ
2) แนวความคิดของ Paul Preston และ
Thomas Zimmerer เห็นว่า ผู้บงคับบัญชาต้องใช้
ั
ทั้งวิธีบงคับและวิธีจูงใจ ทั้ง 2 วิธี ประกอบกันในการ
ั
รักษาวินัยพนักงาน
3) แนวความคิดของ James Black เห็นว่า วินัย
เป็นผลิตผลของภาวะผูนำา ปัญหาเกี่ยวกับวินยใน
้
ั
องค์การจะมีอยู่บอย ๆ ที่สามารถค้นหาสาเหตุได้
่
โดยตรงจากปัญหาความเป็นผูนำา แนวความคิดนี้ มุ่ง
้
ในทางวินัยหมู่ (group Discipline) โดยใช้ภาวะ
ผู้นำา (LEADERSHIP)
การรักษาวินัยโดยผู้บงคับบัญชาตามแนวความ
ั
คิดต่าง ๆ ข้างต้น มีวิธีการดำาเนินการ ดังนี้
การรัก ษาวิน ย โดยองค์ก ร สามารถ
ั
ทำาได้โดยการกำาหนดนโยบาย ออกระเบียบและ
กฎเกณฑ์ส่งเสริมและสนับสนุน รวมไปถึงการ
กำาชับ
2. ปัจจัยส่งเสริมวินย
ั
ปัจจัยในการที่จะทำาให้สามารถส่งเสริม
วินัย ได้แก่ ขวัญ กำาลังใจ ค่านิยม และคุณธรรม
1) ขวัญ (MORALE)
- รับขวัญ
- ปลอบขวัญ
2) กำำลังใจ (WILL TO WORK) กำำลัง
ใจมำจำกแรงดึงและแรงดัน
- แรงดึง เกิดจำกควำมต้องกำร (NEED)
และศรัทธำ (FAITH)
- แรงดัน เกิดควำมควำมจำำเป็นและ
ควำมกลัว
ทั้งนี้ จะต้องทำำกำรสร้ำงกำำลังใจของคน
ทำำงำนโดย
ก. สร้ำงแรงดึง ด้วยกำร
(1) สนองควำมต้องกำร
- ทำงควำมเป็นธรรม
- ทำงควำมก้ำวหน้ำ
- ทำงเกียรติยศ ชื่อเสียง
- ทำงกำรยอมรับนับถือ
(2) สร้ำงศรัทธำ
- ในงำน
ในหน่วยงำน
ร่วมงำน

- ในผูบังคับบัญชำ
้

- ในผู้
ข. สร้ำงแรงดัน ด้วยกำร
(1) สร้ำงเงื่อนไขให้จำำเป็น
- ผูกมัดด้วยสัญญำ
- ผูกมัดด้วยเครื่องยังชีพ
(2) สร้ำงเงื่อนไขให้กลัว
- กลัวผลร้ำย
- กลัวผูรับรอง
้
3) ค่ำนิยม (VALUE)
- มำตรฐำนทำงคุณธรรมและจริยธรรม
ตำมแต่จะกำำหนดไว้
ตั้งขึ้น

- ปณิธำน (DEDICATION) ตำมแต่จะ
- อุดมคติ (IDEAL) ตำมแต่จะกำำหนดขึ้น

4) คุณธรรม (VIRTUE) คุณธรรมบำง
ประกำรที่ส่งเสริมวินัย
3. เหตุบนทอนวินย
ั่
ั
เช่น

1) ควำมไม่รู้ คือไม่รู้ในสิ่งที่ควรจะรู้
2) กำรเสียขวัญ เพรำะ
- รู้สกว่ำจะไม่ได้รับควำมสนใจ
ึ
- รู้สึกว่ำจะไม่มั่นคง
- รู้สึกว่ำจะไม่ปลอดภัย
- รู้สึกว่ำจะไม่ได้รับควำมเป็นธรรม
3) กำรเสียกำำลังใจ เพรำะ
- ไม่ได้รับกำรยอมรับ
ได้รับควำมจริงใจ

- ไม่

- ไม่ได้รับผลตอบแทน
ได้รับควำมเป็นธรรม

- ไม่
4) ควำมจำำเป็น เพรำะ
- ถูกล่อลวง
- ถูกข่มขู่
- ถูกบังคับ
- ขัดสน
- ตอบแทนบุญคุณ
5) กิเลส (VICE)
- ความอยาก
- ความเห่อ
- ความประมาท
- ความว้าเหว่
- ความเหงา
- ความคับใจ
6) อบายมุข คือหนทางแห่งความเสือม
่
ความฉิบหาย เช่น เล่นการพนัน เที่ยวในถิ่น
หรือเวลาอโคจร มัวเมาในกามารมณ์ คบคน
ชัวเป็นมิตร
่

เครื่องควบคุมวินย มีดังนี้
ั
1) ข้อกำาหนด ได้แก่บทวินัยที่บัญญัติ
เป็นข้อห้ามและข้อปฏิบติไว้
ั
2) ผูควบคุม ได้แก่ผู้บงคับบัญชาและ
้
ั
องค์กรต่าง ๆ เช่น ค.ร.ม.
ก.พ. อ.ก.พ. ก.ค.ศ. อ.ก.ค.ศ.
หลักทีพงยึดถือ ในการใช้
่ ึ
มาตรการบังคับ ดังนี้
ความยุติธรรม ต้องมีการสอบสวน
พิจารณา และให้สิทธิอุทธรณ์
ความเป็นธรรม ต้องให้ได้ระดับ
มาตรฐานเสมอหน้า
ชิดกับเหตุ

ความฉับพลัน ต้องให้รวดเร็วใกล้
นิติธรรม ต้องมีข้อกำาหนดให้ทำา
จุดมุ่งหมายของมาตรการบังคับ
ไม่ใช่เพื่อตอบโต้แบบตาต่อตา ฟันต่อฟัน
ไม่ใช่เพื่อแก้แค้น
โดยโทสะจริต แต่เพื่อ
1. รักษาความศักดิ์สิทธิ์ของวินัย
2. รักษามาตรฐานความประพฤติและ
สมรรถภาพของข้าราชการ
3. รักษาชื่อเสียงของทางราชการและความ
เชือมั่นของประชาชนต่อทางราชการ
่
4. จูงใจให้ข้าราชการประพฤติดี

More Related Content

What's hot

จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
Taraya Srivilas
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
Pa'rig Prig
 
จริยธรรมทางการแพทย์
จริยธรรมทางการแพทย์จริยธรรมทางการแพทย์
จริยธรรมทางการแพทย์Taraya Srivilas
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
Pa'rig Prig
 
590806 บทที่-5-แก้ไขแล้ว
590806 บทที่-5-แก้ไขแล้ว590806 บทที่-5-แก้ไขแล้ว
590806 บทที่-5-แก้ไขแล้ว
เตชะชิน เก้าเดือนยี่
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปี
Pa'rig Prig
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปี
Pa'rig Prig
 

What's hot (7)

จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
 
จริยธรรมทางการแพทย์
จริยธรรมทางการแพทย์จริยธรรมทางการแพทย์
จริยธรรมทางการแพทย์
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
 
590806 บทที่-5-แก้ไขแล้ว
590806 บทที่-5-แก้ไขแล้ว590806 บทที่-5-แก้ไขแล้ว
590806 บทที่-5-แก้ไขแล้ว
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปี
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปี
 

Viewers also liked

เปรียบเทียบพุทธ เชน
เปรียบเทียบพุทธ เชนเปรียบเทียบพุทธ เชน
เปรียบเทียบพุทธ เชนYota Bhikkhu
 
Advanced teaching plan
Advanced teaching planAdvanced teaching plan
Advanced teaching plan
Yota Bhikkhu
 
Advanced text book advanced english 1 10 chapters ปรับใหม่
Advanced text book advanced english 1 10 chapters  ปรับใหม่Advanced text book advanced english 1 10 chapters  ปรับใหม่
Advanced text book advanced english 1 10 chapters ปรับใหม่
Yota Bhikkhu
 
ภาษากับการสื่อสาร 1
ภาษากับการสื่อสาร 1ภาษากับการสื่อสาร 1
ภาษากับการสื่อสาร 1Yota Bhikkhu
 
บรรยายสารบรรณ(หนังสือภายนอก) 8
บรรยายสารบรรณ(หนังสือภายนอก) 8บรรยายสารบรรณ(หนังสือภายนอก) 8
บรรยายสารบรรณ(หนังสือภายนอก) 8Yota Bhikkhu
 
วัจนภาษา
วัจนภาษาวัจนภาษา
วัจนภาษา
Yota Bhikkhu
 
การรับสารด้วยการฟัง 4
การรับสารด้วยการฟัง 4การรับสารด้วยการฟัง 4
การรับสารด้วยการฟัง 4Yota Bhikkhu
 
การสืบสวนตามแนวพุทธCriminal process 0000
การสืบสวนตามแนวพุทธCriminal process 0000การสืบสวนตามแนวพุทธCriminal process 0000
การสืบสวนตามแนวพุทธCriminal process 0000Yota Bhikkhu
 
พุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาลพุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาลYota Bhikkhu
 
Introduction 6
Introduction 6Introduction 6
Introduction 6
Yota Bhikkhu
 
Form of government 4
Form of government 4Form of government 4
Form of government 4
Yota Bhikkhu
 
sexual misconduct(Kamesumicchacara) and philosophical implications of sexual ...
sexual misconduct(Kamesumicchacara) and philosophical implications of sexual ...sexual misconduct(Kamesumicchacara) and philosophical implications of sexual ...
sexual misconduct(Kamesumicchacara) and philosophical implications of sexual ...
Yota Bhikkhu
 
Advance english 5[1]
Advance english 5[1]Advance english 5[1]
Advance english 5[1]
Yota Bhikkhu
 
พุทธศาสนากับน้ำ
พุทธศาสนากับน้ำพุทธศาสนากับน้ำ
พุทธศาสนากับน้ำYota Bhikkhu
 
En401 314-english for political scientists 1
En401 314-english for political scientists 1En401 314-english for political scientists 1
En401 314-english for political scientists 1Yota Bhikkhu
 
Globalisation 8
Globalisation 8Globalisation 8
Globalisation 8
Yota Bhikkhu
 
การสื่อสารของมนุษย์ 1
การสื่อสารของมนุษย์ 1การสื่อสารของมนุษย์ 1
การสื่อสารของมนุษย์ 1Yota Bhikkhu
 
Democracy 7
Democracy 7Democracy 7
Democracy 7
Yota Bhikkhu
 
ภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร 2
ภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร 2ภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร 2
ภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร 2Yota Bhikkhu
 

Viewers also liked (19)

เปรียบเทียบพุทธ เชน
เปรียบเทียบพุทธ เชนเปรียบเทียบพุทธ เชน
เปรียบเทียบพุทธ เชน
 
Advanced teaching plan
Advanced teaching planAdvanced teaching plan
Advanced teaching plan
 
Advanced text book advanced english 1 10 chapters ปรับใหม่
Advanced text book advanced english 1 10 chapters  ปรับใหม่Advanced text book advanced english 1 10 chapters  ปรับใหม่
Advanced text book advanced english 1 10 chapters ปรับใหม่
 
ภาษากับการสื่อสาร 1
ภาษากับการสื่อสาร 1ภาษากับการสื่อสาร 1
ภาษากับการสื่อสาร 1
 
บรรยายสารบรรณ(หนังสือภายนอก) 8
บรรยายสารบรรณ(หนังสือภายนอก) 8บรรยายสารบรรณ(หนังสือภายนอก) 8
บรรยายสารบรรณ(หนังสือภายนอก) 8
 
วัจนภาษา
วัจนภาษาวัจนภาษา
วัจนภาษา
 
การรับสารด้วยการฟัง 4
การรับสารด้วยการฟัง 4การรับสารด้วยการฟัง 4
การรับสารด้วยการฟัง 4
 
การสืบสวนตามแนวพุทธCriminal process 0000
การสืบสวนตามแนวพุทธCriminal process 0000การสืบสวนตามแนวพุทธCriminal process 0000
การสืบสวนตามแนวพุทธCriminal process 0000
 
พุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาลพุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาล
 
Introduction 6
Introduction 6Introduction 6
Introduction 6
 
Form of government 4
Form of government 4Form of government 4
Form of government 4
 
sexual misconduct(Kamesumicchacara) and philosophical implications of sexual ...
sexual misconduct(Kamesumicchacara) and philosophical implications of sexual ...sexual misconduct(Kamesumicchacara) and philosophical implications of sexual ...
sexual misconduct(Kamesumicchacara) and philosophical implications of sexual ...
 
Advance english 5[1]
Advance english 5[1]Advance english 5[1]
Advance english 5[1]
 
พุทธศาสนากับน้ำ
พุทธศาสนากับน้ำพุทธศาสนากับน้ำ
พุทธศาสนากับน้ำ
 
En401 314-english for political scientists 1
En401 314-english for political scientists 1En401 314-english for political scientists 1
En401 314-english for political scientists 1
 
Globalisation 8
Globalisation 8Globalisation 8
Globalisation 8
 
การสื่อสารของมนุษย์ 1
การสื่อสารของมนุษย์ 1การสื่อสารของมนุษย์ 1
การสื่อสารของมนุษย์ 1
 
Democracy 7
Democracy 7Democracy 7
Democracy 7
 
ภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร 2
ภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร 2ภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร 2
ภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร 2
 

Similar to พระวินัย ปรัชญาวินัย 0

ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำissareening
 
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำบทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
Aj.Mallika Phongphaew
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Nan Natni
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
0819741995
 
Thinking
ThinkingThinking
Thinking
0819741995
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
0819741995
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
เชียร์ นะมาตย์
 
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคMotivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
วิสัยทัศน์สำคัญอย่างไร
วิสัยทัศน์สำคัญอย่างไรวิสัยทัศน์สำคัญอย่างไร
วิสัยทัศน์สำคัญอย่างไร
ItthiphonManonom1
 
การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จ
การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จการพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จ
การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จ
markable33
 
สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา
Min Kannita
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรJiraprapa Suwannajak
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้yuapawan
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาพัน พัน
 
Organization Behavior
Organization BehaviorOrganization Behavior
Organization Behaviortltutortutor
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดNote Na-ngam
 
6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพ6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพWatcharin Chongkonsatit
 

Similar to พระวินัย ปรัชญาวินัย 0 (20)

05 ethics
05 ethics05 ethics
05 ethics
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
 
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำบทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
Thinking
ThinkingThinking
Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคMotivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
 
วิสัยทัศน์สำคัญอย่างไร
วิสัยทัศน์สำคัญอย่างไรวิสัยทัศน์สำคัญอย่างไร
วิสัยทัศน์สำคัญอย่างไร
 
การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จ
การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จการพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จ
การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จ
 
สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร
 
บทที่ ๕ สรุปใหม่
บทที่ ๕ สรุปใหม่บทที่ ๕ สรุปใหม่
บทที่ ๕ สรุปใหม่
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 
Organization Behavior
Organization BehaviorOrganization Behavior
Organization Behavior
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
 
6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพ6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพ
 

พระวินัย ปรัชญาวินัย 0

  • 1. ปรัชญาและแนวความคิดหลักเกี่ยวกับ การรักษาวินัย      “ปรัชญา” และ “แนวความคิดหลัก” คืออะไร “ปรัชญา” ตรงกับภาษาอังกฤษว่า PHILOSOPHY” หมายถึง ทฤษฎีแห่งความรู้ “ปรัชญาเกี่ยวกับการรักษาวินัย” คือ ทฤษฎี แห่งความรู้เกี่ยวกับการรักษาวินัย “แนวความคิดหลัก” ตรงกับภาษาอังกฤษว่า “KEY CONCEPT” หมายถึงหลักที่คดขึ้น ิ “แนวความคิดหลักเกี่ยวกับการรักษาวินัย” คือ หลักที่คิดขึ้นเกี่ยวกับการรักษาวินย ั
  • 2. ปรัชญาเกียวกับการรักษาวินย ่ ั ทฤษฎีแห่งความรู้เกี่ยวกับการรักษาวินัย มี สิ่งที่ควรรู้อยู่ 4 ประการ คือ 1. ความหมายของวินัย 2. ความสำาคัญของวินัย 3. จุดมุ่งหมายและขอบเขตของวินัย 4. ความหมายของการรักษาวินัย
  • 3. 1. ความหมายของวินย ั คำาว่า “วินัย” ตรงกับภาษาอังกฤษว่า DISCIPLINE มีความหมายตามแต่จะมองในแง่ใด ซึ่งแตกต่างกันตามความเห็นของคนที่มอง มองในแง่ถ้อยคำา “วิ” แปลว่า “ดี” หรือ “ต่าง” “นัย” แปลว่า “ทาง” (คำานาม) “นำาไป” (คำา กริยา) “วินัย” แปลว่า “เครื่องนำาไปในทางที่ดี” ผู้มี วินัยจะเป็นคนดี
  • 4. มองในแง่รูปลักษณ์ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานให้ ความหมายของคำาว่า “วินัย” ไว้ 2 ลักษณะ คือ ข้อปฏิบัติและการอยู่ในแบบแผน การมอง “วินย” ั ในแง่รูปลักษณ์ เช่นนีจะทำาให้มองเห็นวิธีสร้าง ้ วินัยว่ามี 2 ลักษณะ คือ สร้างปทัสถาน (NORM) ลักษณะหนึง และสร้างพฤติกรรม (BEHAVIOR) ่ มองในแง่บทบาท พ.อ.ปิ่น มุทกันต์ อดีตอธิบดีกรมการศาสนา ุ เขียนไว้ในหนังสือ “มงคลชีวิต” ว่า “วินย” เป็น ั “แบบของคน” ที่ปั้นหลอมคนให้เป็นคนดี การมอง
  • 5. มองในแง่ลกษณะ ั 1) ในลักษณะที่เป็น “การควบคุมตนเอง” (Self - control) ซึ่งอาจเรียว่า “อัตวินัย” (Self - discipline) 2) ในลักษณะที่เป็น “เงื่อนไขที่ทำาให้มี พฤติกรรมอันเป็นระเบียบเรียบร้อย” (condition for orderly behavior) 3) ในลักษณะที่เป็น “กระบวนการทาง นิติธรรม” (judicial due process)
  • 6. มองในแง่การใช้บงคับ ั เมื่อจะนำาวินัยมาใช้บังคับกับคน จะมีคำา พูดอยู่ 2 คำา คือ (1) ผิดวินัย – ไม่ผิดวินย ั (2) มีวินย – ไม่มีวินัย ั
  • 7. 2. ความสำาคัญของวินัย วินัย เป็นพลังในการทำางาน มีแนวคิดใน วิชาแรงงานว่า ในการทำางานของคนนัน จะปลดปล่อยพลังงานใน ้ ตัวคนออกมาเป็น พลังงานทวิภาวะ (DUPLEX ENERGY) คือ - พลังกายภาพ (PHYSICAL ENGERGY) ปลดปล่อยออกมาเป็น “แรงงาน” ซึ่งประกอบด้วย พลังร่างกายและพลังสมอง - พลังจิตภาพ (MENTAL ENERGY) ปลด
  • 8. 3. จุดมุ่งหมายและขอบเขตของวินย ั 1) จุดมุ่งหมายของวินย เพื่อบรรลุ ั วัตถุประสงค์หลักของงาน เช่น งานราชการมี วัตถุประสงค์หลักเพื่อความสำาเร็จบรรลุผลตาม เป้าหมายของงาน 2) ขอบเขตของวินัย วินัยมีขอบเขตเท่า ที่กำาหนดไว้ใน ข้อปฏิบัติ 4. ความหมายของการรักษาวินย ั
  • 9. แนวความคิดหลักเกี่ยวกับการรักษา วินย ั 1. วิธีการรักษาวินัย การรักษาวินยโดยตัวข้าราชการเอง ั 1. เรียนรู้และเข้าใจวินัยต้องมีการอบรม 2. สำานึกในหน้าที่ที่จะต้องรักษาวินย ั การรักษาวินยโดยผู้บงคับบัญชา มีแนวความ ั ั คิดของนักวิชาการ บางคน ดังนี้
  • 10. ทฤษฎี x ตั้งอยู่บนสมมติฐานว่า โดยพื้นฐาน แล้วคนไม่ชอบทำางานและไม่อยากรับผิดชอบ จึง ต้องบังคับให้คนทำางาน ในการรักษาวินัยต้องทำาให้ คนมีวินัยโดยการบังคับ วิธนี้สุภาษิตไทย สอนว่า ี “มือหนึ่งถือเงิน มือหนึ่งถือหวาย” แนวความคิดนี้มุ่ง ในทางสร้างวินัยรายบุคคล (individual discipline) ทฤษฎี y ตั้งอยู่บนสมมติฐานว่า โดยพื้นฐาน แล้วคนจะสนุกกับงานได้เช่นเดียวกับการเล่น หรือ การพักผ่อนหย่อนใจ ถ้ามีบรรยากาศเป็นที่พอใจ จึงสามารถควบคุมและสั่งการแก่ตัวเองในการ
  • 11. 2) แนวความคิดของ Paul Preston และ Thomas Zimmerer เห็นว่า ผู้บงคับบัญชาต้องใช้ ั ทั้งวิธีบงคับและวิธีจูงใจ ทั้ง 2 วิธี ประกอบกันในการ ั รักษาวินัยพนักงาน 3) แนวความคิดของ James Black เห็นว่า วินัย เป็นผลิตผลของภาวะผูนำา ปัญหาเกี่ยวกับวินยใน ้ ั องค์การจะมีอยู่บอย ๆ ที่สามารถค้นหาสาเหตุได้ ่ โดยตรงจากปัญหาความเป็นผูนำา แนวความคิดนี้ มุ่ง ้ ในทางวินัยหมู่ (group Discipline) โดยใช้ภาวะ ผู้นำา (LEADERSHIP) การรักษาวินัยโดยผู้บงคับบัญชาตามแนวความ ั คิดต่าง ๆ ข้างต้น มีวิธีการดำาเนินการ ดังนี้
  • 12. การรัก ษาวิน ย โดยองค์ก ร สามารถ ั ทำาได้โดยการกำาหนดนโยบาย ออกระเบียบและ กฎเกณฑ์ส่งเสริมและสนับสนุน รวมไปถึงการ กำาชับ 2. ปัจจัยส่งเสริมวินย ั ปัจจัยในการที่จะทำาให้สามารถส่งเสริม วินัย ได้แก่ ขวัญ กำาลังใจ ค่านิยม และคุณธรรม 1) ขวัญ (MORALE) - รับขวัญ - ปลอบขวัญ
  • 13. 2) กำำลังใจ (WILL TO WORK) กำำลัง ใจมำจำกแรงดึงและแรงดัน - แรงดึง เกิดจำกควำมต้องกำร (NEED) และศรัทธำ (FAITH) - แรงดัน เกิดควำมควำมจำำเป็นและ ควำมกลัว ทั้งนี้ จะต้องทำำกำรสร้ำงกำำลังใจของคน ทำำงำนโดย ก. สร้ำงแรงดึง ด้วยกำร (1) สนองควำมต้องกำร
  • 14. - ทำงควำมเป็นธรรม - ทำงควำมก้ำวหน้ำ - ทำงเกียรติยศ ชื่อเสียง - ทำงกำรยอมรับนับถือ (2) สร้ำงศรัทธำ - ในงำน ในหน่วยงำน ร่วมงำน - ในผูบังคับบัญชำ ้ - ในผู้
  • 15. ข. สร้ำงแรงดัน ด้วยกำร (1) สร้ำงเงื่อนไขให้จำำเป็น - ผูกมัดด้วยสัญญำ - ผูกมัดด้วยเครื่องยังชีพ (2) สร้ำงเงื่อนไขให้กลัว - กลัวผลร้ำย - กลัวผูรับรอง ้
  • 16. 3) ค่ำนิยม (VALUE) - มำตรฐำนทำงคุณธรรมและจริยธรรม ตำมแต่จะกำำหนดไว้ ตั้งขึ้น - ปณิธำน (DEDICATION) ตำมแต่จะ - อุดมคติ (IDEAL) ตำมแต่จะกำำหนดขึ้น 4) คุณธรรม (VIRTUE) คุณธรรมบำง ประกำรที่ส่งเสริมวินัย 3. เหตุบนทอนวินย ั่ ั เช่น 1) ควำมไม่รู้ คือไม่รู้ในสิ่งที่ควรจะรู้
  • 17. 2) กำรเสียขวัญ เพรำะ - รู้สกว่ำจะไม่ได้รับควำมสนใจ ึ - รู้สึกว่ำจะไม่มั่นคง - รู้สึกว่ำจะไม่ปลอดภัย - รู้สึกว่ำจะไม่ได้รับควำมเป็นธรรม 3) กำรเสียกำำลังใจ เพรำะ - ไม่ได้รับกำรยอมรับ ได้รับควำมจริงใจ - ไม่ - ไม่ได้รับผลตอบแทน ได้รับควำมเป็นธรรม - ไม่
  • 18. 4) ควำมจำำเป็น เพรำะ - ถูกล่อลวง - ถูกข่มขู่ - ถูกบังคับ - ขัดสน - ตอบแทนบุญคุณ
  • 19. 5) กิเลส (VICE) - ความอยาก - ความเห่อ - ความประมาท - ความว้าเหว่ - ความเหงา - ความคับใจ
  • 20. 6) อบายมุข คือหนทางแห่งความเสือม ่ ความฉิบหาย เช่น เล่นการพนัน เที่ยวในถิ่น หรือเวลาอโคจร มัวเมาในกามารมณ์ คบคน ชัวเป็นมิตร ่ เครื่องควบคุมวินย มีดังนี้ ั 1) ข้อกำาหนด ได้แก่บทวินัยที่บัญญัติ เป็นข้อห้ามและข้อปฏิบติไว้ ั 2) ผูควบคุม ได้แก่ผู้บงคับบัญชาและ ้ ั องค์กรต่าง ๆ เช่น ค.ร.ม. ก.พ. อ.ก.พ. ก.ค.ศ. อ.ก.ค.ศ.
  • 21. หลักทีพงยึดถือ ในการใช้ ่ ึ มาตรการบังคับ ดังนี้ ความยุติธรรม ต้องมีการสอบสวน พิจารณา และให้สิทธิอุทธรณ์ ความเป็นธรรม ต้องให้ได้ระดับ มาตรฐานเสมอหน้า ชิดกับเหตุ ความฉับพลัน ต้องให้รวดเร็วใกล้ นิติธรรม ต้องมีข้อกำาหนดให้ทำา
  • 22. จุดมุ่งหมายของมาตรการบังคับ ไม่ใช่เพื่อตอบโต้แบบตาต่อตา ฟันต่อฟัน ไม่ใช่เพื่อแก้แค้น โดยโทสะจริต แต่เพื่อ 1. รักษาความศักดิ์สิทธิ์ของวินัย 2. รักษามาตรฐานความประพฤติและ สมรรถภาพของข้าราชการ 3. รักษาชื่อเสียงของทางราชการและความ เชือมั่นของประชาชนต่อทางราชการ ่ 4. จูงใจให้ข้าราชการประพฤติดี

Editor's Notes

  1. {}