SlideShare a Scribd company logo
1 of 74
ภาวะผู้นาทางวิชาการ
Academic Leadership
ดร.ธวัชชัย ตั้งอุทัยเรือง
สาระสาคัญ
• ผู้นาและภาวะผู้นา
• วิวัฒนาการของภาวะผู้นา 4 ยุค
• ภาวะผู้นาทางวิชาการ
• ผู้นาวิชาการกับการบริหารงานวิชาการ
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ทราบถึง หลัก แนวคิด ทฤษฎีภาวะผู้นาและภาวะผู้นาทาง
วิชาการ
2. เพื่อให้นาหลัก แนวคิด ทฤษฎีภาวะผู้นาและภาวะผู้นาทางวิชาการ
ไปประยุกต์ใช้ในการบริหารได้อย่างเหมาะสม
บทนา
ภาวะผู้นาทางวิชาการได้รับการศึกษาอย่างจริงจังตั้งแต่ปี ค.ศ. 1980
เป็นต้นมา โดยเริ่มให้ความสาคัญในสหรัฐอเมริกา เนื่องจากมีความ
พยายามแก้ปัญหาการเรียนรู้ของนักเรียนโดยการพัฒนาภาวะผู้นาของ
ผู้บริหารสถานศึกษาให้เพิ่มมากขึ้น ทาให้เกิดแนวคิดการพัฒนาภาวะ
ผู้นาทางวิชาการเกิดขึ้น เพื่อเป็นรูปแบบที่นาไปใช้ในการบริหารจัดการ
งานวิชาการให้เกิดประสิทธิผลต่อสถานศึกษา
ผู้นาและภาวะผู้นา
The effective leader is aware of the important of small actions.
ผู้นำที่มีประสิทธิผลคือผู้นำที่สนใจควำมสำคัญของกำรกระทำเล็กๆ
เต๋ำเต็กเก็ง" (Tao Te Ching) (道德經)
ผู้นา (Leader)
ผู้นา หมายถึง บุคคลที่ได้รับมอบหมายหรือโดยการเลือกตั้งหรือ
แต่งตั้งและเป็นที่ยอมรับของสมาชิก ให้มีอิทธิพลและบทบาท
เหนือกลุ่ม สามารถที่จะจูงใจ ชักนาหรือชี้นาให้สมาชิกของ
กลุ่มรวมพลังเพื่อปฏิบัติภารกิจต่างๆ ของกลุ่มให้บรรลุ
เป้ าหมาย
ลองบอกคุณลักษณะของผู้นาโดดเด่นที่ท่านชอบ
เฉลียวฉลาด
สร้างสรรค์
ซื่อสัตย์
เป็นมิตร
เชื่อมั่นในตัวเอง
ยืนหยัด
อดทนสูง
ขยันขันแข็ง
ฟังคนอื่น
สอนงาน
อารมณ์สม่าเสมอ
ให้ความเห็น
แบ่งความคิด
ให้เครดิตคนอื่น
มอบหมายงาน
สนับสนุน
ร่วมกับทีมงาน
เป้ าหมายใหญ่
มีวิสัยทัศน์
เข้าใจคน
ใช้ข้อมูลตัดสินใจ
ดึงความสนใจ
มุ่งมั่นสู่เป้ าหมาย
เข้าใจสภาพแวดล้อม
ภาวะผู้นา
ภาวะผู้นา คือ การที่ผู้นาใช้อานาจหรือมีอิทธิพลต่อบุคคลอื่น
หรือต่อกลุ่ม เพื่อให้ผู้ตามปฏิบัติตามเป้ าหมาย และเพื่อให้
บรรลุเป้ าหมายที่หวังไว้
ภาวะผู้นาเป็นศิลปะที่เกิดจากใช้ปัจจัยหลายด้าน เช่น การมี
ความรู้ความสามารถ มีบุคลิกลักษณะน่ายาเกรง พฤติกรรมที่
มีอิทธิพล หรือมีผู้ตามและสถานการณ์เอื้ออานวย
ภาวะผู้นา 4 ยุค
Power comes through cooperation, independence through service,
and a greater self through selflessness
อำนำจมำจำกกำรร่วมแรงใจกัน ดูแลกันด้วยเสรีภำพ (ไม่กดขี่) และ
ยิ่งใหญ่ด้วยกำรเสียสละ
เต๋ำเต็กเก็ง" (Tao Te Ching) (道德經)
ภาวะผู้นา 4 ยุค
ยุคที่ 1 ทฤษฎีภาวะผู้นาเชิงคุณลักษณะ (1900-1945)
(Trait Theories)
ยุคที่ 2 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้นา (1945-1965)
(Behavioral Theories)
ยุคที่ 3 ทฤษฎีภาวะผู้นาตามสถานการณ์ (1969-1978)
(Situational or Contingency Leadership Theories)
ยุคที่ 4 ทฤษฎีภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลง (1970 – ปัจจุบัน)
(Transformational Leadership Theories)
ยุคที่ 1 ผู้นาเชิงคุณลักษณะ (Trait Theories)
Stogdill (1974) - The Great Man Theory ทฤษฎีมหาบุรุษ มีแนวคิด
ที่ว่าผู้นาคือผู้ที่มีทักษะความเป็นผู้นามาแต่กาเนิด ผู้นาจะปรากฏเมื่อ
มีชาติ(มีเหตุการณ์)ต้องการผู้นา
Stogdill ได้ศึกษาคุณลักษณะของผู้นาได้ สรุปคุณลักษณะของผู้นา 6
คุณลักษณะไว้ในหนังสือ Handbook of Leadership ดังนี้
6 คุณลักษณะของผู้นา ตามแนวคิด Stogdill
1)คุณลักษณะทางร่างกาย (Physical Characteristics) ประกอบด้วย
ความแข็งแรง รูปร่าง น้าหนัก ความสูง แต่ต่อมามีการศึกษาพบว่า
คุณลักษณะร่างกายมีผลลัพธ์ที่ขัดแย้งกันกับประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผล
2)คุณลักษณะด้านภูมิหลังทางสังคม (Social Background)
ประกอบด้วย สถานภาพทางสังคม การศึกษา และการเปลี่ยนแปลง
สถานภาพทางสังคม
3)คุณลักษณะด้านสติปัญญาและความสามารถ (Intelligence and
Ability) ประกอบด้วย การมีความรู้ การมีดุลพินิจ การมีทักษะในการ
พูด
6 คุณลักษณะของผู้นา ตามแนวคิด Stogdill
4)คุณลักษณะด้านบุคลิกภาพ (Personality) ประกอบด้วย ความ
ซื่อสัตย์ ความเชื่อมั่นในตนเอง การควบคุมอารมณ์ การอดทนต่อ
ความเครียด ความกระตือรือร้น ความคิดสร้างสรรค์ ความสามารถ
ในการปรับตัว การตื่นตัว การเป็นคนไม่เก็บตัว
5)คุณลักษณะที่เกี่ยวกับงาน (Task-Related Characteristic)
ประกอบด้วย ความรับผิดชอบ ความขยัน การไม่ท้อแท้ต่ออุปสรรค
6)คุณลักษณะทางสังคม (Social Characteristic) ประกอบด้วย การมี
ทักษะในการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล การมีเสน่ห์ ความ
ร่วมมือ การเป็นส่วนหนึ่งของสังคม ความเป็นนักการทูต ความนิยม
ในหมู่คน
ยุคที่ 2 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้นา (Behavioral Theories)
Kurt Lewin (1939) พิจารณาลักษณะเฉพาะตัวตามแนวพฤติกรรมของผู้นา
เน้นที่การวิเคราะห์พฤติกรรมของผู้นาที่พึงกระทา มี 3 รูปแบบ
1. ผู้นาแบบอัตตาธิปไตย (Autocratic style) เป็นผู้นาแบบเผด็จการ รวบ
อานาจ ตัดสินใจแต่เพียงผู้เดียวและสั่งการให้ผู้อื่นปฏิบัติตาม ในองค์การ
สมัยใหม่ผู้นาประเภทนี้ ก็จะจาเป็นต้องนามาใช้ในบางสถานการณ์
2. ผู้นาแบบประชาธิปไตย (Democratic style) ผู้นาประเภทนี้ จะเข้าร่วมกับ
กลุ่มในการตัดสิ้นใจ และอนุญาตให้กลุ่มเป็นผู้กาหนดวิธีปฏิบัติงาน
รวมทั้งจะแจ้งให้กลุ่มทราบถึงข้อมูลข่าวสารที่จาเป็น อาทิ เป้ าหมายของ
องค์การ รวมทั้งใช้ข้อมูลย้อนกลับเป็นโอกาสในการฝึกฝนสมาชิกกลุ่ม
3. ผู้นาแบบเสรีนิยม (Laissez-faire style) ผู้นาแบบเสรีนิยมนี้ จะมอบให้
ผู้ใต้บังคับบัญชาตัดสินใจและแก้ปัญหาต่างๆ เอง โดยผู้นาไม่สนใจ
รับผิดชอบ นอกจากนี้ ยังไม่ให้ข้อมูลป้ อนกลับแก่ผูใต้บังคับบัญชาว่าทางาน
ดีหรือไม่ดีอย่างไรด้วย
ยุคที่ 2 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้นา (Behavioral Theories)
Rensis Likert ในปี ค.ศ. 1966 ได้ใช้กลยุทธ์ในการศึกษาภาวะผู้นาที่
แตกต่างจากความคิดของ Kurt Lewin ของมหาวิทยาลัยไอโอว่า Likert
ได้ศึกษาภาวะผู้นา โดยพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างผู้นาและผู้ตาม
กับประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงานได้ระบุพฤติกรรมผู้นา 2
แบบ คือ ผู้นาที่มีพฤติกรรมแบบมุ่งคน (employee-centered leader
behavior) และผู้นาที่มีพฤติกรรมมุ่งงาน (job-centered leader
behavior)
ยุคที่ 2 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้นา (Behavioral Theories)
1. พฤติกรรมของผู้นาแบบมุ่งคน ผู้นาแบบนี้ จะเน้นเรื่องความสัมพันธ์
ระหว่างบุคคล ยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล สนใจ และเข้า
ใจความต้องการของพนักงาน
2. พฤติกรรมของผู้นาแบบมุ่งงาน ผู้นาแบบนี้ จะเน้นไปที่ผลผลิตเป็นสิ่ง
สาคัญ จึงให้ความสาคัญกับงาน และเทคนิคต่าง ๆ ในการผลิต
เพื่อให้งานบรรลุเป้ าหมายตามที่กาหนดไว้โดยมองว่าพนักงานเป็น
เพียงปัจจัยหนึ่งที่ทาให้งานสาเร็จเท่านั้น
ยุคที่ 2 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้นา (Behavioral Theories)
Likert (1967) ได้พัฒนาแนวความคิดของมหาวิทยาลัยมิชิแกน ในปี
ค.ศ. 1961 โดยได้นาแนวความคิดพฤติกรรมผู้นาแบบมุ่งคน และ
แบบมุ่งงานมาทาการวิจัย โดยแบ่ง เป็น 4 ระบบ Likert (1967,
126-127) ดังนี้
Likert (1967)
ระบบที่ 1 พฤติกรรมผู้นาเผด็จการแบบเบ็ดเสร็จ (exploitative autocratic)
ระบบนี้ ผู้นาจะเป็นผู้ตัดสินใจทุกอย่างว่าต้องทาอะไร ใครต้องทา ต้องทา
อย่างไร ทาที่ไหน และจะต้องให้เสร็จเมื่อไร ถ้างานไม่สาเร็จจะต้องมีการ
ลงโทษ ผู้นาไว้ใจผู้ตามน้อย ระดับความไว้วางใจ และความเชื่อมั่นระหว่าง
ผู้นา และผู้ตามจะมีต่า
ระบบที่ 2 พฤติกรรมผู้นาแบบเผด็จการอย่างมีเมตตา (benevolent
autocratic) ระบบนี้ ผู้นายังเป็นคนตัดสินใจอยู่ แต่ให้ผู้ตามมีอิสระอย่าง
บ้าง ผู้นาแบบนี้ จะมีเจตคติแบบพ่อปกครองลูก ตราบใดที่ผู้ตามยัง
ปฏิบัติงานตามระเบียบอยู่ ผู้นาจะดูแลผู้ตามเป็นอย่างดี ระดับความ
ไว้วางใจ และความสัมพันธ์ระหว่างผู้นา และผู้ตามยังคงต่าอยู่
Likert (1967)
ระบบที่ 3 พฤติกรรมผู้นาแบบปรึกษาหารือ (consultative) ระบบนี้ ผู้นาจะ
ปรึกษา หารือกับผู้ตามก่อนที่จะกาหนดเป้ าหมายหรือการตัดสินใจ ผู้ตาม
มีอิสระมากขึ้นอีก ผู้นาระบบนี้ ต้องการคิดเห็นของผู้ตามก่อนตัดสินใจ
ผู้นาจะให้รางวัลแก่ผู้ที่ทางานดี มากกว่าการลงโทษเมื่อทางานผิดพลาด
เป็นแรงจูงใจให้ผู้ตาม บรรยากาศเป็นกันเอง ระดับความไว้วางใจ และ
ความสัมพันธ์ระหว่างผู้นากับผู้ตามมีสูง
ระบบที่ 4 พฤติกรรมผู้นาแบบมีส่วนร่วม (participative) ระบบนี้ ผู้นาเน้นให้
ผู้ตามมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ในการกาหนดเป้ าหมาย และการตัดสินใจ ผู้
ตามเป็นอิสระ ถกเถียงกับผู้นาได้ ผู้นาแสดงความสนับสนุนแทนการข่มขู่
ทุกส่วนของผู้ตามมีส่วนร่วมในการบริหารงานทั่วทั้งองค์กร
ยุคที่ 2 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้นา (Behavioral Theories)
Reddin (2010) (Reddin’s 3D Leadership Model) นาแนวความคิด
ของ การมุ่งงาน และมุ่งคน มาร่วมพิจารณากับ ประสิทธิผลของงาน
(effectiveness)
1. มิติมุ่งงาน (Task Orientation) เป็นพฤติกรรมมุ่งให้ผู้ร่วมงานหรือผู้
ตามปฏิบัติงานอย่างได้ผล โดยผู้นาริเริ่มจัดการและอานวยการ
2. มิติมุ่งคน (Relation Orientation) เป็นพฤติกรรมของผู้นาที่แสดงให้
เห็นความเห็นอกเห็นใจ ไว้วางใจ และให้กาลังใจในการปฏิบัติงาน
3. มิติมุ่งประสิทธิผล (Effectiveness Orientation ) มุ่งความสาเร็จ
Reddin (2010)
Reddin (2010) ได้จาแนกรูปแบบพฤติกรรมผู้นา 4 รูปแบบดังนี้
แบบที่ 1 ผู้นาแบบแยกตัว (separated) เป็นผู้นาที่ไม่มุ่งคน ไม่มุ่งงาน
ทางานไปวัน ๆ
แบบที่ 2 ผู้นาแบบเสียสละ (dedicated) เป็นผู้นาที่ทุ่มเทให้กับงานโดย
ขาดความ สัมพันธ์ที่ดีกับคน
แบบที่ 3 ผู้นาแบบมิตรสัมพันธ์ (related) เป็นผู้นาที่เน้นความสัมพันธ์
กับผู้ตาม คานึง ถึงงานแต่เพียงเล็กน้อย
แบบที่ 4 ผู้นาแบบบูรณาการ (integrated) เป็นผู้นาที่มุ่งทั้ง
ความสัมพันธ์กับคน และมุ่งทั้งผลงานของงาน
Reddin (2010)
ยุคที่ 3 ทฤษฎีภาวะผู้นาตามสถานการณ์
(Situational or Contingency Leadership Theories)
Fiedler(1994) เสนอตัวแบบผู้นาตามสถานการณ์ (Fiedler’s
Contingency Model) โดยมีกรอบแนวคิดที่ว่า ภาวะผู้นาที่ดีอยู่ที่ความ
เหมาะสมระหว่างแบบของผู้นา (Leadership style) กับสถานการณ์
ที่เกิดขึ้น (Situational demands) โดย Fiedler เชื่อว่า แบบของผู้นา
เป็นส่วนหนึ่งของบุคลิกภาพของคน เปลี่ยนแปลงได้ยากแทนที่จะ
พยายามหาวิธีการฝึกอบรมให้ผู้บริหารเปลี่ยนรูปแบบจากการเน้น
งานไปเน้นคน หรือจากเน้นคนไปเน้นงาน ควรที่จะหาสถานการณ์ที่
“ลงตัว” กับรูปแบบของผู้นาจะทาให้เกิดการใช้รูปแบบภาวะผู้นา(ซึ่ง
เป็นบุคลิกภาพของผู้บริหารที่ติดตัวอย่างถาวร) ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพสูงสุด
Fiedler(1994) Contingency Leadership Theories
House (1996)
เสนอตัวแบบผู้นาตามสถานการณ์ที่เรียกว่า ทฤษฎีวิถีทางสู่เป้ าหมาย
(House’s Path–Goal Leadership Theory) ซึ่งมีแนวคิดคือ ผู้นาที่ดี
จะต้องช่วยเหลือหรือชี้เส้นทาง(Path) ให้ผู้ปฏิบัติงานบรรลุเป้ าหมาย
(Goal)
1. ผู้นาแบบสั่งการ (Directive Leadership)
2. ผู้นาแบบสนับสนุน (Supportive Leadership)
3. ผู้นาแบบร่วมงาน (Participative Leadership)
4. ผู้นาแบบมุ่งความสาเร็จของงาน (Achievement-oriented
Leadership)
House’s Path–Goal Leadership Theory
Hersey และ Blanchard (1977)
ได้เสนอตัวแบบผู้นาตามสถานการณ์ที่เรียกว่า ทฤษฎีความเป็นผู้นาเชิง
สถานการณ์ของเฮอร์ซีย์และบลันชาร์ด (Hersey and Blanchard’s
Situational Theory) แนวคิดภาวะผู้นาตามสถานการณ์ของ Hersey
และ Blanchard มองว่า ผู้นาที่ประสบความสาเร็จจะต้องปรับรูปแบบ
ภาวะผู้นาของตนให้สอดคล้องกับความพร้อม (Readiness) ของ
ผู้ปฏิบัติงานความพร้อมในที่นี้ หมายถึง ความสามารถ (ability) และ
ความมุ่งมั่นหรือความเต็มใจ (Willingness) ของผู้ปฏิบัติงานในการ
ทางาน
ได้แบ่งกลุ่มของ พฤติกรรมผู้ตามหรือผู้ใต้บังคับบัญชาไว้ 4 กลุ่ม
ด้วยกัน (Task Behaviors) คือ
M1: ผู้ปฏิบัติงานที่ขาดความสามารถและมุ่งมั่นในการทางาน เป็นผู้มี
ความพร้อมอยู่ในระดับต่า
M2: ผู้ปฏิบัติงานที่ขาดความสามารถแต่มีความมุ่งมั่นในการทางาน
พร้อมเป็นผู้มีความอยู่ในระดับปานกลาง
M3: ผู้ปฏิบัติงานที่มีความสามารถแต่ขาดความมุ่งมั่นในการทางาน
พร้อมเป็นผู้มีความอยู่ในระดับปานกลาง – สูง
M4: ผู้ปฏิบัติงานที่มีความสามารถ และมีความมุ่งมั่นในการทางาน เป็น
ผู้มีความพร้อมอยู่ในระดับสูง
Hersey และ Blanchard (1977)
จึงเกิดรูปแบบภาวะผู้นาให้สอดคล้องกับสถานการณ์(พฤติกรรม) คือ
S1: ผู้นาแบบสั่งงาน (Telling) จะมีพฤติกรรมที่ให้ความสาคัญกับผลผลิตมาก ให้
ความสาคัญกับคนน้อย มีการออกคาสั่งให้ปฏิบัติ และควบคุมการทางานทุก
ขั้นตอน ซึ่งจะเหมาะกับผู้ตามประเภท R1 ซึ่งมีความพร้อมต่า
S2: ผู้นาแบบสอนงาน (Selling) ผู้นาแบบนี้ จะมีพฤติกรรมแบบมุ่งงานและมุ่งคน มี
การอธิบายแนะนา เปิดโอกาสให้ผู้ปฏิบัติงานได้ซักถามเกี่ยวกับขั้นตอนในการ
ปฏิบัติงาน ซึ่งจะเหมาะสมกับผู้ตามประเภทขาดความสามารถแต่มีความมุ่งมั่นใน
การทางาน
S3: ผู้นาแบบร่วมงาน (Participating) ผู้นาแบบนี้ จะเป็นผู้นาที่ให้ความสาคัญกับคน
มาก แต่ให้ความสาคัญกับงานน้อย ซึ่งจะเหมาะสมกับความพร้อมผู้ตามประเภทมี
ความรู้ความสามารถในการทางานมากแต่ขาดความเต็มใจ
S4: ผู้นาแบบมอบหมายงาน (Delegating) เหมาะกับ ผู้ปฏิบัติงานที่มีความสามารถ
และมีความมุ่งมั่น
Hersey และ Blanchard (1977)
Hersey และ Blanchard (1977)
Hersey และ Blanchard (1977)
Hersey และ Blanchard (1977)
Burns (1978) กล่าวว่าภาวะผู้นาเป็นปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ที่มีความ
แตกต่างกันในด้านอานาจ แรงจูงใจ และทักษะเพื่อไปสู่จุดหมายร่วมกัน
สรุปได้เป็น 3 รูปแบบ ดังนี้
1)ภาวะผู้นาแบบแลกเปลี่ยน (Transactional Leadership) รูปแบบนี้ ผู้นาจะ
ติดต่อกับผู้ตามโดยการแลกเปลี่ยนผลประโยชน์ซึ่งกันและกัน และกลาย
มาเป็นประโยชน์ร่วมกัน
2)ภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลง (Transformational Leadership) รูปแบบนี้
ผู้นาจะคานึงถึงความต้องการของผู้ตาม ตอบสนองความต้องการในระดับ
ที่สูงกว่าความต้องการจริงของผู้ตาม เน้นการพัฒนา กระตุ้น และยกย่องผู้
ตาม จนผู้ตามพัฒนาตนเองขึ้นเป็นผู้นาได้ และมีการเปลี่ยนต่อๆกันไป
3)ภาวะผู้นาด้านจริยธรรม (Moral Leadership) รูปแบบนี้ ผู้นาที่สามารถทา
ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ตรงกับความต้องการของผู้ตาม ทาให้ผู้นามี
ความสัมพันธ์กับผู้ตามในด้านความต้องการ (Needs) ความปรารถนา
(Aspirations) ค่านิยม (Values) และจะยึดมั่นในจริยธรรมสูงสุด
ยุคที่ 4 ทฤษฎีภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลง
ยุคที่ 4 ทฤษฎีภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลง
Bass (1985) เห็นต่างจาก Burn โดยกล่าวว่าพฤติกรรมของผู้นาในการ
นาให้ได้ผลเกินความคาดหวังนั้น ผู้นาจะต้องแสดงความเป็นผู้นาทั้ง
2 ลักษณะร่วมกัน คือ ภาวะผู้นาแบบแลกเปลี่ยน และภาวะผู้นาการ
เปลี่ยนแปลง โดยทิศทางการแสดงพฤติกรรมความเป็นผู้นาจะออกมา
ในสัดส่วนของภาวะผู้นาแบบแลกเปลี่ยน หรือภาวะผู้นาการ
เปลี่ยนแปลง ซึ่งขึ้นอยู่กับ
1). สิ่งแวดล้อมภายนอกองค์กร ได้แก่ วัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น
เศรษฐกิจ และการเปลี่ยนแปลงในสังคม
2). สิ่งแวดล้อมภายในองค์กร ได้แก่ บรรยากาศองค์กร ลักษณะของงาน
ผู้บังคับบัญชา ผู้ใต้บังคับบัญชา เพื่อนร่วมงาน และวัฒนธรรมองค์กร
3). คุณลักษณะส่วนตัวของผู้นา
ยุคที่ 4 ทฤษฎีภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลง
Kouzes & Posner (1987) The Leadership Challenge ได้เสนอ
กระบวนการของผู้นาการเปลี่ยนแปลง 5 ขั้นตอน
1. Challenging the Process - ท้าให้เปลี่ยนแปลง
2. Inspiring a Shared Vision – กระตุ้นให้มีวิสัยทัศน์ร่วม
3. Enabling Others to Act – ทาให้คนอื่นมีความสามารถ
4. Modeling the Way – ทาให้ดูเป็นตัวอย่างเป็นขั้นตอน
5. Encouraging the Heart - ให้การยอมรับและกาลังใจทีมงาน
Kouzes & Posner (1987) The Leadership Challenge
Bass (1990) ได้เสนอรูปแบบภาวะผู้นาแบบแลกเปลี่ยน
(Transactional Leadership) 4 ด้าน
1) Contingent Rewards - การให้รางวัลตอบแทน เพื่อให้ทางานและทา
ให้งานสาเร็จ
2) Management by Exception (passive) – มุ่งสังเกตุและค้นหาการ
ทางานที่ออกนอกกฏระเบียบขั้นตอนการปฏิบัตที่ได้วางไว้ เพื่อ
ป้ องกันความผิดพลาด
3) Management by Exception (passive) - แทรกแซงเมื่อผลงานไม่ได้
ตามมาตรฐานหรือแนวทางที่วางไว้
4) Laissez Faire: หลีกเลี่ยงการแก้ไข ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง
ยุคที่ 4 ทฤษฎีภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลง
Bass (1990) ได้เสนอรูปแบบภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลง
(Transformational Leadership) 4 ด้าน
1. Idealized Influence - การมีอิทธิพลทางใจ มีบารมี
2. Inspirational Motivation - การสร้างแรงบันดาลใจ
3. Intellectual Stimulation - การกระตุ้นทางปัญญา
4. Individualized Consideration - การคานึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล
ยุคที่ 4 ทฤษฎีภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลง
Evolution of Leadership’s Study
Stogdill (1974) (Traits)
1) คุณลักษณะทางร่างกาย
2) คุณลักษณะด้านภูมิหลังทางสังคม
3) คุณลักษณะด้านสติปัญญาและ
ความสามารถ
4) คุณลักษณะด้านบุคลิกภาพ
5) คุณลักษณะที่เกี่ยวกับงาน
6) คุณลักษณะทางสังคม
Rensis Likert (1966) (Beh.)
1.ผู้นาที่มีพฤติกรรมแบบมุ่งคน
2.ผู้นาที่มีพฤติกรรมมุ่งงาน
Likert (1967) (Behaviors)
1. พฤติกรรมผู้นาเผด็จการแบบ
เบ็ดเสร็จ
2. พฤติกรรมผู้นาแบบเผด็จการ
อย่างมีเมตตา
3. พฤติกรรมผู้นาแบบปรึกษาหารือ
4. พฤติกรรมผู้นาแบบมีส่วนร่วม
Reddin (1967) (Beh.)
3D Leadership Model
Assess the situation and
identify what behavior was
most appropriate
มุ่งงาน, มุ่งคน, สถานการณ์
1. พฤติกรรมผู้นาแบบแยกตัว
(separated)
2. พฤติกรรมผู้นาแบบเสียสละ
(dedicated)
3. พฤติกรรมผู้นาแบบมิตรสัมพันธ์
(related)
4. พฤติกรรมผู้นาแบบผสมผสาน
(integrated)
Fiedler (1994) (Situation)
สถานการณ์ผู้นา
1.คุณภาพความสัมพันธ์ผู้นากับ
สมาชิก
2.ระดับโครงสร้างงาน
3.อานาจของผู้นา
8 พฤติกรรมตามสถานการณ์
House (1996)
House’s Path–Goal LD Theory
1. (Directive Leadership)
2. (Supportive Leadership)
3. (Participative Leadership)
4. (Achievement-oriented
Leadership)
Hersey & Blanchard (1977)
1. ผู้นาแบบสั่งงาน (Telling)
2. ผู้นาแบบสอนงาน (Selling)
3. ผู้นาแบบร่วมงาน
(Participating)
4. ผู้นาแบบมอบหมายงาน
(Delegating)
Burns (1978)
1) ภาวะผู้นาเชิงปฏิบัติ
(Transactional Leadership)
2) ภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลง
(Transformational
Leadership)
3) ภาวะผู้นาด้านจริยธรรม
(Moral Leadership)
Bass (1990) Transformational LD
1. การมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์
(Idealized Influence) หรือการมี
คุณลักษณะพิเศษ (Charisma)
2. การสร้างแรงบันดาลใจ (Inspirational
Motivation)
3. การกระตุ้นทางปัญญา (Intellectual
Stimulation)
4.การคานึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล
(Individualized Consideration)
Beyond Transactional & Transformational Leadership
• Servant leadership (Greenleaf, 1977; Sendjaya & Sarros, 2002)
• Moral leadership (Sergiovanni, 1992; Greenfield, 2004)
• Stewardship (Block, 1993)
• Collaborative leadership ( Sofield & Kuhn, 1995)
• Transcendent leadership (Larkin, 1995; Aldon, 2004)
• Intelligent leadership (Mant, 1977; Kibby & Hartel, 2003)
• Values-led leadership (Day, 2000)
• Distributed leadership (Gronn, 2000; Harris, 2003)
• Primal leadership (Goleman, Boyatzis & McKee, 2002)
• Ethical leadership (Starratt, 2004)
• Authentic leadership (Begley, 2003/2006; Duignam, 2006; Terry, 1993)
. . . Then Academic Leadership =>
ภาวะผู้นาวิชาการ
บทบาทผู้นาทางการศึกษา
1) บทบาทเป็นผู้กาหนดทิศทางในการปฏิบัติงาน
2) บทบาทเป็นผู้กระตุ้นความเป็นผู้นา
3) บทบาทเป็นผู้วางแผน
4) บทบาทเป็นผู้ตัดสินใจ
5) บทบาทเป็นผู้จัดองค์การ
6) บทบาทเป็นผู้เปลี่ยนแปลง
7) บทบาทเป็นผู้ประสานงาน
8) บทบาทเป็นผู้สื่อสาร
บทบาทผู้นาทางการศึกษา
9) บทบาทเป็นผู้แก้ความขัดแย้ง
10) บทบาทเป็นผู้แก้ปัญหา
11) บทบาทเป็นผู้จัดระบบ
12) บทบาทเป็นผู้บริหารการเรียนการสอน
13) บทบาทเป็นผู้บริหารบุคคล
14) บทบาทเป็นผู้บริหารทรัพยากร
15) บทบาทเป็นผู้ประเมินผล
16) บทบาทเป็นนักประชาสัมพันธ์ และ
17) บทบาทเป็นประธานในพิธีการ
Lashway, Larry (2002)
ได้กล่าวถึงบทบาทผู้นาทางวิชาการตามข้อกาหนดของสมาคมครูใหญ่
โรงเรียนระดับประถมศึกษาแห่งชาติ ว่า บทบาทผู้นาทางวิชาการ
ประกอบด้วยบทบาท 6 ประการ คือ
1. การให้ความสาคัญกับการเรียนรู้ของนักเรียนและผู้ใหญ่สาคัญที่สุด
2. การคาดหวังสูงในการดาเนินงาน
3. การพัฒนาเนื้ อหาและการสอนให้ได้มาตรฐาน
4. การสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ให้มีขึ้นอย่างต่อเนื่อง
5. การประเมินผลการเรียนรู้โดยใช้ข้อมูลที่หลากหลาย
6. การให้ชุมชนได้มีส่วนในการสนับสนุนกิจการของโรงเรียน
ประสิทธิ์ เขียวศรี และคณะ (2548)
ได้ให้ความหมายของภาวะผู้นาทางวิชาการไว้ว่า ภาวะผู้นาทางวิชาการ
หมายถึง การปฏิบัติของผู้บริหารโรงเรียน สถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่มี
จุดมุ่งหมายเพื่อนาครูและผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ ให้เข้ามามีส่วนร่วมใน
กระบวนการจัดการเรียนการสอน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้
จามจุดมุ่งหมายและโครงสร้างสาระการเรียนรู้ต่างๆๆ ที่ถูกกาหนดไว้
ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ฉบับ พ.ศ.2544
ความหมายของภาวะผู้นาทางวิชาการ
ภาวะผู้นาทางวิชาการ หมายถึง พฤติกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาที่
เกี่ยวข้องกับ การกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และการกาหนดข้อตกลง
ร่วมกันระหว่างครูและนักเรียนที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้ของ
นักเรียน การพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียนและการสอนของครู โดย
ใช้การแลกเปลี่ยนความรู้ทั่วทั้งองค์กร มีความหลากหลายในรูปแบบ
การพัฒนาและประเมินผล การพัฒนาบรรยากาศ สิ่งแวดล้อม
วัฒนธรรม การมีส่วนร่วมของครูและนักเรียน และความสัมพันธ์กับ
ชุมชน เพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายของโรงเรียน
ภาวะผู้นาทางวิชาการตามแนวคิดของ
Bossert (1988)
Bossert (1988) ได้นาเสนอแนวคิดเกี่ยวกับภาวะผู้นาทางวิชาการไว้
7 ประการ ดังนี้
1)เน้นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยการกาหนดเป้ าหมายในการ
จัดการเรียนการสอน กาหนดมาตรฐานการปฏิบัติตนของนักเรียน
และสนับสนุนให้นักเรียนได้มาตรฐานตามเป้ าหมาย
2)จัดการให้มีเวลาเพื่อการประสานงานและการดูแลการสอนของครู
ให้มากขึ้น
3)ชานาญในเรื่องการจัดการเรียนการสอน การเข้าสังเกตการณ์การ
สอนบ่อยๆ มีการนิเทศการสอนและมีส่วนร่วมในการทางานของ
ครูมากขึ้น
ภาวะผู้นาทางวิชาการตามแนวคิดของ
Bossert (1988)
4)ใส่ใจกับหลักสูตรและการสอนมากขึ้น
5)ขอความช่วยเหลือจากเขตพื้นที่การศึกษาในเรื่องการทาแผนการ
จัดการเรียนการสอน
6)สร้างสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนการสอนให้มีระเบียบ ขั้นตอน
ที่น้อยลง และลดภาระงานเอกสารของครู
7)ทราบถึงโครงสร้างชุมชนและรักษาความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ปกครอง
Bossert (1988)
Bossert สรุปว่า
ผู้นาที่มีประสิทธิผล คือ ผู้นาที่ใส่ใจในเรื่องหลักสูตรและการสอน ซึ่ง
ส่งผลโดยตรงต่อความสาเร็จของนักเรียน โดยบทบาทนี้ เกินกว่า
ขอบข่ายงานของผู้บริหาร ซึ่งต้องใช้ลักษณะผู้นาแบบอื่นๆ ร่วมด้วย ผู้
มีบทบาทภาวะผู้นาทางวิชาการที่สาคัญ ได้แก่ ผู้อานวยการเขตพื้นที่
ผู้ประสานงานหลักสูตร ผู้บริหารสถานศึกษาและผู้ช่วย ศึกษานิเทศก์
ผู้ดูแลการจัดการเรียนการสอน
ภาวะผู้นาทางวิชาการตามแนวคิดของ
Krug (1992)
Krug (1992) ได้แบ่งองค์ประกอบภาวะผู้นานี้ ไว้ 5 องค์ประกอบ ดังนี้
1)กาหนดพันธกิจ การมีเป้ าหมายที่ชัดเจนแล้วจาเป็นจะต้องสื่อสารให้ผู้
มีส่วนได้ส่วนเสียได้เข้าใจด้วย การทากรอบเป้ าหมาย วัตถุประสงค์
และพันธกิจ ต้องไม่ตั้งเป้ าที่สูงจนเกินไป เป็นไปตามสถานการณ์ใน
ช่วงเวลานั้น
2) การจัดการหลักสูตรและการสอน การสอนจัดเป็นบริการเบื้องต้น
ของโรงเรียน ดังนั้นอย่างน้อยผู้นาควรต้องทราบถึงขอบข่ายรายวิชา
ที่เปิดสอนรวมถึงความรู้ที่จาเป็นในการสอนอีกด้วย และนาควรใส่
ใจและส่งเสริมให้มีการพัฒนาหลักสูตรอย่างจริงจัง
ภาวะผู้นาทางวิชาการตามแนวคิดของ
Krug (1992)
3)การนิเทศการสอน ภาวะผู้นาทางวิชาการเป็นการมองไปข้างหน้าจึงต้องใส่
ใจเรื่องการนิเทศนี้ ให้มาก ว่าทาอะไรอยู่ตอนนี้ ไม่ใช่การมองสิ่งที่ทาไป
แล้วที่ผ่านมา ผู้นาต้องให้โอกาสครูได้พัฒนาวิชาชีพทั้งในและนอก
โรงเรียน โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาครูรายบุคคล ซึ่งส่งผลต่อการเรียนรู้
ของนักเรียน
4)การกากับติดตามความก้าวหน้าของนักเรียน ผู้นาทางวิชาการที่มี
ประสิทธิผลนั้นจะต้องมีหลากหลายวิธีในการประเมินความก้าวหน้า และ
ทาอย่างเป็นประจา
5)การส่งเสริมบรรยากาศทางวิชาการ บรรยากาศโรงเรียนแสดงถึงคุณค่า
ของการจัดการเรียนรู้และส่งเสริมให้บรรลุผลสาเร็จ ผู้นาเป็นผู้รับผิดชอบ
การสร้างบรรยากาศทางการศึกษาในทุกระดับ และบรรยากาศนี้ จะช่วยดึง
พลังของนักเรียนและครูออกม
ภาวะผู้นาทางวิชาการตามแนวคิดของ
McEwan (1998)
McEwan ได้เสนอองค์ประกอบภาวะผู้นาทางวิชาการอย่างมีประสิทธิผล
ประกอบไปด้วยหลัก 7 ประการ ดังนี้
1)สร้างมาตรฐานทางวิชาการ ดาเนินการตามมาตรฐาน และดาเนินการให้
บรรลุเป้ าหมายตามมาตรฐาน
2)ผู้บริหารต้องเป็นแหล่งข้อมูลทางวิชาการให้แก่ครู
3)สร้างบรรยากาศและวัฒนธรรมแห่งการเรียนรู้
4)สื่อสารวิสัยทัศน์และพันธกิจให้แก่ครูและนักเรียน
5)ตั้งความคาดหวังสาหรับครูและผู้บริหารโรงเรียนไว้สูง
6)พัฒนาครูแกนนา
7)พัฒนาและรักษาความสัมพันธ์ที่ดีกับนักเรียน ครูและผู้ปกครอง
ภาวะผู้นาทางวิชาการตามแนวคิดของ
Blasé and Blasé (2001)
Blasé and Blasé (2001:22-25) ศึกษาและได้ข้อสรุปว่าผู้อานวยการ
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และผู้บริหารที่มีภาวะผู้นาทางวิชาการ
จะเน้นการดาเนินการที่เห็นชัดเจน มีการผสมผสานภาวะผู้นาการ
เปลี่ยนแปลง ภาวะผู้นาแบบแลกเปลี่ยน และการตัดสินใจร่วมกัน
โดยเน้นใน 4 ด้าน
1) การเน้นการจัดการเรียนการสอนเป็นสิ่งที่สาคัญที่สุด
2) สร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ การวิเคราะห์และวิพากษ์
3) มีการตัดสินใจร่วมกันด้านการจัดการเรียนการสอน และ
4) 4) สร้างข้อตกลงของกลุ่มและองค์กร
Blasé and Blasé แนวปฏิบัติ 3 ด้าน
1. สร้างการสื่อสารกับครู (Communication)
• การสร้างความไว้วางใจ
• พัฒนากลุ่ม
• สนับสนุนให้เกิดความร่วมมือ
• สนับสนุนการสอนงานกันในกลุ่ม
• สังเกตการณ์สอนในห้องเรียน
• ประชุมครูเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน
• มอบงานและมอบอานาจการตัดสินใจให้ครู
• อยู่ให้ครูเห็นเป็นประจา
Blasé and Blasé แนวปฏิบัติ 3 ด้าน
2. ส่งเสริมความก้าวหน้าในวิชาชีพครู (Support & Promote)
• ศึกษาวรรณกรรมและโครงการที่มีการพิสูจน์แล้ว
• สนับสนุนการปฏิบัติตามทักษะใหม่ๆ การคานึงถึงความเสี่ยง และ
การใช้นวัตกรรม
• การจัดทางเลือกในการพัฒนาครูอย่างมีประสิทธิผล
• ให้หลักการด้านการเติบโตเป็นผู้ใหญ่ในโครงการพัฒนาครู
• ชมเชย สนับสนุน และช่วยส่งเสริมงานครู
• จัดหาทรัพยากรแก่ครู
• สะท้อนความคิดเห็นและให้คาแนะนา
Blasé and Blasé แนวปฏิบัติ 3 ด้าน
3. ส่งเสริมให้ครูสะท้อนความคิดเห็น และใช้ความรู้
• พัฒนาทักษะการสะท้อนความคิดให้แก่ครู
• สร้างความรู้ในวิชาชีพและความเข้าใจอย่างลึกซึ้งทางสังคมด้วยความ
ร่วมมือเป็นอย่างดี
• พัฒนาทักษะการวิจัยเชิงปฏิบัติการ(วิจัยในชั้นเรียน)ให้แก่ครู
• ให้รูปแบบการสืบค้นหาความรู้
• ใช้ข้อมูลในการถาม ประเมิน และวิพากษ์ ในการสอนและการเรียน
• ให้ครูมีอิสระ
ภาวะผู้นาทางวิชาการของ
MacNeill, Cavanagh and Silcox (2003)
1. การนึกถึงสิ่งที่สังคมคาดหวังในด้านคุณธรรม จริยธรรมจากโรงเรียน
2. มีวิสัยทัศน์ร่วมกัน และให้มีการรับรู้ถึงพันธกิจด้านการเรียนรู้ของนักเรียน
3. สร้างข้อตกลงร่วมกันระหว่างครูกับนักเรียนที่มีต่อพันธกิจ
4. นาความรู้ความชานาญมาใช้เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน
5. พัฒนาการสอนของครู
6. เน้นความผูกพันและการมีส่วนร่วมของบุคลากร
7. ใช้ภาวะผู้นาหลายรูปแบบ
8. เป็นผู้นาที่เน้นการจัดการเรียนการสอนมากกว่าการบริหาร
9. ทาให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ทั่วทั้งองค์กรและให้เกิดความสร้างสรรค์
10. พัฒนาความสัมพันธ์กับชุมชน
11. ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์กรให้มีการพัฒนา
ภาวะผู้นาทางวิชาการตามแนวคิดของ
Joseph Blasé (2004)
1. กาหนดเป้ าหมายของโรงเรียน
2. สื่อสารเพื่อให้บรรลุเป้ าหมาย
3. การนิเทศและประเมินผลการจัดการเรียนการสอน
4. การประสานงานหลักสูตร
5. การติดตามผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
6. กาหนดกรอบเวลาในการจัดการเรียนการสอน
7. การทาให้วิสัยทัศน์คงอยู่
8. การเตรียมครูให้เข้ากับพันธกิจของโรงเรียน
9. การส่งเสริมให้เป็นครูมืออาชีพ
10. การเตรียมกระบวนการเรียนรู้ที่มีความเหมาะสม
ภาวะผู้นาทางวิชาการตามแนวคิดของ
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.) (2552)
1. มีวิสัยทัศน์ในการจัดการศึกษาให้ทันการเปลี่ยนแปลง
2. มีความเป็นผู้นาในการริเริ่มการใช้นวัตกรรมเพื่อการเรียนการสอน
3. ส่งเสริมการนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ในการ
ปฏิรูปการเรียนรู้
4. มีศักยภาพในการพึ่งพาตนเองในการพัฒนางานวิชาการ
5. มีการแสวงหาความรู้ใหม่ๆ มาปรับใช้ตลอดเวลา
Academic Leadership Theories
Krug (1992)
1. กาหนดพันธกิจ
2. การจัดการหลักสูตร
และการสอน
3. การนิเทศการสอน
4. การกากับติดตาม
ความก้าวหน้าของ
นักเรียน
5. การส่งเสริมบรรยากาศ
ทางวิชาการ
Hallinger & Murphy (1987)
1.การกาหนดพันธกิจ
2. การบริหารการสอน
3. การส่งเสริมบรรยากาศของ
โรงเรียน
Bossert (1988)
1. เน้นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
2. จัดเวลาเพื่อการประสานงาน
ดูแลการสอนของครูให้
3. ชานาญในการจัดการเรียนการ
สอน เข้าสังเกตการณ์การสอน การ
นิเทศการสอน
4. ใส่ใจกับหลักสูตรและการสอน
5. ขอความช่วยเหลือจากเขตพื้นที่
การศึกษาในเรื่องการทาแผนการ
จัดการเรียนการสอน
6. สร้างสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อ
การเรียนการสอนให้มีระเบียบ
7. ทราบถึงโครงสร้างชุมชนและ
รักษาความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ปกครอง
Murphy (1990)
1. พัฒนาพันธกิจและเป้าหมาย
2. บริหารการจัดการศึกษา
3. ส่งเสริมบรรยากาศการเรียนรู้ทาง
วิชาการ
4. พัฒนาสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการ
เรียนรู้
Weber (1996)
1. กาหนดพันธกิจของโรงเรียน
ให้ชัดเจน
2. การบริหารหลักสูตรและการ
สอน
3. การส่งเสริมบรรยากาศการ
เรียนรู้ทางบวก
4. การเข้าสังเกตและการ
พัฒนาการจัดการเรียนการสอน
5. การประเมินการสอน
McEwan (1998)
1. สร้างเป้าหมายและวิธีการ และทาให้บรรลุ
มาตรฐานทางวิชาการ
2. เป็นที่ปรึกษาและแหล่งความรู้ทางวิชาการ
แก่บุคลากร
3. สร้างสิ่งแวดล้อมและบรรยากาศการเรียนรู้
4. สื่อสารวิสัยทัศน์และพันธกิจให้บุคลากรและ
นักเรียนได้ทราบ
5. ตั้งเป้าหมายสูง
6. พัฒนาครูแกนนา
7. พัฒนาและรักษาความสัมพันธ์ทางบวก
ระหว่างนักเรียน บุคลากร และผู้ปกครอง
Blasé and Blasé (2001)
1. การพูดคุยกับครู
2. ส่งเสริมความก้าวหน้าใน
วิชาชีพครู
3. ส่งเสริมให้ครูสะท้อนความ
คิดเห็น
MacNeill, Cavanagh and Silcox
(2003)
1. การนึกถึงคุณธรรมจริยธรรม
2. มีวิสัยทัศน์ร่วมกัน
3. สร้างข้อตกลงร่วมกันระหว่างครู
กับนักเรียนที่มีต่อพันธกิจ
4. นาความรู้ความชานาญมาใช้
เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน
5. พัฒนาการสอนของครู
6. เน้นความผูกพันและการมีส่วน
ร่วมของบุคลากร
7. ใช้ภาวะผู้นาหลายรูปแบบ
8. เน้นการจัดการเรียนการสอน
มากกว่าการบริหาร
9. ทาให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้
ทั่วทั้งองค์กร
10. พัฒนาความสัมพันธ์กับชุมชน
11. ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์กรให้มี
การพัฒนา
Joseph Blasé (2004)
1. กาหนดเป้าหมายของโรงเรียน
2. สื่อสารเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
3. การนิเทศและประเมินผลการจัดการ
เรียนการสอน
4. การประสานงานหลักสูตร
5. การติดตามผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ
นักเรียน
6. กาหนดกรอบเวลาในการจัดการเรียน
การสอน
7. การทาให้วิสัยทัศน์คงอยู่
8. การเตรียมครูให้เข้ากับพันธกิจของ
โรงเรียน
9. การส่งเสริมให้เป็นครูมืออาชีพ
10. การเตรียมกระบวนการเรียนรู้ที่มีความ
เหมาะสม
Alig-Mielcarek & Hoy (2005)
1. การพัฒนาวิชาชีพครูทั้งโรงเรียน
2. กาหนดเป้าหมายร่วมกันและสร้างความ
ความเข้าใจในเป้าหมาย
3. กากับติดตามและจัดให้มีการสะท้อนผล
การจัดการเรียนการสอน
ผู้นาวิชาการกับการบริหารงานวิชาการ
ขอบข่ายงานวิชาการ
1. แผนปฏิบัติการด้านวิชาการ
2. หลักสูตรและการสอน
3. การพัฒนาการเรียนการสอน
4. สื่อการเรียนการสอน
5. การปรับปรุงการเรียนการสอน
6. การวัดผลและประเมินผล
หลักการบริหารงานด้านวิชาการ
1. จัดทาแผนงานวิชาการที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์หรือนโยบาย
2. การบริหารงานวิชาการมุ่งความร่วมมือกันทางาน
3. ควรกระจายอานาจและความรับผิดชอบให้ผู้ปฏิบัติ
4. ควรส่งเสริมผู้ร่วมงานให้ปรับปรุงตนเอง
5. ริเริ่มสร้างสรรค์ในการปรับปรุงตนเองด้านวิชาการ
6. ผู้บริหารควรใช้เทคนิคการส่งเสริมคนอื่นมากกว่าการสอนคนอื่น
7. มีการให้ขวัญกาลังใจ
8. ควรมีคณะกรรมการที่ปรึกษาด้านวิชาการ
9. ให้ครูเข้าใจวัตถุประสงค์และจุดมุ่งหมายของการสอนทุกวิชาที่รับผิดชอบ
10. ติดตามและประเมินผล
ขั้นตอนในการบริหารงานวิชาการ
1. ขั้นวางแผนก่อนดาเนินงาน
1.1 กาหนดนโยบายการปฏิบัติงาน
1.2 จัดระบบงาน
1.3 กาหนดวิธีการ
1.4 จัดบุคลากร
1.5 จัดทาโครงการและแผนปฏิบัติงานโดยให้ครูมีส่วนร่วม
ขั้นตอนในการบริหารงานวิชาการ
2. ขั้นดาเนินงาน
2.1 งานที่เกี่ยวข้องกับเนื้ อหาวิชา (แผนการสอนในแต่ละวิชา)
2.2 งานเกี่ยวกับกิจกรรมเสริมหลักสูตร (ซ่อมเสริม โครงการส่งเสริม
เด็กเรียนดี การจัดชุมนุม ลูกเสือ เนตรนารี แนะแนว การดูแล
ช่วยเหลือนักเรียน)
2.3 งานบริการ(ส่งเสริมการผลิต ใช้ ซ่อมแซมสื่อการสอน อุปกรณ์
การสอน จัดทาเอกสารการสอน คู่มือครู)
ขั้นตอนในการบริหารงานวิชาการ
3. ขั้นส่งเสริมและควบคุมงานวิชาการ
3.1 สนับสนุนให้ปฏิบัติตามมาตรฐานทางวิชาการ (จัดครูสอน จัด
ห้องเรียน ตารางสอนวัสดุอุปกรณ์ สถานที่ ติดต่อชุมชน)
3.2 ส่งเสริมงานวิชาการและจัดบรรยากาศทางวิชาการ
(คณะกรรมการวิชาการ ตั้งชมรม ชุมนุม จัดทาหนังสือเอกสาร
วิชาการ และเผยแพร่)
3.3 ส่งเสริมให้ครูมีวุฒิสูงขึ้น
3.4 ส่งเสริมให้ครูเลื่อนวิทยฐานะ
3.5 จัดครูเข้าสอน (ตรงตาม ความรู้ ความสามารถ
ความถนัด และวุฒิของครู)
หลักการและแนวคิด
1. ยึดหลักให้สถานศึกษาจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาให้เป็นไปตามกรอบ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานและสอดคล้องกับสภาพปัญหา
และความต้องการของชุมชนและสังคมอย่างแท้จริง โดยมีครู ผู้บริหาร
ผู้ปกครอง และชุมชนมีส่วนร่วม
2. มุ่งส่งเสริมสถานศึกษาให้จัดกระบวนการเรียนรู้ โดยถือว่าผู้เรียนมี
ความสาคัญที่สุด
3. มุ่งส่งเสริมให้ชุมชนและสังคมมีส่วนร่วมในการกาหนดหลักสูตร
กระบวนการเรียนรู้ รวมทั้งเป็นเครือข่ายและแหล่งการเรียนรู้
4 มุ่งจัดการศึกษาให้มีคุณภาพและมาตรฐานโดยจัดให้มีดัชนีชี้วัดคุณภาพ
การจัดหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ และสามารถตรวจสอบคุณภาพ
การจัดการศึกษาได้ทุกช่วงชั้นทั้งระดับเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา
5. มุ่งส่งเสริมให้มีการร่วมมือเป็นเครือข่าย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและ
คุณภาพในการจัดและพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ขอบข่ายและภารกิจงาน ตามที่กาหนดในกฎกระทรวงฯ
1) การพัฒนาหรือการดาเนินการเกี่ยวกับการให้ความเห็นการพัฒนา
สาระหลักสูตรท้องถิ่น
2) การวางแผนงานด้านวิชาการ
3) การจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา
4) การพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษา
5) การพัฒนากระบวนการเรียนรู้
6) การวัดผล ประเมินผล และดาเนินการเทียบโอนผลการเรียน
7) การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาในสถานศึกษา
8) การพัฒนาและส่งเสริมให้มีแหล่งเรียนรู้
9) การนิเทศการศึกษา
ขอบข่ายและภารกิจงาน ตามที่กาหนดในกฎกระทรวงฯ
10) การแนะแนว
11) การพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา
12) การส่งเสริมชุมชนให้มีความเข้มแข็งทางวิชาการ
13) การประสานความร่วมมือในการพัฒนาวิชาการกับสถานศึกษาและ
องค์กรอื่น
14) การส่งเสริมและสนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กร
หน่วยงาน สถานประกอบการและสถาบันอื่นที่จัดการศึกษา
15) การจัดทาระเบียบและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับงานด้านวิชาการของ
สถานศึกษา
16) การคัดเลือกหนังสือ แบบเรียนเพื่อใช้ในสถานศึกษา
17) การพัฒนาและใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
การบริหารงานวิชาการกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง
รองผู้อานวยการ
1. วางแผนดาเนินงานด้านการเรียนการสอนและรับผิดชอบดาเนินงาน
ให้เป็นไปตามเป้ าหมายของโรงเรียน
2. ควบคุมดูแลการจัดตารางสอน
3. จัดให้มีการจัดทาแผนการสอนตามหลักสูตร
4. ร่วมกับหัวหน้าหมวด หัวหน้าสายชั้น วางนโยบายเกี่ยวกับการเรียน
การสอนทั่วไป และสนับสนุนให้มีการค้นคว้าทดลอง ปรับปรุงการ
เรียนการสอน
5. อบรมครูให้เข้าใจเกี่ยวกับการเรียนการสอน การวัดผล
6. จัดทาคู่มือครู และคู่มือการเรียนการสอนของนักเรียน
การบริหารงานวิชาการกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง
รองผู้อานวยการ
7. จัดให้มีโครงการ กิจกรรมวิชาการ เพื่อส่งเสริมความรู้นักเรียน
8. พิจารณาหนังสือ แบบเรียน คู่มือ อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เห็นว่ามีประโยชน์
ในการสอน และจัดให้มีเอกสารประกอบการเรียน
9. เสนอแนะในการแต่งตั้งหัวหน้าหมวด หัวหน้าสายชั้น
10. จัดสรรและควบคุมงบประมาณทางวิชาการ
11. ควบคุมการจัดซื้อ เก็บรักษา กามรใช้อุปกรณ์
12. เสนอความเห็นต่อผู้บริหารเพื่อพิจารณาความดี
การบริหารงานวิชาการกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง
หัวหน้ากลุ่มสาระ
1. วางแผนการสอนเป็นระยะร่วมกับครูในกลุ่มสาระ ให้เป็นไปตามหลักสูตร
2. ให้คาแนะนาครูในหมวดเรื่องหลักสูตร การสอน หนังสือ แบบเรียนการใช้
อุปกรณ์ วิธีการสอน และจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร
3. ควบคุมการเรียนการสอนในกลุ่มสาระวิชาที่ตนรับผิดชอบให้เป็นไปตาม
โครงการ และจัดครูสอนแทน ในกรณีที่ผู้บริหารมอบหมาย
4. ประชุมครูในกลุ่มโดยสม่าเสมอ อย่างน้อยเดือนละครั้ง เพื่อเสนอแนะ ให้
คาปรึกษา หรือช่วยเหลือแก้ไขด้านวิชาการ
5. ส่งเสริมให้ครูเข้ารับการอบรมเพื่อให้ครูมีความรู้ ความสามารถเพิ่มขึ้นอยู่
เสมอ
6. จัดทา สร้าง ดัดแปลงอุปกรณ์ให้มีใช้ในการเรียนการสอนในกลุ่มสาระนั้น
การบริหารงานวิชาการกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง
หัวหน้ากลุ่มสาระ
7. ประสานงานกับหัวหน้ากลุ่มสาระอื่น ศึกษานิเทศก์ และสถาบันอื่น ให้
ความช่วยเหลือทางวิชาการ
8. จัดนิทรรศการ สาธิตกิจกรรม สนับสนุนการจัดตั้งชุมชุมนุมทางวิชาการ
9. จัดทาข้อสอบวัดผล ควบคุมเรื่องการวัดผล ตามระเบียบวัดผล
10. ประเมินผลการเรียนในกลุ่มสาระ สรุปรายงาน การปฏิบัติงานและเสนอ
ข้อคิดเห็นของครู ในกลุ่มสาระต่อผู้บริหาร
11. เสริมสร้างมนุษยสัมพันธ์ระหว่างครู ในกลุ่มสาระและโรงเรียน
12. เสนอแนะงานของครูต่อผู้บริหาร เพื่อประกอบการพิจารณาความดี
ความชอบ
การบริหารงานวิชาการกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง
ครูผู้สอน
1. จัดทาแผนการสอน
2. เตรียมการสอน
3. เตรียมอุปกรณ์การสอน
4. ดาเนินการสอน
5. ออกข้อสอบ วัดผลประเมินผล
6. ควบคุมวินัยในชั้นเรียน
7. ตรวจผลงานและแก้ไขข้อผิดพลาดต่าง ๆ
8. หาความรู้เพิ่มเติม

More Related Content

What's hot

การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจkhuwawa2513
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้นTik Msr
 
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษาความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษาPitchayakarn Nitisahakul
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานSamorn Tara
 
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60Krittalak Chawat
 
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยNU
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการTwatchai Tangutairuang
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารAnchalee BuddhaBucha
 
4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัยkrupornpana55
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงKru Tew Suetrong
 
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลปิยะดนัย วิเคียน
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAณัฐพล แสงทวี
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3Thanawut Rattanadon
 
ThailandPost Presentation
ThailandPost PresentationThailandPost Presentation
ThailandPost Presentationsuperkaew
 

What's hot (20)

การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
 
1principletest
1principletest1principletest
1principletest
 
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษาความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
 
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
 
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัย
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหาร
 
4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
5 step
5 step5 step
5 step
 
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
เอกสารแสดงวิสัยทัศน์และผลงาน
เอกสารแสดงวิสัยทัศน์และผลงานเอกสารแสดงวิสัยทัศน์และผลงาน
เอกสารแสดงวิสัยทัศน์และผลงาน
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
 
ThailandPost Presentation
ThailandPost PresentationThailandPost Presentation
ThailandPost Presentation
 

Similar to ภาวะผู้นำทางวิชาการ

กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...Sawittri Phaisal
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfTeetut Tresirichod
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมPhakawat Owat
 
Car 1 SupawadeeMaetasiri
Car 1  SupawadeeMaetasiri Car 1  SupawadeeMaetasiri
Car 1 SupawadeeMaetasiri nokpackkreem
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำissareening
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1Kiw E D
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนguestabb00
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรJiraprapa Suwannajak
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 

Similar to ภาวะผู้นำทางวิชาการ (20)

กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
Car 1 SupawadeeMaetasiri
Car 1  SupawadeeMaetasiri Car 1  SupawadeeMaetasiri
Car 1 SupawadeeMaetasiri
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1
 
03
0303
03
 
หน่วยที่๔
หน่วยที่๔หน่วยที่๔
หน่วยที่๔
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียน
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
ครุผู้ช่วยช่วยTtg
ครุผู้ช่วยช่วยTtgครุผู้ช่วยช่วยTtg
ครุผู้ช่วยช่วยTtg
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร
 
201704_cognitive_weapon
201704_cognitive_weapon201704_cognitive_weapon
201704_cognitive_weapon
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
project
projectproject
project
 

ภาวะผู้นำทางวิชาการ

  • 2. สาระสาคัญ • ผู้นาและภาวะผู้นา • วิวัฒนาการของภาวะผู้นา 4 ยุค • ภาวะผู้นาทางวิชาการ • ผู้นาวิชาการกับการบริหารงานวิชาการ
  • 3. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ทราบถึง หลัก แนวคิด ทฤษฎีภาวะผู้นาและภาวะผู้นาทาง วิชาการ 2. เพื่อให้นาหลัก แนวคิด ทฤษฎีภาวะผู้นาและภาวะผู้นาทางวิชาการ ไปประยุกต์ใช้ในการบริหารได้อย่างเหมาะสม
  • 4. บทนา ภาวะผู้นาทางวิชาการได้รับการศึกษาอย่างจริงจังตั้งแต่ปี ค.ศ. 1980 เป็นต้นมา โดยเริ่มให้ความสาคัญในสหรัฐอเมริกา เนื่องจากมีความ พยายามแก้ปัญหาการเรียนรู้ของนักเรียนโดยการพัฒนาภาวะผู้นาของ ผู้บริหารสถานศึกษาให้เพิ่มมากขึ้น ทาให้เกิดแนวคิดการพัฒนาภาวะ ผู้นาทางวิชาการเกิดขึ้น เพื่อเป็นรูปแบบที่นาไปใช้ในการบริหารจัดการ งานวิชาการให้เกิดประสิทธิผลต่อสถานศึกษา
  • 5. ผู้นาและภาวะผู้นา The effective leader is aware of the important of small actions. ผู้นำที่มีประสิทธิผลคือผู้นำที่สนใจควำมสำคัญของกำรกระทำเล็กๆ เต๋ำเต็กเก็ง" (Tao Te Ching) (道德經)
  • 6. ผู้นา (Leader) ผู้นา หมายถึง บุคคลที่ได้รับมอบหมายหรือโดยการเลือกตั้งหรือ แต่งตั้งและเป็นที่ยอมรับของสมาชิก ให้มีอิทธิพลและบทบาท เหนือกลุ่ม สามารถที่จะจูงใจ ชักนาหรือชี้นาให้สมาชิกของ กลุ่มรวมพลังเพื่อปฏิบัติภารกิจต่างๆ ของกลุ่มให้บรรลุ เป้ าหมาย
  • 7. ลองบอกคุณลักษณะของผู้นาโดดเด่นที่ท่านชอบ เฉลียวฉลาด สร้างสรรค์ ซื่อสัตย์ เป็นมิตร เชื่อมั่นในตัวเอง ยืนหยัด อดทนสูง ขยันขันแข็ง ฟังคนอื่น สอนงาน อารมณ์สม่าเสมอ ให้ความเห็น แบ่งความคิด ให้เครดิตคนอื่น มอบหมายงาน สนับสนุน ร่วมกับทีมงาน เป้ าหมายใหญ่ มีวิสัยทัศน์ เข้าใจคน ใช้ข้อมูลตัดสินใจ ดึงความสนใจ มุ่งมั่นสู่เป้ าหมาย เข้าใจสภาพแวดล้อม
  • 8. ภาวะผู้นา ภาวะผู้นา คือ การที่ผู้นาใช้อานาจหรือมีอิทธิพลต่อบุคคลอื่น หรือต่อกลุ่ม เพื่อให้ผู้ตามปฏิบัติตามเป้ าหมาย และเพื่อให้ บรรลุเป้ าหมายที่หวังไว้ ภาวะผู้นาเป็นศิลปะที่เกิดจากใช้ปัจจัยหลายด้าน เช่น การมี ความรู้ความสามารถ มีบุคลิกลักษณะน่ายาเกรง พฤติกรรมที่ มีอิทธิพล หรือมีผู้ตามและสถานการณ์เอื้ออานวย
  • 9. ภาวะผู้นา 4 ยุค Power comes through cooperation, independence through service, and a greater self through selflessness อำนำจมำจำกกำรร่วมแรงใจกัน ดูแลกันด้วยเสรีภำพ (ไม่กดขี่) และ ยิ่งใหญ่ด้วยกำรเสียสละ เต๋ำเต็กเก็ง" (Tao Te Ching) (道德經)
  • 10. ภาวะผู้นา 4 ยุค ยุคที่ 1 ทฤษฎีภาวะผู้นาเชิงคุณลักษณะ (1900-1945) (Trait Theories) ยุคที่ 2 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้นา (1945-1965) (Behavioral Theories) ยุคที่ 3 ทฤษฎีภาวะผู้นาตามสถานการณ์ (1969-1978) (Situational or Contingency Leadership Theories) ยุคที่ 4 ทฤษฎีภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลง (1970 – ปัจจุบัน) (Transformational Leadership Theories)
  • 11. ยุคที่ 1 ผู้นาเชิงคุณลักษณะ (Trait Theories) Stogdill (1974) - The Great Man Theory ทฤษฎีมหาบุรุษ มีแนวคิด ที่ว่าผู้นาคือผู้ที่มีทักษะความเป็นผู้นามาแต่กาเนิด ผู้นาจะปรากฏเมื่อ มีชาติ(มีเหตุการณ์)ต้องการผู้นา Stogdill ได้ศึกษาคุณลักษณะของผู้นาได้ สรุปคุณลักษณะของผู้นา 6 คุณลักษณะไว้ในหนังสือ Handbook of Leadership ดังนี้
  • 12. 6 คุณลักษณะของผู้นา ตามแนวคิด Stogdill 1)คุณลักษณะทางร่างกาย (Physical Characteristics) ประกอบด้วย ความแข็งแรง รูปร่าง น้าหนัก ความสูง แต่ต่อมามีการศึกษาพบว่า คุณลักษณะร่างกายมีผลลัพธ์ที่ขัดแย้งกันกับประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล 2)คุณลักษณะด้านภูมิหลังทางสังคม (Social Background) ประกอบด้วย สถานภาพทางสังคม การศึกษา และการเปลี่ยนแปลง สถานภาพทางสังคม 3)คุณลักษณะด้านสติปัญญาและความสามารถ (Intelligence and Ability) ประกอบด้วย การมีความรู้ การมีดุลพินิจ การมีทักษะในการ พูด
  • 13. 6 คุณลักษณะของผู้นา ตามแนวคิด Stogdill 4)คุณลักษณะด้านบุคลิกภาพ (Personality) ประกอบด้วย ความ ซื่อสัตย์ ความเชื่อมั่นในตนเอง การควบคุมอารมณ์ การอดทนต่อ ความเครียด ความกระตือรือร้น ความคิดสร้างสรรค์ ความสามารถ ในการปรับตัว การตื่นตัว การเป็นคนไม่เก็บตัว 5)คุณลักษณะที่เกี่ยวกับงาน (Task-Related Characteristic) ประกอบด้วย ความรับผิดชอบ ความขยัน การไม่ท้อแท้ต่ออุปสรรค 6)คุณลักษณะทางสังคม (Social Characteristic) ประกอบด้วย การมี ทักษะในการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล การมีเสน่ห์ ความ ร่วมมือ การเป็นส่วนหนึ่งของสังคม ความเป็นนักการทูต ความนิยม ในหมู่คน
  • 14. ยุคที่ 2 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้นา (Behavioral Theories) Kurt Lewin (1939) พิจารณาลักษณะเฉพาะตัวตามแนวพฤติกรรมของผู้นา เน้นที่การวิเคราะห์พฤติกรรมของผู้นาที่พึงกระทา มี 3 รูปแบบ 1. ผู้นาแบบอัตตาธิปไตย (Autocratic style) เป็นผู้นาแบบเผด็จการ รวบ อานาจ ตัดสินใจแต่เพียงผู้เดียวและสั่งการให้ผู้อื่นปฏิบัติตาม ในองค์การ สมัยใหม่ผู้นาประเภทนี้ ก็จะจาเป็นต้องนามาใช้ในบางสถานการณ์ 2. ผู้นาแบบประชาธิปไตย (Democratic style) ผู้นาประเภทนี้ จะเข้าร่วมกับ กลุ่มในการตัดสิ้นใจ และอนุญาตให้กลุ่มเป็นผู้กาหนดวิธีปฏิบัติงาน รวมทั้งจะแจ้งให้กลุ่มทราบถึงข้อมูลข่าวสารที่จาเป็น อาทิ เป้ าหมายของ องค์การ รวมทั้งใช้ข้อมูลย้อนกลับเป็นโอกาสในการฝึกฝนสมาชิกกลุ่ม 3. ผู้นาแบบเสรีนิยม (Laissez-faire style) ผู้นาแบบเสรีนิยมนี้ จะมอบให้ ผู้ใต้บังคับบัญชาตัดสินใจและแก้ปัญหาต่างๆ เอง โดยผู้นาไม่สนใจ รับผิดชอบ นอกจากนี้ ยังไม่ให้ข้อมูลป้ อนกลับแก่ผูใต้บังคับบัญชาว่าทางาน ดีหรือไม่ดีอย่างไรด้วย
  • 15. ยุคที่ 2 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้นา (Behavioral Theories) Rensis Likert ในปี ค.ศ. 1966 ได้ใช้กลยุทธ์ในการศึกษาภาวะผู้นาที่ แตกต่างจากความคิดของ Kurt Lewin ของมหาวิทยาลัยไอโอว่า Likert ได้ศึกษาภาวะผู้นา โดยพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างผู้นาและผู้ตาม กับประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงานได้ระบุพฤติกรรมผู้นา 2 แบบ คือ ผู้นาที่มีพฤติกรรมแบบมุ่งคน (employee-centered leader behavior) และผู้นาที่มีพฤติกรรมมุ่งงาน (job-centered leader behavior)
  • 16. ยุคที่ 2 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้นา (Behavioral Theories) 1. พฤติกรรมของผู้นาแบบมุ่งคน ผู้นาแบบนี้ จะเน้นเรื่องความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคล ยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล สนใจ และเข้า ใจความต้องการของพนักงาน 2. พฤติกรรมของผู้นาแบบมุ่งงาน ผู้นาแบบนี้ จะเน้นไปที่ผลผลิตเป็นสิ่ง สาคัญ จึงให้ความสาคัญกับงาน และเทคนิคต่าง ๆ ในการผลิต เพื่อให้งานบรรลุเป้ าหมายตามที่กาหนดไว้โดยมองว่าพนักงานเป็น เพียงปัจจัยหนึ่งที่ทาให้งานสาเร็จเท่านั้น
  • 17. ยุคที่ 2 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้นา (Behavioral Theories) Likert (1967) ได้พัฒนาแนวความคิดของมหาวิทยาลัยมิชิแกน ในปี ค.ศ. 1961 โดยได้นาแนวความคิดพฤติกรรมผู้นาแบบมุ่งคน และ แบบมุ่งงานมาทาการวิจัย โดยแบ่ง เป็น 4 ระบบ Likert (1967, 126-127) ดังนี้
  • 18. Likert (1967) ระบบที่ 1 พฤติกรรมผู้นาเผด็จการแบบเบ็ดเสร็จ (exploitative autocratic) ระบบนี้ ผู้นาจะเป็นผู้ตัดสินใจทุกอย่างว่าต้องทาอะไร ใครต้องทา ต้องทา อย่างไร ทาที่ไหน และจะต้องให้เสร็จเมื่อไร ถ้างานไม่สาเร็จจะต้องมีการ ลงโทษ ผู้นาไว้ใจผู้ตามน้อย ระดับความไว้วางใจ และความเชื่อมั่นระหว่าง ผู้นา และผู้ตามจะมีต่า ระบบที่ 2 พฤติกรรมผู้นาแบบเผด็จการอย่างมีเมตตา (benevolent autocratic) ระบบนี้ ผู้นายังเป็นคนตัดสินใจอยู่ แต่ให้ผู้ตามมีอิสระอย่าง บ้าง ผู้นาแบบนี้ จะมีเจตคติแบบพ่อปกครองลูก ตราบใดที่ผู้ตามยัง ปฏิบัติงานตามระเบียบอยู่ ผู้นาจะดูแลผู้ตามเป็นอย่างดี ระดับความ ไว้วางใจ และความสัมพันธ์ระหว่างผู้นา และผู้ตามยังคงต่าอยู่
  • 19. Likert (1967) ระบบที่ 3 พฤติกรรมผู้นาแบบปรึกษาหารือ (consultative) ระบบนี้ ผู้นาจะ ปรึกษา หารือกับผู้ตามก่อนที่จะกาหนดเป้ าหมายหรือการตัดสินใจ ผู้ตาม มีอิสระมากขึ้นอีก ผู้นาระบบนี้ ต้องการคิดเห็นของผู้ตามก่อนตัดสินใจ ผู้นาจะให้รางวัลแก่ผู้ที่ทางานดี มากกว่าการลงโทษเมื่อทางานผิดพลาด เป็นแรงจูงใจให้ผู้ตาม บรรยากาศเป็นกันเอง ระดับความไว้วางใจ และ ความสัมพันธ์ระหว่างผู้นากับผู้ตามมีสูง ระบบที่ 4 พฤติกรรมผู้นาแบบมีส่วนร่วม (participative) ระบบนี้ ผู้นาเน้นให้ ผู้ตามมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ในการกาหนดเป้ าหมาย และการตัดสินใจ ผู้ ตามเป็นอิสระ ถกเถียงกับผู้นาได้ ผู้นาแสดงความสนับสนุนแทนการข่มขู่ ทุกส่วนของผู้ตามมีส่วนร่วมในการบริหารงานทั่วทั้งองค์กร
  • 20. ยุคที่ 2 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้นา (Behavioral Theories) Reddin (2010) (Reddin’s 3D Leadership Model) นาแนวความคิด ของ การมุ่งงาน และมุ่งคน มาร่วมพิจารณากับ ประสิทธิผลของงาน (effectiveness) 1. มิติมุ่งงาน (Task Orientation) เป็นพฤติกรรมมุ่งให้ผู้ร่วมงานหรือผู้ ตามปฏิบัติงานอย่างได้ผล โดยผู้นาริเริ่มจัดการและอานวยการ 2. มิติมุ่งคน (Relation Orientation) เป็นพฤติกรรมของผู้นาที่แสดงให้ เห็นความเห็นอกเห็นใจ ไว้วางใจ และให้กาลังใจในการปฏิบัติงาน 3. มิติมุ่งประสิทธิผล (Effectiveness Orientation ) มุ่งความสาเร็จ
  • 21. Reddin (2010) Reddin (2010) ได้จาแนกรูปแบบพฤติกรรมผู้นา 4 รูปแบบดังนี้ แบบที่ 1 ผู้นาแบบแยกตัว (separated) เป็นผู้นาที่ไม่มุ่งคน ไม่มุ่งงาน ทางานไปวัน ๆ แบบที่ 2 ผู้นาแบบเสียสละ (dedicated) เป็นผู้นาที่ทุ่มเทให้กับงานโดย ขาดความ สัมพันธ์ที่ดีกับคน แบบที่ 3 ผู้นาแบบมิตรสัมพันธ์ (related) เป็นผู้นาที่เน้นความสัมพันธ์ กับผู้ตาม คานึง ถึงงานแต่เพียงเล็กน้อย แบบที่ 4 ผู้นาแบบบูรณาการ (integrated) เป็นผู้นาที่มุ่งทั้ง ความสัมพันธ์กับคน และมุ่งทั้งผลงานของงาน
  • 23. ยุคที่ 3 ทฤษฎีภาวะผู้นาตามสถานการณ์ (Situational or Contingency Leadership Theories) Fiedler(1994) เสนอตัวแบบผู้นาตามสถานการณ์ (Fiedler’s Contingency Model) โดยมีกรอบแนวคิดที่ว่า ภาวะผู้นาที่ดีอยู่ที่ความ เหมาะสมระหว่างแบบของผู้นา (Leadership style) กับสถานการณ์ ที่เกิดขึ้น (Situational demands) โดย Fiedler เชื่อว่า แบบของผู้นา เป็นส่วนหนึ่งของบุคลิกภาพของคน เปลี่ยนแปลงได้ยากแทนที่จะ พยายามหาวิธีการฝึกอบรมให้ผู้บริหารเปลี่ยนรูปแบบจากการเน้น งานไปเน้นคน หรือจากเน้นคนไปเน้นงาน ควรที่จะหาสถานการณ์ที่ “ลงตัว” กับรูปแบบของผู้นาจะทาให้เกิดการใช้รูปแบบภาวะผู้นา(ซึ่ง เป็นบุคลิกภาพของผู้บริหารที่ติดตัวอย่างถาวร) ได้อย่างมี ประสิทธิภาพสูงสุด
  • 25. House (1996) เสนอตัวแบบผู้นาตามสถานการณ์ที่เรียกว่า ทฤษฎีวิถีทางสู่เป้ าหมาย (House’s Path–Goal Leadership Theory) ซึ่งมีแนวคิดคือ ผู้นาที่ดี จะต้องช่วยเหลือหรือชี้เส้นทาง(Path) ให้ผู้ปฏิบัติงานบรรลุเป้ าหมาย (Goal) 1. ผู้นาแบบสั่งการ (Directive Leadership) 2. ผู้นาแบบสนับสนุน (Supportive Leadership) 3. ผู้นาแบบร่วมงาน (Participative Leadership) 4. ผู้นาแบบมุ่งความสาเร็จของงาน (Achievement-oriented Leadership)
  • 27. Hersey และ Blanchard (1977) ได้เสนอตัวแบบผู้นาตามสถานการณ์ที่เรียกว่า ทฤษฎีความเป็นผู้นาเชิง สถานการณ์ของเฮอร์ซีย์และบลันชาร์ด (Hersey and Blanchard’s Situational Theory) แนวคิดภาวะผู้นาตามสถานการณ์ของ Hersey และ Blanchard มองว่า ผู้นาที่ประสบความสาเร็จจะต้องปรับรูปแบบ ภาวะผู้นาของตนให้สอดคล้องกับความพร้อม (Readiness) ของ ผู้ปฏิบัติงานความพร้อมในที่นี้ หมายถึง ความสามารถ (ability) และ ความมุ่งมั่นหรือความเต็มใจ (Willingness) ของผู้ปฏิบัติงานในการ ทางาน
  • 28. ได้แบ่งกลุ่มของ พฤติกรรมผู้ตามหรือผู้ใต้บังคับบัญชาไว้ 4 กลุ่ม ด้วยกัน (Task Behaviors) คือ M1: ผู้ปฏิบัติงานที่ขาดความสามารถและมุ่งมั่นในการทางาน เป็นผู้มี ความพร้อมอยู่ในระดับต่า M2: ผู้ปฏิบัติงานที่ขาดความสามารถแต่มีความมุ่งมั่นในการทางาน พร้อมเป็นผู้มีความอยู่ในระดับปานกลาง M3: ผู้ปฏิบัติงานที่มีความสามารถแต่ขาดความมุ่งมั่นในการทางาน พร้อมเป็นผู้มีความอยู่ในระดับปานกลาง – สูง M4: ผู้ปฏิบัติงานที่มีความสามารถ และมีความมุ่งมั่นในการทางาน เป็น ผู้มีความพร้อมอยู่ในระดับสูง Hersey และ Blanchard (1977)
  • 29. จึงเกิดรูปแบบภาวะผู้นาให้สอดคล้องกับสถานการณ์(พฤติกรรม) คือ S1: ผู้นาแบบสั่งงาน (Telling) จะมีพฤติกรรมที่ให้ความสาคัญกับผลผลิตมาก ให้ ความสาคัญกับคนน้อย มีการออกคาสั่งให้ปฏิบัติ และควบคุมการทางานทุก ขั้นตอน ซึ่งจะเหมาะกับผู้ตามประเภท R1 ซึ่งมีความพร้อมต่า S2: ผู้นาแบบสอนงาน (Selling) ผู้นาแบบนี้ จะมีพฤติกรรมแบบมุ่งงานและมุ่งคน มี การอธิบายแนะนา เปิดโอกาสให้ผู้ปฏิบัติงานได้ซักถามเกี่ยวกับขั้นตอนในการ ปฏิบัติงาน ซึ่งจะเหมาะสมกับผู้ตามประเภทขาดความสามารถแต่มีความมุ่งมั่นใน การทางาน S3: ผู้นาแบบร่วมงาน (Participating) ผู้นาแบบนี้ จะเป็นผู้นาที่ให้ความสาคัญกับคน มาก แต่ให้ความสาคัญกับงานน้อย ซึ่งจะเหมาะสมกับความพร้อมผู้ตามประเภทมี ความรู้ความสามารถในการทางานมากแต่ขาดความเต็มใจ S4: ผู้นาแบบมอบหมายงาน (Delegating) เหมาะกับ ผู้ปฏิบัติงานที่มีความสามารถ และมีความมุ่งมั่น Hersey และ Blanchard (1977)
  • 33. Burns (1978) กล่าวว่าภาวะผู้นาเป็นปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ที่มีความ แตกต่างกันในด้านอานาจ แรงจูงใจ และทักษะเพื่อไปสู่จุดหมายร่วมกัน สรุปได้เป็น 3 รูปแบบ ดังนี้ 1)ภาวะผู้นาแบบแลกเปลี่ยน (Transactional Leadership) รูปแบบนี้ ผู้นาจะ ติดต่อกับผู้ตามโดยการแลกเปลี่ยนผลประโยชน์ซึ่งกันและกัน และกลาย มาเป็นประโยชน์ร่วมกัน 2)ภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลง (Transformational Leadership) รูปแบบนี้ ผู้นาจะคานึงถึงความต้องการของผู้ตาม ตอบสนองความต้องการในระดับ ที่สูงกว่าความต้องการจริงของผู้ตาม เน้นการพัฒนา กระตุ้น และยกย่องผู้ ตาม จนผู้ตามพัฒนาตนเองขึ้นเป็นผู้นาได้ และมีการเปลี่ยนต่อๆกันไป 3)ภาวะผู้นาด้านจริยธรรม (Moral Leadership) รูปแบบนี้ ผู้นาที่สามารถทา ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ตรงกับความต้องการของผู้ตาม ทาให้ผู้นามี ความสัมพันธ์กับผู้ตามในด้านความต้องการ (Needs) ความปรารถนา (Aspirations) ค่านิยม (Values) และจะยึดมั่นในจริยธรรมสูงสุด ยุคที่ 4 ทฤษฎีภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลง
  • 34. ยุคที่ 4 ทฤษฎีภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลง Bass (1985) เห็นต่างจาก Burn โดยกล่าวว่าพฤติกรรมของผู้นาในการ นาให้ได้ผลเกินความคาดหวังนั้น ผู้นาจะต้องแสดงความเป็นผู้นาทั้ง 2 ลักษณะร่วมกัน คือ ภาวะผู้นาแบบแลกเปลี่ยน และภาวะผู้นาการ เปลี่ยนแปลง โดยทิศทางการแสดงพฤติกรรมความเป็นผู้นาจะออกมา ในสัดส่วนของภาวะผู้นาแบบแลกเปลี่ยน หรือภาวะผู้นาการ เปลี่ยนแปลง ซึ่งขึ้นอยู่กับ 1). สิ่งแวดล้อมภายนอกองค์กร ได้แก่ วัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น เศรษฐกิจ และการเปลี่ยนแปลงในสังคม 2). สิ่งแวดล้อมภายในองค์กร ได้แก่ บรรยากาศองค์กร ลักษณะของงาน ผู้บังคับบัญชา ผู้ใต้บังคับบัญชา เพื่อนร่วมงาน และวัฒนธรรมองค์กร 3). คุณลักษณะส่วนตัวของผู้นา
  • 35. ยุคที่ 4 ทฤษฎีภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลง Kouzes & Posner (1987) The Leadership Challenge ได้เสนอ กระบวนการของผู้นาการเปลี่ยนแปลง 5 ขั้นตอน 1. Challenging the Process - ท้าให้เปลี่ยนแปลง 2. Inspiring a Shared Vision – กระตุ้นให้มีวิสัยทัศน์ร่วม 3. Enabling Others to Act – ทาให้คนอื่นมีความสามารถ 4. Modeling the Way – ทาให้ดูเป็นตัวอย่างเป็นขั้นตอน 5. Encouraging the Heart - ให้การยอมรับและกาลังใจทีมงาน
  • 36. Kouzes & Posner (1987) The Leadership Challenge
  • 37. Bass (1990) ได้เสนอรูปแบบภาวะผู้นาแบบแลกเปลี่ยน (Transactional Leadership) 4 ด้าน 1) Contingent Rewards - การให้รางวัลตอบแทน เพื่อให้ทางานและทา ให้งานสาเร็จ 2) Management by Exception (passive) – มุ่งสังเกตุและค้นหาการ ทางานที่ออกนอกกฏระเบียบขั้นตอนการปฏิบัตที่ได้วางไว้ เพื่อ ป้ องกันความผิดพลาด 3) Management by Exception (passive) - แทรกแซงเมื่อผลงานไม่ได้ ตามมาตรฐานหรือแนวทางที่วางไว้ 4) Laissez Faire: หลีกเลี่ยงการแก้ไข ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง ยุคที่ 4 ทฤษฎีภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลง
  • 38. Bass (1990) ได้เสนอรูปแบบภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลง (Transformational Leadership) 4 ด้าน 1. Idealized Influence - การมีอิทธิพลทางใจ มีบารมี 2. Inspirational Motivation - การสร้างแรงบันดาลใจ 3. Intellectual Stimulation - การกระตุ้นทางปัญญา 4. Individualized Consideration - การคานึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล ยุคที่ 4 ทฤษฎีภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลง
  • 39. Evolution of Leadership’s Study Stogdill (1974) (Traits) 1) คุณลักษณะทางร่างกาย 2) คุณลักษณะด้านภูมิหลังทางสังคม 3) คุณลักษณะด้านสติปัญญาและ ความสามารถ 4) คุณลักษณะด้านบุคลิกภาพ 5) คุณลักษณะที่เกี่ยวกับงาน 6) คุณลักษณะทางสังคม Rensis Likert (1966) (Beh.) 1.ผู้นาที่มีพฤติกรรมแบบมุ่งคน 2.ผู้นาที่มีพฤติกรรมมุ่งงาน Likert (1967) (Behaviors) 1. พฤติกรรมผู้นาเผด็จการแบบ เบ็ดเสร็จ 2. พฤติกรรมผู้นาแบบเผด็จการ อย่างมีเมตตา 3. พฤติกรรมผู้นาแบบปรึกษาหารือ 4. พฤติกรรมผู้นาแบบมีส่วนร่วม Reddin (1967) (Beh.) 3D Leadership Model Assess the situation and identify what behavior was most appropriate มุ่งงาน, มุ่งคน, สถานการณ์ 1. พฤติกรรมผู้นาแบบแยกตัว (separated) 2. พฤติกรรมผู้นาแบบเสียสละ (dedicated) 3. พฤติกรรมผู้นาแบบมิตรสัมพันธ์ (related) 4. พฤติกรรมผู้นาแบบผสมผสาน (integrated) Fiedler (1994) (Situation) สถานการณ์ผู้นา 1.คุณภาพความสัมพันธ์ผู้นากับ สมาชิก 2.ระดับโครงสร้างงาน 3.อานาจของผู้นา 8 พฤติกรรมตามสถานการณ์ House (1996) House’s Path–Goal LD Theory 1. (Directive Leadership) 2. (Supportive Leadership) 3. (Participative Leadership) 4. (Achievement-oriented Leadership) Hersey & Blanchard (1977) 1. ผู้นาแบบสั่งงาน (Telling) 2. ผู้นาแบบสอนงาน (Selling) 3. ผู้นาแบบร่วมงาน (Participating) 4. ผู้นาแบบมอบหมายงาน (Delegating) Burns (1978) 1) ภาวะผู้นาเชิงปฏิบัติ (Transactional Leadership) 2) ภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลง (Transformational Leadership) 3) ภาวะผู้นาด้านจริยธรรม (Moral Leadership) Bass (1990) Transformational LD 1. การมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์ (Idealized Influence) หรือการมี คุณลักษณะพิเศษ (Charisma) 2. การสร้างแรงบันดาลใจ (Inspirational Motivation) 3. การกระตุ้นทางปัญญา (Intellectual Stimulation) 4.การคานึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล (Individualized Consideration)
  • 40. Beyond Transactional & Transformational Leadership • Servant leadership (Greenleaf, 1977; Sendjaya & Sarros, 2002) • Moral leadership (Sergiovanni, 1992; Greenfield, 2004) • Stewardship (Block, 1993) • Collaborative leadership ( Sofield & Kuhn, 1995) • Transcendent leadership (Larkin, 1995; Aldon, 2004) • Intelligent leadership (Mant, 1977; Kibby & Hartel, 2003) • Values-led leadership (Day, 2000) • Distributed leadership (Gronn, 2000; Harris, 2003) • Primal leadership (Goleman, Boyatzis & McKee, 2002) • Ethical leadership (Starratt, 2004) • Authentic leadership (Begley, 2003/2006; Duignam, 2006; Terry, 1993) . . . Then Academic Leadership =>
  • 42. บทบาทผู้นาทางการศึกษา 1) บทบาทเป็นผู้กาหนดทิศทางในการปฏิบัติงาน 2) บทบาทเป็นผู้กระตุ้นความเป็นผู้นา 3) บทบาทเป็นผู้วางแผน 4) บทบาทเป็นผู้ตัดสินใจ 5) บทบาทเป็นผู้จัดองค์การ 6) บทบาทเป็นผู้เปลี่ยนแปลง 7) บทบาทเป็นผู้ประสานงาน 8) บทบาทเป็นผู้สื่อสาร
  • 43. บทบาทผู้นาทางการศึกษา 9) บทบาทเป็นผู้แก้ความขัดแย้ง 10) บทบาทเป็นผู้แก้ปัญหา 11) บทบาทเป็นผู้จัดระบบ 12) บทบาทเป็นผู้บริหารการเรียนการสอน 13) บทบาทเป็นผู้บริหารบุคคล 14) บทบาทเป็นผู้บริหารทรัพยากร 15) บทบาทเป็นผู้ประเมินผล 16) บทบาทเป็นนักประชาสัมพันธ์ และ 17) บทบาทเป็นประธานในพิธีการ
  • 44. Lashway, Larry (2002) ได้กล่าวถึงบทบาทผู้นาทางวิชาการตามข้อกาหนดของสมาคมครูใหญ่ โรงเรียนระดับประถมศึกษาแห่งชาติ ว่า บทบาทผู้นาทางวิชาการ ประกอบด้วยบทบาท 6 ประการ คือ 1. การให้ความสาคัญกับการเรียนรู้ของนักเรียนและผู้ใหญ่สาคัญที่สุด 2. การคาดหวังสูงในการดาเนินงาน 3. การพัฒนาเนื้ อหาและการสอนให้ได้มาตรฐาน 4. การสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ให้มีขึ้นอย่างต่อเนื่อง 5. การประเมินผลการเรียนรู้โดยใช้ข้อมูลที่หลากหลาย 6. การให้ชุมชนได้มีส่วนในการสนับสนุนกิจการของโรงเรียน
  • 45. ประสิทธิ์ เขียวศรี และคณะ (2548) ได้ให้ความหมายของภาวะผู้นาทางวิชาการไว้ว่า ภาวะผู้นาทางวิชาการ หมายถึง การปฏิบัติของผู้บริหารโรงเรียน สถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่มี จุดมุ่งหมายเพื่อนาครูและผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ ให้เข้ามามีส่วนร่วมใน กระบวนการจัดการเรียนการสอน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ จามจุดมุ่งหมายและโครงสร้างสาระการเรียนรู้ต่างๆๆ ที่ถูกกาหนดไว้ ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ฉบับ พ.ศ.2544
  • 46. ความหมายของภาวะผู้นาทางวิชาการ ภาวะผู้นาทางวิชาการ หมายถึง พฤติกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาที่ เกี่ยวข้องกับ การกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และการกาหนดข้อตกลง ร่วมกันระหว่างครูและนักเรียนที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้ของ นักเรียน การพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียนและการสอนของครู โดย ใช้การแลกเปลี่ยนความรู้ทั่วทั้งองค์กร มีความหลากหลายในรูปแบบ การพัฒนาและประเมินผล การพัฒนาบรรยากาศ สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม การมีส่วนร่วมของครูและนักเรียน และความสัมพันธ์กับ ชุมชน เพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายของโรงเรียน
  • 47. ภาวะผู้นาทางวิชาการตามแนวคิดของ Bossert (1988) Bossert (1988) ได้นาเสนอแนวคิดเกี่ยวกับภาวะผู้นาทางวิชาการไว้ 7 ประการ ดังนี้ 1)เน้นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยการกาหนดเป้ าหมายในการ จัดการเรียนการสอน กาหนดมาตรฐานการปฏิบัติตนของนักเรียน และสนับสนุนให้นักเรียนได้มาตรฐานตามเป้ าหมาย 2)จัดการให้มีเวลาเพื่อการประสานงานและการดูแลการสอนของครู ให้มากขึ้น 3)ชานาญในเรื่องการจัดการเรียนการสอน การเข้าสังเกตการณ์การ สอนบ่อยๆ มีการนิเทศการสอนและมีส่วนร่วมในการทางานของ ครูมากขึ้น
  • 48. ภาวะผู้นาทางวิชาการตามแนวคิดของ Bossert (1988) 4)ใส่ใจกับหลักสูตรและการสอนมากขึ้น 5)ขอความช่วยเหลือจากเขตพื้นที่การศึกษาในเรื่องการทาแผนการ จัดการเรียนการสอน 6)สร้างสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนการสอนให้มีระเบียบ ขั้นตอน ที่น้อยลง และลดภาระงานเอกสารของครู 7)ทราบถึงโครงสร้างชุมชนและรักษาความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ปกครอง
  • 49. Bossert (1988) Bossert สรุปว่า ผู้นาที่มีประสิทธิผล คือ ผู้นาที่ใส่ใจในเรื่องหลักสูตรและการสอน ซึ่ง ส่งผลโดยตรงต่อความสาเร็จของนักเรียน โดยบทบาทนี้ เกินกว่า ขอบข่ายงานของผู้บริหาร ซึ่งต้องใช้ลักษณะผู้นาแบบอื่นๆ ร่วมด้วย ผู้ มีบทบาทภาวะผู้นาทางวิชาการที่สาคัญ ได้แก่ ผู้อานวยการเขตพื้นที่ ผู้ประสานงานหลักสูตร ผู้บริหารสถานศึกษาและผู้ช่วย ศึกษานิเทศก์ ผู้ดูแลการจัดการเรียนการสอน
  • 50. ภาวะผู้นาทางวิชาการตามแนวคิดของ Krug (1992) Krug (1992) ได้แบ่งองค์ประกอบภาวะผู้นานี้ ไว้ 5 องค์ประกอบ ดังนี้ 1)กาหนดพันธกิจ การมีเป้ าหมายที่ชัดเจนแล้วจาเป็นจะต้องสื่อสารให้ผู้ มีส่วนได้ส่วนเสียได้เข้าใจด้วย การทากรอบเป้ าหมาย วัตถุประสงค์ และพันธกิจ ต้องไม่ตั้งเป้ าที่สูงจนเกินไป เป็นไปตามสถานการณ์ใน ช่วงเวลานั้น 2) การจัดการหลักสูตรและการสอน การสอนจัดเป็นบริการเบื้องต้น ของโรงเรียน ดังนั้นอย่างน้อยผู้นาควรต้องทราบถึงขอบข่ายรายวิชา ที่เปิดสอนรวมถึงความรู้ที่จาเป็นในการสอนอีกด้วย และนาควรใส่ ใจและส่งเสริมให้มีการพัฒนาหลักสูตรอย่างจริงจัง
  • 51. ภาวะผู้นาทางวิชาการตามแนวคิดของ Krug (1992) 3)การนิเทศการสอน ภาวะผู้นาทางวิชาการเป็นการมองไปข้างหน้าจึงต้องใส่ ใจเรื่องการนิเทศนี้ ให้มาก ว่าทาอะไรอยู่ตอนนี้ ไม่ใช่การมองสิ่งที่ทาไป แล้วที่ผ่านมา ผู้นาต้องให้โอกาสครูได้พัฒนาวิชาชีพทั้งในและนอก โรงเรียน โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาครูรายบุคคล ซึ่งส่งผลต่อการเรียนรู้ ของนักเรียน 4)การกากับติดตามความก้าวหน้าของนักเรียน ผู้นาทางวิชาการที่มี ประสิทธิผลนั้นจะต้องมีหลากหลายวิธีในการประเมินความก้าวหน้า และ ทาอย่างเป็นประจา 5)การส่งเสริมบรรยากาศทางวิชาการ บรรยากาศโรงเรียนแสดงถึงคุณค่า ของการจัดการเรียนรู้และส่งเสริมให้บรรลุผลสาเร็จ ผู้นาเป็นผู้รับผิดชอบ การสร้างบรรยากาศทางการศึกษาในทุกระดับ และบรรยากาศนี้ จะช่วยดึง พลังของนักเรียนและครูออกม
  • 52. ภาวะผู้นาทางวิชาการตามแนวคิดของ McEwan (1998) McEwan ได้เสนอองค์ประกอบภาวะผู้นาทางวิชาการอย่างมีประสิทธิผล ประกอบไปด้วยหลัก 7 ประการ ดังนี้ 1)สร้างมาตรฐานทางวิชาการ ดาเนินการตามมาตรฐาน และดาเนินการให้ บรรลุเป้ าหมายตามมาตรฐาน 2)ผู้บริหารต้องเป็นแหล่งข้อมูลทางวิชาการให้แก่ครู 3)สร้างบรรยากาศและวัฒนธรรมแห่งการเรียนรู้ 4)สื่อสารวิสัยทัศน์และพันธกิจให้แก่ครูและนักเรียน 5)ตั้งความคาดหวังสาหรับครูและผู้บริหารโรงเรียนไว้สูง 6)พัฒนาครูแกนนา 7)พัฒนาและรักษาความสัมพันธ์ที่ดีกับนักเรียน ครูและผู้ปกครอง
  • 53. ภาวะผู้นาทางวิชาการตามแนวคิดของ Blasé and Blasé (2001) Blasé and Blasé (2001:22-25) ศึกษาและได้ข้อสรุปว่าผู้อานวยการ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และผู้บริหารที่มีภาวะผู้นาทางวิชาการ จะเน้นการดาเนินการที่เห็นชัดเจน มีการผสมผสานภาวะผู้นาการ เปลี่ยนแปลง ภาวะผู้นาแบบแลกเปลี่ยน และการตัดสินใจร่วมกัน โดยเน้นใน 4 ด้าน 1) การเน้นการจัดการเรียนการสอนเป็นสิ่งที่สาคัญที่สุด 2) สร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ การวิเคราะห์และวิพากษ์ 3) มีการตัดสินใจร่วมกันด้านการจัดการเรียนการสอน และ 4) 4) สร้างข้อตกลงของกลุ่มและองค์กร
  • 54. Blasé and Blasé แนวปฏิบัติ 3 ด้าน 1. สร้างการสื่อสารกับครู (Communication) • การสร้างความไว้วางใจ • พัฒนากลุ่ม • สนับสนุนให้เกิดความร่วมมือ • สนับสนุนการสอนงานกันในกลุ่ม • สังเกตการณ์สอนในห้องเรียน • ประชุมครูเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน • มอบงานและมอบอานาจการตัดสินใจให้ครู • อยู่ให้ครูเห็นเป็นประจา
  • 55. Blasé and Blasé แนวปฏิบัติ 3 ด้าน 2. ส่งเสริมความก้าวหน้าในวิชาชีพครู (Support & Promote) • ศึกษาวรรณกรรมและโครงการที่มีการพิสูจน์แล้ว • สนับสนุนการปฏิบัติตามทักษะใหม่ๆ การคานึงถึงความเสี่ยง และ การใช้นวัตกรรม • การจัดทางเลือกในการพัฒนาครูอย่างมีประสิทธิผล • ให้หลักการด้านการเติบโตเป็นผู้ใหญ่ในโครงการพัฒนาครู • ชมเชย สนับสนุน และช่วยส่งเสริมงานครู • จัดหาทรัพยากรแก่ครู • สะท้อนความคิดเห็นและให้คาแนะนา
  • 56. Blasé and Blasé แนวปฏิบัติ 3 ด้าน 3. ส่งเสริมให้ครูสะท้อนความคิดเห็น และใช้ความรู้ • พัฒนาทักษะการสะท้อนความคิดให้แก่ครู • สร้างความรู้ในวิชาชีพและความเข้าใจอย่างลึกซึ้งทางสังคมด้วยความ ร่วมมือเป็นอย่างดี • พัฒนาทักษะการวิจัยเชิงปฏิบัติการ(วิจัยในชั้นเรียน)ให้แก่ครู • ให้รูปแบบการสืบค้นหาความรู้ • ใช้ข้อมูลในการถาม ประเมิน และวิพากษ์ ในการสอนและการเรียน • ให้ครูมีอิสระ
  • 57. ภาวะผู้นาทางวิชาการของ MacNeill, Cavanagh and Silcox (2003) 1. การนึกถึงสิ่งที่สังคมคาดหวังในด้านคุณธรรม จริยธรรมจากโรงเรียน 2. มีวิสัยทัศน์ร่วมกัน และให้มีการรับรู้ถึงพันธกิจด้านการเรียนรู้ของนักเรียน 3. สร้างข้อตกลงร่วมกันระหว่างครูกับนักเรียนที่มีต่อพันธกิจ 4. นาความรู้ความชานาญมาใช้เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน 5. พัฒนาการสอนของครู 6. เน้นความผูกพันและการมีส่วนร่วมของบุคลากร 7. ใช้ภาวะผู้นาหลายรูปแบบ 8. เป็นผู้นาที่เน้นการจัดการเรียนการสอนมากกว่าการบริหาร 9. ทาให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ทั่วทั้งองค์กรและให้เกิดความสร้างสรรค์ 10. พัฒนาความสัมพันธ์กับชุมชน 11. ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์กรให้มีการพัฒนา
  • 58. ภาวะผู้นาทางวิชาการตามแนวคิดของ Joseph Blasé (2004) 1. กาหนดเป้ าหมายของโรงเรียน 2. สื่อสารเพื่อให้บรรลุเป้ าหมาย 3. การนิเทศและประเมินผลการจัดการเรียนการสอน 4. การประสานงานหลักสูตร 5. การติดตามผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน 6. กาหนดกรอบเวลาในการจัดการเรียนการสอน 7. การทาให้วิสัยทัศน์คงอยู่ 8. การเตรียมครูให้เข้ากับพันธกิจของโรงเรียน 9. การส่งเสริมให้เป็นครูมืออาชีพ 10. การเตรียมกระบวนการเรียนรู้ที่มีความเหมาะสม
  • 59. ภาวะผู้นาทางวิชาการตามแนวคิดของ สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.) (2552) 1. มีวิสัยทัศน์ในการจัดการศึกษาให้ทันการเปลี่ยนแปลง 2. มีความเป็นผู้นาในการริเริ่มการใช้นวัตกรรมเพื่อการเรียนการสอน 3. ส่งเสริมการนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ในการ ปฏิรูปการเรียนรู้ 4. มีศักยภาพในการพึ่งพาตนเองในการพัฒนางานวิชาการ 5. มีการแสวงหาความรู้ใหม่ๆ มาปรับใช้ตลอดเวลา
  • 60. Academic Leadership Theories Krug (1992) 1. กาหนดพันธกิจ 2. การจัดการหลักสูตร และการสอน 3. การนิเทศการสอน 4. การกากับติดตาม ความก้าวหน้าของ นักเรียน 5. การส่งเสริมบรรยากาศ ทางวิชาการ Hallinger & Murphy (1987) 1.การกาหนดพันธกิจ 2. การบริหารการสอน 3. การส่งเสริมบรรยากาศของ โรงเรียน Bossert (1988) 1. เน้นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2. จัดเวลาเพื่อการประสานงาน ดูแลการสอนของครูให้ 3. ชานาญในการจัดการเรียนการ สอน เข้าสังเกตการณ์การสอน การ นิเทศการสอน 4. ใส่ใจกับหลักสูตรและการสอน 5. ขอความช่วยเหลือจากเขตพื้นที่ การศึกษาในเรื่องการทาแผนการ จัดการเรียนการสอน 6. สร้างสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อ การเรียนการสอนให้มีระเบียบ 7. ทราบถึงโครงสร้างชุมชนและ รักษาความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ปกครอง Murphy (1990) 1. พัฒนาพันธกิจและเป้าหมาย 2. บริหารการจัดการศึกษา 3. ส่งเสริมบรรยากาศการเรียนรู้ทาง วิชาการ 4. พัฒนาสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการ เรียนรู้ Weber (1996) 1. กาหนดพันธกิจของโรงเรียน ให้ชัดเจน 2. การบริหารหลักสูตรและการ สอน 3. การส่งเสริมบรรยากาศการ เรียนรู้ทางบวก 4. การเข้าสังเกตและการ พัฒนาการจัดการเรียนการสอน 5. การประเมินการสอน McEwan (1998) 1. สร้างเป้าหมายและวิธีการ และทาให้บรรลุ มาตรฐานทางวิชาการ 2. เป็นที่ปรึกษาและแหล่งความรู้ทางวิชาการ แก่บุคลากร 3. สร้างสิ่งแวดล้อมและบรรยากาศการเรียนรู้ 4. สื่อสารวิสัยทัศน์และพันธกิจให้บุคลากรและ นักเรียนได้ทราบ 5. ตั้งเป้าหมายสูง 6. พัฒนาครูแกนนา 7. พัฒนาและรักษาความสัมพันธ์ทางบวก ระหว่างนักเรียน บุคลากร และผู้ปกครอง Blasé and Blasé (2001) 1. การพูดคุยกับครู 2. ส่งเสริมความก้าวหน้าใน วิชาชีพครู 3. ส่งเสริมให้ครูสะท้อนความ คิดเห็น MacNeill, Cavanagh and Silcox (2003) 1. การนึกถึงคุณธรรมจริยธรรม 2. มีวิสัยทัศน์ร่วมกัน 3. สร้างข้อตกลงร่วมกันระหว่างครู กับนักเรียนที่มีต่อพันธกิจ 4. นาความรู้ความชานาญมาใช้ เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน 5. พัฒนาการสอนของครู 6. เน้นความผูกพันและการมีส่วน ร่วมของบุคลากร 7. ใช้ภาวะผู้นาหลายรูปแบบ 8. เน้นการจัดการเรียนการสอน มากกว่าการบริหาร 9. ทาให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ ทั่วทั้งองค์กร 10. พัฒนาความสัมพันธ์กับชุมชน 11. ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์กรให้มี การพัฒนา Joseph Blasé (2004) 1. กาหนดเป้าหมายของโรงเรียน 2. สื่อสารเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย 3. การนิเทศและประเมินผลการจัดการ เรียนการสอน 4. การประสานงานหลักสูตร 5. การติดตามผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นักเรียน 6. กาหนดกรอบเวลาในการจัดการเรียน การสอน 7. การทาให้วิสัยทัศน์คงอยู่ 8. การเตรียมครูให้เข้ากับพันธกิจของ โรงเรียน 9. การส่งเสริมให้เป็นครูมืออาชีพ 10. การเตรียมกระบวนการเรียนรู้ที่มีความ เหมาะสม Alig-Mielcarek & Hoy (2005) 1. การพัฒนาวิชาชีพครูทั้งโรงเรียน 2. กาหนดเป้าหมายร่วมกันและสร้างความ ความเข้าใจในเป้าหมาย 3. กากับติดตามและจัดให้มีการสะท้อนผล การจัดการเรียนการสอน
  • 62. ขอบข่ายงานวิชาการ 1. แผนปฏิบัติการด้านวิชาการ 2. หลักสูตรและการสอน 3. การพัฒนาการเรียนการสอน 4. สื่อการเรียนการสอน 5. การปรับปรุงการเรียนการสอน 6. การวัดผลและประเมินผล
  • 63. หลักการบริหารงานด้านวิชาการ 1. จัดทาแผนงานวิชาการที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์หรือนโยบาย 2. การบริหารงานวิชาการมุ่งความร่วมมือกันทางาน 3. ควรกระจายอานาจและความรับผิดชอบให้ผู้ปฏิบัติ 4. ควรส่งเสริมผู้ร่วมงานให้ปรับปรุงตนเอง 5. ริเริ่มสร้างสรรค์ในการปรับปรุงตนเองด้านวิชาการ 6. ผู้บริหารควรใช้เทคนิคการส่งเสริมคนอื่นมากกว่าการสอนคนอื่น 7. มีการให้ขวัญกาลังใจ 8. ควรมีคณะกรรมการที่ปรึกษาด้านวิชาการ 9. ให้ครูเข้าใจวัตถุประสงค์และจุดมุ่งหมายของการสอนทุกวิชาที่รับผิดชอบ 10. ติดตามและประเมินผล
  • 64. ขั้นตอนในการบริหารงานวิชาการ 1. ขั้นวางแผนก่อนดาเนินงาน 1.1 กาหนดนโยบายการปฏิบัติงาน 1.2 จัดระบบงาน 1.3 กาหนดวิธีการ 1.4 จัดบุคลากร 1.5 จัดทาโครงการและแผนปฏิบัติงานโดยให้ครูมีส่วนร่วม
  • 65. ขั้นตอนในการบริหารงานวิชาการ 2. ขั้นดาเนินงาน 2.1 งานที่เกี่ยวข้องกับเนื้ อหาวิชา (แผนการสอนในแต่ละวิชา) 2.2 งานเกี่ยวกับกิจกรรมเสริมหลักสูตร (ซ่อมเสริม โครงการส่งเสริม เด็กเรียนดี การจัดชุมนุม ลูกเสือ เนตรนารี แนะแนว การดูแล ช่วยเหลือนักเรียน) 2.3 งานบริการ(ส่งเสริมการผลิต ใช้ ซ่อมแซมสื่อการสอน อุปกรณ์ การสอน จัดทาเอกสารการสอน คู่มือครู)
  • 66. ขั้นตอนในการบริหารงานวิชาการ 3. ขั้นส่งเสริมและควบคุมงานวิชาการ 3.1 สนับสนุนให้ปฏิบัติตามมาตรฐานทางวิชาการ (จัดครูสอน จัด ห้องเรียน ตารางสอนวัสดุอุปกรณ์ สถานที่ ติดต่อชุมชน) 3.2 ส่งเสริมงานวิชาการและจัดบรรยากาศทางวิชาการ (คณะกรรมการวิชาการ ตั้งชมรม ชุมนุม จัดทาหนังสือเอกสาร วิชาการ และเผยแพร่) 3.3 ส่งเสริมให้ครูมีวุฒิสูงขึ้น 3.4 ส่งเสริมให้ครูเลื่อนวิทยฐานะ 3.5 จัดครูเข้าสอน (ตรงตาม ความรู้ ความสามารถ ความถนัด และวุฒิของครู)
  • 67. หลักการและแนวคิด 1. ยึดหลักให้สถานศึกษาจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาให้เป็นไปตามกรอบ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานและสอดคล้องกับสภาพปัญหา และความต้องการของชุมชนและสังคมอย่างแท้จริง โดยมีครู ผู้บริหาร ผู้ปกครอง และชุมชนมีส่วนร่วม 2. มุ่งส่งเสริมสถานศึกษาให้จัดกระบวนการเรียนรู้ โดยถือว่าผู้เรียนมี ความสาคัญที่สุด 3. มุ่งส่งเสริมให้ชุมชนและสังคมมีส่วนร่วมในการกาหนดหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ รวมทั้งเป็นเครือข่ายและแหล่งการเรียนรู้ 4 มุ่งจัดการศึกษาให้มีคุณภาพและมาตรฐานโดยจัดให้มีดัชนีชี้วัดคุณภาพ การจัดหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ และสามารถตรวจสอบคุณภาพ การจัดการศึกษาได้ทุกช่วงชั้นทั้งระดับเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา 5. มุ่งส่งเสริมให้มีการร่วมมือเป็นเครือข่าย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและ คุณภาพในการจัดและพัฒนาคุณภาพการศึกษา
  • 68. ขอบข่ายและภารกิจงาน ตามที่กาหนดในกฎกระทรวงฯ 1) การพัฒนาหรือการดาเนินการเกี่ยวกับการให้ความเห็นการพัฒนา สาระหลักสูตรท้องถิ่น 2) การวางแผนงานด้านวิชาการ 3) การจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา 4) การพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษา 5) การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ 6) การวัดผล ประเมินผล และดาเนินการเทียบโอนผลการเรียน 7) การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาในสถานศึกษา 8) การพัฒนาและส่งเสริมให้มีแหล่งเรียนรู้ 9) การนิเทศการศึกษา
  • 69. ขอบข่ายและภารกิจงาน ตามที่กาหนดในกฎกระทรวงฯ 10) การแนะแนว 11) การพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา 12) การส่งเสริมชุมชนให้มีความเข้มแข็งทางวิชาการ 13) การประสานความร่วมมือในการพัฒนาวิชาการกับสถานศึกษาและ องค์กรอื่น 14) การส่งเสริมและสนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงาน สถานประกอบการและสถาบันอื่นที่จัดการศึกษา 15) การจัดทาระเบียบและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับงานด้านวิชาการของ สถานศึกษา 16) การคัดเลือกหนังสือ แบบเรียนเพื่อใช้ในสถานศึกษา 17) การพัฒนาและใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
  • 70. การบริหารงานวิชาการกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง รองผู้อานวยการ 1. วางแผนดาเนินงานด้านการเรียนการสอนและรับผิดชอบดาเนินงาน ให้เป็นไปตามเป้ าหมายของโรงเรียน 2. ควบคุมดูแลการจัดตารางสอน 3. จัดให้มีการจัดทาแผนการสอนตามหลักสูตร 4. ร่วมกับหัวหน้าหมวด หัวหน้าสายชั้น วางนโยบายเกี่ยวกับการเรียน การสอนทั่วไป และสนับสนุนให้มีการค้นคว้าทดลอง ปรับปรุงการ เรียนการสอน 5. อบรมครูให้เข้าใจเกี่ยวกับการเรียนการสอน การวัดผล 6. จัดทาคู่มือครู และคู่มือการเรียนการสอนของนักเรียน
  • 71. การบริหารงานวิชาการกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง รองผู้อานวยการ 7. จัดให้มีโครงการ กิจกรรมวิชาการ เพื่อส่งเสริมความรู้นักเรียน 8. พิจารณาหนังสือ แบบเรียน คู่มือ อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เห็นว่ามีประโยชน์ ในการสอน และจัดให้มีเอกสารประกอบการเรียน 9. เสนอแนะในการแต่งตั้งหัวหน้าหมวด หัวหน้าสายชั้น 10. จัดสรรและควบคุมงบประมาณทางวิชาการ 11. ควบคุมการจัดซื้อ เก็บรักษา กามรใช้อุปกรณ์ 12. เสนอความเห็นต่อผู้บริหารเพื่อพิจารณาความดี
  • 72. การบริหารงานวิชาการกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง หัวหน้ากลุ่มสาระ 1. วางแผนการสอนเป็นระยะร่วมกับครูในกลุ่มสาระ ให้เป็นไปตามหลักสูตร 2. ให้คาแนะนาครูในหมวดเรื่องหลักสูตร การสอน หนังสือ แบบเรียนการใช้ อุปกรณ์ วิธีการสอน และจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร 3. ควบคุมการเรียนการสอนในกลุ่มสาระวิชาที่ตนรับผิดชอบให้เป็นไปตาม โครงการ และจัดครูสอนแทน ในกรณีที่ผู้บริหารมอบหมาย 4. ประชุมครูในกลุ่มโดยสม่าเสมอ อย่างน้อยเดือนละครั้ง เพื่อเสนอแนะ ให้ คาปรึกษา หรือช่วยเหลือแก้ไขด้านวิชาการ 5. ส่งเสริมให้ครูเข้ารับการอบรมเพื่อให้ครูมีความรู้ ความสามารถเพิ่มขึ้นอยู่ เสมอ 6. จัดทา สร้าง ดัดแปลงอุปกรณ์ให้มีใช้ในการเรียนการสอนในกลุ่มสาระนั้น
  • 73. การบริหารงานวิชาการกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง หัวหน้ากลุ่มสาระ 7. ประสานงานกับหัวหน้ากลุ่มสาระอื่น ศึกษานิเทศก์ และสถาบันอื่น ให้ ความช่วยเหลือทางวิชาการ 8. จัดนิทรรศการ สาธิตกิจกรรม สนับสนุนการจัดตั้งชุมชุมนุมทางวิชาการ 9. จัดทาข้อสอบวัดผล ควบคุมเรื่องการวัดผล ตามระเบียบวัดผล 10. ประเมินผลการเรียนในกลุ่มสาระ สรุปรายงาน การปฏิบัติงานและเสนอ ข้อคิดเห็นของครู ในกลุ่มสาระต่อผู้บริหาร 11. เสริมสร้างมนุษยสัมพันธ์ระหว่างครู ในกลุ่มสาระและโรงเรียน 12. เสนอแนะงานของครูต่อผู้บริหาร เพื่อประกอบการพิจารณาความดี ความชอบ
  • 74. การบริหารงานวิชาการกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง ครูผู้สอน 1. จัดทาแผนการสอน 2. เตรียมการสอน 3. เตรียมอุปกรณ์การสอน 4. ดาเนินการสอน 5. ออกข้อสอบ วัดผลประเมินผล 6. ควบคุมวินัยในชั้นเรียน 7. ตรวจผลงานและแก้ไขข้อผิดพลาดต่าง ๆ 8. หาความรู้เพิ่มเติม