SlideShare a Scribd company logo
เมืองผาปัง
ต้นแบบเมือง “สุขภาพดี มีตังค์ ยั่งยืน”
ยุวดี คาดการณ์ไกล และคณะ
ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ผู้เขียน : ยุวดี คาดการณ์ไกล และคณะ
บรรณาธิการบริหาร : ยุวดี คาดการณ์ไกล
บรรณาธิการฝ่ายวิชาการ : ยุวดี คาดการณ์ไกล
กองบรรณาธิการ ณัฐธิดา เย็นบารุง อรุณ สถิตพงศ์สถาพร จุฑามาศ พูลสวัสดิ์
ปก : ณัฐธิดา เย็นบารุง
รูปเล่ม : ณัฐธิดา เย็นบารุง
ปีที่เผยแพร่ : พฤษภาคม พ.ศ. 2561
ผู้เผยแพร่ : ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับมูลนิธิส่งเสริมปัญญาสาธารณะ (CPWI)
ผู้สนับสนุน : สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
สารบัญ
1. ผาปัง ประวัติศาสตร์และความสาคัญเมือง...................................................................2
2. จุดเริ่มต้นของการพัฒนา ............................................................................................4
3. บริหารจัดการชุมชนโดยคนผาปัง................................................................................7
4. ผลงานที่ริเริ่มโดยคนผาปัง........................................................................................12
5. ผลลัพธ์แห่งการพัฒนา .............................................................................................18
6. หลักคิดขับเคลื่อนเมืองสู่ความสาเร็จ.........................................................................24
7. ความท้าทายในการพัฒนาและการคลี่คลายปัญหา ....................................................26
8. ปัจจุบันของผาปัง: ท้องถิ่นที่นาการพัฒนาประเทศ....................................................27
1
2
เมืองปาปัง
ต้นแบบเมือง “สุขภาพดี มีตังค์ ยั่งยืน”
1. ปาปัง ประวัติศาสตร์และความสาคัญเมือง
จากการค้นคว้าประกอบกับประวัติตาบลผาปังเดิมของอาจารย์ไพบูลย์ คันธชมภู อดีตครูใหญ่
โรงเรียนบ้านผาปัง ที่ได้เล่าไว้ใน “แว่นส่องผาปัง” หนังสืออนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพหลวงพ่อ
พระครูวิจิตรพัฒนคุณ อดีตเจ้าอาวาสวัดผาปังหลวง ได้เล่าไว้ว่า ผาปังเป็นตาบลเล็กๆ ของอาเภอแม่
พริก จังหวัดลาปาง ที่ซ่อนอยู่ในหุบเขาอย่างโดดเดี่ยวและเป็นทางตัน ไม่อาจเดินทางด้วยรถยนต์ผ่าน
ไปยังอาเภอลี้ จังหวัดลาพูนได้ทั้งที่อยู่เพียงคนละฟากของภูเขาซึ่งมีชื่อเรียกว่า ‚ดอยอานม้า‛ และ ‚ดอย
หลวง‛ เขาทั้งสองลูกนี้เป็นสัญลักษณ์ของผาปัง และเส้นกั้นทางธรรมชาติระหว่างลี้และผาปัง เชื่อกันว่า
ชื่อ “ผาปัง” สืบเนื่องมาจากขุนเขาที่เป็นภูเขาหิน เมื่อมีแรงสั่นสะเทือนจากเหตุแผ่นดินไหวหรือฝนตกชะ
พื้นดินมากๆ จึงทาให้หินกร่อนและเมื่อถูกกัดเซาะนานวันเข้าจึงได้พังทลายลงมา (ปัง เป็นคาเมือง
หมายถึง พัง)
จากการเล่าต่อๆ กันมาของบรรพบุรุษ รากเหง้าของคนผาปังมาจากคนบ้านท่าหลวง อาเภอเถิน
ส่วนแหล่งที่มาของคนบ้านท่าหลวงนั้น กล่าวกันว่ามาจากเชียงใหม่ ตอนปลายสมัยอยุธยาหรือต้นสมัย
ธนบุรี ซึ่งเป็นช่วงที่สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงขับไล่พม่าออกจากอาณาจักรล้านนาแล้วกวาด
ต้อนผู้คนจากเชียงแสน สิบสองปันนา (ไทลื้อ) มาไว้แถบลาปาง เชียงใหม่ เถิน ฯลฯ เป็นต้น คนรุ่นแรก
ที่เข้ามาตั้งรกรากอยู่ ณ ตาบลผาปังที่มาจากบ้านท่าหลวงชื่อ เจ้ากุ เจ้าสาด และส่วนหนึ่งมาตั้งรกราก
อยู่ที่วัดห้วยไร่ (มีประวัติอยู่ที่วัด)1
อีกข้อสันนิษฐานหนึ่ง ว่ากันว่าคนผาปังมาจากอาเภอลี้ จังหวัดลาพูน เดินทางเท้าและทาง
เกวียนข้ามดอยหลวงและดอยอานม้า ซึ่งเป็นเส้นกั้นระหว่างอาเภอลี้กับอาเภอแม่พริกโดยอ้างเหตุผล
จากสาเนียงพูดเหน่อของคนในหุบเขาบริเวณนี้ คนบริเวณนี้เรียกตนเองว่า ‚คนเหนือเสียงเหน่อ‛ จาก
สาเนียงพูดอันเป็นเอกลักษณ์ที่ต่างจากสาเนียงภาคเหนืออื่นๆ ไม่ว่า เชียงใหม่ ลาปาง แพร่ หรือน่าน
อีกเหตุผลหนึ่งคือวัฒนธรรมประเพณีบางประการของลี้และผาปังมีความเชื่อมโยงกัน เช่น ที่อาเภอลี้ มี
การทอผ้าลายที่เรียกว่า “ผ้าห่มต๋าโก้ง” และชาวผาปังก็สืบทอดการทอผ้าลายนี้มาจนทุกวันนี้2
1
มูลนิธิพัฒนาชุมชนผาปัง. ออนไลน์ https://sites.google.com/site/mulnithichumchnphapang/home/prawati-pha-
pang
2
ถอดความและเรียบเรียงจากคาบอกเล่าของ ครูจุติญา ศรีเจริญกุล กรรมการบริหารโรงเรียนวัตกรรมสุขภาพผู้สูงอายุ
ตาบลผาปัง และครูเกษียณโรงเรียนบ้านผาปัง เมื่อวันที่ 12 สิงหาคม 2560.
3
ผาปัง จุดหนึ่งในเส้นทางลัดโบราณพม่า-เชียงใหม่ และจุดประทับพักของสมเด็จพระนเรศวรฯ
มีการสันนิษฐานจากคาบอกเล่าของชาวบ้านว่าพื้นที่บริเวณตาบลผาปังในอดีตเคยเป็นเส้นทาง
ลัดโบราณสาหรับการเดินเท้า เดินทัพ และเดินทางค้าขายจากฝั่งพม่าผ่านเข้ามายังเขตแม่สอด
แม่ระมาด สามเงา จังหวัดตากผ่านเขตตาบลผาปัง อาเภอแม่พริก จังหวัดลาปาง และต่อไปยังอาเภอลี้
จังหวัดลาพูน ไปยังเชียงใหม่ได้ ใกล้ตาบลผาปังมีพื้นที่ที่เรียกกันว่า ‚ป๋างป้อก๊า‛ หรือที่พักของพ่อค้าที่
จะเดินทางไปค้าขาย และมีดอยชื่อ ‚ดอยป่องล้อ‛ อยู่บริเวณดอยหลวง ซึ่งมีทางล้อเกวียนข้ามไปยัง
อาเภอลี้ได้ ชื่อสถานที่เหล่านี้สนับสนุนข้อสันนิษฐานที่ว่าผาปังอยู่ในเส้นทางลัดโบราณจากพม่าไปยัง
เชียงใหม่
ภาพที่ 1 แสดงเส้นทางโบราณจากชายแดนพม่าไปยังเชียงใหม่ผ่านแม่สอด แม่ระมาด สามเงา ผาปัง ลี้
ที่มา Google Maps
ชาวบ้านเล่ากันว่า สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเองก็เคยใช้เส้นทางนี้เดินทัพทางบกจากอยุธยา
ขึ้นเหนือไปตีเมืองอังวะ โดยเสด็จมาประทับพักทัพของพระองค์ที่ผาปังก่อนที่จะเดินทัพขึ้นไปทาง
ตะวันตกเฉียงเหนือ ต่อไปยังลาพูน เชียงใหม่ และเวียงแหง (ปัจจุบันคือ อาเภอเวียงแหง ชายแดน
จังหวัดเชียงใหม่กับพม่า) เพื่อจะไปตีเมืองอังวะ อย่างไรก็ตาม พระองค์ทรงติดเชื้อและเสด็จสวรรคต ณ
เวียงแหง นั้นเองเมื่อ พ.ศ. 2148
ภาพที่ 2 พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนเรศวร
มหาราช บริเวณพระบรมธาตุ 12 ราศี วัดผาปังกลาง
ที่มา ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง
4
2. จุดเริ่มต้นของการพัถนา
เดิมที เนื่องด้วยภูมิประเทศของตาบลมีลักษณะเป็นหุบเขา พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่าสงวนแห่งชาติ
มีพื้นที่ทากินน้อย ทั้งยังแล้งน้าเพราะผิวดินเป็นดินทรายที่ไม่อุ้มน้า การทานาในพื้นที่ซึ่งเป็นอาชีพหลัก
ของชาวชุมชนจึงทาได้เพียงปีละ 1 ครั้ง อย่างน้อยตั้งแต่ พ.ศ. 2449 คนผาปังจึงเริ่มทยอยกันอพยพออก
หรือส่งบุตรหลานไปทางานและเรียนหนังสือในพื้นที่อื่นทั้งจังหวัดใกล้เคียงและประเทศพม่า
ด้วยสาเหตุดังกล่าว ทุกวันนี้ผาปังจึงเป็นชุมชนขนาดเล็กที่มีประชากร 1,568 คน อาศัยอยู่ใน
พื้นที่จริงเพียง 1,090 คน ผลจากการที่คนผาปังวัยหนุ่มสาวอพยพไปทางานที่อื่น ทาให้ชุมชนกลายเป็น
สังคมผู้สูงอายุที่มีคนเฒ่าคนแก่อยู่มากถึง 580 คน หรือคิดเป็นประมาณ 37 เปอร์เซ็นต์ (กรมการ
ปกครอง กระทรวงมหาดไทย, 2559) จนปัจจุบันผาปังเป็นตาบลที่มีสัดส่วนผู้สูงอายุมากที่สุดในจังหวัด
ลาปาง ทว่าในวิกฤตก็ยังมีโอกาสให้เห็น ความขาดแคลนทรัพยากรธรรมชาติเพื่อการทากินนี้ได้
กลายเป็นแรงผลักดันให้คนผาปังจานวนไม่น้อยละทิ้งอาชีพเกษตรกรรมและมุ่งหน้าเรียนหนังสือเพื่อสั่ง
สมความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพ สิ่งเหล่านี้ส่งผลให้ผาปังกลายเป็นชุมชนที่มีปัญญาชนซึ่งเชี่ยวชาญ
ในหลากหลายศาสตร์อยู่จานวนมาก และคนกลุ่มนี้เองที่กลายมาเป็นต้นทุนสาคัญที่จุดชนวนการ
เปลี่ยนแปลงให้เกิดขึ้นในผาปัง
วิกฤติและโอกาสของผาปัง
ย้อนกลับไปในปี พ.ศ. 2537 ที่เริ่มมีการจัดตั้งองค์การบริหารส่วนตาบลในพื้นที่ ทางการได้ยุบ
รวมสภาตาบลผาปังเข้ากับองค์การบริหารส่วนตาบลแม่พริกซึ่งอยู่ห่างออกไปถึง 25 กิโลเมตร เนื่องจาก
ตาบลผาปังนั้นมีประชากรน้อยกว่า 2,000 คน ทาให้ตามกฎหมายแล้วไม่สามารถจัดตั้งองค์การบริหาร
ส่วนตาบลเป็นของตนเองได้ งบประมาณต่างๆ ที่มาจากส่วนกลางก็มักจะถูกกันให้ตาบลแม่พริก
มากกว่าด้วยเหตุผลด้านประชากร ฉะนั้น ผาปังจึงเสียโอกาสการพัฒนาเนื่องจากงบประมาณภาครัฐที่ไม่
เพียงพอ กอปรกับสภาพภูมิศาสตร์ที่ไม่เอื้อต่อการเกษตร ได้ทาให้เกิดปัญหาประชากรวัยแรงงานย้าย
ถิ่นฐานออกนอกพื้นที่ แต่จุดแข็งของผาปังคือธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์จากการตั้งอยู่ติดกับป่าไม้และ
ภูเขา จนสมาชิกชุมชนขนานนามว่าป่านั้นเปรียบได้กับ ‚Super Market‛ โดยเฉพาะป่าไผ่ซึ่งถือเป็น
จุดเด่นของผาปังที่ครอบคลุมพื้นที่กว่า 3,500 ไร่ อีกทั้งยังมีวัฒนธรรมชุมชนที่เข้มแข็ง มีการเน้นย้าเรื่อง
คุณธรรม ศีลธรรม สมาชิกชุมชนมีการศึกษาที่ดีเนื่องจากไม่สามารถทาการเกษตรได้มากนัก ทาให้
ผู้ปกครองนิยมส่งเสริมให้บุตรหลานเรียนสูง ๆ แม้ในวัยทางานจะออกไปทางานนอกชุมชน แต่เมื่อถึงวัย
เกษียณแล้วมักจะกลับมาอยู่ในชุมชน ซึ่งเป็นทุนทางสังคมที่สามารถแปรเป็นพลังเพื่อพัฒนาชุมชนได้
ก่อตั้งคณะกรรมการพัฒนาชุมชนตาบลผาปัง : ร่างธรรมนูญผาปัง
เนื่องด้วยปัญหาดังที่กล่าวไปแล้วทาให้ผาปังพัฒนาได้ไม่มาก อีกทั้งการพึ่งพาเฉพาะโครงสร้าง
การปกครองท้องถิ่นจากส่วนกลางไม่ตอบโจทย์การพัฒนาพื้นที่ สิ่งเหล่านี้กลายมาเป็นแรงกระตุ้นให้ชาว
ผาปังริเริ่มแผนพัฒนาตนเองขึ้นใน พ.ศ. 2547 ซึ่งเป็นแผนระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2547 – พ.ศ. 2567) โดย
อาศัยการมีส่วนร่วมของสมาชิกชุมชนเองด้วยตระหนักดีว่าหากปล่อยให้วิกฤติยังคงมีอยู่ต่อไปในอนาคต
5
แล้วชุมชนจะยิ่งอ่อนแอลงไปอีกเพราะสมาชิกในชุมชนจะย้ายออกไปยังพื้นที่อื่นอีกหากยังไม่มีโอกาส
ด้านอาชีพรองรับ คนผาปังได้ร่วมกันคัดเลือกและแต่งตั้ง ‚คณะกรรมการพัฒนาชุมชนตาบลผาปัง‛
ขึ้นมาเป็นกลไกในการบริหารจัดการ ใช้แนวคิดการแปรทุน 3 ด้านเป็นโอกาส ได้แก่ 1. ทุนจาก
ทรัพยากรธรรมชาติที่มี 2. ทุนจากวัฒนธรรมของชุมชน 3. ทุนจากการร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกทั้ง
ภายรัฐและเอกชน (ภาพที่ 4) โดยแผนนี้ครอบคลุมทั้งการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และสุข
ภาวะ แก่นของการพัฒนามองว่าความยั่งยืนอยู่ที่การพัฒนาสมาชิกชุมชนให้มีความรู้และทักษะที่
จาเป็น
สิ่งที่สาคัญอีกหนึ่งสิ่งที่เป็น “หลัก” ในการพัฒนา คือ คนผาปังได้ร่วมกันร่าง ‚ธรรมนูญผาปัง‛
ขึ้น เพื่อเป็นจารีตคอยกากับสมาชิกชุมชน เช่น การตั้งกองทุนเพื่อช่วยเหลือสมาชิกชุมชน ควบคุมการ
ใช้ทรัพยากรในป่า การลดปริมาณการใช้สารเคมีในเกษตรกรรม การเฝ้าระวังโรคติดต่อ หากผู้ใดละเมิด
ธรรมนูญนี้ แม้จะไม่มีบทลงโทษตามกฎหมาย แต่จะมีมาตรการทางสังคมมาลงโทษแทน เช่น การไม่
ช่วยในงานบุญต่าง ๆ การไม่คบค้าสมาคม การประจานให้ได้รับความอับอาย การให้บาเพ็ญประโยชน์
การเก็บค่าปรับ เป็นต้น
ในช่วง 3 ปีแรกของการดาเนินการ (พ.ศ. 2547 – 2550) สิ่งที่สาคัญที่สุดมิใช่การลงมือสร้าง
วิสาหกิจต่างๆ หากเป็นการสร้างความพร้อมของสมาชิกชุมชนเองด้วยการยกระดับการศึกษา ฟื้นฟู
ศิลปวัฒนธรรม สร้างความรักความสามัคคีระหว่างกัน โดยเฉพาะการปลูกฝังเยาวชนให้มีความรักใน
ชุมชน รักที่จะพัฒนาชุมชน มีการตั้งสภาเยาวชนเพื่อเป็นเวทีในการรวมตัวของเยาวชน เพราะใน
อนาคตเมื่อเยาวชนเหล่านี้เติบโตขึ้นก็จะกลายเป็นผู้นาในการพัฒนาชุมชน แทนที่จะย้ายออกไปยังพื้นที่
อื่น ซึ่งเหล่านี้เป็นการเรียนรู้โดยชุมชมที่แม้อยู่นอกระบบการศึกษาหลักแต่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา
ชุมชนอย่างมา
หมวดในธรรมนูญผาปัง
หมวดที่1 บททั่วไป
หมวดที่ 2 เป็นคนดี
หมวดที่ 3 มีปัญญา
หมวดที่ 4 รายได้สมดุล
หมวดที่ 5 สุขภาพแข็งแรง
หมวดที่ 6 สิ่งแวดล้อมสมบูรณ์
หมวดที่ 7 สังคมอบอุ่น
หมวดที่ 8 หลุดพ้นอาชญากรรม
หมวดที่ 9 กองทุนพึ่งตนเอง
หมวดที่ 10 การสร้างความเข้มแข็งคณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.)
6
การเข้าใจพื้นฐานชุมชน ค้นหา “ทุน” ในการพัฒนา
ในการพัฒนาชุมชน การทาความเข้าใจกับสภาพที่เป็นจริงของชุมชนเป็นสิ่งสาคัญ โดยต้อง
เข้าใจว่าชุมชนมี จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค อะไรบ้าง เพื่อให้องค์ความรู้ที่มีอยู่นั้นสามารถ
ประยุกต์ให้เกิดประโยชน์ได้จริง และต้องประเมินจากหลายแง่มุมเพื่อให้เข้าใจชุมชนอย่างรอบด้าน
ปัจจุบันหลายชุมชนนั้นมีความคิดริเริ่มที่จะพัฒนาชุมชนของตน สร้างวิสาหกิจเพื่อสร้างงานในพื้นที่ แต่
สาเหตุที่มักจะทาให้ไม่ประสบความสาเร็จเท่าที่ควรคือการไม่รู้จักชุมชนของตนดีพอ แล้วยึดตัวอย่างการ
พัฒนาจากชุมชนอื่นๆ มาโดยขาดการประยุกต์ เช่น เมื่อมีชุมชนหนึ่งประสบความสาเร็จในการสร้าง
วิสาหกิจอย่างหนึ่ง จึงมีชุมชนอื่นๆ ทาวิสาหกิจเดียวกันตามบ้าง ทาให้ในที่สุดสินค้าชนิดนั้นไม่มีความ
โดดเด่นเพราะมีสินค้าลักษณะเดียวกันมากเกินไป แต่ที่ผาปังเริ่มจากการประเมินชุมชนก่อน เช่น การ
ประเมินทาให้ทราบว่ามี ‚ไผ่‛ เป็นทรัพยากรหลัก เป็นจุดเด่นด้านชีวภาพ ประกอบการใช้เทคโนโลยี
ใหม่ๆ ในการผลิตสินค้า และการมีความรักความผูกพันกันระหว่างคนในชุมชน ทั้งหมดจึงหล่อหลอมให้
การพัฒนาประสบความสาเร็จ ยากที่จะมีผู้ทาเหมือนกันได้
แผนและยุทธศาสตร์เพื่อพัฒนาชุมชน
สาหรับแผนเพื่อพัฒนาผาปัง มีทั้งสิ้น 4 แผน ได้แก่ แผนพัฒนาเศรษฐกิจ แผนพัฒนาสังคม
แผนพัฒนาสิ่งแวดล้อม และแผนพัฒนาสุขภาพ เพื่อให้สมาชิกชุมชนผาปังมีการพัฒนาอย่างรอบด้าน
โดยจะดาเนินแผนตาม 6 ยุทธศาสตร์ดังนี้
1. ส่งเสริมให้สมาชิกชุมชนมีความรู้ คุณธรรม จริยธรรม และยึดมั่นในหลักเศรษฐกิจ
พอเพียง
2. ฟื้นฟูและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติให้มีความอุดมสมบูรณ์ ลด ละ เลิกการสร้างมลพิษ
เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับธรรมชาติได้อย่างยั่งยืน
3. พัฒนาและยกระดับขีดความสามารถในการดาเนินงานของชุมชนด้วยความคิด
สร้างสรรค์ การลงมือปฏิบัติจริง และการมีส่วนร่วมกับหน่วยงานทั้งที่เป็นรัฐและมิใช่รัฐ
4. ส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยววิถีท้องถิ่นเพื่อสร้างรายได้แก่ชุมชน โดยต้องไม่ทาลาย
วิถีชุมชนและทรัพยากรธรรมชาติอันมีค่า
5. ยกระดับวิสาหกิจชุมชนที่เน้นสร้างประโยชน์ให้ชุมชนมากกว่าการแสวงหากาไรให้
แข่งขันในเชิงธุรกิจได้ ด้วยการแสวงหาความร่วมมือจากผู้สนับสนุนและคู่ค้าทั้งที่เป็นรัฐ
และมิใช่หน่วย
6. เตรียมความพร้อมให้ชุมชนสามารถรับมือกับบริบทโลกาภิวัตน์ที่เปลี่ยนไปโดยเฉพาะ
การอยู่ในประชาคมอาเซียน เพื่อให้ชุมชนได้รับประโยชน์อย่างสูงสุดและเพิ่ม
ความสามารถในการแข่งขันในตลาดระหว่างประเทศ
7
ภาพที่ 3 แสดงแผนภาพ ‚ทุน‛ ในการพัฒนาผาปัง
ที่มา มูลนิธิพัฒนาชุมชนผาปัง
3. บริหารจัดการชุมชนโดยคนปาปัง
เมื่อตัดสินใจเริ่มต้นกระบวนการจัดการตนเองและเดินหน้าพัฒนาบ้านเกิดโดยไม่รีรอความ
ช่วยเหลือจากภาครัฐอีกต่อไป ในระยะแรก ชุมชนผาปังให้ความสาคัญกับการสร้างกลไกที่มีลักษณะเป็น
องค์กรทางการขึ้นมาเพื่อพัฒนาพื้นที่ ด้วยตระหนักดีว่า พลังของการรวมกลุ่มอย่างเหนียวแน่นย่อม
สร้างการเปลี่ยนแปลงได้มากกว่าพลังจากปัจเจกชนเพียงคนใดคนหนึ่ง อีกทั้งในอนาคต การดาเนินงาน
อย่างเป็นระบบขององค์กรเหล่านี้ยังสามารถเป็นเครื่องการันตีว่าผาปังจะสามารถเจริญต่อไปได้อย่าง
ยั่งยืนจนถึงรุ่นลูกหลานแม้จะไม่มีผู้นาในยุคปัจจุบันแล้วก็ตาม
การรวมกลุ่มของคนผาปังเริ่มก่อตัวมาตั้งแต่ พ.ศ. 2547 โดยกลไกแรกที่ถูกตั้งขึ้นคือ
คณะกรรมการกากับทิศทางการพัฒนาชุมชนตาบลผาปัง มีหน้าที่กากับทิศทางการพัฒนาและบริหาร
จัดการชุมชนเพื่อให้เกิดแบบพึ่งตนเองอย่างยั่งยืน และต่อมาได้จัดตั้งองค์กรขึ้นเป็นกลไกรับผิดชอบการ
พัฒนาด้านต่างๆ ดังนี้
ภาพที่ 4 แสดงแผนภาพกระบวนการพัฒนาของเมืองผาปัง
ที่มา มูลนิธิพัฒนาชุมชนผาปัง
8
1. วิสาหกิจชุมชนผาปัง
แม้จะผ่านปัญหามามากมาย แต่ตาบลผาปังก็ยังมีต้นทุนด้านทรัพยากรธรรมชาติและ
ภูมิปัญญาของคนในพื้นที่อยู่อีกไม่น้อยที่จะสามารถนามาตั้งต้นการพัฒนาเศรษฐกิจและ
ยกระดับคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้นได้ ดังนั้น ชุมชนจึงได้ร่วมกันวางแผนการพัฒนาที่สอดคล้องกับ
ทรัพยากรในพื้นที่และก่อให้เกิดการพึ่งพาตนเองได้ในระยะยาวด้วยการจัดตั้งวิสาหกิจชุมชนผา
ปังขึ้นตามพระราชบัญญัติวิสาหกิจชุมชน พ.ศ. 2548 เพื่อเป็นองค์กรขับเคลื่อนเศรษฐกิจชุมชน
อย่างเป็นระบบและสร้างความเข้มแข็งในการดาเนินกิจการเพื่อสังคมให้แก่ชุมชน สร้างงานขึ้น
ในพื้นที่ด้วยการให้ชาวบ้านได้รวมกลุ่มกันทางานและสร้างรายได้เสริมจากสิ่งที่ตนมีต้นทุนและ
ความถนัด รวมถึงบริหารจัดการวิสาหกิจด้วยตนเอง โดยมีการใช้บ้านของสมาชิกหรือบ้านของ
ประธานเป็นที่ทาการ ในกรณีที่ใครไม่ลงมาทางานก็สามารถลงทุนเป็นผู้ร่วมถือหุ้นในวิสาหกิจ
ได้เช่นกัน ซึ่งวิสาหกิจกล้วยอบเป็นวิสาหกิจแรก ถูกตั้งขึ้นใน พ.ศ. 2550 กระทั่งปัจจุบัน
วิสาหกิจชุมชนผาปังขยายตัวขึ้นจนมีมากถึง 19 กลุ่ม แบ่งเป็นวิสาหกิจที่จดทะเบียนจัดตั้งแล้ว
12 กลุ่ม และวิสาหกิจที่อยู่ในช่วงทดลองทากิจกรรมเพื่อเตรียมจดทะเบียนอีก 7 กลุ่ม กิจกรรม
ของแต่ละวิสาหกิจมีความสัมพันธ์กันแบบลูกโซ่ในลักษณะพึ่งพาและแบ่งปันผลประโยชน์ เช่น
วิสาหกิจโฮมเสตย์เปิดโอกาสให้วิสาหกิจครัวดูแลเรื่องอาหารการกินของแขกที่มาพักแทนที่จะ
ทาเอง วิสาหกิจจึงเป็นเสมือนกลไกที่ช่วยจัดสรรทรัพยากรธรรมชาติให้ถูกนามาใช้และผลิต
ทดแทนอย่างมีระบบเพื่อสร้างรายได้ให้กับชุมชนในรูปแบบที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตคนผาปังและ
ความสมดุลทางธรรมชาติ
 วิสาหกิจที่จดทะเบียนจัดตั้งแล้ว
1) วิสาหกิจชุมชนผลิตสินค้าจากไม้ไผ่
2) วิสาหกิจชุมชนแปรรูปผลผลิตเกษตร
3) วิสาหกิจชุมชนแม่บ้านเกษตรกรผาปัง
4) วิสาหกิจชุมชนผลิตปุ๋ยผาปัง
5) วิสาหกิจชุมชนผลิตถ่านอัดแท่ง
6) วิสาหกิจชุมชนโฮมสเตย์ตาบลผาปัง
7) วิสาหกิจชุมชนพืชผักปลอดสารพิษ
8) วิสาหกิจชุมชนกล่องข้าวพัฒนา
9) วิสาหกิจชุมชนข้าวกล้องข้าวซ้อมมือ
10) วิสาหกิจชุมชนนวดแผนไทยผาปัง
11) วิสาหกิจชุมชนจักสานบ้านเด่นอุดม
12) วิสาหกิจชุมชนผลิตฟางอัดและอาหารสัตว์บ้านผาปัง
 วิสาหกิจที่อยู่ในช่วงทดลองทากิจกรรมเพื่อเตรียมจดทะเบียน
1) วิสาหกิจชุมชนปุ๋ยชีวภาพ
2) วิสาหกิจชุมชนกลุ่มถั่วลิสง
9
3) วิสาหกิจชุมชนเวชสาอาง
4) วิสาหกิจชุมชนสมุนไพรพื้นบ้าน
5) วิสาหกิจชุมชนนวัตกรรมผู้สูงอายุ
6) วิสาหกิจชุมชนกลุ่มทอผ้าพื้นบ้าน
7) วิสาหกิจท่องเที่ยววิถีชุมชนผาปัง
2. มูลนิธิพัฒนาชุมชนผาปัง
แม้วิสาหกิจชุมชนที่ตั้งขึ้นจะเติบโตไปได้ดี แต่วิสาหกิจเหล่านี้ก็ยังไม่มีสถานะเป็นบุคคล
ทางกฎหมาย การดาเนินการใดๆ ที่เป็นทางการจึงต้องอาศัยนิติบุคคลทาหน้าที่แทน ด้วยเหตุนี้
จึงนามาสู่การจัดตั้งมูลนิธิพัฒนาชุมชนผาปัง
มูลนิธิพัฒนาชุมชนผาปัง พัฒนาต่อยอดมากจากคณะกรรมการกากับทิศทางการพัฒนา
ชุมชนตาบลผาปัง มีสถานะเป็นนิติบุคคลตามกฎหมาย ทาหน้าที่เป็นองค์กรศูนย์กลางของ
ชุมชน คอยควบคุมดูแลวิสาหกิจทั้งหมด ตั้งแต่หาตลาด สารวจความต้องการสินค้าในตลาด
ประเมินคู่แข่ง นอกจากนั้นยังมีหน้าที่อานวยการบริหารชุมชน ประสานความร่วมมือ เชื่อมโยง
เครือข่ายผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ
และเอกชน โดยมีคณะกรรมการมูลนิธิเป็นผู้ทรงคุณวุฒิและผู้ใหญ่ที่คนผาปังให้การยอมรับ
นอกจากนั้น ปัจจุบันมูลนิธิพัฒนาชุมชนผาปังยังเป็นองค์กรสูงสุดของชุมชนที่มีอานาจในการให้
คาแนะนา ตัดสินใจหรือหาข้อยุติให้กับประเด็นต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการชุมชนและ
วิสาหกิจเพื่อให้กลุ่มวิสาหกิจเพื่อสังคมในชุมชนผาปังสามารถก้าวไปให้ถึงความสามารถในการ
พัฒนาคุณภาพที่มีกระบวนการวิจัยควบคู่ไปกับการพัฒนาอย่างเป็นระบบ
3. เครือข่ายวิสาหกิจชุมชนผาปัง
เครือข่ายวิสาหกิจชุมชนผาปังเกิดจากการรวมตัวของประธานวิสาหกิจชุมชนผาปังแต่ละ
กลุ่มเพื่อทาหน้าที่เป็นพี่เลี้ยง ให้คาปรึกษาด้านการดาเนินงาน ตลอดจนเสนอแนะแนวทางการ
พัฒนาและแก้ปัญหาให้แก่วิสาหกิจต่างๆ เครือข่ายวิสาหกิจจึงเป็นเสมือนคลินิกรวบรวม
ผู้เชี่ยวชาญที่พร้อมแบ่งปันประสบการณ์ธุรกิจชุมชนและให้การช่วยเหลือให้ทุกวิสาหกิจเติบโต
ไปได้พร้อมๆ กัน
4. บริษัทจากัด
เมื่อวิสาหกิจดาเนินงานจนมีเสถียรภาพและเริ่มมีโอกาสที่จะต่อยอดธุรกิจให้เติบโตขึ้นได้
ชุมชนผาปังจึงมีความคิดในการตั้งบริษัทที่มีสถานะเป็นองค์กรเอกชนเต็มตัวขึ้นมาเพื่อดูแล
กิจการของวิสาหกิจและเป็นตัวแทนในการประสานงานทางธุรกิจเพื่อรองรับคู่ค้าและตลาดที่จะ
ขยายตัวขึ้นในอนาคต โดยปัจจุบัน มีการตั้งบริษัทจากัดแล้ว 2 บริษัท ได้แก่ บริษัท กรีน คอมมู
นิตี้ กรุ๊ป จากัด ดูแลวิสหากิจและกิจการที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวของชุมชน และ บริษัท ถ่าน
ไผ่ผาปัง จากัด ดูแลวิสหากิจและกิจการที่เกี่ยวข้องกับการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากไผ่
10
ผังโครงสร้างและกลไกการบริหารจัดการการพัฒนาเมืองผาปัง
ในการจัดการชุมชน ผาปังได้ให้ความสาคัญกับการพัฒนาเศรษฐกิจและพัฒนาสังคมควบคู่กัน
ภายใต้เป้าหมาย “สุขภาพดี มีตังค์ ยั่งยืน” ที่มุ่งให้คนในชุมชนมีฐานะทางเศรษฐกิจที่มั่นคง พึ่งพา
ตนเองได้ พร้อมทั้งมีสภาพแวดล้อมทางสังคมที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะที่ดีอย่างยั่งยืน
ด้านเศรษฐกิจชุมชน - การพัฒนาและการบริหาร
มูลนิธิพัฒนาชุมชนผาปัง ถือเป็นตัวกลางสาคัญที่ขับเคลื่อนเศรษฐกิจชุมชนผาปังให้เติบโตอย่าง
ยั่งยืน ด้วยการใช้แนวคิด ‘ปัญญาปฏิบัติ’ เป็นแกนหลักของการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน ทาให้ทุก
ความคิดทุกกระบวนการต้องมีข้อมูลและทฤษฎีรองรับ มีการปฏิบัติจริง มีการลองผิดลองถูก ซึ่งอาจสรุป
เป็นขั้นตอนการบริหารได้ 4 ขั้นตอน ดังนี้
ขั้นตอนแรก วิจัย พัฒนาและแปรรูป ส่วนมากชุมชนเป็นผู้ดาเนินการคิดค้นนวัตกรรมกันเอง
แต่ก็มีร่วมกับสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชนในบางครั้ง เพื่อพัฒนาวัตถุดิบของพื้นที่เป็นผลิตภัณฑ์
ขั้นตอนที่สอง ทดสอบผลิตภัณฑ์ หลังจากคิดค้นผลิตภัณฑ์ได้ ชุมชนก็จะร่วมมือกับมูลนิธิ
ทดลองทาผลิตภัณฑ์ตัวอย่างขึ้นมา เพื่อทดสอบคุณภาพและประเมินต้นทุนการผลิต
ขั้นตอนที่สาม หาลูกค้า เมื่อทดสอบผลิตภัณฑ์ผ่านแล้ว มูลนิธิจะเป็นผู้หาตลาด จับลูกค้ามาเจอ
ชาวบ้าน โดยการส่งผลิตภัณฑ์ตัวอย่างให้หน่วยผลิตต่างๆ พิจารณารับซื้อวัตถุดิบจากชุมชน
ขั้นตอนสุดท้าย วางแผนการผลิต ชุมชนจะไม่ทาการผลิตก่อนที่จะหาตลาดหรือลูกค้าได้ แต่จะ
วางแผนการผลิตเมื่อได้รับคาสั่งซื้อมาแล้วเท่านั้น
ยกตัวอย่างเช่น ฝอยไผ่ที่เหลือจากการขัดตะเกียบ คนมักจะเผาทิ้ง มูลนิธิจะเสาะหาว่าสามารถ
นาไปทาอะไรได้บ้าง เช่น หากทาเป็นถ้วยและจานไบโอแพ็คได้ มูลนิธิกับชุมชนก็จะร่วมกันทาตัวอย่าง
มูลนิธิพัฒนา
ชุมชนผาปัง
บ. – บ้าน
สร้างงานสร้างอาชีพ
บริษัท กรีน คอมมูนิตี้ กรุ๊ป จากัด
บริษัท ถ่านไผ่ผาปัง จากัด
พัฒนาทางเศรษฐกิจ พัฒนาทางสังคม
ร. – โรงเรียน
ว. – วัด
ส. – สภาเด็กและเยาวชน
ส. – สถานีอนามัยสาเร็จ
อยู่ในช่วงปรับปรุง
กาลังพัฒนา
สร้างรายได้
วิสาหกิจชุมชน
11
ผลิตภัณฑ์ขึ้นมา แล้วหาข้อมูลว่ามีโรงงานใดที่ต้องการใช้วัตถุดิบหรือผลิตภัณฑ์นี้บ้าง จากนั้นค่อยเสนอ
ผลิตภัณฑ์ตัวอย่างให้โรงงานนั้นๆ หากโรงงานตกลงรับซื้อ มูลนิธิก็จะวางแผนการผลิตแล้วส่งไปให้จาก
ชุมชนด้วย
โดยหลักแล้ว มูลนิธิมีส่วนช่วยสร้างเศรษฐกิจผาปังผ่านการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน ทาให้เกิด
งานเกิดอาชีพขึ้นในชุมชน แต่ไม่ถึงกับเข้าไปแทรกแซงการทางาน มูลนิธิจะปล่อยให้วิสาหกิจชุมชน
เกื้อกูลกันเอง อย่างเช่นหากมีนักท่องเที่ยวมาเข้าพักวิสาหกิจชุมชนโฮมสเตย์ผาปัง นักท่องเที่ยวก็ต้อง
ซื้ออาหารจากวิสาหกิจกลุ่มครัว แล้ววิสาหกิจกลุ่มครัวก็จะซื้อข้าวกล้องกับผักปลอดสารพิษจากวิสาหกิจ
ชุมชนพืชผักปลอดสารพิษ และหากพานักท่องเที่ยวไปดูงานกล้วยพลังงานแสงอาทิตย์หรือการทอผ้า ก็
จะทาให้วิสาหกิจที่ทากล้วย ผ้าทอหรือหมวกขายได้ไปด้วย เงินจากนักท่องเที่ยวก็จะออกกระเป๋าซ้าย
เข้ากระเป๋าขวา หมุนเวียนกันอยู่ภายในชุมชน อย่างไรก็ตาม วิสาหกิจชุมชนดังกล่าวเป็นกลุ่มที่ประสบ
ความสาเร็จแล้ว นอกเหนือจากนี้ยังมีทั้งกลุ่มที่เคยเปิดแล้วแต่ไม่ประสบความสาเร็จ ซึ่งกาลังอยู่ในช่วง
แก้ไขปรับปรุง และกลุ่มที่มูลนิธิกาลังช่วยพัฒนา ซึ่งคาดว่าจะจัดตั้งขึ้นในอนาคต
ในอีกทางหนึ่ง มูลนิธิไม่ได้แค่ช่วยสร้างอาชีพสร้างทักษะให้คนในชุมชนเท่านั้น หากมูลนิธิ
เล็งเห็นว่าวิสาหกิจชุมชนใดมีประสิทธิภาพ ต่อยอดได้ ก็จะพัฒนากลุ่มนั้นให้กลายเป็นบริษัทที่สามารถ
ลงทุน วิจัยและพัฒนาได้มากขึ้น ผลิตได้เป็นจานวนมาก สร้างรายได้ให้แก่ชุมชนได้มากขึ้น เศรษฐกิจ
เมืองก็จะยิ่งเติบโตขึ้นด้วย ดังที่มีการก่อตั้งบริษัท กรีน คอมมูนิตี้ กรุ๊ป จากัด และบริษัท ถ่านไผ่ผาปัง
จากัดที่กล่าวถึงข้างต้น
ส่วนที่มาของรายได้มูลนิธิ นอกจากการขอทุนสนับสนุนจากหน่วยงานต่างๆ แล้ว รายได้ส่วน
หนึ่งยังมาจากวิสาหกิจชุมชน โดยหักผลกาไรบางส่วนของวิสาหกิจแล้วเก็บเป็นค่าสมาชิกมูลนิธิ ขึ้นอยู่
กับข้อตกลงกับแต่ละวิสาหกิจว่า หลังหักค่าใช้จ่าย ค่าแรง ค่าวัตถุดิบแล้ว จะจัดสรรรายได้เข้ามูลนิธิ
อย่างไร เพื่อให้มูลนิธินาเงินไปใช้จ่าย 3 ส่วน คือ ใช้จ่ายส่วนกลาง เข้าธนาคารชุมชน และนาไปจัดตั้ง
กองทุนสวัสดิการชุมชน ‚ตาบลต้นแบบจัดการสุขภาพดี‛
ในกรณีที่มีภาคธุรกิจจากภายนอกต้องการร่วมลงทุน มูลนิธิมีเงื่อนไขว่า ‘ชุมชนต้องถือหุ้นร้อย
ละ 50’ และ ‘ชุมชนต้องเป็นผู้บริหารกิจการเอง’ เพื่อเป็นการรักษา Know How ของชุมชน อย่างไรก็
ตาม ขณะนี้โครงการใหญ่ๆ ยังคงพึ่งเงินกู้ประชารัฐอยู่ ทางชุมชนจึงยังไม่เปิดกว้างให้เอกชนเข้ามามี
ส่วนร่วมมากนัก
ด้านการพัฒนาสังคม – การขับเคลื่อนด้วยมูลนิธิฯ
นอกจากด้านเศรษฐกิจแล้ว มูลนิธิยังถือเป็นตัวละครสาคัญที่ทาให้สังคมผาปังพัฒนามาได้จนถึง
ทุกวันนี้ โดยมีหลักการบริหารสาคัญ คือ บ. ว. ร. ส. ส. อันหมายถึงการบริหารที่ครอบคลุมทั้ง บ้าน วัด
โรงเรียน สถานีอนามัย สภาเด็กและเยาวชน ภายใต้แนวคิดที่มุ่งให้คนผาปัง ‘สุขภาพดี มีตังค์ ยั่งยืน’
ซึ่งอธิบายได้ดังนี้
12
บ้าน สื่อถึง คน ครัวเรือน และชุมชน มูลนิธิได้ส่งเสริมองค์ประกอบนี้ผ่านการสร้างงาน สร้าง
อาชีพ สร้างรายได้ด้วยวิสาหกิจชุมชนดังที่กล่าวไปก่อนหน้านี้ นอกจากนี้ ยังอุดหนุนส่งเสริมอาสาสมัคร
ชุมชนในการดูแลครัวเรือนในชุมชนอย่างรอบด้านอีกด้วย
วัด มูลนิธิมีส่วนร่วมกับชุมชนในการจัดงานประเพณีวัฒนธรรมตามเทศกาลและจัดกิจกรรมสวด
มนต์ทุกวันพระ รายได้ที่มาจากการทอดกฐินจะแบ่งให้วัดครึ่งหนึ่งและอีกครึ่งหนึ่งมูลนิธิเก็บสะสมเพื่อ
นามาก่อสร้างศาสนสถานและเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรม
โรงเรียน มูลนิธิส่งเสริมด้วยการให้ทุนสนับสนุนนักเรียนที่เรียนดี มีความสามารถได้รับ
การศึกษาจนจบชั้นปริญญาตรี นอกจากนี้ มูลนิธิยังเป็นผู้ประสานนักเรียนแลกเปลี่ยนจากสหรัฐอเมริกา
มาเข้าค่ายที่ผาปังระยะเวลา 1 เดือน และจัดอบรมร่วมกับโรงเรียนเป็นประจาทุกปีด้วย
สถานีอนามัย มูลนิธิร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลในการตรวจสุขภาพชาวบ้าน
ดูแลผู้สูงอายุ พร้อมทั้งจัดตั้งกองทุนสวัสดิการชุมชน ‚ตาบลต้นแบบจัดการสุขภาพดี‛ ไว้เป็นกองทุน
สารองเลี้ยงชีพอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) ที่มีหน้าที่ประกบตรวจดูแลสุขภาวะชุมชน
ในอัตรา 10 ครัวเรือนต่อ อสม. 1 คน
สภาเด็กและเยาวชน เด็กเกิดใหม่ในชุมชนจะมีสถานะเป็นสมาชิกสภาทันที ทางมูลนิธิจะเป็นผู้
จัดอบรมให้มีการรวมกลุ่มทากิจกรรม สืบทอดเจตนารมย์ของชุมชน โดยมีการอบรมทั้งในและนอก
โรงเรียน เช่น ให้โรงเรียนพาเด็กมาเรียนรู้วิสาหกิจและงานวัฒนธรรมประเพณี ฝึกฝนให้เป็นมัคคุเทศก์
น้อย เป็นต้น
4. ปลงานที่ริเริ่มโดยคนปาปัง
ด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ
เป็นกิจกรรมเพื่อเสริมสร้าง พัฒนา และยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันให้วิสาหกิจ
ชุมชนและอุตสาหกรรมครัวเรือน สามารถพัฒนาการผลิตและจาหน่ายผลิตภัณฑ์ของวิสาหกิจชุมชนได้
โดยใช้อัตลักษณ์ของผาปังและองค์ความรู้เชิงสร้างสรรค์เพื่อสร้างความแตกต่างและโดดเด่น โดยมี
กิจกรรมเด่นๆ ดังนี้
1. สร้างเศรษฐกิจจากไผ่
ไผ่เป็นพืชที่มีอยู่มากในชุมชนผาปัง กอปรกับไผ่มีคุณสมบัติพิเศษกว่าพืชอื่นๆ ถ่านของไผ่
เพียงชนิดเดียวที่สามารถนามาทาเป็น Syngas (แก๊สสะอาด) ได้ และคุณสมบัติอื่นๆ เช่น เป็น
ส่วนผสมในเวชภัณฑ์ และเครื่องสาอาง ซึ่งในประเทศจีนมีการรณรงค์ให้ปลูกไผ่ทั่วประเทศ ส่วน
ญี่ปุ่นประกาศให้ไผ่เป็นพืชอนุรักษ์ ต้องมีการปลูกเพิ่มทุกปี เพราะไผ่เป็นพืชที่สร้างโอโซนได้มาก
ที่สุดชนิดหนึ่ง และเป็นพืชที่สร้างเศรษฐกิจได้
 โครงการพัฒนานวัตกรรมถ่านไผ่ประสิทธิภาพสูง Bamboo Activated Charcoal เกิดจาก
การนา Pure Carbon (ถ่านไผ่ที่ผ่านกระบวนการเผาด้วยอุณหภูมิ 650 องศาเซลเซียสขึ้น
13
ไป) ไปอัพเกรดผ่านกรรมวิธีอุณหภูมิในเตา 1,000-1,200 องศาเซลเซียส จะทาให้เกิดรูพรุน
เล็กๆ สามารถให้กาเนิดและปล่อยประจุลบ (Negative Ions) และอินฟาเรดยาว (Far
Infrared Ray) มีคุณสมบัติดูดซับเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา ไขมัน เหงื่อไคล กลิ่นเหม็นในร่างกาย
จึงนิยมนามาเป็นส่วนผสมในเวชภัณฑ์ ยารักษาโรค และเครื่องสาอาง นอกจากนี้ยังสามารถ
ใช้ในอุตสาหกรรม เช่น ส่วนผสมในการผลิตถ่านไฟฉาย (อยู่ระหว่างการก่อสร้างโรงงานถ่าน
ไผ่ประสิทธิภาพสูง)
 โครงการผลิตไฟฟ้าพลังงานชีวมวลชุมชน เป็นการศึกษาวิจัยระบบผลิต Syngas พลังงาน
ทดแทนชุมชนจากถ่านไผ่ เพื่อนามาเป็นเชื้อเพลิงด้านการเกษตร ครัวเรือน และการขนส่ง
ทดแทน LPG NGV LNG เช่น การสูบน้าเพื่อการเกษตร หรือใช้กับยานพาหนะ ทั้งนี้ เพื่อ
สร้างรายได้ ลดรายจ่ายด้านพลังงาน ลดการนาเข้าพลังงาน ลดต้นทุนการผลิตด้าน
การเกษตร และลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและรักษาสุขภาพ เนื่องจากพลังงาน Syngas
ไม่มีมลภาวะหรือมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมต่ามาก ดาเนินกิจกรรมโดยการตั้งสถานีผลิต
ไฟฟ้าชุมชนขนาดเล็กขึ้นมา เพื่อเป็นแหล่งทาการศึกษาวิจัยระบบผลิต Syngas และคิดค้น
เพื่อให้เป็นธุรกิจพลังงานชุมชนที่มีความยั่งยืน โดยนาเศษไผ่ (ไม้เสียบลูกชิ้น) มาเผาที่
อุณหภูมิ 650 องศาเซลเซียส ด้วยกระบวนการไร้ขี้เถ้า เพื่อให้ได้เป็น pure carbon แล้วนา
pure carbon มาเผาไหม้ที่อุณหภูมิ 1,200 องศาเซลเซียส จะได้เป็น Syngas มาใช้แทนแก๊ส
หุงต้ม ซึ่งประหยัดกว่า LPG ถึง 65% pure carbon 1 กิโลกรัม จะเท่ากับน้ามันเบนซิน 0.3
ลิตร เมื่อคานวณแล้วจะประหยัดกว่าเบนซินถึง 78%
 วิสาหกิจชุมชนผลิตสินค้าจากไม้ไผ่ นาไผ่ที่มีอยู่ในที่ดินกรรมสิทธิ์จานวนวันละ 3 ตัน มา
แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ตะเกียบไม้ไผ่ Health Chopsticks โดยผ่านการฆ่าเชื้อราด้วยตู้อบ
พลังงานแสงอาทิตย์ Green House
 การผลิตเชื้อเพลิงก้อน Briketts เป็นวิสาหกิจต่อเนื่องที่นาเศษขี้เลื่อย ซังไผ่ จากสถานีผลิต
ตะเกียบในตาบลผาปัง และพื้นที่ข้างเคียง จานวน 10 ตันต่อวัน มาผลิตเป็นถ่านอัดแท่ง เพื่อ
ใช้เป็นพลังงานชุมชนที่สะอาด ลดการเผาขยะ ลดปัญหาสิ่งแวดล้อม ทดแทนการใช้ก๊าซหุง
ต้ม ลดรายจ่าย และสร้างรายได้
 การผลิตเยื่อไผ่ชุมชน นาฝอยขัดในจากสถานีผลิตตะเกียบ จานวน 500 กิโลกรัมต่อวัน มา
ผลิตเป็นเยื่อไผ่ โดยผ่านการฆ่าเชื้อราด้วยตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์ Green House ซึ่งการ
ผลิตเยื่อไผ่ชุมชน จะส่งเยื่อไผ่ที่เป็นวัตถุดิบให้แก่โรงงานใช้ในการผลิตภาชนะไบโอ (แก้ว
ชาม ถาดรอง) นอกจากนี้ ยังมีการนาเยื่อไผ่ที่ได้ มาทดลองในการผลิตสิ่งทอ เสื้อผ้า
(โครงการนี้อยู่ระหว่างการวิจัย)
 วิสาหกิจผลิตถ่านอัดแท่ง Charcoal เป็นการบริหารจัดการเศษซังไผ่ที่เหลือจากการทา
ตะเกียบ มาสร้างเป็นมูลค่าเพิ่มด้านเศรษฐกิจ โดยเริ่มต้นจากการอบรมบุคลากรการผลิต
ถ่านอัดแท่งให้ได้มาตรฐานพลังงานความรู้ ไม่มีควัน ไม่มีขี้เถ้า และความชื้นน้อย
14
2. แปรรูปผลผลิตทางการเกษตร
 วิสาหกิจชุมชนแปรรูปผลผลิตเกษตร โดยใช้กล้วยน้าว้าในชุมชนมาผลิตเป็นกล้วยอบด้วย
เทคโนโลยีตู้อบพลังงานอาทิตย์ สะอาด และปลอดภัยสาหรับการบริโภค กลุ่มวิสาหกิจครัว
พลังงานชุมชนได้นาไปเป็นอาหารว่างสาหรับผู้มาศึกษาดูงานและขายเป็นของที่ระลึกด้วย
 วิสาหกิจชุมชนพืชผักปลอดสารพิษ ผักปลอดสารพิษนับว่าเป็นจุดแข็งของชุมชนผาปัง ใน
ชุมชนมีการใช้ปุ๋ ยชีวภาพ เป็นชุมชนที่ปลอดสารเคมีมาตั้งแต่บรรพบุรุษ ส่งผลให้
สิ่งแวดล้อมดี สุขภาพคนในชุมชนดี ลดรายจ่ายการใช้สารเคมี และลดรายจ่ายในครัวเรือน
เนื่องจากคนในชุมชนผาปังส่วนใหญ่ปลูกผักกินเอง
 วิสาหกิจชุมชนสมุนไพรพื้นบ้าน เป็นโครงการที่มีขึ้นเพื่อให้ใช้ตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์ให้
เกิดประสิทธิภาพสูงสุด และสร้างมูลค่าเพิ่มทางพืชผลทางการเกษตรที่ยั่งยืน สมุนไพร
พื้นบ้านที่เหมาะแก่การเพราะปลูกในตาบลผาปัง คือ ดีปลี ใบบัวบก ปลาไหลเผือก แก่น
ตะวัน มะรุม และผักพื้นบ้านต่างๆ โดยการสร้างจิตสานึก อบรม ส่งเสริมให้ประชาชนในผา
ปังและสมาชิกเครือข่ายวิสาหกิจดังกล่าว มีความเข้าใจและรู้สรรคุณทางเวชศาสตร์ของ
ภาพที่ 5-7 การสร้างนวัตกรรมถ่านไผ่
ประสิทธิภาพสูง และโครงการผลิตไฟฟ้าชีวมวล
ที่มาศูนย์ศึกษามหานครและเมือง
ภาพที่ 5
ภาพที่ 7
ภาพที่ 6
15
สมุนไพรที่มี และสามารถนามาขยายพันธุ์ โดยมีการจัดระบบจัดการเพาะพันธุ์สมุนไพร
และบริหารจัดการเชิงพาณิชย์ควบคู่กันไป
มูลนิธิพัฒนาชุมชนผาปัง ยังได้ดาเนินโครงการส่งเสริมการตลาดและเพิ่มช่องทางการจาหน่าย
สินค้าเกษตร โดยเรียนรู้การจัดหาช่องทางการจาหน่ายสินค้า การจัดหาคนกลาง และวางระบบการ
จาหน่าย และจัดตั้งเป็นศูนย์รวมสินค้าเกษตร เพื่อการจัดการอย่างครบวงจร ทั้งด้านการลงทุน การเงิน
การผลิต การจับคู่ทางธุรกิจ และช่องทางการจาหน่ายสินค้า เพื่อให้เกษตรกรผาปังไม่ต้องเสี่ยงว่าจะไม่มี
ตลาดระบายสินค้าหรือถูกกดราคาจากพ่อค้าคนกลาง
3. ด้านการท่องเที่ยว
 วิสาหกิจชุมชนโฮมสเตย์ตาบลผาปัง เป็นการจัดกลุ่มบริการที่พักเพื่อต้อนรับผู้มาศึกษาดู
งาน ซึ่งมีเฉลี่ยแล้วปีละ 5,000 คน พัฒนาสถานที่บ้านของชาวบ้านที่ไม่มีผู้อาศัย และบ้าน
ที่เจ้าของบ้านสมัครเข้ามาเป็นสมาชิกกลุ่มโฮมสเตย์ชุมชน พร้อมกับอบรมการบริหาร
จัดการและต้อนรับผู้มาศึกษาดูงาน
 มีการบริหารจัดการเพื่อการท่องเที่ยวชุมชน โดยออกแบบวางแผนพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยว
ทางศาสนา วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม และศูนย์สมุนไพรพื้นบ้าน โดยจัดเป็นโปรแกรมการ
ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ในลักษณะค่ายอบรม โดยจะจัดตั้งเป็น
วิสาหกิจท่องเที่ยววิถีชุมชนผาปัง ซึ่งขณะนี้อยู่ระหว่างการศึกษาและวิจัย
 วิสาหกิจชุมชนกล่องข้าวพัฒนา เป็นจุดศูนย์กลางเพื่อบริการอาหารเครื่องดื่มแก่ผู้ที่มา
เที่ยวทัศนศึกษา โดยรับซื้อผักปลอดสารพิษ และผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับการบริโภค
อาหารจากวิสาหกิจต่างๆ ในตาบลผาปัง
ภาพที่ 8-9 เตาอบพลังงานแสงอาทิตย์ และกล้วยอบด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ นวัตกรรมของชุมชน
ที่มา ภาพซ้าย ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง ภาพขวา มูลนิธิพัฒนาชุมชนผาปัง
16
ด้านการพัฒนาทางสังคม
ชุมชนผาปังได้ดาเนินกิจกรรมในด้านการพัฒนาสังคมตาบลผาปังให้เกิดความเข้มแข็ง มี
ภูมิคุ้มกัน รักวัฒนธรรมท้องถิ่น และดารงวิถีชีวิตให้สอดคล้องกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1. กิจกรรมด้านการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
 โครงการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมไทย-อเมริกัน และโครงการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมไทย-
ญี่ปุ่น โครงการนี้โรงเรียนผาปังได้ดาเนินมายาวนานกว่า 10 ปี โดยมีมูลนิธิพัฒนา
ชุมชนผาปังเป็นส่วนหนึ่งในการร่วมมือ โดยจะมีกลุ่มนักเรียน high school ชาวอเมริกัน
มาอยู่เพื่อศึกษาเรียนรู้วิถีชีวิตของคนผาปัง และสอนภาษาอังกฤษแก่เด็กนักเรียน
โรงเรียนผาปังวิทยา
 มีการให้ทุนการศึกษาแก่นักเรียนที่เรียนเก่งจนถึงระดับปริญญาตรี เริ่มดาเนินการตั้งแต่
ปี 2556
 มีการจัดอบรมเพื่อสืบสานวัฒนธรรมประเพณีการตีกลองปูจา (ปูจา แปลว่า บูชา) เริ่ม
ดาเนินการมาตั้งแต่ปี 2545 นอกจากนี้ ยังมีการจัดสอนการเล่นดนตรีพื้นบ้าน สะล้อ ซอ
ซึง และทาต่อเรื่อยมาจนกลายเป็นหลักสูตรภาควิชาการเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมของ
โรงเรียนผาปังวิทยา
 โครงการก่อสร้างพระบรมธาตุเจดีย์หลวง 12 นักษัตร
ที่มา ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง
ภาพที่ 10 พระบรมธานตุเจดีย์หลวง 12 นักษัตร
17
2. กิจกรรมด้านสาธารณสุขและผู้สูงอายุ
 มีการให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) ตรวจแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้า
ยุงลายของแต่ละบ้านทุกสัปดาห์ หากพบว่าบ้านไหนมีความเสี่ยงต่อการเป็นแหล่ง
เพาะพันธุ์ยุงลาย จะมีการปักธงแดงไว้หน้าบ้าน เพื่อให้สมาชิกในบ้านกลับไปปรับปรุง
 มีการจัดตรวจสุขภาพผู้สูงอายุทุกเดือน
3. สิ่งแวดล้อม
 การทาธนาคารน้าใต้ดิน เนื่องจากพื้นที่ผาปังเป็นบริเวณที่มีความแห้งแล้ง เพาะปลูก
ทาเกษตรกรรมได้ยาก จึงมีการนาแนวคิดการทาธนาคารน้าใต้ดินมาใช้ โดยผาปังตั้งอยู่
ใกล้กับแม่น้าวัง เพราะฉะนั้นน้าใต้ดินในบริเวณชุมชนผาปังจะถูกแม่น้าวังดูดไปหมด
ที่นี่จึงใช้การขุดบ่อที่มีความลึกประมาณ 5-10 เมตร ซึ่งจะเป็นชั้นหินอุ้มน้า เพื่อให้
อากาศระบายได้ทาให้น้าใต้ดินแทนที่จะถูกดูดลงไปสู่น้าวังหมด ก็จะผุดขึ้นมาในบ่อที่ขุด
แทน นอกจากนี้ยังเป็นการรองรับน้าฝนไว้ใช้ในหน้าแล้งอีกด้วย และการที่จะทาแบบนี้
ได้ ต้องมีแหล่งน้าอยู่ใกล้ๆ เช่น แม่น้า สระ หรือฝาย ซึ่งพื้นที่ผาปังมีแม่น้าวังอยู่ใกล้ๆ
 ชุมชนผาปังมีการร่วมมือกับองค์กรรัฐ เช่น การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ธนาคารเพื่อ
การเกษตรและสหกรณ์ ควบคู่ไปกับการเรียนรู้ด้านการรักษาป่าต้นน้า นอกจากนี้ ยังมี
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับราษฎรอาสาสมัครรักษาป่าในโครงการความร่วมมือของ
ปตท. และกรมป่าไม้ โดยกิจกรรมจะเน้นการเรียนรู้ในการเพาะพันธุ์ไผ่ การปลูกไผ่ การ
ตัดไผ่เพื่อมาใช้ประโยชน์ ซึ่งจะทาให้คนผาปังเข้าใจถึงการเพาะพันธุ์ไผ่ รวมถึงการ
รักษาป่าไผ่ โดยเฉพาะวิธีการตัดไผ่ไปใช้ให้ถูกวิธี ซึ่งหากตัดถูกวิธีพบว่าไผ่ยิ่งตัดยิ่ง
แตกหน่อ ไม่เป็นการทาลายป่าไผ่แต่อย่างใด นอกจากการเรียนรู้วิธีการรักษาป่าไผ่ ยัง
มีการทาฝายชะลอน้า ซึ่งการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคได้ช่วยเหลือโดยการนาเสาไฟฟ้าที่
หมดอายุการใช้งานมาทาเป็นฝายกั้นน้า
 โครงการชุมชนเพาะพันธุ์กล้าไผ่ เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนตาบลผาปังตระหนักถึง
ความสาคัญของไผ่ที่มีอยู่อย่างมากในพื้นที่ สามารถใช้ประโยชน์ได้หลายด้าน และมี
ความชานาญในการเพาะพันธุ์ ขยายพันธุ์ไผ่ และการปลูกป่าไผ่ โดยได้ดาเนินการสร้าง
อาคารเรือนเพาะชา มีการจัดการอบรมชาวบ้านให้มีความชานาญในการเพาะพันธุ์และ
ขยายพันธุ์ไผ่ การเพาะพันธุ์กล้าไผ่เพื่อการพาณิชย์และปลูกป่าไผ่ รวมถึงการดูแลรักษา
ต้นกล้าให้แข็งแรงจนพร้อมปลูกและจาหน่ายได้
18
5. ปลลัพธ์แห่งการพัถนา
ตั้งแต่ปี 2547 ด้วยปัญหาการกาหนดเขตพื้นที่การปกครอง ทาให้ผาปังไม่มี อบต. เป็นของ
ตนเอง เกิดการพัฒนาที่ล่าช้า แต่คนผาปังไม่ยอมแพ้ เปลี่ยนวิกฤตไปสู่โอกาส จัดทาแผนพัฒนาชุมชน
ผาปังพึ่งตนเองอย่างยั่งยืน 20 ปี (พ.ศ.2547-2567) ด้วยใช้หลักว่า ‚สุขภาพดี มีตังค์ ยั่งยืน‛ แก้ปัญหา
สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และพัฒนาสังคมของผาปังให้นาไปสู่เป้าหมายที่วางไว้ วันนี้ผาปังเดินทางมาถึง
ครึ่งทางยุทธศาสตร์ 20 ปีแล้ว ผาปังวันนี้ได้ขึ้นชื่อว่าเป็น ‚ต้นแบบวิสาหกิจพลังงานชุมชน‛ และต้นแบบ
‚การพึ่งตนเอง‛ ด้วยหลักการมีส่วนร่วมของประชาชน ร่วมคิดและร่วมทา เน้นปฏิบัติจริง (Learning by
doing) ผลิตสินค้าจากฐานชีวภาพ คิดค้นนวัตกรรมต่างๆ สร้างตลาดด้วยตนเอง จนขายสินค้าได้เอง
ตลอดการพัฒนาของผาปัง ผลกระทบที่เกิดขึ้นของเมืองผาปัง เรียกได้ว่า สังคมของผาปังมีคุณภาพ
เพิ่มขึ้นในทุกด้าน ตั้งแต่เศรษฐกิจ สังคม สุขภาพ และสิ่งแวดล้อม สามารถจาแนกผลกระทบในทางบวก
ที่เกิดขึ้นในห้วงการพัฒนาได้ ดังนี้
1. เปลี่ยนกระบวนทัศน์ครั้งใหญ่ของคนผาปัง
ผลจากการพัฒนาที่สาคัญของคนผาปัง คือ การเปลี่ยนกระบวนทัศน์ครั้งใหญ่ในทุกด้าน
ของคนผาปัง จากวิกฤตของขอบเขตที่ตั้งทีทาให้การพัฒนาเข้าไม่ถึง คนผาปังใช้วิกฤตร่วมมือสร้าง
การพัฒนาด้วยตัวเอง และวันนี้ความสาเร็จปรากฏอย่างต่อเนื่อง กระบวนทัศน์ใหม่ที่เกิดขึ้นคือคน
ผาปังจะมีแนวคิดไม่รอความช่วยเหลือจากรัฐ พวกเขามีฐานคิดของการพึ่งตนเอง คนผาปังเรียนรู้
และเห็นรูปธรรมของหลักคิด ปัญญาปฏิบัติ (Learning by doing) คือการนาทฤษฎีมาปฏิบัติ และ
เรียนรู้ปรับปรุงจากการปฏิบัตินั้น ทาให้คนผาปังได้เรียนรู้กระบวนการ เทคนิควิธีต่างๆ จนเกิดสิ่งที่
ดีที่สุดสาหรับเมือง ในด้านการบริหารธุรกิจ ไม่ว่าจะสร้างผลิตภัณฑ์ใดๆ ให้กับเมือง คนผาปัง
จะต้องทาครบวงจรห่วงโซ่คือ ผลิต แปรรูป ทาตลาดและจัดจาหน่ายเอง นั่นหมายความว่าการพึ่ง
ตัวเองในทุกกระบวนการนั่นเอง
ความก้าวหน้าของเมืองในวันนี้ ยิ่งตอกย้ากระบวนทัศน์ของคนผาปังให้เชื่อว่า คนท้องถิ่นก็
สามารถก้าวหน้ากว่ารัฐส่วนกลางได้ พวกเขามีความสามารถ มีโครงสร้างการจัดการ มียุทธศาสตร์
ที่ชัดเจน และเมื่อพวกเขารวมกลุ่ม ไม่ยอมแพ้ ทางานร่วมกันก็สามารถสร้างการพัฒนาได้ กระบวน
ทัศน์การพึ่งตัวเองที่เกิดขึ้นกับคนผาปัง จะเป็นปรัชญาความคิดสาคัญที่ทาให้คนผาปังทางาน
พัฒนาเมืองได้ดี
2. คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของคนผาปัง
1) แก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้าสาหรับทาเกษตรกรรม สภาพแวดล้อมของผาปัง
เป็นเมืองติดเขา มีป่าที่อุดมสมบูรณ์ เป็นแหล่งต้นน้า แต่ผาปังเป็นเมืองที่ประสบปัญหาความแห้ง
แล้ง เพราะดินไม่อุ้มน้า และอยู่ในเขตเงาฝน ทาให้ผาปังขาดน้าสาหรับการทาเกษตรอย่างมิอาจ
หลีกเลี่ยงได้ แต่หลังจากคนผาปังลุกขึ้นมาวางแผนและจัดการชุมชน จัดทาฝายกั้นน้าเพื่อชะลอน้า
จานวน 6 ฝาย ทาธนาคารน้าใต้ดิน สามารถแก้ปัญหาพื้นที่ โดยเฉพาะในตาบลผาปังและตาบลแม่
ปุได้ ทาให้ชุมชนมีน้าเพื่อทาการเกษตรกรรมได้อย่างเพียงพอ
19
2) ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ในปี 2550 การพัฒนาตารวจบ้านและตารวจ
ชุมชน ซึ่งเป็นโครงการที่ได้รับความร่วมมือจากชุมชนเป็นอย่างดี ทาให้ชุมชนผาปังเป็นชุมชนที่มี
อัตราการเกิดอาชญากรรม 0 เปอร์เซ็นต์ เรียกได้ว่าไม่มีอาชญากรรมเกิดขึ้นมานานมากแล้ว ด้วย
การอาศัยความไว้เนื้อใจเชื่อใจ ความคุ้นหน้าของคนในชุมชน เมื่อมีคนแปลกหน้าเข้ามาในชุมชน
จึงจับตา มองเป็นพิเศษและแก้ไขได้ทัน ยิ่งทาให้ความไว้ใจซึ่งกันและกันของคนในตาบลผาปัง
สูงขึ้น อีกทั้งรู้สึกถึงความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินมากขึ้น
3) สุขภาวะที่เหมาะสมของคนผาปัง ในด้านสุขภาวะของคนผาปัง คนผาปังมีสุขภาวะดี
ขึ้น โดยเฉพาะสุขภาพทางกายที่ดีขึ้นอย่างเห็นชัด เพราะคนผาปังปรับปรุงวิธีคิดและปรับปรุง
พฤติกรรมการกินอาหารและบริโภคอาหารที่ปลอดภัย มีคุณค่าทางโภชนาการ และเพียงพอต่อ
ความต้องการของร่างกายจากแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษปนเปื้อน คนผาปังมีอายุขัยเฉลี่ย
80 ปีขึ้นไป มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง อัตราการป่วยและตายโดยเฉพาะโรคมะเร็ง โรคหัวใจ โรค
ความดันโลหิตสูง และโรงเบาหวาน การบริโภคแอลกอฮอล์และยาสูบลดลง ผาปังเป็นเมืองที่มี
ผู้สูงอายุเกิน 100 ปี จานวนหลายคน ที่สาคัญตาบลผาปังเป็นตาบลที่ปลอดไข้เลือดออก จาก
ประสิทธิภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขและความร่วมมือของชุมชน จนได้รับรางวัล ชุมชนปลอด
ไข้เลือดออกติดต่อกัน 10 ปี จาก สานักงานสาธารณสุขจังหวัดลาปาง ปัจจุบันย่างเข้าปีที่ 15 แล้วที่
ชุมชนผาปังเป็นชุมชนปลอดไข้เลือดออก
3. เศรษฐกิจชุมชนผาปังที่ดีขึ้น
ผาปังกาหนดเป้าหมายของชุมชนอย่างชัดเจน คือ สุขภาพดี มีตังค์ ยั่งยืน ผาปังให้
ความสาคัญในเรื่องเศรษฐกิจไม่แพ้เป้าหมายในด้านอื่นๆ เพราะการพัฒนาอย่างยั่งยืนและ
พึ่งตนเองได้นั้น คนผาปังต้องมีรายได้ที่เพียงพอและเหมาะสมในการชีวิต รายได้จึงเป็นพื้นฐาน
สาคัญในการใช้ชีวิต จากการดาเนินการวิสาหกิจจานวนกว่า 19 วิสาหกิจ ผลที่เกิดขึ้นในด้าน
เศรษฐกิจ คือ เศรษฐกิจในชุมชนหมุนเวียนดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัด ผลด้านเศรษฐกิจของผาปัง
สามารถแบ่งได้ 2 ด้านคือ
1) คนผาปังมีรายได้เพิ่มขึ้น คนผาปังมีรายได้หลักจานวนหนึ่ง แต่การรวมกลุ่มวิสาหกิจ ทา
ให้คนผาปังมีรายได้เสริมเข้ามาไม่ขาดสาย หลายวิสาหกิจสามารตั้งตัว และมีตลาดเป็นของ
ตนเอง มีรายได้สม่าเสมอ เช่น วิสาหกิจผลิตถ่านอัดแท่ง ที่พัฒนาจนครบกระบวนการ
สามารถจาหน่ายถ่านให้กับบริษัทใหญ่ ตั้งแต่ถ่านคุณภาพต่า กิโลกรัมละ 15 บาท ไปจนถึง
ถ่านคุณภาพสูงกิโลกรัมละ 5000 บาท วิสาหกิจผลิตสินค้าจากไม้ไผ่ ส่งวัตถุดิบเยื่อไผ่ให้
โรงงานผลิตตะเกียบ ภาชนะ เพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจได้ 100 เปอร์เซ็นต์ เมื่อหักค่าใช้จ่าย
แล้วมีรายได้กว่า 60,000 บาท/เดือน วิสาหกิจโฮมสเตย์ รองรับผู้มาศึกษาดูงานผาปัง ใน
แต่ละปีมีคนมาดูงานไม่น้อยกว่า 4000 คนต่อปี แต่ละคนมีการใช้จ่ายไม่น้อยกว่า 1000
บาท สร้างรายได้ไม่น้อยกว่า 4 ล้านบาทต่อปี ปัจจุบันมีการปรับปรุง ขยายห้องพัก มีห้อง
ประชุม สามารถรองรับคนศึกษาดูงานครั้งละไม่น้อยกว่า 150 คนได้ วิสาหกิจชุมชนแปร
รูปผลผลิตเกษตรกร โดยเฉพาะกล้วยตาก เป็นอีกวิสาหกิจที่มีรายได้ดี ด้วยการอบจาก
เมืองผาปัง ต้นแบบเมืองสุขภาพดี มีตังค์ ยั่งยืน
เมืองผาปัง ต้นแบบเมืองสุขภาพดี มีตังค์ ยั่งยืน
เมืองผาปัง ต้นแบบเมืองสุขภาพดี มีตังค์ ยั่งยืน
เมืองผาปัง ต้นแบบเมืองสุขภาพดี มีตังค์ ยั่งยืน
เมืองผาปัง ต้นแบบเมืองสุขภาพดี มีตังค์ ยั่งยืน
เมืองผาปัง ต้นแบบเมืองสุขภาพดี มีตังค์ ยั่งยืน
เมืองผาปัง ต้นแบบเมืองสุขภาพดี มีตังค์ ยั่งยืน
เมืองผาปัง ต้นแบบเมืองสุขภาพดี มีตังค์ ยั่งยืน

More Related Content

What's hot

โครางงานสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครางงานสมุนไพรเพื่อสุขภาพโครางงานสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครางงานสมุนไพรเพื่อสุขภาพCheeses 'Zee
 
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลา
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลาทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลา
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลา
FURD_RSU
 
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
WC Triumph
 
หลวงปู่โตพรหมรังสี
หลวงปู่โตพรหมรังสีหลวงปู่โตพรหมรังสี
หลวงปู่โตพรหมรังสีRose Banioki
 
สายลมแห่งอาสา
สายลมแห่งอาสาสายลมแห่งอาสา
สายลมแห่งอาสา
mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
Work1 pjcom
Work1 pjcomWork1 pjcom
Work1 pjcom
Krookhuean Moonwan
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านChok Ke
 
eTAT journal 1/2555
eTAT journal 1/2555eTAT journal 1/2555
eTAT journal 1/2555
Zabitan
 
การระดมสมอง เรื่อง นคราภิวัตน์กับการปฏฺิรูปประเทศ
การระดมสมอง เรื่อง นคราภิวัตน์กับการปฏฺิรูปประเทศการระดมสมอง เรื่อง นคราภิวัตน์กับการปฏฺิรูปประเทศ
การระดมสมอง เรื่อง นคราภิวัตน์กับการปฏฺิรูปประเทศ
FURD_RSU
 
ศิษย์เก่า Ok[1]
ศิษย์เก่า Ok[1]ศิษย์เก่า Ok[1]
ศิษย์เก่า Ok[1]tualumnioff
 
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคตUrbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
FURD_RSU
 
เมืองระนอง : การพัฒนาเศรษฐกิจบนฐานทรัพยากร
เมืองระนอง : การพัฒนาเศรษฐกิจบนฐานทรัพยากรเมืองระนอง : การพัฒนาเศรษฐกิจบนฐานทรัพยากร
เมืองระนอง : การพัฒนาเศรษฐกิจบนฐานทรัพยากร
FURD_RSU
 
มูลนิธิอานันทมหิดล
มูลนิธิอานันทมหิดลมูลนิธิอานันทมหิดล
มูลนิธิอานันทมหิดลmomocrd
 
Newsletter pidthong vol.5
Newsletter pidthong vol.5Newsletter pidthong vol.5
Newsletter pidthong vol.5tongsuchart
 
โครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏีโครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏีNuchy Geez
 
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพPresent โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพศิริวรรณ นามสวัสดิ์
 
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เมืองระยอง
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เมืองระยองประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เมืองระยอง
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เมืองระยองJariya Bankhuntod
 

What's hot (18)

โครางงานสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครางงานสมุนไพรเพื่อสุขภาพโครางงานสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครางงานสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
 
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลา
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลาทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลา
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลา
 
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
 
หลวงปู่โตพรหมรังสี
หลวงปู่โตพรหมรังสีหลวงปู่โตพรหมรังสี
หลวงปู่โตพรหมรังสี
 
สายลมแห่งอาสา
สายลมแห่งอาสาสายลมแห่งอาสา
สายลมแห่งอาสา
 
Com (1)
Com (1)Com (1)
Com (1)
 
Work1 pjcom
Work1 pjcomWork1 pjcom
Work1 pjcom
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
 
eTAT journal 1/2555
eTAT journal 1/2555eTAT journal 1/2555
eTAT journal 1/2555
 
การระดมสมอง เรื่อง นคราภิวัตน์กับการปฏฺิรูปประเทศ
การระดมสมอง เรื่อง นคราภิวัตน์กับการปฏฺิรูปประเทศการระดมสมอง เรื่อง นคราภิวัตน์กับการปฏฺิรูปประเทศ
การระดมสมอง เรื่อง นคราภิวัตน์กับการปฏฺิรูปประเทศ
 
ศิษย์เก่า Ok[1]
ศิษย์เก่า Ok[1]ศิษย์เก่า Ok[1]
ศิษย์เก่า Ok[1]
 
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคตUrbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
 
เมืองระนอง : การพัฒนาเศรษฐกิจบนฐานทรัพยากร
เมืองระนอง : การพัฒนาเศรษฐกิจบนฐานทรัพยากรเมืองระนอง : การพัฒนาเศรษฐกิจบนฐานทรัพยากร
เมืองระนอง : การพัฒนาเศรษฐกิจบนฐานทรัพยากร
 
มูลนิธิอานันทมหิดล
มูลนิธิอานันทมหิดลมูลนิธิอานันทมหิดล
มูลนิธิอานันทมหิดล
 
Newsletter pidthong vol.5
Newsletter pidthong vol.5Newsletter pidthong vol.5
Newsletter pidthong vol.5
 
โครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏีโครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏี
 
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพPresent โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
 
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เมืองระยอง
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เมืองระยองประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เมืองระยอง
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เมืองระยอง
 

Similar to เมืองผาปัง ต้นแบบเมืองสุขภาพดี มีตังค์ ยั่งยืน

วารสาร มี.ค. เม.ย.2559
วารสาร มี.ค. เม.ย.2559วารสาร มี.ค. เม.ย.2559
วารสาร มี.ค. เม.ย.2559
Yui Yuyee
 
วารสาร ม.ค. ก.พ.2559
วารสาร ม.ค. ก.พ.2559วารสาร ม.ค. ก.พ.2559
วารสาร ม.ค. ก.พ.2559
Yui Yuyee
 
“ฟาฏอนี” มหาวิทยาลัยแห่งยุคบูรพาภิวัตน์
“ฟาฏอนี” มหาวิทยาลัยแห่งยุคบูรพาภิวัตน์“ฟาฏอนี” มหาวิทยาลัยแห่งยุคบูรพาภิวัตน์
“ฟาฏอนี” มหาวิทยาลัยแห่งยุคบูรพาภิวัตน์
Klangpanya
 
สภาคนแป้ : เครือข่ายลูกหลานเมืองแพร่
สภาคนแป้ : เครือข่ายลูกหลานเมืองแพร่สภาคนแป้ : เครือข่ายลูกหลานเมืองแพร่
สภาคนแป้ : เครือข่ายลูกหลานเมืองแพร่
FURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.9 (FEBRUARY 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.9 (FEBRUARY 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.9 (FEBRUARY 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.9 (FEBRUARY 2018)
FURD_RSU
 
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
dnavaroj
 
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdfธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รวมวารสารปีที่356
รวมวารสารปีที่356รวมวารสารปีที่356
รวมวารสารปีที่356Suwannee Pun
 
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหารมุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหารMr-Dusit Kreachai
 
หนังสือ 60 ปี ดร.นิรันดร์ กุลฑานันท์
หนังสือ 60 ปี ดร.นิรันดร์ กุลฑานันท์หนังสือ 60 ปี ดร.นิรันดร์ กุลฑานันท์
หนังสือ 60 ปี ดร.นิรันดร์ กุลฑานันท์
Niran Kultanan
 
ครูประถมนนท์ 2 ฉบับที่ 5
ครูประถมนนท์ 2 ฉบับที่ 5ครูประถมนนท์ 2 ฉบับที่ 5
ครูประถมนนท์ 2 ฉบับที่ 5Sitthipong Boonmueang
 
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคมเมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม
FURD_RSU
 
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
Tum Meng
 
โครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตโครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตjeabjeabloei
 
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานีโครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานีMr-Dusit Kreachai
 

Similar to เมืองผาปัง ต้นแบบเมืองสุขภาพดี มีตังค์ ยั่งยืน (20)

วารสาร มี.ค. เม.ย.2559
วารสาร มี.ค. เม.ย.2559วารสาร มี.ค. เม.ย.2559
วารสาร มี.ค. เม.ย.2559
 
วารสาร ม.ค. ก.พ.2559
วารสาร ม.ค. ก.พ.2559วารสาร ม.ค. ก.พ.2559
วารสาร ม.ค. ก.พ.2559
 
“ฟาฏอนี” มหาวิทยาลัยแห่งยุคบูรพาภิวัตน์
“ฟาฏอนี” มหาวิทยาลัยแห่งยุคบูรพาภิวัตน์“ฟาฏอนี” มหาวิทยาลัยแห่งยุคบูรพาภิวัตน์
“ฟาฏอนี” มหาวิทยาลัยแห่งยุคบูรพาภิวัตน์
 
History
HistoryHistory
History
 
สภาคนแป้ : เครือข่ายลูกหลานเมืองแพร่
สภาคนแป้ : เครือข่ายลูกหลานเมืองแพร่สภาคนแป้ : เครือข่ายลูกหลานเมืองแพร่
สภาคนแป้ : เครือข่ายลูกหลานเมืองแพร่
 
FURD CITIES MONITOR VOL.9 (FEBRUARY 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.9 (FEBRUARY 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.9 (FEBRUARY 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.9 (FEBRUARY 2018)
 
Warasanonline255
Warasanonline255Warasanonline255
Warasanonline255
 
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
 
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdfธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
 
รวมวารสารปีที่356
รวมวารสารปีที่356รวมวารสารปีที่356
รวมวารสารปีที่356
 
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหารมุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
 
หนังสือ 60 ปี ดร.นิรันดร์ กุลฑานันท์
หนังสือ 60 ปี ดร.นิรันดร์ กุลฑานันท์หนังสือ 60 ปี ดร.นิรันดร์ กุลฑานันท์
หนังสือ 60 ปี ดร.นิรันดร์ กุลฑานันท์
 
ครูประถมนนท์ 2 ฉบับที่ 5
ครูประถมนนท์ 2 ฉบับที่ 5ครูประถมนนท์ 2 ฉบับที่ 5
ครูประถมนนท์ 2 ฉบับที่ 5
 
V 289
V 289V 289
V 289
 
ร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวนร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวน
 
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคมเมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม
 
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
 
โครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตโครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคต
 
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานีโครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
 
V 293
V 293V 293
V 293
 

More from FURD_RSU

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
FURD_RSU
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD_RSU
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
FURD_RSU
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
FURD_RSU
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
FURD_RSU
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD_RSU
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
FURD_RSU
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
FURD_RSU
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
FURD_RSU
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
FURD_RSU
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
FURD_RSU
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
FURD_RSU
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
FURD_RSU
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
FURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD_RSU
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
FURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD_RSU
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
FURD_RSU
 

More from FURD_RSU (20)

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
 

เมืองผาปัง ต้นแบบเมืองสุขภาพดี มีตังค์ ยั่งยืน

  • 1.
  • 2. เมืองผาปัง ต้นแบบเมือง “สุขภาพดี มีตังค์ ยั่งยืน” ยุวดี คาดการณ์ไกล และคณะ ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 3. ผู้เขียน : ยุวดี คาดการณ์ไกล และคณะ บรรณาธิการบริหาร : ยุวดี คาดการณ์ไกล บรรณาธิการฝ่ายวิชาการ : ยุวดี คาดการณ์ไกล กองบรรณาธิการ ณัฐธิดา เย็นบารุง อรุณ สถิตพงศ์สถาพร จุฑามาศ พูลสวัสดิ์ ปก : ณัฐธิดา เย็นบารุง รูปเล่ม : ณัฐธิดา เย็นบารุง ปีที่เผยแพร่ : พฤษภาคม พ.ศ. 2561 ผู้เผยแพร่ : ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับมูลนิธิส่งเสริมปัญญาสาธารณะ (CPWI) ผู้สนับสนุน : สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
  • 4. สารบัญ 1. ผาปัง ประวัติศาสตร์และความสาคัญเมือง...................................................................2 2. จุดเริ่มต้นของการพัฒนา ............................................................................................4 3. บริหารจัดการชุมชนโดยคนผาปัง................................................................................7 4. ผลงานที่ริเริ่มโดยคนผาปัง........................................................................................12 5. ผลลัพธ์แห่งการพัฒนา .............................................................................................18 6. หลักคิดขับเคลื่อนเมืองสู่ความสาเร็จ.........................................................................24 7. ความท้าทายในการพัฒนาและการคลี่คลายปัญหา ....................................................26 8. ปัจจุบันของผาปัง: ท้องถิ่นที่นาการพัฒนาประเทศ....................................................27
  • 5. 1
  • 6. 2 เมืองปาปัง ต้นแบบเมือง “สุขภาพดี มีตังค์ ยั่งยืน” 1. ปาปัง ประวัติศาสตร์และความสาคัญเมือง จากการค้นคว้าประกอบกับประวัติตาบลผาปังเดิมของอาจารย์ไพบูลย์ คันธชมภู อดีตครูใหญ่ โรงเรียนบ้านผาปัง ที่ได้เล่าไว้ใน “แว่นส่องผาปัง” หนังสืออนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพหลวงพ่อ พระครูวิจิตรพัฒนคุณ อดีตเจ้าอาวาสวัดผาปังหลวง ได้เล่าไว้ว่า ผาปังเป็นตาบลเล็กๆ ของอาเภอแม่ พริก จังหวัดลาปาง ที่ซ่อนอยู่ในหุบเขาอย่างโดดเดี่ยวและเป็นทางตัน ไม่อาจเดินทางด้วยรถยนต์ผ่าน ไปยังอาเภอลี้ จังหวัดลาพูนได้ทั้งที่อยู่เพียงคนละฟากของภูเขาซึ่งมีชื่อเรียกว่า ‚ดอยอานม้า‛ และ ‚ดอย หลวง‛ เขาทั้งสองลูกนี้เป็นสัญลักษณ์ของผาปัง และเส้นกั้นทางธรรมชาติระหว่างลี้และผาปัง เชื่อกันว่า ชื่อ “ผาปัง” สืบเนื่องมาจากขุนเขาที่เป็นภูเขาหิน เมื่อมีแรงสั่นสะเทือนจากเหตุแผ่นดินไหวหรือฝนตกชะ พื้นดินมากๆ จึงทาให้หินกร่อนและเมื่อถูกกัดเซาะนานวันเข้าจึงได้พังทลายลงมา (ปัง เป็นคาเมือง หมายถึง พัง) จากการเล่าต่อๆ กันมาของบรรพบุรุษ รากเหง้าของคนผาปังมาจากคนบ้านท่าหลวง อาเภอเถิน ส่วนแหล่งที่มาของคนบ้านท่าหลวงนั้น กล่าวกันว่ามาจากเชียงใหม่ ตอนปลายสมัยอยุธยาหรือต้นสมัย ธนบุรี ซึ่งเป็นช่วงที่สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงขับไล่พม่าออกจากอาณาจักรล้านนาแล้วกวาด ต้อนผู้คนจากเชียงแสน สิบสองปันนา (ไทลื้อ) มาไว้แถบลาปาง เชียงใหม่ เถิน ฯลฯ เป็นต้น คนรุ่นแรก ที่เข้ามาตั้งรกรากอยู่ ณ ตาบลผาปังที่มาจากบ้านท่าหลวงชื่อ เจ้ากุ เจ้าสาด และส่วนหนึ่งมาตั้งรกราก อยู่ที่วัดห้วยไร่ (มีประวัติอยู่ที่วัด)1 อีกข้อสันนิษฐานหนึ่ง ว่ากันว่าคนผาปังมาจากอาเภอลี้ จังหวัดลาพูน เดินทางเท้าและทาง เกวียนข้ามดอยหลวงและดอยอานม้า ซึ่งเป็นเส้นกั้นระหว่างอาเภอลี้กับอาเภอแม่พริกโดยอ้างเหตุผล จากสาเนียงพูดเหน่อของคนในหุบเขาบริเวณนี้ คนบริเวณนี้เรียกตนเองว่า ‚คนเหนือเสียงเหน่อ‛ จาก สาเนียงพูดอันเป็นเอกลักษณ์ที่ต่างจากสาเนียงภาคเหนืออื่นๆ ไม่ว่า เชียงใหม่ ลาปาง แพร่ หรือน่าน อีกเหตุผลหนึ่งคือวัฒนธรรมประเพณีบางประการของลี้และผาปังมีความเชื่อมโยงกัน เช่น ที่อาเภอลี้ มี การทอผ้าลายที่เรียกว่า “ผ้าห่มต๋าโก้ง” และชาวผาปังก็สืบทอดการทอผ้าลายนี้มาจนทุกวันนี้2 1 มูลนิธิพัฒนาชุมชนผาปัง. ออนไลน์ https://sites.google.com/site/mulnithichumchnphapang/home/prawati-pha- pang 2 ถอดความและเรียบเรียงจากคาบอกเล่าของ ครูจุติญา ศรีเจริญกุล กรรมการบริหารโรงเรียนวัตกรรมสุขภาพผู้สูงอายุ ตาบลผาปัง และครูเกษียณโรงเรียนบ้านผาปัง เมื่อวันที่ 12 สิงหาคม 2560.
  • 7. 3 ผาปัง จุดหนึ่งในเส้นทางลัดโบราณพม่า-เชียงใหม่ และจุดประทับพักของสมเด็จพระนเรศวรฯ มีการสันนิษฐานจากคาบอกเล่าของชาวบ้านว่าพื้นที่บริเวณตาบลผาปังในอดีตเคยเป็นเส้นทาง ลัดโบราณสาหรับการเดินเท้า เดินทัพ และเดินทางค้าขายจากฝั่งพม่าผ่านเข้ามายังเขตแม่สอด แม่ระมาด สามเงา จังหวัดตากผ่านเขตตาบลผาปัง อาเภอแม่พริก จังหวัดลาปาง และต่อไปยังอาเภอลี้ จังหวัดลาพูน ไปยังเชียงใหม่ได้ ใกล้ตาบลผาปังมีพื้นที่ที่เรียกกันว่า ‚ป๋างป้อก๊า‛ หรือที่พักของพ่อค้าที่ จะเดินทางไปค้าขาย และมีดอยชื่อ ‚ดอยป่องล้อ‛ อยู่บริเวณดอยหลวง ซึ่งมีทางล้อเกวียนข้ามไปยัง อาเภอลี้ได้ ชื่อสถานที่เหล่านี้สนับสนุนข้อสันนิษฐานที่ว่าผาปังอยู่ในเส้นทางลัดโบราณจากพม่าไปยัง เชียงใหม่ ภาพที่ 1 แสดงเส้นทางโบราณจากชายแดนพม่าไปยังเชียงใหม่ผ่านแม่สอด แม่ระมาด สามเงา ผาปัง ลี้ ที่มา Google Maps ชาวบ้านเล่ากันว่า สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเองก็เคยใช้เส้นทางนี้เดินทัพทางบกจากอยุธยา ขึ้นเหนือไปตีเมืองอังวะ โดยเสด็จมาประทับพักทัพของพระองค์ที่ผาปังก่อนที่จะเดินทัพขึ้นไปทาง ตะวันตกเฉียงเหนือ ต่อไปยังลาพูน เชียงใหม่ และเวียงแหง (ปัจจุบันคือ อาเภอเวียงแหง ชายแดน จังหวัดเชียงใหม่กับพม่า) เพื่อจะไปตีเมืองอังวะ อย่างไรก็ตาม พระองค์ทรงติดเชื้อและเสด็จสวรรคต ณ เวียงแหง นั้นเองเมื่อ พ.ศ. 2148 ภาพที่ 2 พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนเรศวร มหาราช บริเวณพระบรมธาตุ 12 ราศี วัดผาปังกลาง ที่มา ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง
  • 8. 4 2. จุดเริ่มต้นของการพัถนา เดิมที เนื่องด้วยภูมิประเทศของตาบลมีลักษณะเป็นหุบเขา พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่าสงวนแห่งชาติ มีพื้นที่ทากินน้อย ทั้งยังแล้งน้าเพราะผิวดินเป็นดินทรายที่ไม่อุ้มน้า การทานาในพื้นที่ซึ่งเป็นอาชีพหลัก ของชาวชุมชนจึงทาได้เพียงปีละ 1 ครั้ง อย่างน้อยตั้งแต่ พ.ศ. 2449 คนผาปังจึงเริ่มทยอยกันอพยพออก หรือส่งบุตรหลานไปทางานและเรียนหนังสือในพื้นที่อื่นทั้งจังหวัดใกล้เคียงและประเทศพม่า ด้วยสาเหตุดังกล่าว ทุกวันนี้ผาปังจึงเป็นชุมชนขนาดเล็กที่มีประชากร 1,568 คน อาศัยอยู่ใน พื้นที่จริงเพียง 1,090 คน ผลจากการที่คนผาปังวัยหนุ่มสาวอพยพไปทางานที่อื่น ทาให้ชุมชนกลายเป็น สังคมผู้สูงอายุที่มีคนเฒ่าคนแก่อยู่มากถึง 580 คน หรือคิดเป็นประมาณ 37 เปอร์เซ็นต์ (กรมการ ปกครอง กระทรวงมหาดไทย, 2559) จนปัจจุบันผาปังเป็นตาบลที่มีสัดส่วนผู้สูงอายุมากที่สุดในจังหวัด ลาปาง ทว่าในวิกฤตก็ยังมีโอกาสให้เห็น ความขาดแคลนทรัพยากรธรรมชาติเพื่อการทากินนี้ได้ กลายเป็นแรงผลักดันให้คนผาปังจานวนไม่น้อยละทิ้งอาชีพเกษตรกรรมและมุ่งหน้าเรียนหนังสือเพื่อสั่ง สมความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพ สิ่งเหล่านี้ส่งผลให้ผาปังกลายเป็นชุมชนที่มีปัญญาชนซึ่งเชี่ยวชาญ ในหลากหลายศาสตร์อยู่จานวนมาก และคนกลุ่มนี้เองที่กลายมาเป็นต้นทุนสาคัญที่จุดชนวนการ เปลี่ยนแปลงให้เกิดขึ้นในผาปัง วิกฤติและโอกาสของผาปัง ย้อนกลับไปในปี พ.ศ. 2537 ที่เริ่มมีการจัดตั้งองค์การบริหารส่วนตาบลในพื้นที่ ทางการได้ยุบ รวมสภาตาบลผาปังเข้ากับองค์การบริหารส่วนตาบลแม่พริกซึ่งอยู่ห่างออกไปถึง 25 กิโลเมตร เนื่องจาก ตาบลผาปังนั้นมีประชากรน้อยกว่า 2,000 คน ทาให้ตามกฎหมายแล้วไม่สามารถจัดตั้งองค์การบริหาร ส่วนตาบลเป็นของตนเองได้ งบประมาณต่างๆ ที่มาจากส่วนกลางก็มักจะถูกกันให้ตาบลแม่พริก มากกว่าด้วยเหตุผลด้านประชากร ฉะนั้น ผาปังจึงเสียโอกาสการพัฒนาเนื่องจากงบประมาณภาครัฐที่ไม่ เพียงพอ กอปรกับสภาพภูมิศาสตร์ที่ไม่เอื้อต่อการเกษตร ได้ทาให้เกิดปัญหาประชากรวัยแรงงานย้าย ถิ่นฐานออกนอกพื้นที่ แต่จุดแข็งของผาปังคือธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์จากการตั้งอยู่ติดกับป่าไม้และ ภูเขา จนสมาชิกชุมชนขนานนามว่าป่านั้นเปรียบได้กับ ‚Super Market‛ โดยเฉพาะป่าไผ่ซึ่งถือเป็น จุดเด่นของผาปังที่ครอบคลุมพื้นที่กว่า 3,500 ไร่ อีกทั้งยังมีวัฒนธรรมชุมชนที่เข้มแข็ง มีการเน้นย้าเรื่อง คุณธรรม ศีลธรรม สมาชิกชุมชนมีการศึกษาที่ดีเนื่องจากไม่สามารถทาการเกษตรได้มากนัก ทาให้ ผู้ปกครองนิยมส่งเสริมให้บุตรหลานเรียนสูง ๆ แม้ในวัยทางานจะออกไปทางานนอกชุมชน แต่เมื่อถึงวัย เกษียณแล้วมักจะกลับมาอยู่ในชุมชน ซึ่งเป็นทุนทางสังคมที่สามารถแปรเป็นพลังเพื่อพัฒนาชุมชนได้ ก่อตั้งคณะกรรมการพัฒนาชุมชนตาบลผาปัง : ร่างธรรมนูญผาปัง เนื่องด้วยปัญหาดังที่กล่าวไปแล้วทาให้ผาปังพัฒนาได้ไม่มาก อีกทั้งการพึ่งพาเฉพาะโครงสร้าง การปกครองท้องถิ่นจากส่วนกลางไม่ตอบโจทย์การพัฒนาพื้นที่ สิ่งเหล่านี้กลายมาเป็นแรงกระตุ้นให้ชาว ผาปังริเริ่มแผนพัฒนาตนเองขึ้นใน พ.ศ. 2547 ซึ่งเป็นแผนระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2547 – พ.ศ. 2567) โดย อาศัยการมีส่วนร่วมของสมาชิกชุมชนเองด้วยตระหนักดีว่าหากปล่อยให้วิกฤติยังคงมีอยู่ต่อไปในอนาคต
  • 9. 5 แล้วชุมชนจะยิ่งอ่อนแอลงไปอีกเพราะสมาชิกในชุมชนจะย้ายออกไปยังพื้นที่อื่นอีกหากยังไม่มีโอกาส ด้านอาชีพรองรับ คนผาปังได้ร่วมกันคัดเลือกและแต่งตั้ง ‚คณะกรรมการพัฒนาชุมชนตาบลผาปัง‛ ขึ้นมาเป็นกลไกในการบริหารจัดการ ใช้แนวคิดการแปรทุน 3 ด้านเป็นโอกาส ได้แก่ 1. ทุนจาก ทรัพยากรธรรมชาติที่มี 2. ทุนจากวัฒนธรรมของชุมชน 3. ทุนจากการร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกทั้ง ภายรัฐและเอกชน (ภาพที่ 4) โดยแผนนี้ครอบคลุมทั้งการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และสุข ภาวะ แก่นของการพัฒนามองว่าความยั่งยืนอยู่ที่การพัฒนาสมาชิกชุมชนให้มีความรู้และทักษะที่ จาเป็น สิ่งที่สาคัญอีกหนึ่งสิ่งที่เป็น “หลัก” ในการพัฒนา คือ คนผาปังได้ร่วมกันร่าง ‚ธรรมนูญผาปัง‛ ขึ้น เพื่อเป็นจารีตคอยกากับสมาชิกชุมชน เช่น การตั้งกองทุนเพื่อช่วยเหลือสมาชิกชุมชน ควบคุมการ ใช้ทรัพยากรในป่า การลดปริมาณการใช้สารเคมีในเกษตรกรรม การเฝ้าระวังโรคติดต่อ หากผู้ใดละเมิด ธรรมนูญนี้ แม้จะไม่มีบทลงโทษตามกฎหมาย แต่จะมีมาตรการทางสังคมมาลงโทษแทน เช่น การไม่ ช่วยในงานบุญต่าง ๆ การไม่คบค้าสมาคม การประจานให้ได้รับความอับอาย การให้บาเพ็ญประโยชน์ การเก็บค่าปรับ เป็นต้น ในช่วง 3 ปีแรกของการดาเนินการ (พ.ศ. 2547 – 2550) สิ่งที่สาคัญที่สุดมิใช่การลงมือสร้าง วิสาหกิจต่างๆ หากเป็นการสร้างความพร้อมของสมาชิกชุมชนเองด้วยการยกระดับการศึกษา ฟื้นฟู ศิลปวัฒนธรรม สร้างความรักความสามัคคีระหว่างกัน โดยเฉพาะการปลูกฝังเยาวชนให้มีความรักใน ชุมชน รักที่จะพัฒนาชุมชน มีการตั้งสภาเยาวชนเพื่อเป็นเวทีในการรวมตัวของเยาวชน เพราะใน อนาคตเมื่อเยาวชนเหล่านี้เติบโตขึ้นก็จะกลายเป็นผู้นาในการพัฒนาชุมชน แทนที่จะย้ายออกไปยังพื้นที่ อื่น ซึ่งเหล่านี้เป็นการเรียนรู้โดยชุมชมที่แม้อยู่นอกระบบการศึกษาหลักแต่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา ชุมชนอย่างมา หมวดในธรรมนูญผาปัง หมวดที่1 บททั่วไป หมวดที่ 2 เป็นคนดี หมวดที่ 3 มีปัญญา หมวดที่ 4 รายได้สมดุล หมวดที่ 5 สุขภาพแข็งแรง หมวดที่ 6 สิ่งแวดล้อมสมบูรณ์ หมวดที่ 7 สังคมอบอุ่น หมวดที่ 8 หลุดพ้นอาชญากรรม หมวดที่ 9 กองทุนพึ่งตนเอง หมวดที่ 10 การสร้างความเข้มแข็งคณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.)
  • 10. 6 การเข้าใจพื้นฐานชุมชน ค้นหา “ทุน” ในการพัฒนา ในการพัฒนาชุมชน การทาความเข้าใจกับสภาพที่เป็นจริงของชุมชนเป็นสิ่งสาคัญ โดยต้อง เข้าใจว่าชุมชนมี จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค อะไรบ้าง เพื่อให้องค์ความรู้ที่มีอยู่นั้นสามารถ ประยุกต์ให้เกิดประโยชน์ได้จริง และต้องประเมินจากหลายแง่มุมเพื่อให้เข้าใจชุมชนอย่างรอบด้าน ปัจจุบันหลายชุมชนนั้นมีความคิดริเริ่มที่จะพัฒนาชุมชนของตน สร้างวิสาหกิจเพื่อสร้างงานในพื้นที่ แต่ สาเหตุที่มักจะทาให้ไม่ประสบความสาเร็จเท่าที่ควรคือการไม่รู้จักชุมชนของตนดีพอ แล้วยึดตัวอย่างการ พัฒนาจากชุมชนอื่นๆ มาโดยขาดการประยุกต์ เช่น เมื่อมีชุมชนหนึ่งประสบความสาเร็จในการสร้าง วิสาหกิจอย่างหนึ่ง จึงมีชุมชนอื่นๆ ทาวิสาหกิจเดียวกันตามบ้าง ทาให้ในที่สุดสินค้าชนิดนั้นไม่มีความ โดดเด่นเพราะมีสินค้าลักษณะเดียวกันมากเกินไป แต่ที่ผาปังเริ่มจากการประเมินชุมชนก่อน เช่น การ ประเมินทาให้ทราบว่ามี ‚ไผ่‛ เป็นทรัพยากรหลัก เป็นจุดเด่นด้านชีวภาพ ประกอบการใช้เทคโนโลยี ใหม่ๆ ในการผลิตสินค้า และการมีความรักความผูกพันกันระหว่างคนในชุมชน ทั้งหมดจึงหล่อหลอมให้ การพัฒนาประสบความสาเร็จ ยากที่จะมีผู้ทาเหมือนกันได้ แผนและยุทธศาสตร์เพื่อพัฒนาชุมชน สาหรับแผนเพื่อพัฒนาผาปัง มีทั้งสิ้น 4 แผน ได้แก่ แผนพัฒนาเศรษฐกิจ แผนพัฒนาสังคม แผนพัฒนาสิ่งแวดล้อม และแผนพัฒนาสุขภาพ เพื่อให้สมาชิกชุมชนผาปังมีการพัฒนาอย่างรอบด้าน โดยจะดาเนินแผนตาม 6 ยุทธศาสตร์ดังนี้ 1. ส่งเสริมให้สมาชิกชุมชนมีความรู้ คุณธรรม จริยธรรม และยึดมั่นในหลักเศรษฐกิจ พอเพียง 2. ฟื้นฟูและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติให้มีความอุดมสมบูรณ์ ลด ละ เลิกการสร้างมลพิษ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับธรรมชาติได้อย่างยั่งยืน 3. พัฒนาและยกระดับขีดความสามารถในการดาเนินงานของชุมชนด้วยความคิด สร้างสรรค์ การลงมือปฏิบัติจริง และการมีส่วนร่วมกับหน่วยงานทั้งที่เป็นรัฐและมิใช่รัฐ 4. ส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยววิถีท้องถิ่นเพื่อสร้างรายได้แก่ชุมชน โดยต้องไม่ทาลาย วิถีชุมชนและทรัพยากรธรรมชาติอันมีค่า 5. ยกระดับวิสาหกิจชุมชนที่เน้นสร้างประโยชน์ให้ชุมชนมากกว่าการแสวงหากาไรให้ แข่งขันในเชิงธุรกิจได้ ด้วยการแสวงหาความร่วมมือจากผู้สนับสนุนและคู่ค้าทั้งที่เป็นรัฐ และมิใช่หน่วย 6. เตรียมความพร้อมให้ชุมชนสามารถรับมือกับบริบทโลกาภิวัตน์ที่เปลี่ยนไปโดยเฉพาะ การอยู่ในประชาคมอาเซียน เพื่อให้ชุมชนได้รับประโยชน์อย่างสูงสุดและเพิ่ม ความสามารถในการแข่งขันในตลาดระหว่างประเทศ
  • 11. 7 ภาพที่ 3 แสดงแผนภาพ ‚ทุน‛ ในการพัฒนาผาปัง ที่มา มูลนิธิพัฒนาชุมชนผาปัง 3. บริหารจัดการชุมชนโดยคนปาปัง เมื่อตัดสินใจเริ่มต้นกระบวนการจัดการตนเองและเดินหน้าพัฒนาบ้านเกิดโดยไม่รีรอความ ช่วยเหลือจากภาครัฐอีกต่อไป ในระยะแรก ชุมชนผาปังให้ความสาคัญกับการสร้างกลไกที่มีลักษณะเป็น องค์กรทางการขึ้นมาเพื่อพัฒนาพื้นที่ ด้วยตระหนักดีว่า พลังของการรวมกลุ่มอย่างเหนียวแน่นย่อม สร้างการเปลี่ยนแปลงได้มากกว่าพลังจากปัจเจกชนเพียงคนใดคนหนึ่ง อีกทั้งในอนาคต การดาเนินงาน อย่างเป็นระบบขององค์กรเหล่านี้ยังสามารถเป็นเครื่องการันตีว่าผาปังจะสามารถเจริญต่อไปได้อย่าง ยั่งยืนจนถึงรุ่นลูกหลานแม้จะไม่มีผู้นาในยุคปัจจุบันแล้วก็ตาม การรวมกลุ่มของคนผาปังเริ่มก่อตัวมาตั้งแต่ พ.ศ. 2547 โดยกลไกแรกที่ถูกตั้งขึ้นคือ คณะกรรมการกากับทิศทางการพัฒนาชุมชนตาบลผาปัง มีหน้าที่กากับทิศทางการพัฒนาและบริหาร จัดการชุมชนเพื่อให้เกิดแบบพึ่งตนเองอย่างยั่งยืน และต่อมาได้จัดตั้งองค์กรขึ้นเป็นกลไกรับผิดชอบการ พัฒนาด้านต่างๆ ดังนี้ ภาพที่ 4 แสดงแผนภาพกระบวนการพัฒนาของเมืองผาปัง ที่มา มูลนิธิพัฒนาชุมชนผาปัง
  • 12. 8 1. วิสาหกิจชุมชนผาปัง แม้จะผ่านปัญหามามากมาย แต่ตาบลผาปังก็ยังมีต้นทุนด้านทรัพยากรธรรมชาติและ ภูมิปัญญาของคนในพื้นที่อยู่อีกไม่น้อยที่จะสามารถนามาตั้งต้นการพัฒนาเศรษฐกิจและ ยกระดับคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้นได้ ดังนั้น ชุมชนจึงได้ร่วมกันวางแผนการพัฒนาที่สอดคล้องกับ ทรัพยากรในพื้นที่และก่อให้เกิดการพึ่งพาตนเองได้ในระยะยาวด้วยการจัดตั้งวิสาหกิจชุมชนผา ปังขึ้นตามพระราชบัญญัติวิสาหกิจชุมชน พ.ศ. 2548 เพื่อเป็นองค์กรขับเคลื่อนเศรษฐกิจชุมชน อย่างเป็นระบบและสร้างความเข้มแข็งในการดาเนินกิจการเพื่อสังคมให้แก่ชุมชน สร้างงานขึ้น ในพื้นที่ด้วยการให้ชาวบ้านได้รวมกลุ่มกันทางานและสร้างรายได้เสริมจากสิ่งที่ตนมีต้นทุนและ ความถนัด รวมถึงบริหารจัดการวิสาหกิจด้วยตนเอง โดยมีการใช้บ้านของสมาชิกหรือบ้านของ ประธานเป็นที่ทาการ ในกรณีที่ใครไม่ลงมาทางานก็สามารถลงทุนเป็นผู้ร่วมถือหุ้นในวิสาหกิจ ได้เช่นกัน ซึ่งวิสาหกิจกล้วยอบเป็นวิสาหกิจแรก ถูกตั้งขึ้นใน พ.ศ. 2550 กระทั่งปัจจุบัน วิสาหกิจชุมชนผาปังขยายตัวขึ้นจนมีมากถึง 19 กลุ่ม แบ่งเป็นวิสาหกิจที่จดทะเบียนจัดตั้งแล้ว 12 กลุ่ม และวิสาหกิจที่อยู่ในช่วงทดลองทากิจกรรมเพื่อเตรียมจดทะเบียนอีก 7 กลุ่ม กิจกรรม ของแต่ละวิสาหกิจมีความสัมพันธ์กันแบบลูกโซ่ในลักษณะพึ่งพาและแบ่งปันผลประโยชน์ เช่น วิสาหกิจโฮมเสตย์เปิดโอกาสให้วิสาหกิจครัวดูแลเรื่องอาหารการกินของแขกที่มาพักแทนที่จะ ทาเอง วิสาหกิจจึงเป็นเสมือนกลไกที่ช่วยจัดสรรทรัพยากรธรรมชาติให้ถูกนามาใช้และผลิต ทดแทนอย่างมีระบบเพื่อสร้างรายได้ให้กับชุมชนในรูปแบบที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตคนผาปังและ ความสมดุลทางธรรมชาติ  วิสาหกิจที่จดทะเบียนจัดตั้งแล้ว 1) วิสาหกิจชุมชนผลิตสินค้าจากไม้ไผ่ 2) วิสาหกิจชุมชนแปรรูปผลผลิตเกษตร 3) วิสาหกิจชุมชนแม่บ้านเกษตรกรผาปัง 4) วิสาหกิจชุมชนผลิตปุ๋ยผาปัง 5) วิสาหกิจชุมชนผลิตถ่านอัดแท่ง 6) วิสาหกิจชุมชนโฮมสเตย์ตาบลผาปัง 7) วิสาหกิจชุมชนพืชผักปลอดสารพิษ 8) วิสาหกิจชุมชนกล่องข้าวพัฒนา 9) วิสาหกิจชุมชนข้าวกล้องข้าวซ้อมมือ 10) วิสาหกิจชุมชนนวดแผนไทยผาปัง 11) วิสาหกิจชุมชนจักสานบ้านเด่นอุดม 12) วิสาหกิจชุมชนผลิตฟางอัดและอาหารสัตว์บ้านผาปัง  วิสาหกิจที่อยู่ในช่วงทดลองทากิจกรรมเพื่อเตรียมจดทะเบียน 1) วิสาหกิจชุมชนปุ๋ยชีวภาพ 2) วิสาหกิจชุมชนกลุ่มถั่วลิสง
  • 13. 9 3) วิสาหกิจชุมชนเวชสาอาง 4) วิสาหกิจชุมชนสมุนไพรพื้นบ้าน 5) วิสาหกิจชุมชนนวัตกรรมผู้สูงอายุ 6) วิสาหกิจชุมชนกลุ่มทอผ้าพื้นบ้าน 7) วิสาหกิจท่องเที่ยววิถีชุมชนผาปัง 2. มูลนิธิพัฒนาชุมชนผาปัง แม้วิสาหกิจชุมชนที่ตั้งขึ้นจะเติบโตไปได้ดี แต่วิสาหกิจเหล่านี้ก็ยังไม่มีสถานะเป็นบุคคล ทางกฎหมาย การดาเนินการใดๆ ที่เป็นทางการจึงต้องอาศัยนิติบุคคลทาหน้าที่แทน ด้วยเหตุนี้ จึงนามาสู่การจัดตั้งมูลนิธิพัฒนาชุมชนผาปัง มูลนิธิพัฒนาชุมชนผาปัง พัฒนาต่อยอดมากจากคณะกรรมการกากับทิศทางการพัฒนา ชุมชนตาบลผาปัง มีสถานะเป็นนิติบุคคลตามกฎหมาย ทาหน้าที่เป็นองค์กรศูนย์กลางของ ชุมชน คอยควบคุมดูแลวิสาหกิจทั้งหมด ตั้งแต่หาตลาด สารวจความต้องการสินค้าในตลาด ประเมินคู่แข่ง นอกจากนั้นยังมีหน้าที่อานวยการบริหารชุมชน ประสานความร่วมมือ เชื่อมโยง เครือข่ายผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และเอกชน โดยมีคณะกรรมการมูลนิธิเป็นผู้ทรงคุณวุฒิและผู้ใหญ่ที่คนผาปังให้การยอมรับ นอกจากนั้น ปัจจุบันมูลนิธิพัฒนาชุมชนผาปังยังเป็นองค์กรสูงสุดของชุมชนที่มีอานาจในการให้ คาแนะนา ตัดสินใจหรือหาข้อยุติให้กับประเด็นต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการชุมชนและ วิสาหกิจเพื่อให้กลุ่มวิสาหกิจเพื่อสังคมในชุมชนผาปังสามารถก้าวไปให้ถึงความสามารถในการ พัฒนาคุณภาพที่มีกระบวนการวิจัยควบคู่ไปกับการพัฒนาอย่างเป็นระบบ 3. เครือข่ายวิสาหกิจชุมชนผาปัง เครือข่ายวิสาหกิจชุมชนผาปังเกิดจากการรวมตัวของประธานวิสาหกิจชุมชนผาปังแต่ละ กลุ่มเพื่อทาหน้าที่เป็นพี่เลี้ยง ให้คาปรึกษาด้านการดาเนินงาน ตลอดจนเสนอแนะแนวทางการ พัฒนาและแก้ปัญหาให้แก่วิสาหกิจต่างๆ เครือข่ายวิสาหกิจจึงเป็นเสมือนคลินิกรวบรวม ผู้เชี่ยวชาญที่พร้อมแบ่งปันประสบการณ์ธุรกิจชุมชนและให้การช่วยเหลือให้ทุกวิสาหกิจเติบโต ไปได้พร้อมๆ กัน 4. บริษัทจากัด เมื่อวิสาหกิจดาเนินงานจนมีเสถียรภาพและเริ่มมีโอกาสที่จะต่อยอดธุรกิจให้เติบโตขึ้นได้ ชุมชนผาปังจึงมีความคิดในการตั้งบริษัทที่มีสถานะเป็นองค์กรเอกชนเต็มตัวขึ้นมาเพื่อดูแล กิจการของวิสาหกิจและเป็นตัวแทนในการประสานงานทางธุรกิจเพื่อรองรับคู่ค้าและตลาดที่จะ ขยายตัวขึ้นในอนาคต โดยปัจจุบัน มีการตั้งบริษัทจากัดแล้ว 2 บริษัท ได้แก่ บริษัท กรีน คอมมู นิตี้ กรุ๊ป จากัด ดูแลวิสหากิจและกิจการที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวของชุมชน และ บริษัท ถ่าน ไผ่ผาปัง จากัด ดูแลวิสหากิจและกิจการที่เกี่ยวข้องกับการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากไผ่
  • 14. 10 ผังโครงสร้างและกลไกการบริหารจัดการการพัฒนาเมืองผาปัง ในการจัดการชุมชน ผาปังได้ให้ความสาคัญกับการพัฒนาเศรษฐกิจและพัฒนาสังคมควบคู่กัน ภายใต้เป้าหมาย “สุขภาพดี มีตังค์ ยั่งยืน” ที่มุ่งให้คนในชุมชนมีฐานะทางเศรษฐกิจที่มั่นคง พึ่งพา ตนเองได้ พร้อมทั้งมีสภาพแวดล้อมทางสังคมที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะที่ดีอย่างยั่งยืน ด้านเศรษฐกิจชุมชน - การพัฒนาและการบริหาร มูลนิธิพัฒนาชุมชนผาปัง ถือเป็นตัวกลางสาคัญที่ขับเคลื่อนเศรษฐกิจชุมชนผาปังให้เติบโตอย่าง ยั่งยืน ด้วยการใช้แนวคิด ‘ปัญญาปฏิบัติ’ เป็นแกนหลักของการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน ทาให้ทุก ความคิดทุกกระบวนการต้องมีข้อมูลและทฤษฎีรองรับ มีการปฏิบัติจริง มีการลองผิดลองถูก ซึ่งอาจสรุป เป็นขั้นตอนการบริหารได้ 4 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนแรก วิจัย พัฒนาและแปรรูป ส่วนมากชุมชนเป็นผู้ดาเนินการคิดค้นนวัตกรรมกันเอง แต่ก็มีร่วมกับสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชนในบางครั้ง เพื่อพัฒนาวัตถุดิบของพื้นที่เป็นผลิตภัณฑ์ ขั้นตอนที่สอง ทดสอบผลิตภัณฑ์ หลังจากคิดค้นผลิตภัณฑ์ได้ ชุมชนก็จะร่วมมือกับมูลนิธิ ทดลองทาผลิตภัณฑ์ตัวอย่างขึ้นมา เพื่อทดสอบคุณภาพและประเมินต้นทุนการผลิต ขั้นตอนที่สาม หาลูกค้า เมื่อทดสอบผลิตภัณฑ์ผ่านแล้ว มูลนิธิจะเป็นผู้หาตลาด จับลูกค้ามาเจอ ชาวบ้าน โดยการส่งผลิตภัณฑ์ตัวอย่างให้หน่วยผลิตต่างๆ พิจารณารับซื้อวัตถุดิบจากชุมชน ขั้นตอนสุดท้าย วางแผนการผลิต ชุมชนจะไม่ทาการผลิตก่อนที่จะหาตลาดหรือลูกค้าได้ แต่จะ วางแผนการผลิตเมื่อได้รับคาสั่งซื้อมาแล้วเท่านั้น ยกตัวอย่างเช่น ฝอยไผ่ที่เหลือจากการขัดตะเกียบ คนมักจะเผาทิ้ง มูลนิธิจะเสาะหาว่าสามารถ นาไปทาอะไรได้บ้าง เช่น หากทาเป็นถ้วยและจานไบโอแพ็คได้ มูลนิธิกับชุมชนก็จะร่วมกันทาตัวอย่าง มูลนิธิพัฒนา ชุมชนผาปัง บ. – บ้าน สร้างงานสร้างอาชีพ บริษัท กรีน คอมมูนิตี้ กรุ๊ป จากัด บริษัท ถ่านไผ่ผาปัง จากัด พัฒนาทางเศรษฐกิจ พัฒนาทางสังคม ร. – โรงเรียน ว. – วัด ส. – สภาเด็กและเยาวชน ส. – สถานีอนามัยสาเร็จ อยู่ในช่วงปรับปรุง กาลังพัฒนา สร้างรายได้ วิสาหกิจชุมชน
  • 15. 11 ผลิตภัณฑ์ขึ้นมา แล้วหาข้อมูลว่ามีโรงงานใดที่ต้องการใช้วัตถุดิบหรือผลิตภัณฑ์นี้บ้าง จากนั้นค่อยเสนอ ผลิตภัณฑ์ตัวอย่างให้โรงงานนั้นๆ หากโรงงานตกลงรับซื้อ มูลนิธิก็จะวางแผนการผลิตแล้วส่งไปให้จาก ชุมชนด้วย โดยหลักแล้ว มูลนิธิมีส่วนช่วยสร้างเศรษฐกิจผาปังผ่านการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน ทาให้เกิด งานเกิดอาชีพขึ้นในชุมชน แต่ไม่ถึงกับเข้าไปแทรกแซงการทางาน มูลนิธิจะปล่อยให้วิสาหกิจชุมชน เกื้อกูลกันเอง อย่างเช่นหากมีนักท่องเที่ยวมาเข้าพักวิสาหกิจชุมชนโฮมสเตย์ผาปัง นักท่องเที่ยวก็ต้อง ซื้ออาหารจากวิสาหกิจกลุ่มครัว แล้ววิสาหกิจกลุ่มครัวก็จะซื้อข้าวกล้องกับผักปลอดสารพิษจากวิสาหกิจ ชุมชนพืชผักปลอดสารพิษ และหากพานักท่องเที่ยวไปดูงานกล้วยพลังงานแสงอาทิตย์หรือการทอผ้า ก็ จะทาให้วิสาหกิจที่ทากล้วย ผ้าทอหรือหมวกขายได้ไปด้วย เงินจากนักท่องเที่ยวก็จะออกกระเป๋าซ้าย เข้ากระเป๋าขวา หมุนเวียนกันอยู่ภายในชุมชน อย่างไรก็ตาม วิสาหกิจชุมชนดังกล่าวเป็นกลุ่มที่ประสบ ความสาเร็จแล้ว นอกเหนือจากนี้ยังมีทั้งกลุ่มที่เคยเปิดแล้วแต่ไม่ประสบความสาเร็จ ซึ่งกาลังอยู่ในช่วง แก้ไขปรับปรุง และกลุ่มที่มูลนิธิกาลังช่วยพัฒนา ซึ่งคาดว่าจะจัดตั้งขึ้นในอนาคต ในอีกทางหนึ่ง มูลนิธิไม่ได้แค่ช่วยสร้างอาชีพสร้างทักษะให้คนในชุมชนเท่านั้น หากมูลนิธิ เล็งเห็นว่าวิสาหกิจชุมชนใดมีประสิทธิภาพ ต่อยอดได้ ก็จะพัฒนากลุ่มนั้นให้กลายเป็นบริษัทที่สามารถ ลงทุน วิจัยและพัฒนาได้มากขึ้น ผลิตได้เป็นจานวนมาก สร้างรายได้ให้แก่ชุมชนได้มากขึ้น เศรษฐกิจ เมืองก็จะยิ่งเติบโตขึ้นด้วย ดังที่มีการก่อตั้งบริษัท กรีน คอมมูนิตี้ กรุ๊ป จากัด และบริษัท ถ่านไผ่ผาปัง จากัดที่กล่าวถึงข้างต้น ส่วนที่มาของรายได้มูลนิธิ นอกจากการขอทุนสนับสนุนจากหน่วยงานต่างๆ แล้ว รายได้ส่วน หนึ่งยังมาจากวิสาหกิจชุมชน โดยหักผลกาไรบางส่วนของวิสาหกิจแล้วเก็บเป็นค่าสมาชิกมูลนิธิ ขึ้นอยู่ กับข้อตกลงกับแต่ละวิสาหกิจว่า หลังหักค่าใช้จ่าย ค่าแรง ค่าวัตถุดิบแล้ว จะจัดสรรรายได้เข้ามูลนิธิ อย่างไร เพื่อให้มูลนิธินาเงินไปใช้จ่าย 3 ส่วน คือ ใช้จ่ายส่วนกลาง เข้าธนาคารชุมชน และนาไปจัดตั้ง กองทุนสวัสดิการชุมชน ‚ตาบลต้นแบบจัดการสุขภาพดี‛ ในกรณีที่มีภาคธุรกิจจากภายนอกต้องการร่วมลงทุน มูลนิธิมีเงื่อนไขว่า ‘ชุมชนต้องถือหุ้นร้อย ละ 50’ และ ‘ชุมชนต้องเป็นผู้บริหารกิจการเอง’ เพื่อเป็นการรักษา Know How ของชุมชน อย่างไรก็ ตาม ขณะนี้โครงการใหญ่ๆ ยังคงพึ่งเงินกู้ประชารัฐอยู่ ทางชุมชนจึงยังไม่เปิดกว้างให้เอกชนเข้ามามี ส่วนร่วมมากนัก ด้านการพัฒนาสังคม – การขับเคลื่อนด้วยมูลนิธิฯ นอกจากด้านเศรษฐกิจแล้ว มูลนิธิยังถือเป็นตัวละครสาคัญที่ทาให้สังคมผาปังพัฒนามาได้จนถึง ทุกวันนี้ โดยมีหลักการบริหารสาคัญ คือ บ. ว. ร. ส. ส. อันหมายถึงการบริหารที่ครอบคลุมทั้ง บ้าน วัด โรงเรียน สถานีอนามัย สภาเด็กและเยาวชน ภายใต้แนวคิดที่มุ่งให้คนผาปัง ‘สุขภาพดี มีตังค์ ยั่งยืน’ ซึ่งอธิบายได้ดังนี้
  • 16. 12 บ้าน สื่อถึง คน ครัวเรือน และชุมชน มูลนิธิได้ส่งเสริมองค์ประกอบนี้ผ่านการสร้างงาน สร้าง อาชีพ สร้างรายได้ด้วยวิสาหกิจชุมชนดังที่กล่าวไปก่อนหน้านี้ นอกจากนี้ ยังอุดหนุนส่งเสริมอาสาสมัคร ชุมชนในการดูแลครัวเรือนในชุมชนอย่างรอบด้านอีกด้วย วัด มูลนิธิมีส่วนร่วมกับชุมชนในการจัดงานประเพณีวัฒนธรรมตามเทศกาลและจัดกิจกรรมสวด มนต์ทุกวันพระ รายได้ที่มาจากการทอดกฐินจะแบ่งให้วัดครึ่งหนึ่งและอีกครึ่งหนึ่งมูลนิธิเก็บสะสมเพื่อ นามาก่อสร้างศาสนสถานและเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรม โรงเรียน มูลนิธิส่งเสริมด้วยการให้ทุนสนับสนุนนักเรียนที่เรียนดี มีความสามารถได้รับ การศึกษาจนจบชั้นปริญญาตรี นอกจากนี้ มูลนิธิยังเป็นผู้ประสานนักเรียนแลกเปลี่ยนจากสหรัฐอเมริกา มาเข้าค่ายที่ผาปังระยะเวลา 1 เดือน และจัดอบรมร่วมกับโรงเรียนเป็นประจาทุกปีด้วย สถานีอนามัย มูลนิธิร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลในการตรวจสุขภาพชาวบ้าน ดูแลผู้สูงอายุ พร้อมทั้งจัดตั้งกองทุนสวัสดิการชุมชน ‚ตาบลต้นแบบจัดการสุขภาพดี‛ ไว้เป็นกองทุน สารองเลี้ยงชีพอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) ที่มีหน้าที่ประกบตรวจดูแลสุขภาวะชุมชน ในอัตรา 10 ครัวเรือนต่อ อสม. 1 คน สภาเด็กและเยาวชน เด็กเกิดใหม่ในชุมชนจะมีสถานะเป็นสมาชิกสภาทันที ทางมูลนิธิจะเป็นผู้ จัดอบรมให้มีการรวมกลุ่มทากิจกรรม สืบทอดเจตนารมย์ของชุมชน โดยมีการอบรมทั้งในและนอก โรงเรียน เช่น ให้โรงเรียนพาเด็กมาเรียนรู้วิสาหกิจและงานวัฒนธรรมประเพณี ฝึกฝนให้เป็นมัคคุเทศก์ น้อย เป็นต้น 4. ปลงานที่ริเริ่มโดยคนปาปัง ด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ เป็นกิจกรรมเพื่อเสริมสร้าง พัฒนา และยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันให้วิสาหกิจ ชุมชนและอุตสาหกรรมครัวเรือน สามารถพัฒนาการผลิตและจาหน่ายผลิตภัณฑ์ของวิสาหกิจชุมชนได้ โดยใช้อัตลักษณ์ของผาปังและองค์ความรู้เชิงสร้างสรรค์เพื่อสร้างความแตกต่างและโดดเด่น โดยมี กิจกรรมเด่นๆ ดังนี้ 1. สร้างเศรษฐกิจจากไผ่ ไผ่เป็นพืชที่มีอยู่มากในชุมชนผาปัง กอปรกับไผ่มีคุณสมบัติพิเศษกว่าพืชอื่นๆ ถ่านของไผ่ เพียงชนิดเดียวที่สามารถนามาทาเป็น Syngas (แก๊สสะอาด) ได้ และคุณสมบัติอื่นๆ เช่น เป็น ส่วนผสมในเวชภัณฑ์ และเครื่องสาอาง ซึ่งในประเทศจีนมีการรณรงค์ให้ปลูกไผ่ทั่วประเทศ ส่วน ญี่ปุ่นประกาศให้ไผ่เป็นพืชอนุรักษ์ ต้องมีการปลูกเพิ่มทุกปี เพราะไผ่เป็นพืชที่สร้างโอโซนได้มาก ที่สุดชนิดหนึ่ง และเป็นพืชที่สร้างเศรษฐกิจได้  โครงการพัฒนานวัตกรรมถ่านไผ่ประสิทธิภาพสูง Bamboo Activated Charcoal เกิดจาก การนา Pure Carbon (ถ่านไผ่ที่ผ่านกระบวนการเผาด้วยอุณหภูมิ 650 องศาเซลเซียสขึ้น
  • 17. 13 ไป) ไปอัพเกรดผ่านกรรมวิธีอุณหภูมิในเตา 1,000-1,200 องศาเซลเซียส จะทาให้เกิดรูพรุน เล็กๆ สามารถให้กาเนิดและปล่อยประจุลบ (Negative Ions) และอินฟาเรดยาว (Far Infrared Ray) มีคุณสมบัติดูดซับเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา ไขมัน เหงื่อไคล กลิ่นเหม็นในร่างกาย จึงนิยมนามาเป็นส่วนผสมในเวชภัณฑ์ ยารักษาโรค และเครื่องสาอาง นอกจากนี้ยังสามารถ ใช้ในอุตสาหกรรม เช่น ส่วนผสมในการผลิตถ่านไฟฉาย (อยู่ระหว่างการก่อสร้างโรงงานถ่าน ไผ่ประสิทธิภาพสูง)  โครงการผลิตไฟฟ้าพลังงานชีวมวลชุมชน เป็นการศึกษาวิจัยระบบผลิต Syngas พลังงาน ทดแทนชุมชนจากถ่านไผ่ เพื่อนามาเป็นเชื้อเพลิงด้านการเกษตร ครัวเรือน และการขนส่ง ทดแทน LPG NGV LNG เช่น การสูบน้าเพื่อการเกษตร หรือใช้กับยานพาหนะ ทั้งนี้ เพื่อ สร้างรายได้ ลดรายจ่ายด้านพลังงาน ลดการนาเข้าพลังงาน ลดต้นทุนการผลิตด้าน การเกษตร และลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและรักษาสุขภาพ เนื่องจากพลังงาน Syngas ไม่มีมลภาวะหรือมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมต่ามาก ดาเนินกิจกรรมโดยการตั้งสถานีผลิต ไฟฟ้าชุมชนขนาดเล็กขึ้นมา เพื่อเป็นแหล่งทาการศึกษาวิจัยระบบผลิต Syngas และคิดค้น เพื่อให้เป็นธุรกิจพลังงานชุมชนที่มีความยั่งยืน โดยนาเศษไผ่ (ไม้เสียบลูกชิ้น) มาเผาที่ อุณหภูมิ 650 องศาเซลเซียส ด้วยกระบวนการไร้ขี้เถ้า เพื่อให้ได้เป็น pure carbon แล้วนา pure carbon มาเผาไหม้ที่อุณหภูมิ 1,200 องศาเซลเซียส จะได้เป็น Syngas มาใช้แทนแก๊ส หุงต้ม ซึ่งประหยัดกว่า LPG ถึง 65% pure carbon 1 กิโลกรัม จะเท่ากับน้ามันเบนซิน 0.3 ลิตร เมื่อคานวณแล้วจะประหยัดกว่าเบนซินถึง 78%  วิสาหกิจชุมชนผลิตสินค้าจากไม้ไผ่ นาไผ่ที่มีอยู่ในที่ดินกรรมสิทธิ์จานวนวันละ 3 ตัน มา แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ตะเกียบไม้ไผ่ Health Chopsticks โดยผ่านการฆ่าเชื้อราด้วยตู้อบ พลังงานแสงอาทิตย์ Green House  การผลิตเชื้อเพลิงก้อน Briketts เป็นวิสาหกิจต่อเนื่องที่นาเศษขี้เลื่อย ซังไผ่ จากสถานีผลิต ตะเกียบในตาบลผาปัง และพื้นที่ข้างเคียง จานวน 10 ตันต่อวัน มาผลิตเป็นถ่านอัดแท่ง เพื่อ ใช้เป็นพลังงานชุมชนที่สะอาด ลดการเผาขยะ ลดปัญหาสิ่งแวดล้อม ทดแทนการใช้ก๊าซหุง ต้ม ลดรายจ่าย และสร้างรายได้  การผลิตเยื่อไผ่ชุมชน นาฝอยขัดในจากสถานีผลิตตะเกียบ จานวน 500 กิโลกรัมต่อวัน มา ผลิตเป็นเยื่อไผ่ โดยผ่านการฆ่าเชื้อราด้วยตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์ Green House ซึ่งการ ผลิตเยื่อไผ่ชุมชน จะส่งเยื่อไผ่ที่เป็นวัตถุดิบให้แก่โรงงานใช้ในการผลิตภาชนะไบโอ (แก้ว ชาม ถาดรอง) นอกจากนี้ ยังมีการนาเยื่อไผ่ที่ได้ มาทดลองในการผลิตสิ่งทอ เสื้อผ้า (โครงการนี้อยู่ระหว่างการวิจัย)  วิสาหกิจผลิตถ่านอัดแท่ง Charcoal เป็นการบริหารจัดการเศษซังไผ่ที่เหลือจากการทา ตะเกียบ มาสร้างเป็นมูลค่าเพิ่มด้านเศรษฐกิจ โดยเริ่มต้นจากการอบรมบุคลากรการผลิต ถ่านอัดแท่งให้ได้มาตรฐานพลังงานความรู้ ไม่มีควัน ไม่มีขี้เถ้า และความชื้นน้อย
  • 18. 14 2. แปรรูปผลผลิตทางการเกษตร  วิสาหกิจชุมชนแปรรูปผลผลิตเกษตร โดยใช้กล้วยน้าว้าในชุมชนมาผลิตเป็นกล้วยอบด้วย เทคโนโลยีตู้อบพลังงานอาทิตย์ สะอาด และปลอดภัยสาหรับการบริโภค กลุ่มวิสาหกิจครัว พลังงานชุมชนได้นาไปเป็นอาหารว่างสาหรับผู้มาศึกษาดูงานและขายเป็นของที่ระลึกด้วย  วิสาหกิจชุมชนพืชผักปลอดสารพิษ ผักปลอดสารพิษนับว่าเป็นจุดแข็งของชุมชนผาปัง ใน ชุมชนมีการใช้ปุ๋ ยชีวภาพ เป็นชุมชนที่ปลอดสารเคมีมาตั้งแต่บรรพบุรุษ ส่งผลให้ สิ่งแวดล้อมดี สุขภาพคนในชุมชนดี ลดรายจ่ายการใช้สารเคมี และลดรายจ่ายในครัวเรือน เนื่องจากคนในชุมชนผาปังส่วนใหญ่ปลูกผักกินเอง  วิสาหกิจชุมชนสมุนไพรพื้นบ้าน เป็นโครงการที่มีขึ้นเพื่อให้ใช้ตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์ให้ เกิดประสิทธิภาพสูงสุด และสร้างมูลค่าเพิ่มทางพืชผลทางการเกษตรที่ยั่งยืน สมุนไพร พื้นบ้านที่เหมาะแก่การเพราะปลูกในตาบลผาปัง คือ ดีปลี ใบบัวบก ปลาไหลเผือก แก่น ตะวัน มะรุม และผักพื้นบ้านต่างๆ โดยการสร้างจิตสานึก อบรม ส่งเสริมให้ประชาชนในผา ปังและสมาชิกเครือข่ายวิสาหกิจดังกล่าว มีความเข้าใจและรู้สรรคุณทางเวชศาสตร์ของ ภาพที่ 5-7 การสร้างนวัตกรรมถ่านไผ่ ประสิทธิภาพสูง และโครงการผลิตไฟฟ้าชีวมวล ที่มาศูนย์ศึกษามหานครและเมือง ภาพที่ 5 ภาพที่ 7 ภาพที่ 6
  • 19. 15 สมุนไพรที่มี และสามารถนามาขยายพันธุ์ โดยมีการจัดระบบจัดการเพาะพันธุ์สมุนไพร และบริหารจัดการเชิงพาณิชย์ควบคู่กันไป มูลนิธิพัฒนาชุมชนผาปัง ยังได้ดาเนินโครงการส่งเสริมการตลาดและเพิ่มช่องทางการจาหน่าย สินค้าเกษตร โดยเรียนรู้การจัดหาช่องทางการจาหน่ายสินค้า การจัดหาคนกลาง และวางระบบการ จาหน่าย และจัดตั้งเป็นศูนย์รวมสินค้าเกษตร เพื่อการจัดการอย่างครบวงจร ทั้งด้านการลงทุน การเงิน การผลิต การจับคู่ทางธุรกิจ และช่องทางการจาหน่ายสินค้า เพื่อให้เกษตรกรผาปังไม่ต้องเสี่ยงว่าจะไม่มี ตลาดระบายสินค้าหรือถูกกดราคาจากพ่อค้าคนกลาง 3. ด้านการท่องเที่ยว  วิสาหกิจชุมชนโฮมสเตย์ตาบลผาปัง เป็นการจัดกลุ่มบริการที่พักเพื่อต้อนรับผู้มาศึกษาดู งาน ซึ่งมีเฉลี่ยแล้วปีละ 5,000 คน พัฒนาสถานที่บ้านของชาวบ้านที่ไม่มีผู้อาศัย และบ้าน ที่เจ้าของบ้านสมัครเข้ามาเป็นสมาชิกกลุ่มโฮมสเตย์ชุมชน พร้อมกับอบรมการบริหาร จัดการและต้อนรับผู้มาศึกษาดูงาน  มีการบริหารจัดการเพื่อการท่องเที่ยวชุมชน โดยออกแบบวางแผนพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยว ทางศาสนา วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม และศูนย์สมุนไพรพื้นบ้าน โดยจัดเป็นโปรแกรมการ ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ในลักษณะค่ายอบรม โดยจะจัดตั้งเป็น วิสาหกิจท่องเที่ยววิถีชุมชนผาปัง ซึ่งขณะนี้อยู่ระหว่างการศึกษาและวิจัย  วิสาหกิจชุมชนกล่องข้าวพัฒนา เป็นจุดศูนย์กลางเพื่อบริการอาหารเครื่องดื่มแก่ผู้ที่มา เที่ยวทัศนศึกษา โดยรับซื้อผักปลอดสารพิษ และผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับการบริโภค อาหารจากวิสาหกิจต่างๆ ในตาบลผาปัง ภาพที่ 8-9 เตาอบพลังงานแสงอาทิตย์ และกล้วยอบด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ นวัตกรรมของชุมชน ที่มา ภาพซ้าย ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง ภาพขวา มูลนิธิพัฒนาชุมชนผาปัง
  • 20. 16 ด้านการพัฒนาทางสังคม ชุมชนผาปังได้ดาเนินกิจกรรมในด้านการพัฒนาสังคมตาบลผาปังให้เกิดความเข้มแข็ง มี ภูมิคุ้มกัน รักวัฒนธรรมท้องถิ่น และดารงวิถีชีวิตให้สอดคล้องกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 1. กิจกรรมด้านการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม  โครงการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมไทย-อเมริกัน และโครงการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมไทย- ญี่ปุ่น โครงการนี้โรงเรียนผาปังได้ดาเนินมายาวนานกว่า 10 ปี โดยมีมูลนิธิพัฒนา ชุมชนผาปังเป็นส่วนหนึ่งในการร่วมมือ โดยจะมีกลุ่มนักเรียน high school ชาวอเมริกัน มาอยู่เพื่อศึกษาเรียนรู้วิถีชีวิตของคนผาปัง และสอนภาษาอังกฤษแก่เด็กนักเรียน โรงเรียนผาปังวิทยา  มีการให้ทุนการศึกษาแก่นักเรียนที่เรียนเก่งจนถึงระดับปริญญาตรี เริ่มดาเนินการตั้งแต่ ปี 2556  มีการจัดอบรมเพื่อสืบสานวัฒนธรรมประเพณีการตีกลองปูจา (ปูจา แปลว่า บูชา) เริ่ม ดาเนินการมาตั้งแต่ปี 2545 นอกจากนี้ ยังมีการจัดสอนการเล่นดนตรีพื้นบ้าน สะล้อ ซอ ซึง และทาต่อเรื่อยมาจนกลายเป็นหลักสูตรภาควิชาการเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมของ โรงเรียนผาปังวิทยา  โครงการก่อสร้างพระบรมธาตุเจดีย์หลวง 12 นักษัตร ที่มา ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง ภาพที่ 10 พระบรมธานตุเจดีย์หลวง 12 นักษัตร
  • 21. 17 2. กิจกรรมด้านสาธารณสุขและผู้สูงอายุ  มีการให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) ตรวจแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้า ยุงลายของแต่ละบ้านทุกสัปดาห์ หากพบว่าบ้านไหนมีความเสี่ยงต่อการเป็นแหล่ง เพาะพันธุ์ยุงลาย จะมีการปักธงแดงไว้หน้าบ้าน เพื่อให้สมาชิกในบ้านกลับไปปรับปรุง  มีการจัดตรวจสุขภาพผู้สูงอายุทุกเดือน 3. สิ่งแวดล้อม  การทาธนาคารน้าใต้ดิน เนื่องจากพื้นที่ผาปังเป็นบริเวณที่มีความแห้งแล้ง เพาะปลูก ทาเกษตรกรรมได้ยาก จึงมีการนาแนวคิดการทาธนาคารน้าใต้ดินมาใช้ โดยผาปังตั้งอยู่ ใกล้กับแม่น้าวัง เพราะฉะนั้นน้าใต้ดินในบริเวณชุมชนผาปังจะถูกแม่น้าวังดูดไปหมด ที่นี่จึงใช้การขุดบ่อที่มีความลึกประมาณ 5-10 เมตร ซึ่งจะเป็นชั้นหินอุ้มน้า เพื่อให้ อากาศระบายได้ทาให้น้าใต้ดินแทนที่จะถูกดูดลงไปสู่น้าวังหมด ก็จะผุดขึ้นมาในบ่อที่ขุด แทน นอกจากนี้ยังเป็นการรองรับน้าฝนไว้ใช้ในหน้าแล้งอีกด้วย และการที่จะทาแบบนี้ ได้ ต้องมีแหล่งน้าอยู่ใกล้ๆ เช่น แม่น้า สระ หรือฝาย ซึ่งพื้นที่ผาปังมีแม่น้าวังอยู่ใกล้ๆ  ชุมชนผาปังมีการร่วมมือกับองค์กรรัฐ เช่น การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ธนาคารเพื่อ การเกษตรและสหกรณ์ ควบคู่ไปกับการเรียนรู้ด้านการรักษาป่าต้นน้า นอกจากนี้ ยังมี การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับราษฎรอาสาสมัครรักษาป่าในโครงการความร่วมมือของ ปตท. และกรมป่าไม้ โดยกิจกรรมจะเน้นการเรียนรู้ในการเพาะพันธุ์ไผ่ การปลูกไผ่ การ ตัดไผ่เพื่อมาใช้ประโยชน์ ซึ่งจะทาให้คนผาปังเข้าใจถึงการเพาะพันธุ์ไผ่ รวมถึงการ รักษาป่าไผ่ โดยเฉพาะวิธีการตัดไผ่ไปใช้ให้ถูกวิธี ซึ่งหากตัดถูกวิธีพบว่าไผ่ยิ่งตัดยิ่ง แตกหน่อ ไม่เป็นการทาลายป่าไผ่แต่อย่างใด นอกจากการเรียนรู้วิธีการรักษาป่าไผ่ ยัง มีการทาฝายชะลอน้า ซึ่งการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคได้ช่วยเหลือโดยการนาเสาไฟฟ้าที่ หมดอายุการใช้งานมาทาเป็นฝายกั้นน้า  โครงการชุมชนเพาะพันธุ์กล้าไผ่ เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนตาบลผาปังตระหนักถึง ความสาคัญของไผ่ที่มีอยู่อย่างมากในพื้นที่ สามารถใช้ประโยชน์ได้หลายด้าน และมี ความชานาญในการเพาะพันธุ์ ขยายพันธุ์ไผ่ และการปลูกป่าไผ่ โดยได้ดาเนินการสร้าง อาคารเรือนเพาะชา มีการจัดการอบรมชาวบ้านให้มีความชานาญในการเพาะพันธุ์และ ขยายพันธุ์ไผ่ การเพาะพันธุ์กล้าไผ่เพื่อการพาณิชย์และปลูกป่าไผ่ รวมถึงการดูแลรักษา ต้นกล้าให้แข็งแรงจนพร้อมปลูกและจาหน่ายได้
  • 22. 18 5. ปลลัพธ์แห่งการพัถนา ตั้งแต่ปี 2547 ด้วยปัญหาการกาหนดเขตพื้นที่การปกครอง ทาให้ผาปังไม่มี อบต. เป็นของ ตนเอง เกิดการพัฒนาที่ล่าช้า แต่คนผาปังไม่ยอมแพ้ เปลี่ยนวิกฤตไปสู่โอกาส จัดทาแผนพัฒนาชุมชน ผาปังพึ่งตนเองอย่างยั่งยืน 20 ปี (พ.ศ.2547-2567) ด้วยใช้หลักว่า ‚สุขภาพดี มีตังค์ ยั่งยืน‛ แก้ปัญหา สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และพัฒนาสังคมของผาปังให้นาไปสู่เป้าหมายที่วางไว้ วันนี้ผาปังเดินทางมาถึง ครึ่งทางยุทธศาสตร์ 20 ปีแล้ว ผาปังวันนี้ได้ขึ้นชื่อว่าเป็น ‚ต้นแบบวิสาหกิจพลังงานชุมชน‛ และต้นแบบ ‚การพึ่งตนเอง‛ ด้วยหลักการมีส่วนร่วมของประชาชน ร่วมคิดและร่วมทา เน้นปฏิบัติจริง (Learning by doing) ผลิตสินค้าจากฐานชีวภาพ คิดค้นนวัตกรรมต่างๆ สร้างตลาดด้วยตนเอง จนขายสินค้าได้เอง ตลอดการพัฒนาของผาปัง ผลกระทบที่เกิดขึ้นของเมืองผาปัง เรียกได้ว่า สังคมของผาปังมีคุณภาพ เพิ่มขึ้นในทุกด้าน ตั้งแต่เศรษฐกิจ สังคม สุขภาพ และสิ่งแวดล้อม สามารถจาแนกผลกระทบในทางบวก ที่เกิดขึ้นในห้วงการพัฒนาได้ ดังนี้ 1. เปลี่ยนกระบวนทัศน์ครั้งใหญ่ของคนผาปัง ผลจากการพัฒนาที่สาคัญของคนผาปัง คือ การเปลี่ยนกระบวนทัศน์ครั้งใหญ่ในทุกด้าน ของคนผาปัง จากวิกฤตของขอบเขตที่ตั้งทีทาให้การพัฒนาเข้าไม่ถึง คนผาปังใช้วิกฤตร่วมมือสร้าง การพัฒนาด้วยตัวเอง และวันนี้ความสาเร็จปรากฏอย่างต่อเนื่อง กระบวนทัศน์ใหม่ที่เกิดขึ้นคือคน ผาปังจะมีแนวคิดไม่รอความช่วยเหลือจากรัฐ พวกเขามีฐานคิดของการพึ่งตนเอง คนผาปังเรียนรู้ และเห็นรูปธรรมของหลักคิด ปัญญาปฏิบัติ (Learning by doing) คือการนาทฤษฎีมาปฏิบัติ และ เรียนรู้ปรับปรุงจากการปฏิบัตินั้น ทาให้คนผาปังได้เรียนรู้กระบวนการ เทคนิควิธีต่างๆ จนเกิดสิ่งที่ ดีที่สุดสาหรับเมือง ในด้านการบริหารธุรกิจ ไม่ว่าจะสร้างผลิตภัณฑ์ใดๆ ให้กับเมือง คนผาปัง จะต้องทาครบวงจรห่วงโซ่คือ ผลิต แปรรูป ทาตลาดและจัดจาหน่ายเอง นั่นหมายความว่าการพึ่ง ตัวเองในทุกกระบวนการนั่นเอง ความก้าวหน้าของเมืองในวันนี้ ยิ่งตอกย้ากระบวนทัศน์ของคนผาปังให้เชื่อว่า คนท้องถิ่นก็ สามารถก้าวหน้ากว่ารัฐส่วนกลางได้ พวกเขามีความสามารถ มีโครงสร้างการจัดการ มียุทธศาสตร์ ที่ชัดเจน และเมื่อพวกเขารวมกลุ่ม ไม่ยอมแพ้ ทางานร่วมกันก็สามารถสร้างการพัฒนาได้ กระบวน ทัศน์การพึ่งตัวเองที่เกิดขึ้นกับคนผาปัง จะเป็นปรัชญาความคิดสาคัญที่ทาให้คนผาปังทางาน พัฒนาเมืองได้ดี 2. คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของคนผาปัง 1) แก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้าสาหรับทาเกษตรกรรม สภาพแวดล้อมของผาปัง เป็นเมืองติดเขา มีป่าที่อุดมสมบูรณ์ เป็นแหล่งต้นน้า แต่ผาปังเป็นเมืองที่ประสบปัญหาความแห้ง แล้ง เพราะดินไม่อุ้มน้า และอยู่ในเขตเงาฝน ทาให้ผาปังขาดน้าสาหรับการทาเกษตรอย่างมิอาจ หลีกเลี่ยงได้ แต่หลังจากคนผาปังลุกขึ้นมาวางแผนและจัดการชุมชน จัดทาฝายกั้นน้าเพื่อชะลอน้า จานวน 6 ฝาย ทาธนาคารน้าใต้ดิน สามารถแก้ปัญหาพื้นที่ โดยเฉพาะในตาบลผาปังและตาบลแม่ ปุได้ ทาให้ชุมชนมีน้าเพื่อทาการเกษตรกรรมได้อย่างเพียงพอ
  • 23. 19 2) ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ในปี 2550 การพัฒนาตารวจบ้านและตารวจ ชุมชน ซึ่งเป็นโครงการที่ได้รับความร่วมมือจากชุมชนเป็นอย่างดี ทาให้ชุมชนผาปังเป็นชุมชนที่มี อัตราการเกิดอาชญากรรม 0 เปอร์เซ็นต์ เรียกได้ว่าไม่มีอาชญากรรมเกิดขึ้นมานานมากแล้ว ด้วย การอาศัยความไว้เนื้อใจเชื่อใจ ความคุ้นหน้าของคนในชุมชน เมื่อมีคนแปลกหน้าเข้ามาในชุมชน จึงจับตา มองเป็นพิเศษและแก้ไขได้ทัน ยิ่งทาให้ความไว้ใจซึ่งกันและกันของคนในตาบลผาปัง สูงขึ้น อีกทั้งรู้สึกถึงความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินมากขึ้น 3) สุขภาวะที่เหมาะสมของคนผาปัง ในด้านสุขภาวะของคนผาปัง คนผาปังมีสุขภาวะดี ขึ้น โดยเฉพาะสุขภาพทางกายที่ดีขึ้นอย่างเห็นชัด เพราะคนผาปังปรับปรุงวิธีคิดและปรับปรุง พฤติกรรมการกินอาหารและบริโภคอาหารที่ปลอดภัย มีคุณค่าทางโภชนาการ และเพียงพอต่อ ความต้องการของร่างกายจากแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษปนเปื้อน คนผาปังมีอายุขัยเฉลี่ย 80 ปีขึ้นไป มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง อัตราการป่วยและตายโดยเฉพาะโรคมะเร็ง โรคหัวใจ โรค ความดันโลหิตสูง และโรงเบาหวาน การบริโภคแอลกอฮอล์และยาสูบลดลง ผาปังเป็นเมืองที่มี ผู้สูงอายุเกิน 100 ปี จานวนหลายคน ที่สาคัญตาบลผาปังเป็นตาบลที่ปลอดไข้เลือดออก จาก ประสิทธิภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขและความร่วมมือของชุมชน จนได้รับรางวัล ชุมชนปลอด ไข้เลือดออกติดต่อกัน 10 ปี จาก สานักงานสาธารณสุขจังหวัดลาปาง ปัจจุบันย่างเข้าปีที่ 15 แล้วที่ ชุมชนผาปังเป็นชุมชนปลอดไข้เลือดออก 3. เศรษฐกิจชุมชนผาปังที่ดีขึ้น ผาปังกาหนดเป้าหมายของชุมชนอย่างชัดเจน คือ สุขภาพดี มีตังค์ ยั่งยืน ผาปังให้ ความสาคัญในเรื่องเศรษฐกิจไม่แพ้เป้าหมายในด้านอื่นๆ เพราะการพัฒนาอย่างยั่งยืนและ พึ่งตนเองได้นั้น คนผาปังต้องมีรายได้ที่เพียงพอและเหมาะสมในการชีวิต รายได้จึงเป็นพื้นฐาน สาคัญในการใช้ชีวิต จากการดาเนินการวิสาหกิจจานวนกว่า 19 วิสาหกิจ ผลที่เกิดขึ้นในด้าน เศรษฐกิจ คือ เศรษฐกิจในชุมชนหมุนเวียนดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัด ผลด้านเศรษฐกิจของผาปัง สามารถแบ่งได้ 2 ด้านคือ 1) คนผาปังมีรายได้เพิ่มขึ้น คนผาปังมีรายได้หลักจานวนหนึ่ง แต่การรวมกลุ่มวิสาหกิจ ทา ให้คนผาปังมีรายได้เสริมเข้ามาไม่ขาดสาย หลายวิสาหกิจสามารตั้งตัว และมีตลาดเป็นของ ตนเอง มีรายได้สม่าเสมอ เช่น วิสาหกิจผลิตถ่านอัดแท่ง ที่พัฒนาจนครบกระบวนการ สามารถจาหน่ายถ่านให้กับบริษัทใหญ่ ตั้งแต่ถ่านคุณภาพต่า กิโลกรัมละ 15 บาท ไปจนถึง ถ่านคุณภาพสูงกิโลกรัมละ 5000 บาท วิสาหกิจผลิตสินค้าจากไม้ไผ่ ส่งวัตถุดิบเยื่อไผ่ให้ โรงงานผลิตตะเกียบ ภาชนะ เพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจได้ 100 เปอร์เซ็นต์ เมื่อหักค่าใช้จ่าย แล้วมีรายได้กว่า 60,000 บาท/เดือน วิสาหกิจโฮมสเตย์ รองรับผู้มาศึกษาดูงานผาปัง ใน แต่ละปีมีคนมาดูงานไม่น้อยกว่า 4000 คนต่อปี แต่ละคนมีการใช้จ่ายไม่น้อยกว่า 1000 บาท สร้างรายได้ไม่น้อยกว่า 4 ล้านบาทต่อปี ปัจจุบันมีการปรับปรุง ขยายห้องพัก มีห้อง ประชุม สามารถรองรับคนศึกษาดูงานครั้งละไม่น้อยกว่า 150 คนได้ วิสาหกิจชุมชนแปร รูปผลผลิตเกษตรกร โดยเฉพาะกล้วยตาก เป็นอีกวิสาหกิจที่มีรายได้ดี ด้วยการอบจาก