SlideShare a Scribd company logo
1 of 96
Download to read offline
ค�ำน�ำ

	
	
โครงการขับเคลื่อนงานด้านเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังหวัด :
อุบลราชธานี ได้รบการสนับสนุนจากส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
ั
(สสส.) ให้ด�ำเนินโครงการ โดยมีเป้าหมายในการพัฒนาศักยภาพองค์กรปกครอง
ส่ ว นท้ อ งถิ่ น (อปท.) ให้ มี บ ทบาทของส่ ว นร่ ว มในการด� ำ เนิ น งานขั บ เคลื่ อ น
เด็กและเยาวชนที่ชัดเจน สามารถพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เพื่อเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้และพัฒนาเด็กและเยาวชนในพื้นที่ เกิดการบูรณาการ
การท�ำงานของ อปท. ให้สามารถเชื่อมโยงกับงานด้านเด็กและเยาวชน
	
หนังสือเล่มนี้ เป็นส่วนหนึงจากการด�ำเนินการงานขับเคลือนเด็กและเยาวชน
่
่
โดยน�ำข้อมูลประสบการณ์จากท�ำงานด้านเด็กและเยาวชนของผู้บริหาร มาวิเคราะห์
เรียบเรียง เพื่อน�ำเสนอถึงแนวคิด แรงบันดาลใจ วิธีการด�ำเนินงาน  ตลอดจนผลลัพธ์
ที่เกิดขึ้น ที่สามารถด�ำเนินการขับเคลื่อนในแต่ละพื้นที่ การสร้างแรงบันดาลใจแก่
องค์กรอื่น ๆ ในการท�ำงานด้านนี้ โดยคณะผู้เขียนและเรียบเรียง คาดหวังว่าหนังสือ
เล่มนี้ จะสามารถสื่อสารบอกเล่าเรื่องราวดีๆ ของแนวคิดในการท�ำงานด้านเด็ก
และเยาวชนที่ เ ป็ น ประโยชน์ และช่ ว ยสร้ า งแรงบั น ดาลใจ แก่ อ งค์ ก ร ผู ้ ส นใจ
ผู้เกี่ยวข้องในการร่วมกันขับเคลื่อนงานด้านเด็กและเยาวชนให้ขยายวงกว้างตาม
สภาพบริบทและเงื่อนไขปัจจัยในพื้นที่ของตนเองต่อไป

1
2
สารบัญ
	
	
	
	
	
ผศ.ประชุม  ผงผ่าน	
	
	
ผศ.ดร.สมพร  ดวนใหญ่	 	
	
องค์การบริหารส่วนต�ำบลคอนสาย	 	
องค์การบริหารส่วนต�ำบลค�ำเขื่อนแก้ว	
เทศบาลต�ำบลค�ำน�้ำแซบ	 	
	
องค์การบริหารส่วนต�ำบลคูเมือง	 	
องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองเหล่า		
เทศบาลต�ำบลขามใหญ่	 	
	
องค์การบริหารส่วนต�ำบลกาบิน	 	
เทศบาลเมืองวารินช�ำราบ	 	
	
เทศบาลเมืองเดชอุดม	 	
	
องค์การบริหารส่วนต�ำบลบัวงาม	 	
องค์การบริหารส่วนต�ำบลเหล่าแดง	 	
เทศบาลเมืองพิบูลมังสาหาร		
	
เทศบาลต�ำบลท่าช้าง	
	
	
องค์การบริหารส่วนต�ำบลตาเกา	 	
เทศบาลต�ำบลม่วงสามสิบ	 	
	
เทศบาลต�ำบลหนองผือ	 	
	
เทศบาลต�ำบลนาเยีย	
	
	
องค์การบริหารส่วนต�ำบลนากระแซง		
องค์การบริหารส่วนต�ำบลโพธิ์ไทร	 	
องค์การบริหารส่วนต�ำบลส�ำโรง	 	
องค์การบริหารส่วนต�ำบลโคกสว่าง	 	
องค์การบริหารส่วนต�ำบลป่าโมง	 	
เทศบาลต�ำบลเขมราฐ	 	
	
เทศบาลต�ำบลนิคมสร้างตนเองล�ำโดมน้อย	
องค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดยาลวน	 	

	
	
	
	
	
	
	
	
	
	
	
	
	
	
	
	
	
	
	
	
	
	
	
	
	
	
	
	

	
	
	
	
	
	
	
	
	
	
	
	
	
	
	
	
	
	
	
	
	
	
	
	
	
	
	
	

         หน้า
	
๑
	
๔
	
๘
	
๑๔
	
๑๘
	
๒๒
	
๒๖
	
๓๐
	
๓๒
	
๓๔
	
๓๗
	
๔๑
	
๔๔
	
๔๘
	
๕๒
	
๕๕
	
๕๘
	
๖๑
	
๖๔
	
๖๖
	
๖๙
	
๗๒
	
๗๕
	
๗๙
	
๘๒
	
๘๖
	
๘๙
3
4
“ถ้าอยากให้เด็กมีพฤติกรรมทางบวก ผู้ใหญ่ต้องฟังเด็ก
รู้จักและเข้าใจภาษาเด็ก
ทั้งภาษาพูด ภาษากาย ภาษาใจ...ฟังเด็กเป็น”
	
ผูชวยศาสตราจารย์ ประชุม ผงผ่าน อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
้่
ซึ่งท่านได้เป็นที่ปรึกษาของโครงการขับเคลื่อนเด็กและเยาวชน ท่านได้ให้แนวทาง
การด�ำเนินโครงการและค�ำแนะน�ำต่างๆ จนโครงการนี้ได้รับทุนด�ำเนินงานจาก
ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) พร้อมนี้ท่านได้พูดแนวคิดใน
การท�ำงานด้านเด็กและเยาวชนไว้ว่า
	
“ผมได้รับเชิญเป็นที่ปรึกษาของโครงการขับเคลื่อนเด็กก่อนเริ่มโครงการ
จนได้รับทุนด�ำเนินงานจากส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
ให้ด�ำเนินงาน ๓ ปี....อยากเล่าให้ฟังว่า แต่ก่อนจังหวัดอุบลราชธานีมีสภาเด็ก ซึ่ง
เป็นเรื่องของภาคประชาชน ผลลัพธ์ค่อนข้างดี..ด�ำเนินงานอยู่นอกรั้วมหาวิทยาลัย
ราชภัฏอุบลฯ เป็นโครงการของกลุ่มคนที่รักเด็กรวมกลุ่มกัน และบังเอิญ มรภ.อุบลฯ
ได้รับบุคลากรที่เคยเป็นประธานสภาเด็กเข้าท�ำงานที่เรา ก็เหมือนกับเอาสภาเด็ก
เข้ามาอยู่ในรั้วมหาวิทยาลัย เสมือนหนึ่งว่าเราเป็นเจ้าของ แต่จริงๆ แล้ว คงไม่ใช่
เป็นการท�ำงานลักษณะภาคีเครือข่ายร่วมกันระหว่างองค์เอกชน องค์กรภาครัฐ...
อย่างไรก็ตามเราก็ได้ดูแล สนับสนุนอย่างใกล้ชิด ไม่ว่าจะเป็นสถานที่ตั้งส�ำนักงาน
สิ่งอ�ำนวยความสะดวกที่ใช้ในการประชุม สัมมนา จัดกิจกรรม เสมือนว่าเรากลาย
เป็นศูนย์กลางของเด็กและเยาวชนของจังหวัดอุบลราชธานีไปโดยปริยาย..เราเอา
ตัวเราไปรองรับการท�ำงานของสภาเด็กและเยาวชน “เหมือนเป็นหุ้นส่วนของการ
ท�ำงานด้านเด็กและเยาวชน  เป็นเพื่อนคู่มิตร เอาใจไปผูกกัน ไม่ใช่หน้าที่”
	
“กิจกรรมเกิดขึ้นภายใต้การเปิดพื้นที่ เปิดเวทีให้เด็กแสดงกิจกรรม ความ
สามารถและความส�ำเร็จ...ถ้าอยากให้เด็กมีพฤติกรรมทางบวก ผู้ใหญ่ต้องฟังเด็ก
รู้จักและเข้าใจภาษาเด็ก ทั้งภาษาพูด ภาษากาย ภาษาใจ...ฟังเด็กเป็น ที่เด็กๆเรียก..
1
ผู้ใหญ่ใจดี..กิจกรรมที่จัดขึ้น ถ้าบอกว่าพอใจกิจกรรมไหน คงบอกยากเพราะความ
สามารถของเด็กมีความแตกต่างกัน..สิ่งที่เกิดขึ้นจากการท�ำกิจกรรมคือ เด็กเปลี่ยน
พฤติกรรมสามารถเป็นตัวอย่างได้ โดยก้าวมายืนอยู่แนวหน้าของสภาเด็ก สามารถ
เปลี่ยนวิถีชีวิตลบ เป็นบวก.. “เป็นเด็กที่โลก สังคม เพื่อน ครอบครัวยอมรับ”..พา
เด็กกลุ่มนี้ร่วมเป็นวิทยากร เช่น เด็กที่ติดเชื้อเอช ไอ วี “ถึงแม้เปลี่ยนสภาพทางกาย
ไม่ได้ แต่สามารถเปลี่ยนพฤติกรรมได้”...”
	
“ส�ำนักบริการวิชาการชุมชน ในฐานะทีมงานในการด�ำเนินงานโครงการนี้
น�ำเสนอความก้าวหน้าอยู่เสมอ เรียนเชิญผมร่วมประชุมหรืออภิปราย เปิดงาน
นิทรรศการ มหกรรม..ถ้าผมเข้าร่วมกิจกรรมเท่าที่โอกาสหรือเวลาสอดคล้องตรงกัน
เขาพาท�ำอะไรผมก็ทำ สวมเสือตัวนีไปร่วมงานนะก็ตองสวม..ทีมงานพอใจ ว่า ผูบริหาร
�
้
้
้
้
ให้ความส�ำคัญต่องานที่เขาท�ำ  รวมทั้งกลุ่มเด็กหรือผู้ประสานงาน...รวมไปถึงการมี
ส่วนร่วมของ ๑๑ คณะในมหาวิทยาลัย ที่ด�ำเนินงานตามความถนัดของแต่ละคณะ
สามารถถอดบทเรียนเป็นแบบอย่างของของการมีส่วนร่วมได้”
	
“ถ้าถามว่าท�ำไมถึงต้องเข้าร่วมกิจกรรมอย่างนัน บางคนอาจมองว่า คงปฏิเสธ
้
ไม่ได้หรือเปล่า เพราะเป็นอธิการบดี นั่นก็เป็นส่วนหนึ่ง...แต่แท้จริงแล้วเป็นความ
รู้สึกที่ดีต่อเด็กและเยาวชน ผมชื่นชมชอบในความไร้เดียงสา ความไม่รู้จริงๆ ความ
มีเสน่ห์อยู่ในตัว เราสามารถสัมผัสได้ในตัวของเด็ก มีความน่ารัก น่าเอ็นดู น่าพูดคุย
ด้วย..”	
	
“เรื่องของเด็กและเยาวชนจะบอกว่าเป็นของกระทรวงสาธารณสุข ศึกษา
มหาดไทย เกษตร ไม่ได้เพราะเป็นองค์รวม เป็นส่วนหนึ่งของทุกภาคส่วนหรือองค์กร
เป็นส่วนประกอบที่เลื่อนไหลไปมา.. ยื่นมือยื่นไม้เข้ามาช่วยกัน ไม่มิติใดก็มิติหนึ่ง
ไม่ช่วงเวลาใดก็ช่วงเวลาหนึ่ง ถ้าเราคิดอย่างนี้ได้ต้องรีบท�ำ...ไม่ยืนรอ ไม่เพิกเฉย
เราต้องร่วมกันแก้ไขและพัฒนา เรื่องของเด็กและเยาวชนนับเป็นส่วนหนึ่งของเรา
ขององค์กรศึกษา ชุมชนและสังคม เราควรหันหน้าเข้าหากันเพื่อเปลี่ยนสิ่งที่ไม่พึง
ประสงค์เป็นสิ่งที่พึงประสงค์”
	
“นโยบายด้ า นเด็ ก และเยาวชนได้ รั บ การก� ำ หนดไว้ ใ นยุ ท ธศาสตร์
ของ มรภ.อุบลฯโดยมี ๒ เรื่องหลัก หนึ่งคือ “โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏ
2
อุบลราชธานี” ซึ่งเปิดรับนักเรียนชั้น ป.๑ แล้วในปีการศึกษา ๒๕๕๖ และ สองคือ
โครงการสภาเด็กและเยาวชน ซึ่งตั้งเป้าหมายขยายเป็นกลุ่มจังหวัด ๔ จังหวัด คื อ
อุ บ ลราชธานี ศรี ส ะเกษ ยโสธรและอ� ำ นาจเจริ ญ ...และขยายเป็ น “สภา
เยาวชนมหาวิทยาลัยแห่งอาเซียน” ซึ่งได้ก�ำหนดเป็นปฏิญญามหาวิทยาลัยราชภัฏ
อุบลราชธานีว่าด้วยสภาเยาวชนมหาวิทยาลัยแห่งอาเซียนแล้ว และวางแผนจัด
โครงการ “บัสเยาวชนอาเซียน” เพื่อการเรียนรู้กลุ่มประเทศอาเซียนใน “วิถีชีวิตที่มี
ผืนแผ่นดินติดกัน” ตามอนุภาคลุ่มน�้ำโขง”
	
“จากการด�ำเนินของสองโครงการที่มาเชื่อมต่อกันคือ เยาวชนอาเซียน
กับงานขับเคลื่อนเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังหวัด ท�ำให้เราได้เรียน..
จากการเชื่อมโยงนั้น ท�ำให้รองศาสตราจารย์ ดร. สมพงษ์ จิตระดับ บอกว่า คิด
ไม่ถึงว่าจะจัดใหญ่ขนาดนี้และน�ำมาลงตัวในบริบทเดียวกันได้ ภาพของอธิการบดี
ยืนถ่ายภาพกับเด็กเยาวชนอาเซียน “เป็นภาพประวัติศาสตร์ พร้อมที่ระเบิดออก
ไปสู่สาธารณะ เข้าถึงจิตวิญญาณและธาตุแท้ของโครงการ”...๖ กันยายน ที่ผ่านมา
ผมก็ได้รับโล่เกียรติยศ “บุคคลต้นแบบ ต้นกล้าคุณธรรม คนดีของสังคม” นับว่าเป็น
เกียรติประวัติและก�ำลังใจในการท�ำงานเพื่อส่วนรวม โดยเฉพาะงานด้านเด็กและ
เยาวชน”
	
“ผมค่อนข้างมันใจได้วา เราเดินมาถูกทางแล้ว จากการท�ำงานตามเป้าหมาย
่
่
ที่วางไว้ สามารถท�ำได้เกินเป้าหมายของโครงการด้วยซ�้ำ  ท�ำให้ทางกรุงเทพมหานคร
ได้จัดทีมมาศึกษาดูงาน ก็ได้รับค�ำชื่นชม.. สสส. ก�ำลังเตรียมขยายโครงการนี้ในภาค
เหนือ โดยให้เราเป็นพี่เลี้ยง”
“...เหมือนเป็นหุ้นส่วน
ของการท�ำงานด้านเด็กและเยาวชน เป็นเพื่อนคู่มิตร
เอาใจไปผูกกัน ไม่ใช่หน้าที่...”

3
4
“อยากให้เด็กคิดว่า เป้าหมายสูงสุดในการพัฒนาเด็กจริงๆ
คือ การให้เด็กคิดและรู้จักที่จะท�ำอะไรต่างๆ ได้ด้วยตนเอง
พึ่งพาตนเองได้ในอนาคตอย่างมีศักดิ์ศรี”
	
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมพร  ดวนใหญ่ รองอธิการบดี   ฝ่ายวิจัยและ
พัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ท่านได้พูดแนวคิดในการท�ำงาน
ด้านเด็กและเยาชนไว้ว่า
	
“ในแนวคิดของผมคิดว่า การขับเคลือนงานด้านเด็กและเยาวชน ณ สถานการณ์
่
ปัจจุบันนี่เหมาะ เพราะว่ามี ๕ องค์กรที่เข้ามาร่วมงานกับเราก็เป็นองค์กรที่เกี่ยวข้อง
ด้านเด็กและเยาวชนโดยตรงอยู่แล้ว ความแปลกใหม่ที่เห็นได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้นก็คือ
องค์การบริหารส่วนต�ำบล (อบต.)  ถึงแม้ว่าภาครัฐหรือภาควิชาการจะส่งเสริม
ถ้า อบต.ซึ่งเป็นผู้ที่ดูแลและอยู่ใกล้ชิดกับเยาวชนมากที่สุด ถ้าไม่เอาไปปฏิบัติก็จะ
ไม่เกิดประโยชน์ ในการพัฒนางาน กิจกรรมที่เราท�ำมันไม่จ�ำเป็นหรอกที่ต้องเหมือน
กันและรูปแบบที่เขาท�ำก็ท�ำถูกต้องนะ คือ สภาเด็กที่เขาสร้างกันขึ้นมานะ เขาก็มีรูป
แบบที่ชัดเจน ตัวสภาเด็กก็เป็นผู้เสนอโครงการเอง เสนอมาว่าอยากท�ำอะไร ผู้ใหญ่
มีหน้าที่คอยหนุน คอยก�ำกับให้มันถูกต้องเท่านั้นเอง ผมก็เคยคุยกับบุคลากรที่นี่ว่า
บางครั้งเราก็ต้องมีโมเดลที่ถูกต้องเหมือนกันนะ ยกตัวอย่างเช่น เด็กส่วนใหญ่ที่จะ
เข้ามา present งาน ต้อง present โดยใช้ power point ถามว่ามีความจ�ำเป็นไหม
ก็ไม่มีความจ�ำเป็นหรอก เราต้องกระตุ้นให้เด็กใช้ศักยภาพและทรัพยากรที่เขามีอยู่
ไม่ใช่ว่า อบต.นี้มีลานสเก็ต อบต.นี้ไม่มีลานสเก็ต แล้วถามว่าจะมีกิจกรรมได้อย่างไร
เขาอาจจะมีห้วยใกล้ๆบ้าน เขาอาจจะจัดให้มีการแข่งขันว่ายน�้ำก็ได้   เพราะฉะนั้น
เราอยากให้เด็กคิดว่าเป้าหมายสูงสุดในการพัฒนาเด็กจริงๆ คือ การให้เด็กคิดและ
รู้จักที่จะท�ำอะไรต่างๆได้ด้วยตนเอง พึ่งพาตนเองได้ในอนาคตอย่างมีศักดิ์ศรี”
	
“มุ ม มองของผมในสิ่ ง ที่ ส� ำ นั ก บริ ก ารวิ ช าการชุ ม ชนของเราได้ ท� ำ กั น ใน
ปัจจุบันนี้ สิ่งที่ผมชอบที่สุดก็คือ การที่เราให้แต่ละคณะในมหาวิทยาลัยเข้ามามีส่วน
ร่วม โดยการลงไปในแต่ละพื้นที่พร้อมมีการจัดสรรงบประมาณให้ไปด้วย เขาก็ท�ำ
5
แข่งกัน แต่ละคณะก็สนุก ความตั้งใจจริงๆ ของผม คือ อยากให้เกิดความต่อเนื่อง
จะเกิดความต่อเนื่องได้อย่างไร พวกเราต้องช่วยกัน   เราต้องสร้างต้นแบบที่ดี ที่นี้
เราก็พอจะเป็นต้นแบบได้ คือ เราต้องสร้างตัวบุคคล เราโชคดีที่มีทีมงานขับเคลื่อน
งานด้านเด็กและเยาวชนของมหาวิทยาลัย ซึ่งจะเป็นตัวหลักในการท�ำกิจกรรม สรุป
ว่าการด�ำเนินงานด้านเด็กและเยาวชนที่เราท�ำกัน ถามว่าพอใจไหม ผมพอใจ แต่เรา
ก็จะต้องมีการปรับเปลี่ยนและพัฒนาต่อไป โดยที่เราต้องพยายามดูหรือประเมินว่า
รูปแบบไหนที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด ดีใจที่ท่านอธิการบดีเราสายตายาวไกล ท่าน
ต้องการผลักดันเรื่องนี้เพราะเห็นว่ามันเป็นพลังที่สุด ท่านก็สนับสนุนงบประมาณเพิ่ม
เติมให้ เพื่อต้องการให้กิจกรรมมันเดินได้ต่อไป”
	
“ในอนาคตสังคมไทยจะเป็นสังคมผู้สูงอายุมากยิ่งขึ้น ผู้สูงอายุ คือ ผู้ที่ไม่
สามารถหารายได้หรือประกอบอาชีพได้ แต่สังคมไทยเป็นสังคมครอบครัว คือ ลูก
หลานเกื้อกูลผู้สูงอายุ เพราะฉะนั้นถ้าเราไม่พัฒนาลูกหลานเยาวชนให้มีความพร้อม
ในทุกด้านแล้วผู้สูงอายุจะอยู่กับใคร ท่านจะปล่อยให้ผู้สูงอายุไปเดินหากินอยู่ตาม
ข้างถนนหรือ เดี๋ยวนี้ที่ผมมองเห็นผู้สูงอายุไปเดินหากินอยู่ข้างถนนผมรู้สึกว่ามันจะ
เกิดแบบนี้ขึ้นอีกมากไหม แล้วพวกเราล่ะ ถ้าลูกเต้าไม่อยู่ด้วยพวกเราจะอยู่อย่างไร
ในหลวงทรงตรัสไว้ว่า “A loss is again” ตามหลักเศรษฐศาสตร์ก็คือ ถ้าไม่มี
การสูญเสียก็ไม่มีโอกาสได้ ซึ่งต่างจากหลักเศรษฐศาสตร์ของทุนนิยมที่จะต้องร�่ำรวย
อย่างเดียว เมื่อสมัย ๒๐ ปีก่อนที่เราจะเป็นนิคส์ ญี่ปุ่นบอกว่าอย่าเป็นเลยนิคส์ไม่มี
ประโยชน์เพราะการที่เราจะมีเงินเยอะขนาดไหนไม่ส�ำคัญเลย ผมก็เพิ่งเข้าใจนี่แหล่ะ
ครับ เพราะฉะนั้นฐานที่ส�ำคัญที่สุดก็คือ เยาวชน
	
ในเชิงวิชาการสิ่งหนึ่งที่เราต้องน�ำมาวิเคราะห์ คือ การที่เราให้แต่ละ อบต.
จั ด ตั้ ง สภาเด็ ก การด� ำ เนิ น กิ จ กรรมของเด็ ก เป็ น อย่ า งไรบ้ า ง เราต้ อ งมาช่ ว ยกั น
วิเคราะห์ว่าอบต.นี้ด�ำเนินกิจกรรมสภาเด็กได้หรือไม่ได้ เพราะอะไร หน้าที่อีกอย่าง
คือเราต้องมาสังเคราะห์ที่สิ่งเขาท�ำที่ไม่ใช่เชิงวิชาการให้เป็นเชิงวิชาการให้ได้ เราต้อง
จัดท�ำรายงานสรุปการฝึกอบรมและรูปแบบกิจกรรม โดยอบต.ที่ยังไม่ได้ท�ำ  เขาก็
สามารถเข้ามาดูและเลือกรูปแบบกิจกรรมที่เหมาะสมกับบริบทของท้องถิ่นเขาได้
ในฐานะที่เราเป็นนักวิชาการ เราจะต้องชี้ทางให้กับอบต.ต่างๆ ในเชิงวิชาการได้  
6
ให้ข้อเสนอแนะได้ ชี้ช่องต่อได้ เช่น เราไปช่วย อบต.หนึ่ง แล้วเห็นว่าเด็กคนหนึ่ง
เก่งมากเลย เราต้องชี้ช่องต่อนะว่าเด็กคนนี้เก่งแต่ไม่มีเงินเขาจะมีชีวิตและความเป็น
อยู่ที่ดีขึ้นได้อย่างไร ส่งต่อได้ ไม่ใช่ว่าเขาดีแล้วก็ให้เขาดิ้นเอง เราต้องเป็นทั้งผู้ให้ความ
รู้และแนะแนว ชี้ทาง ซึ่งเขาจะไปหรือไม่ก็แล้วแต่เขา ก็อย่างงานด้านเด็กและเยาวชน
นี่แหล่ะ เราต้องวิเคราะห์ สังเคราะห์ และชี้ทาง สร้างให้มันมี Idol สิ่งที่มีพลังหรือ
อิทธิพลอันหนึ่งต่อเยาวชนก็คือ Idol เราต้องให้เยาวชนมี Idol ที่ถูกต้องและสามารถ
ชี้ช่องทางออกให้เขาได้
“ในฐานะที่เราเป็นนักวิชาการ เราจะต้องชี้ทางให้กับ อบต.ต่างๆ
ในเชิงวิชาการได้ ให้ข้อเสนอแนะได้ ชี้ช่องต่อได้ เช่น เราไปช่วย อบต.หนึ่ง
แล้วเห็นว่าเด็กคนหนึ่งเก่งมากเลย เราต้องชี้ช่องต่อนะว่าเด็กคนนี้เก่ง
แต่ไม่มีเงินเขาจะมีชีวิตและความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นได้อย่างไร ส่งต่อได้”

7
8
“แม้บางครั้งอาจแตกต่างกันด้านแนวคิดของคนท�ำงานร่วมกัน
ในชุมชนและการมีส่วนร่วม กิจกรรมไม่เต็มร้อยเปอร์เซ็นต์
ดูเหมือนต่างคนต่างท�ำ แต่เราก็ท�ำหน้าที่ของเราให้ดีที่สุด...ท�ำการเมือง
ให้เป็นการบ้าน....มองไปข้างหน้าเป็นความหวัง
มองไปข้างหลังเป็นบทเรียน..แต่ส�ำหรับโครงการขับเคลื่อนเด็ก
เด็กมีความผูกพันกับทางทีมงานของ อบต.
เพราะเราคลุกคลีกับเด็ก ร่วมทุกข์ ร่วมสุขกันมาตลอด”
	
คุ ณ ทองค� ำ   มี หิ ริ นายกองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลคอนสาย อ� ำ เภอ
ตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี ได้กล่าวถึงการด�ำเนินงานการขับเคลื่อนงาน
ด้านเด็กและเยาวชนไว้ว่า
	
“แต่ก่อนเด็กในหมู่บ้านเชื่อฟังพ่อแม่ ผู้ใหญ่ ซึ่งเป็นไปตามวิถีของ
วัฒนธรรมบ้านเรา เช่น สมัยก่อนผู้สูงอายุขยัน ขนาดไม่มีรถไถก็สามารถท�ำนาได้
ในครอบครัวหนึ่งมีลูกหลายคน ๗-๘ คน แต่ก็ยังสามารถเลี้ยงลูกได้โดยไม่ล�ำบาก
มากนัก แต่ปจจุบน เพียงแค่คนหรือสองคนก็เลียงล�ำบากมากกว่าจะเติบโตครอบครัว
ั ั
้
ขยายแทบไม่มี มีแต่ครอบครัวเดี่ยว ผมก็เลยมองย้อนแนวคิดเดิมนั้นว่า ท�ำไม
ไม่น�ำสิ่งดีดีของเรากลับมาสร้างให้เกิดคุณค่าอีก โดยการให้ความส�ำคัญผู้สูงอายุ
“เฒ่าอย่างมีคุณค่า ชราอย่างมีศักดิ์ศรี” เพราะผมเชื่อว่าผู้สูงอายุเป็นผู้บ่มเพาะ
ความดีไว้เยอะ ทั้งด้านจริยธรรม ความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ตรงภายใต้
วิถีชีวิตในชุมชนเหมาะสมกับการน�ำมาสืบทอดให้เด็กรุ่นหลังได้เรียนรู้ เช่น ทุกวัน
นี้การสอนเด็กให้ท�ำตะกร้อ ม้าก้านกล้วย เล่านิทาน เครื่องจักสาน หวด กระทอ
กระติ๊บข้าว หรือแม้กระทั่งเครื่องไม้เครื่องมือท�ำมาหากิน”
	
“เมื่อก่อนผมเป็นคณะกรรมการ โรงเรียนบ้านคอนสาย ซึ่งเป็นโรงเรียน
ประจ�ำหมู่บ้าน จะมีเด็กเกเร ไม่เข้าห้องเรียน ตั้งกลุ่มกันตามแยกต่างๆ ในหมู่บ้าน
9
ท�ำโทษด้วยการตีก็ไม่ได้ กรรมการหมู่บ้านมาบอกก็ไม่เชื่อฟัง ดีไม่ดีเค้าท�ำท่า
จะท�ำร้ายเราอีก ดังนั้นผมเลยมีความคิดว่า เราอาจต้องมาหาวิธีแก้ โดยเสริม
จุดเด่นของเด็กที่มีอยู่ และพบว่า เด็กในโรงเรียนจะมีระบบการดูแลของแต่ละ
ชั้นเรียนแบบพี่ดูแลน้อง คือ เด็กชั้น ม. ๓ จะดูแล เด็กชั้น ม. ๒ เด็กชั้น ม. ๒
จะดูแลเด็กชั้น ม. ๑ เด็กจะเชื่อฟังพี่มากกว่าครูด้วยซ�้ำ แต่ส่วนใหญ่จะเป็นเรื่อง
ทางลบมากกว่า เช่น ต่อต้านระเบียบในโรงเรียน ยกพวกท�ำร้ายกัน จากที่เด็กเป็น
แบบนี้ผมเลยคิดว่า เราเสริมจุดนี้ไปทางสร้างสรรค์ ให้ร่วมกันท�ำกิจกรรมทางบวก
เป็นประโยชน์ โดยที่เราคอยดูอยู่ห่างๆ หลังจากนั้นประมาณ ๓ ปี พบว่า เด็กเข้า
ห้องเรียนมากขึ้น พฤติกรรมสูบบุหรี่ลดลง ไม่ชวนกันออกนอกโรงเรียน ที่ส�ำคัญ
คือ อัตราการจบการศึกษาเพิ่มขึ้น เป็นตัวชี้วัดหนึ่งว่า “สังคมมีความปลอดภัย”
	
“ชวนเด็กมาเข้าใกล้ชมชน” เพราะเดิมเด็กไม่คอยเข้าสังคม เด็กอยูสวนเด็ก
ุ
่
่่
ผู้ใหญ่อยู่ส่วนผู้ใหญ่ ไม่อยากไปช่วยงานในหมู่บ้าน บางครั้งต้องเรียก ขอร้องให้ไป  
และไปร่วมงานก็ไปนั่งอยู่เฉยๆ ไม่ได้ช่วยเหลืออะไร ผมก็ชวนเด็กเข้าไป เพราะ
โดยปกติตัวเองจะช่วยงานอยู่แล้ว ท�ำให้เด็กดูพาท�ำ บางทีก็ให้ค่าตอบแทนที่เป็น
เงินบ้างเล็กน้อย เราต้องเข้าใจว่าบางครั้งเด็กก็ต้องการสิ่งเหล่านี้”
	
“เด็กที่เป็นจิตอาสา ๗-๘ คน เสื้อมีให้สองแบบ สีส้มส�ำหรับงานทั่วไป
สีด�ำส�ำหรับงานศพ ผมพาลูกสาวอายุ ๗ ปี ไปด้วยเพื่อเป็นตัวอย่าง ไม่ใช่ไปบอก
แต่ลูกคนอื่น เป็นการฝึกให้เสียสละตั้งแต่เด็ก โดยเฉพาะงานศพ งานจะฉุกละหุก
ไม่มีคนช่วย เจ้าภาพเตรียมงานไม่ทัน เด็กจะเข้าไปช่วยจนงานเสร็จ บางทีก็ได้
ค่าตอบแทนซึ่งไม่ได้คาดหวังตรงนี้ แต่อยากช่วยมากกว่า เด็กไม่รู้สึกอาย แต่ภูมิใจ
ผมจะดูแลอยู่ห่างๆ อาจช่วยเรื่องถวายของพระ ซึ่งท�ำให้เด็กมองเห็นว่ามีผู้ใหญ่พา
ท�ำ  ไม่งั้นเด็กอาจจะอาย เขิน ไม่กล้า พอท�ำบ่อยๆ ก็เป็นนิสัย เป็นพื้นฐานของเขา
เหมือนเราแต่ก่อนพ่อแม่พาท�ำนา โตขึ้นเราก็เป็นคนขยันขันแข็งเลยคิดว่า “เรา
อยากให้เค้าเป็นอะไร เราก็ต้องฝึกเค้า”
10
“สภาเด็กฯ มีสมาชิกประมาณ ๖๐ คน ปัญหาของการเข้ามาร่วมสภา
เด็กฯ คือ พืนทีหางไกล บางหมูบานไกลถึง ๒๐ กม. โทรศัพท์ตองใช้เสา การเดินทาง
้ ่ ่
่ ้
้
ของเด็กล�ำบาก เริ่มจากชุมชนใกล้เคียงก่อน แล้วค่อยขยายพื้นที่ต่อไป แต่เด็กจะ
มีสถานที่เป็นของเขา “มาโฮมกัน” ซึ่งทาง อบต. สนับสนุนโดยเด็กบริหารจัดการ
กันเอง มีคอมพิวเตอร์ให้ มีการบริหารจัดการ มีระเบียบ  มีประธาน กรรมการ
เลขาฯ จัดสถานทีสวยงาม จัดบอร์ดให้ความรู้ มีภาพกิจกรรมว่าไปท�ำอะไร เวลาไป
่
ประชุมตามหน่วยงานต่างๆ มีระบบพีเ่ ลียงดูแลเพือให้เด็กได้เรียนรูสงคม ในขณะเดียวกัน
้
่
้ั
ก็เรียนรู้ด้วยตัวเองไปด้วย รวมทั้งเปิดโอกาสให้เด็กมีส่วนร่วมในการวางแผน
ว่าอยากจะท�ำกิจกรรมอะไร มีแผนงานให้เสนอ รวมทั้งการเตรียมคนเพื่อเข้ามา
ท�ำงานแทนรุ่นพี่ที่ออกไป”
	
“เกิดการสร้างทีมงาน จนได้รับเชิญไปร่วมเป็นวิทยากร โดยจะเห็นได้
จากมูลนิธิเพร์ล เอส บัค ส�ำนักงานสร้างเสริมสุขภาพ โครงการต�ำบลสุขภาวะ
กระทรวงพัฒนาฯ  เชิญไปร่วม ช่วยให้เด็กเริ่มมีรายได้ ฝึกความเป็นผู้น�ำ ฝึกอาชีพ
บางครั้งเราขอเด็กเข้าร่วม ๓๐ คน แต่เด็กมาร่วมมากกว่าที่ต้องการ งบประมาณ
ส่วนเกิน ทาง อบต. ก็ต้องช่วย จะปฏิเสธก็ไม่ได้ ดีแล้วที่เด็กเข้ามาร่วม”
	
“พอท�ำงานไปเด็กจะยึดติดกับพี่เลี้ยง บางครั้งไม่ให้ความร่วมมือ เช่น
การเข้าร่วมประชุมกับจังหวัด หรือกระทรวงต่างๆ ที่ขอให้เข้าร่วม และการ
ไปแต่ละครั้งต้องมีพี่เลี้ยงซึ่งเป็นบุคลากรใน อบต. ไปด้วย เด็กจะยึดติดว่าต้อง
ไปกับคนนีคนเดียวเท่านัน ด้วยความทีเ่ ด็กท�ำงานกับพีเ่ ลียงมานาน เกิดความผูกพัน
้
้
้
เพราะพี่เลี้ยงคนนี้ท�ำงานลุยแบบเช้า-เย็น เสาร์-อาทิตย์ ผมต้องอธิบายให้เด็ก
เข้ า ใจว่ า “งานของเราอย่ า ไปยึ ด ติ ด กั บ คน คนๆเดียวอาจต้อ งท�ำงานหลายที่
มีพี่เลี้ยงแบบนี้คนเดียวไม่ตายเหรอ บางครั้งต้องมีคนไปท�ำงานแทน เพราะงาน
ด้านเด็กมีหลายงาน”......“ให้เค้าท�ำงานเป็นระบบ ท�ำงานแทนกันได้”....“สมมุตวา
ิ่
ต่อไปถ้าไม่มีนายกคนเดิม นายกต่อไปอาจมีแนวคิดที่แตกต่างจากเดิม แต่ยัง
มีหน่วยงานอื่นเข้าประสานงานเด็กกับเรา เราจ�ำเป็นต้องสานงานต่อไป เราจะท�ำ
11
อย่างไรให้ประสานงานต่อได้”.....“คนอื่นต้องมองเห็นศักยภาพของเรา เราต้อง
เข้มแข็งยืนหยัดด้วยล�ำแข้งของตัวเอง”
	
“จากการท�ำงานด้านเด็กในชุมชน มีเสียงสะท้อนจากเด็กและผู้ปกครอง
ดีมาก โดยเฉพาะโครงการศึกษาดูงานของเด็กและผู้ปกครอง ซึ่งไม่เคยมีมาก่อน
ถึงแม้ว่าค่าใช้จ่ายจะเกินงบประมาณที่ตั้งไว้ แต่เรายอมลงทุนเพื่อตอบแทนสังคม
แม้บางครั้งอาจแตกต่างกันด้านแนวคิดของคนท�ำงานร่วมกันในชุมชนและการมี
ส่ วนร่ ว มกิ จกรรมไม่ เ ต็ ม ร้ อ ยเปอร์ เซ็ น ต์   ดู เ หมื อ นต่างคนต่างท�ำ แต่เราก็ท�ำ
หน้าที่ของเราให้ดทสด...“ท�ำการเมืองให้เป็นการบ้าน”....“มองไปข้างหน้าเป็นความ
ี ี่ ุ
หวัง มองไปข้างหลังเป็นบทเรียน”..แต่ส�ำหรับโครงการขับเคลื่อนเด็ก เด็กมีความ
ผูกพันกับทางทีมงานของ อบต. เพราะเราคลุกคลีกับเด็ก ร่วมทุกข์ ร่วมสุขกันมา
ตลอด”
	
“ส�ำหรับทีมงานด้านเด็กของ อบต. ผมยืนยันได้เลยว่า สามารถท�ำงานได้
ดีทุกคน ผมคิดว่า ความรู้ความเข้าใจเด็กต้องมาก่อน ทีมงานก็เช่นกัน ถ้าไม่รู้อะไร
มาเลยจะล�ำบาก ผมให้ข้อเสนอแนะในการท�ำงานจากความรู้และประสบการณ์
ด้ านเด็ ก ที่ สั่ ง สมมา เปิ ด โอกาสเต็ ม ที่ ใ นการท� ำ งาน แสดงความสามารถ ช่ว ย
ให้ทีมงานเกิดความภาคภูมิใจ ทักษะการใช้คน ใช้ค�ำพูดให้ก�ำลังใจ ต้องมุ่งเรื่อง
ของงาน... “งานต้องได้ผล คนต้องมีความสุข”
	
“ส�ำหรับแผนในอนาคตผมยังให้ความส�ำคัญด้านผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส
ผู้พิการ เพราะเป็นนโยบายส�ำคัญตั้งแต่เริ่มเข้ามาท�ำงานตรงนี้ ที่ผ่านมาได้ก�ำหนด
ไว้ในข้อบัญญัติ ว่าเราต้องดูแลโครงสร้างพื้นฐานและพัฒนาคุณภาพชีวิต ของ
ประชาชน โดยเฉพาะเรื่องการศึกษากับเด็ก เพราะถ้าเราสร้างคนได้ไม่มีคุณภาพ
จะส่งกระทบต่อสังคมต่อไป”
	
“อยากจะฝากถึงหน่วยงานอื่นว่า การท�ำงานกับเด็ก ผู้บริหารมีบทบาท
ส�ำคัญอย่างยิ่ง รวมทั้งผู้น�ำชุมชน ถึงแม้ดูเหมือนว่าจะเป็นเพียงเรื่องเล็กน้อย แต่
ท�ำแล้วมีความสุข ช่วยกล่อมเกลาสร้างสรรค์เด็ก เป็นการให้ เด็กในวันข้างหน้า
12
เติบโตเป็นผู้ใหญ่มีคุณภาพ สามารถพัฒนาชุมชน อยากให้มีความต่อเนื่องของ
โครงการ สิ่งที่ท�ำอาจต้องอาศัยเวลา แต่เกิดคุณค่าต่อประชาชน เป็นประโยชน์ต่อ
ภาพรวม.... “ไม่ใช่แค่ค�ำพูด แต่ต้องลงมือท�ำ  น�ำไปสู่การปฏิบัติให้ได้   ผู้น�ำท�ำเป็น
ตัวอย่าง เป็นต้นแบบ  เสียสละต่อชุมชน”
“ไม่ใช่แค่ค�ำพูดอย่างเดียว แต่ต้องลงมือท�ำ
น�ำไปสู่การปฏิบัติให้ได้ ผู้น�ำท�ำเป็นตัวอย่าง
เป็นต้นแบบ เสียสละต่อชุมชน”

13
14
“ไม่เคยรู้สึกหนักใจเลยในการท�ำงานด้านเด็ก
เพราะคิดว่าตนเองก็เคยเป็นเด็กมาก่อน เติบโตมากับพื้นบ้านแถบนี้
รู้ว่าตนเองเป็นอย่างไร ต้องการอะไร พอมาเป็นผู้บริหาร
เหมือนทดแทนให้กับตนเอง ที่ตนเองที่ไม่เคยได้รับ
ทั้งด้านการศึกษา ด้านอาชีพ ด้านกีฬา
ผมสนับสนุนทั้ง ๙ โรงเรียนที่อยู่ในพื้นที่เรา
ดังนั้นเด็กรุ่นหลังจึงได้มีโอกาสเท่าที่จะให้ได้อย่างเต็มที่”
	
คุณธวัตชัย หอมทรัพย์ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลค�ำเขื่อนแก้ว
อ�ำเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี กล่าวไว้ว่า
	
“ทาง อบต. ได้ด�ำเนินงานด้านเด็กและเยาวชนตามแนวทางของจังหวัดที่ให้
นโยบายมา โดยสนับสนุนให้เด็กสร้างสรรค์กจกรรมกีฬา กิจกรรมตามขนบธรรมเนียม
ิ
ประเพณี ที่ส�ำคัญคือ เปิดโอกาสให้เด็กเข้ามีส่วนร่วมของการวางนโยบาย จัดท�ำแผน
ของชุมชน รวมทั้งประชาสัมพันธ์ให้เด็กมีแผนในการท�ำงานร่วมกับ อบต.”
	
“สภาเด็กฯ ต้องใช้เวลาในการสร้างความเข้าใจในระบบหรือลักษณะของ
การท�ำงาน ซึงสภาเด็กฯทีนจะมีขอจ�ำกัดเรืองของพืนที่ เนืองจากเป็นชุมชนขนาดใหญ่
่
่ ี่ ้
่
้
่
ห่างไกลกันในแต่ละชุมชน และมีพื้นที่เป็นป่าเขา แต่อย่างไรก็ตาม อบต. ก็เป็น
จุดประสานของสภาเด็กฯ ซึ่งการประชุมกลุ่มแต่ละครั้งจะนัดกันมาพูดคุยกันที่นี่”
	
“ส�ำหรับแนวคิดในการท�ำงานด้านเด็กของผม มองว่า พืนทีตำบลค�ำเขือนแก้ว
้ ่�
่
เป็นรอยต่อของเส้นทางการล�ำเลียงยาเสพติด ก็จะเกิดปัญหาการจับกุมเกิดขึ้น
โดยเฉพาะเยาวชน เลยเป็นทีมาว่า ต้องการให้เด็กและเยาวชนหลุดพ้นจากสิงเลวร้าย
่
่
เหล่านี้ อยากให้มีกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อตัวเด็กเอง แต่มันก็ไม่ใช่เรื่องง่าย เพราะ
เด็กมีความแตกต่างของความเป็นอยู่ ครอบครัวมีความขาดแคลน ส่งผลต่อการเข้าถึง
และการเข้ามามีส่วนร่วมของเด็กค่อนข้างน้อย”
	
“เด็กทีไม่ได้เรียนหนังสือ จะเป็นปัญหา ถึงแม้วาไม่เยอะ แต่กไปสร้างปัญหา
่
่
็
ให้กับชุมชน เพราะเด็กกลุ่มนี้ พ่อแม่ส่งไปเรียนแล้วไม่เรียน ออกมาก่อน จบ ม.๓
ท�ำให้เป็นภาระของครอบครัวและชุมชน”
15
“แต่หลังจากที่ได้ท�ำงานด้านเด็ก ช่วยให้เด็กที่เป็นภาระของพ่อแม่ลดลง
โดยจากกระบวนการกิจกรรมพัฒนาอาชีพ ส่งเสริมกิจกรรมกีฬาที่เด็กท�ำอยู่ โดย
อบต. ให้การสนับสนุนด้านงบประมาณ จัดให้มีการอบรมทักษะชีวิต อาชีพ โดย
มีหน่วยงานอื่นเข้ามามีส่วนร่วมสนับสนุน เช่น หน่วยพัฒนาสังคมที่ ๗๔ และมูลนิธิ
ศุภนิมิตแห่งประเทศไทย โดยทางมูลนิธิฯ นี้เข้ามาอยู่ในพื้นที่ มากกว่า ๒ ปีแล้ว โดย
ด�ำเนินงานตามโครงการของมูลนิธิฯ เอง แต่ในระยะหลังเข้ามามีส่วนร่วมงานด้าน
เด็กมากขึ้น ได้ช่วยเหลือด้านงบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ ร่วมกับทางเราด้วย”
	
“สภาเด็กฯ เริ่มด�ำเนินการก่อนที่ผมจะมารับต�ำแหน่งซึ่งผมมารับต�ำแหน่ง
ประมาณ ๔ ปีมาแล้ว สมาชิกเด็กในสภาเด็กฯ มีทั้งก�ำลังศึกษาอยู่ในระบบการศึกษา
ในโรงเรียนและนอกโรงเรียน โดยเด็กทีเ่ ป็นแกนน�ำเป็นคนเดิมและท�ำงานอย่างต่อเนือง
่
ทุกปี แต่ถ้ารุ่นนี้ออกไป ผมมีความคิดว่า จะสร้างเด็กกลุ่มที่ทาง อบต. จ้างท�ำงานใน
ช่วงปิดเทอม ซึ่งเด็กเหล่านี้จะมีความคุ้นเคยกับการท�ำงานด้านเด็กอยู่แล้ว ให้ช่วย
สานงานต่อ โดยการท�ำงานนั้นทาง อบต. จัดพี่เลี้ยงโดยหัวหน้า...อบต. จะสนับสนุน
ด้านสถานที่ งบประมาณ ให้ท�ำกิจกรรม”
	
“ส่วนบุคลากรที่ท�ำงานด้านเด็ก ผมพยายามสร้างแรงจูงใจเพราะที่นี่ท�ำงาน
เหมือนพี่น้อง อยู่กันแบบง่ายๆ วัยเราก็ไม่แตกต่างกันมาก คุยกันได้หมด ผมเปิด
โอกาสให้ เจ้าหน้าที่คุยทุกเรื่อง โดยเฉพาะด้านเด็ก ซึ่งเป็นงานที่ไม่ง่ายเลย”
	
“ผู้ปกครองมีความพึงพอใจต่อโครงการจ้างเด็กท�ำงานช่วงปิดภาคเรียน
เพราะท�ำให้เด็กมีรายได้ไปจุนเจือครอบครัว ไม่มีเวลาว่างมากนัก ตื่นเช้ามาท�ำงาน
กว่าจะกลับก็เย็น ถ้าเด็กไม่ได้ท�ำงานก็จะเป็นภาระครอบครัว โดยเฉพาะเด็กผู้ชาย
เพราะเวลามันว่างเยอะ ก็จะใช้เวลาว่างในการมั่วสุมกัน อบต.ค�ำเขื่อนแก้ว จะมี
“อบต. สัญจร” ในพื้นที่ต่างๆ ผู้ปกครองบอกเราว่า มีความมั่นใจ เราให้แด็กและ
ผู้ปกครองแสดงความคิดเห็น หย่อนบัตรความคิดเห็น รวมทั้งให้เด็กเข้ามามีส่วนร่วม
กิจกรรมเสนอโครงการ เพื่อบรรจุในแผนของ อบต.”
	
“เด็กมีความแตกต่างกันโดยเฉพาะครอบครัว เด็กบางคนเข้ามาร่วมกิจกรรม
ได้ตลอด เนืองจากครอบครัวสนับสนุนและมีความพร้อมด้านเศรษฐกิจ แต่เด็กบางคน
่
ถ้าครอบครัวไม่พร้อม ฐานะยากจน การเดินทางมาร่วมกิจกรรมล�ำบาก บางคนมีรถ
16
ส่วนตัว บางคนไม่มีเงินค่ารถ ถ้ามาร่วมกิจกรรมแล้ว สูญเสียรายได้ก็ไม่อยากมา
แต่เราก็เปิดโอกาสให้เด็กเดินเข้ามาตลอด”
	
“ไม่เคยรู้สึกหนักใจเลยในการท�ำงานด้านเด็ก เพราะคิดว่าตนเองก็เคยเป็น
เด็กมาก่อน เติบโตมากับพื้นบ้านแถบนี้ รู้ว่าตนเองเป็นอย่างไร ต้องการอะไร พอมา
เป็นผู้บริหาร เหมือนทดแทนให้กับตนเอง ที่ตนเองไม่เคยได้รับ ทั้งด้านการศึกษา
ด้านอาชีพ ด้านกีฬา ผมสนับสนุนทั้ง ๙ โรงเรียนที่อยู่ในพื้นที่เรา ดังนั้นเด็กรุ่นหลังจึง
ได้มีโอกาสเท่าที่จะให้ได้อย่างเต็มที่”
	
“สิ่งที่ผมอยากท�ำต่อไปนะครับ คือ อยากสร้างพื้นที่จ�ำหน่ายสินค้าของเด็ก
ซึ่งเป็นผลผลิตที่เด็กสร้างขึ้นมาตามที่เราส่งเสริม แต่ถ้าเราไม่มีจุดจ�ำหน่ายสินค้า เด็ก
ก็จะไม่มทขายสินค้า เด็กอาจจะหยุดท�ำได้ ตามทีผมมองไว้คอ สามแยกทางไปช่องเม็ก
ี ี่
่
ื
ใกล้ อบต. เพราะที่นี่มีผลงานเด่นคือ ไม้กวาด ผลิตภัณฑ์จักสานพลาสติก ที่เราเคย
พัฒนาไว้และท�ำให้กลุ่มเด็กมีรายได้มั่นคง”
	
“ในฐานะที่ต�ำบลค�ำเขื่อนแก้ว อยู่ใกล้ชายแดนกับประเทศ สปป.ลาว และ
เป็นช่องทางผ่านไป ประเทศเวียดนาม ผมอยากพัฒนาภาษาอังกฤษให้กับเด็กเพราะ
ภาษาอังกฤษเป็นเรื่องส�ำคัญมากและเป็นภาษากลางของการรวมกลุ่มอาเซียน เด็ก
บ้านเราน่าเป็นห่วงเรื่องภาษาอังกฤษ เป็นเด็กบ้านนอก เราอยู่ในพื้นที่รอยต่ออยู่แล้ว
เราน่าจะใช้ให้เป็นประโยชน์ เพียงแค่สามารถสือสารได้ เข้าใจกัน อาจไม่ตองลงลึกมาก
่
้
สามารถติดต่อสื่อสารท�ำธุรกิจกับคนต่างชาติได้”
	
“อยากจะฝากบอกว่า..เด็กถ้าเราเป็นตัวอย่างที่ดีให้เขา เขาจะดูเรา และเข้า
มาหาเราได้ง่ายขึ้น  อบต. เป็นหน่วยงานราชการ ไม่บ่อยนักที่จะมีเด็กสนใจที่จะเข้า
มาติดต่อสื่อสารด้วย แต่ถ้าเราชักชวนเข้ามาท�ำกิจกรรม เด็กจะสนุกสนาน เราต้อง
พยายามเปิดโอกาสให้เด็กได้ท�ำงานอย่างเต็มที่ อยากให้ผู้บริหารจัดสรรงบประมาณ
ให้เด็กได้ท�ำกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง ท�ำจนเกิดเป็นประเพณีสืบทอดไปเรื่อย ถ้ารุ่นพี่ท�ำ 
รุ่นน้องก็อยากท�ำตามต่อกันไปให้เข้มแข็ง”

17
18
“ผมมองว่าการท�ำงานด้านเด็กและเยาวชนเป็นการเตรียมความพร้อม
ที่จะท�ำให้ชุมชนมีความเจริญก้าวหน้ามากขึ้น
มีแนวความคิดเชิงพัฒนามากขึ้น และชุมชนก็จะพัฒนาอย่างยั่งยืน”
	
คุณสุเมธ ตรีศูลรัตน์ นายกเทศมนตรีต�ำบลค�ำน�้ำแซบ อ�ำเภอวารินช�ำราบ
จังหวัดอุบลราชธานี ผู้บริหารรุ่นใหม่ไฟแรง ซึ่งได้น�ำพาให้เทศบาลต�ำบลค�ำน�้ำแซบ
น�ำร่องการท�ำงานด้านเด็กและเยาวชนมา ๒ ปีแล้ว ได้กล่าวว่า
	
“ ตอนนี้เราต้องตอบโจทย์ก่อนว่าเราตั้งสภาเด็กขึ้นมาท�ำอะไร มันเป็น
ค�ำถามหลักที่ทุกคนต้องมีค�ำตอบในการจัดตั้ง เราอยากให้เด็กมีส่วนร่วมในการท�ำ
กิจกรรม มีแนวความคิดเชิงบูรณาการในการท�ำงานร่วมกันระหว่างเด็กและผู้ใหญ่
สิ่งต่อมาคือแนวความคิดที่จะท�ำให้เด็กสามารถด�ำเนินการต่อเองได้หรือท�ำกิจกรรม
ต่อไปได้ด้วยตัวของเขาเอง ซึ่งประเด็นหลักๆ มีอยู่ ๒ อย่างคือ ๑. การให้ความร่วม
มือ ๒. การสนับสนุนงบประมาณ เพราะในการท�ำกิจกรรมทุกงานมันต้องมีงบในการ
ด�ำเนินการ”
	
“ในส่วนของการท�ำงานด้านเด็กและเยาวชนของพื้นที่เรา ถ้าถามว่ามันโอเค
ไหม ผมก็ว่ามันก็โอเค การเขียนโครงการ เด็กเขาก็ท�ำเองตั้งแต่เริ่มคิด เริ่มเขียน และ
หาช่องทางในการหางบประมาณมาสนับสนุนในการท�ำกิจกรรม ซึ่งเขาก็ต้องส่งออก
ไปหลายๆที่ ไม่ว่าจะเป็นของ สสส. ของมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ของผม
เขาก็ส่งไป เด็กเป็นคนขับเคลื่อนเองทั้งหมด ซึ่งถามว่าดีไหม ดี แต่ผมมองว่ายังไงเรา
ก็ต้องมีงบประมาณหลักส่วนหนึ่งที่ให้กับเด็กถ้าคุณอยากให้เด็กท�ำกิจกรรม ก็ตั้งให้
เขาไว้ก่อน แล้วดูว่าเขามีแนวความคิดจะไปท�ำอะไร ผลตอบรับเป็นอย่างไรได้บ้าง”
	
“การขับเคลือนงานด้านเด็กทีดและมีประสิทธิภาพ ผมว่ามันต้องเริมจากการ
่
่ี
่
สร้างแรงกระตุ้น ให้เขารู้ว่าเขาจะได้อะไรจากส่วนนี้บ้าง เราต้องพยายามชี้ให้เห็นถึง
จุดนั้น ผมมองว่า อปท.หลายแห่งที่ท�ำในเรื่องของเด็กก็ถือว่าค่อนข้างดี ผู้บริหารผลัก
ดันค่อนข้างเยอะโดยมอบหมายให้เจ้าหน้าที่ที่มีใจที่อยากจะท�ำ  มีความพร้อมในการ
ท�ำงาน เพราะบางครั้งเราก็ต้องท�ำกิจกรรมของชุมชนในช่วงวันหยุดเสาร์อาทิตย์”
19
“การท�ำงานด้านเด็ก ที่จริงแล้วผมอยากพัฒนาเด็กตั้งแต่อยู่ในครรภ์ซึ่ง
ตอนนีเ้ ราก็ได้ทำแล้ว การดูแลคุณแม่ตงครรภ์ ดูแลเด็กช่วงปฐมวัย ค่อยๆ ท�ำไล่ระดับ
�
ั้
ขึนไป เราท�ำให้เขามีความกล้า มีความคิดที่จะแสดงออก มีแนวความคิดในเชิงพัฒนา
้
ในเชิงบูรณาการท�ำงานเด็กร่วมกับผู้ใหญ่ เรามองมาก่อนแล้ว ไม่ได้มองหยุดอยู่แค่ที่
สภาเด็กเท่านั้น เพียงแต่ว่าเราท�ำให้ match กับแต่ละช่วงวัยเท่านั้นเอง”
	
“แต่ ข องพวกนี้ผมว่ามันขาดความต่อเนื่อง คือมันเดินได้แวบแล้ว มันก็
ขาดหายไป เด็กที่เข้ามาท�ำงานกับเราถามว่าเราจะอัดเงินลงไปเรื่อยๆ ไหม โดย
ภารกิ จ ของเราถามว่ า เยอะไหมมั น ก็ เ ยอะอยู ่ น ะ แต่ วิ ธี ก ารแก้ ข องเราก็ คื อ เน้ น
การส่งประกวด การท�ำงานเน้นการคิดในเชิงสร้างสรรค์และส่งประกวดไปเพื่อหาทุน
เข้ามาสนับสนุน และยังเป็นการฝึกเด็กเพื่อเตรียมความพร้อมในอนาคตในเรื่องการ
จัดเตรียมเอกสารต่างๆ วิธีการเข้าพบผู้ใหญ่   แนวคิดในการท�ำกิจกรรมและวิธีการ
ด�ำเนินกิจกรรมต่อไป”
	
“การท�ำงานด้านเด็กพวกเราคุยกันตั้งแต่เริ่มแล้วล่ะว่าเราอยากได้อะไร
ซึ่งนโยบายของผู้บริหารก็บอกชัดเจนตั้งแต่ทีแรกแล้ว ฉะนั้นเราก�ำหนดนโยบายแล้ว
ลูกน้องยังไงก็ต้องเดินตาม ส่วนเขามีปัญหาตรงไหนก็ลงไปช่วยแก้ไข อยู่ติดกับเขา
ไม่ใช่ว่าจะให้เขาท�ำงานคนเดียว ซึ่งเราก็มองว่าคนที่เรามอบหมายงานให้เขาก็มีความ
พร้อมในการที่จะท�ำ  ความรัก ความอยากที่จะท�ำ  คุณจะท�ำอะไรก็ช่าง แต่ถ้ามีความ
อยากตั้งแต่เริ่มอะไรมันก็เดินได้เพราะอยากที่จะท�ำ  การที่จะท�ำอะไรได้ส�ำเร็จนั้น ๑.
ความอยากต้องมี ๒. คิดหาไอเดียใหม่ๆ อยู่เสมอ คุณไม่จ�ำเป็นต้องคิดเองไอเดียอื่นๆ
ที่เขามีโพสต์อยู่ในอินเตอร์เน็ตเยอะแยะดึงจากตรงนั้นแหล่ะมาใช้ เราต้องไม่หยุดอยู่
แค่นี้”
	
“ผมมองว่าการท�ำงานด้านเด็กและเยาวชนเป็นการเตรียมพร้อมทีจะท�ำให้ชมชนมี
่
ุ
ความเจริญก้าวหน้ามากขึ้น มีแนวความคิดเชิงพัฒนามากขึ้น เด็กกลุ่มปัจจุบันที่เป็น
เยาวชนถ้าเขามีความรู้หรือความพร้อมแล้ว เขาก็จะมองปัญหาและวิธีในการแก้ไข
ปัญหาได้ทะลุปรุโปร่ง ผมมองว่ามันเป็นวิธีการที่จะท�ำให้ชุมชนเกิดการพัฒนาอย่าง
ยั่งยืนในอนาคต เพราะเรามองว่าการท�ำอะไรก็ช่างถ้าเกิดจากความอยากได้ ความ
อยากที่จะเป็น และมีการท�ำกันจริงๆ มันเดินต่อไปได้ ทุกกิจกรรมทุกโครงการ”
20
“การท�ำอะไรเราต้องท�ำให้ดี เป็นต้นแบบที่ดี ถ้าเป็นต้นแบบที่ไม่ดีก็ไม่ควร
จะท�ำ  เด็กยังไงเราก็ต้องดันให้เขาขึ้น แต่ก่อนการท�ำงานของสภาเด็กและเยาวชน
ผมอยากได้หลายอย่าง แต่ช่วงหลังมาผมมองแค่จุดใหญ่ๆ ไม่กี่จุด ข้อแรกผมอยาก
ให้เด็กรู้จักปฏิสัมพันธ์กับคนอื่น มี connection เยอะๆ  และข้อสองอยากให้เขามี
ความกล้า กล้าที่จะคิด กล้าที่จะพูด กล้าที่จะท�ำ แล้วค้นหาปัญหา นี่คือสิ่งที่เราต้อง
ได้ ข้อสุดท้ายคือแนวคิดในการที่จะหาเงินคือเขาต้องคิดอะไรที่สร้างสรรค์และท�ำได้
จริงเพื่อที่จะส่งประกวด เฟ้นความสามารถของตัวเองออกมาเพื่อที่จะให้งานมันเดิน
ต่อไป นั้นคือสามสิ่งที่ผมมองว่าเขาควรจะได้จากการท�ำกิจกรรมสภาเด็ก”
	
“การท�ำงานสภาเด็ก ผมมองว่ามันเป็นแค่เสี้ยวหนึ่งของชีวิตเท่านั้นเอง เขา
ได้เรียนรู้แต่ไม่ใช่เป็นสาระส�ำคัญเพราะสาระส�ำคัญของเขาก็คือการเรียนหนังสือ นั่น
คือสิ่งที่ผมบอกกับเด็กทุกกลุ่มที่เข้ามาท�ำงานที่นี่ กิจกรรมเป็นแค่สิ่งเล็กๆ ถามว่า
ต้องมีไหม ควรจะต้องมีแต่สิ่งที่ต้องท�ำก็คือ การเรียน”
	
การที่จะท�ำอะไรได้ส�ำเร็จนั้น
		
๑. ความอยากต้องมี
		
๒. คิดหาไอเดียใหม่ๆ อยู่เสมอ

21
22
“ผมเชื่อมั่นในบุคลากรของผม รวมทั้งการด�ำเนินการขับเคลื่อน
งานเด็กด้วย...เคยได้รับรางวัลด้านเด็กและเยาวชน เพราะเรามีความเอาใจใส่
มีเจตนาที่ดีต่อเด็ก รางวัลที่ได้มารู้สึกมีเกียรติ ภาคภูมิใจและมีความสุข..
ไม่ใช่ได้เฉพาะผู้บริหาร แต่ได้ทั้งองค์กร ได้ทั้งต�ำบล”
	
คุณเจษฏา พรหมดี นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลคูเมือง อ�ำเภอวารินช�ำราบ
จังหวัดอุบลราชธานี ได้กล่าวถึงการด�ำเนินงานด้านเด็กและเยาวชนไว้ว่า
	
“สภาเด็กฯ รวมกลุ่มกันที่ อบต. บางครั้งเราไปคุยกับเด็กที่โรงเรียนบ้าน
คูเมือง เพราะว่าเด็กส่วนใหญ่อยู่ในโรงเรียน จ�ำนวนสมาชิกประมาณ ๖๐ คน เป็น
เด็กกลุ่มหนึ่งวัยท�ำงาน รวมกลุ่มยาก เวลาประสานไปหาที่บ้าน เด็กที่อยู่ในโรงเรียน
เป็นเด็กผูหญิง เวลาจะพาเด็กกลุมนีไปหาเด็กกลุมทีทำงานแล้ว บางทีการเดินทางล�ำบาก
้
่ ้
่ ่ �
ชุมชนรับทราบ ว่ามีสภาเด็กฯ สังเกตว่าชาวบ้านจะเข้ามาช่วยงานด้านเด็ก ช่วย
ประสานเด็กและใครไม่มา ก็จะตามเด็กให้ ผู้ปกครองก็ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี”
	
“กิจกรรมจิตอาสาของเด็กผู้หญิงชักชวนเพื่อนไปร่วมงานบุญกับผู้ปกครอง
เด็กช่วยล้างจานหรือเสิร์ฟอาหาร นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมส่งเสริมอาชีพ เด็กไปเรียน
รู้ที่ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน เพื่อประดิษฐ์กิ๊ฟหมวก โดยพี่เลี้ยงสนับสนุนอุปกรณ์
ในช่วงแรกเด็กไม่คอยจริงจัง ท�ำกันเล่นๆ ไม่คอยมีความรับผิดชอบ พีเ่ ลียงต้องเข้มงวด
่
่
้
จ�้ำจี้จ�้ำไช ใส่ใจมากขึ้น...การดูแลเด็กต้องประคับประคอง พยายามดึงเด็กเข้ามาร่วม
กิจกรรม ไม่ให้ไขว้เขว ออกนอกลู่นอกทาง”
	
“เยาวชนบางคนมาร่ ว มกิ จ กรรมไม่ ไ ด้ เพราะต้ อ งท� ำ งานและลางาน
จะเสียรายได้ บางคนผู้ปกครองไม่เห็นด้วย เกรงว่าเด็กจะเกเร ไปเที่ยว ซึ่งพี่เลี้ยงต้อง
อธิบายให้เข้าใจ...เด็กในโรงเรียนเป็นเด็กผู้หญิง ซึ่งจะเข้ามามีส่วนร่วมค่อนข้างดี แต่
เด็กที่ท�ำงานเป็นผู้ชายจะไม่ค่อยมีส่วนร่วมมากนัก ต้องคอยกระตุ้น”
	
“นโยบายการท�ำงานด้านเด็กของเรา ส่งเสริมสนับสนุนให้ออกก�ำลังกาย
เล่นกีฬา หน่วยงานใดที่มาประสานเรื่องเด็กและเยาวชน ผมมีนโยบายให้ตอบรับ
ทันที..ปัจจุบันการช่วยเหลือเด็กมีความส�ำคัญมาก เพราะปัญหาของเด็กปัจจุบัน คือ
23
ติดเกมและอินเทอร์เน็ต ท้องก่อนวัยอันควร ติดยาเสพติด ก่อความรุนแรง เราต้อง
ยอมรับว่า ทุกวันนี้เทคโนโลยีมีความก้าวหน้า ท�ำให้เด็กต้องตกเป็นเหยื่ออย่างหลีก
เลี่ยงไม่ได้ ถ้าไม่จัดการปัญหาเด็กจะท�ำให้เกิดปัญหารุนแรงเพิ่มมากขึ้น”
	
“เราควรให้การศึกษาแก่เด็กทั้งในโรงเรียนและนอกโรงเรียน พาเด็กไป
ศึกษานอกสถานที่ เรียนรู้สิ่งใหม่ ให้รู้ว่าท�ำแบบนี้มันดี และท�ำแบบนี้ไม่ดี เด็กก�ำลัง
อยู่ในวัยอยากรู้อยากเห็น เคยพาเด็กไปทัศนศึกษาที่วัดภูอานนท์ อ�ำเภอโขงเจียม
เพื่อให้เด็กเรียนรู้เรื่องศาสนา วัฒนธรรม ไม่ใช่มุ่งแต่เทคโนโลยี เด็กต้องรู้จักทั้งภาค
ทฤษฎี และปฏิบัติ ซึ่งส่วนการศึกษาของ อบต. มีความเอาใจใส่มากแต่ผลที่เกิดขึ้น
อาจไม่ได้ถึง ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ แต่ผมก็พอใจแล้ว เพราะการท�ำงานด้านเด็กเป็นเรื่อง
ละเอียดอ่อน เราต้องเอาใจใส่ให้มาก”
	
“ผมเป็นผู้บริหารคนหนึ่งที่ชอบเรียนรู้ ไม่ว่าจะเป็นด้านไหนก็ตาม รวมทุก
ด้านในองค์กร ผมเรียนรู้กับส่วนต่างๆใน อบต. มีปัญหาเราร่วมกันแก้ไข ผมเชื่อมั่น
ในบุคลากรของผม รวมทั้งการด�ำเนินการขับเคลื่อนงานเด็กด้วย...เคยได้รับรางวัล
ด้านเด็กและเยาวชน เพราะเรามีความเอาใจใส่ มีเจตนาที่ดีต่อเด็ก รางวัลที่ได้มารู้สึก
มีเกียรติ ภาคภูมิใจและมีความสุข.. ไม่ใช่ได้เฉพาะผู้บริหาร แต่ได้ทั้งองค์กร ได้ทั้ง
ต�ำบล”
	
“เราภูมิใจว่า เราเป็น อบต. น�ำร่องการขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชน
ดังนั้นเราต้องเดินหน้าสู่อนาคตที่ดี มีสมาชิกเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ รูปแบบการท�ำงานของผม
ไม่ชอบให้แยกส่วน แต่ช่วยเหลือกันท�ำงานเพื่อให้บรรลุผลแก่พี่น้องประชาชนหรือ
หน่วยงานที่มาประสาน”
	
“ผู้บริหารต้องเข้าใจเด็ก เอาใจใส่และให้ความส�ำคัญแก่เด็กให้มีอนาคตที่ดี
สู่โลกใหม่ๆ ถ้าผู้บริหารไม่ให้ความส�ำคัญก็ไม่มีประโยชน์ที่จะท�ำงานด้านเด็ก ...ปัจจัย
เสริมคือ ปลัด อบต. เพราะปลัด อบต. จะเป็นตัวขับเคลื่อนที่ส�ำคัญ เป็น “ส่วนควบ
ขององค์ประธาน” นายก อบต. คือองค์ประธาน และปลัด อบต. คือ ส่วนควบ ถ้ามี
แต่ประธาน แต่ไม่มีส่วนควบ เสมือนว่า..รถมีแต่เครื่องยนต์ แต่ไม่มีล้อ ไม่มีพวงมาลัย
มันก็ไปไหนไม่ได้ ระหว่างประธานกับส่วนควบต้องร่วมมือกัน”
24
“ถ้าไม่กระตุ้นในช่วงเด็ก แต่ไปกระตุ้นในช่วงผู้ใหญ่จะฝึกฝนยาก การเรียน
รู้เรื่องการขับเคลื่อนกับเด็กเป็นสิ่งส�ำคัญในชีวิต ผมเรียนรู้จากลูกสาวลูกชายตนเอง
ว่า ไม่ใช่เรื่องง่ายเท่าใดนักกว่าเด็กจะโตเป็นผู้ใหญ่ ตัวนี้ก็เป็นสิ่งกระตุ้นตัวหนึ่ง”
ผู้บริหารต้องเข้าใจเด็ก เอาใจใส่และ
ให้ความส�ำคัญแก่เด็กให้มีอนาคตที่ดีสู่โลกใหม่ๆ
ถ้าผู้บริหารไม่ให้ความส�ำคัญ
ก็ไม่มีประโยชน์ที่จะท�ำงานด้านเด็ก

25
26
“อยากให้เด็กในต�ำบลเป็นเสมือน “ต้นกล้า”
จะเป็นต้นอะไรก็ได้เพราะมองว่าต้นกล้าจะเติบโตไปข้างหน้า
ถ้าเลี้ยงดูอย่างดีก็จะเติบโต แต่ถ้าดูแลไม่ดีก็จะเป็นต้นแคระแกรน
ไม่มีประโยชน์ ท�ำอะไรก็ไม่ได้”

	
	
คุณบุญน�ำ   ชินทวัน องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองเหล่า อ�ำเภอเขื่องใน
จังหวัดอุบลราชธานี ได้กล่าวเกี่ยวกับการด�ำเนินงานด้านเด็กและเยาวชนไว้ว่า
	
“จากการด�ำเนินงานที่ผ่านมา ทาง อบต. หนองเหล่า ได้เน้นท�ำการส่งเสริม
ให้เด็กห่างไกลจากยาเสพติด อย่างเดือนที่ผ่านมาทาง อบต. ได้พาเด็กและผู้ปกครอง
ไปท�ำกิจกรรมนอกสถานทีที่ สัตหีบ ชลบุรี ก็ได้รบความร่วมมือจากเด็กและผูปกครอง
่
ั
้
เป็นอย่างดี โดยเด็กที่เข้ามาร่วมกิจกรรมนี้ เป็นเด็กตัวแทนจาก ๑๑ หมู่บ้านในต�ำบล
หนองเหล่า”
	
“การด�ำเนินงานด้านเด็กในท้องถิ่นบ้านเรา บางครั้งไม่ใช่เรื่องง่ายนัก แต่
ก็สามารถด�ำเนินการได้ โดยยึดหลักให้เด็กเป็นศูนย์กลาง บางคนติดเรียนหนังสือทั้ง
ในหมู่บ้าน อ�ำเภอหรือบางคนไปเรียนในจังหวัดซึ่งไกลจากหมู่บ้าน ๔๐ กว่ากิโลเมตร
ส่วนใหญ่เด็กจะไปโรงเรียน คนที่ไม่ไปเรียนจะน้อย เด็กจะชอบกิจกรรมที่เป็นการ
อบรม แต่กิจกรรมที่เป็นงานต่อเนื่องหรือรับผิดชอบจะไม่ชอบนัก บางทีกลับจาก
โรงเรียน ก็รวมกลุ่มกันเตะฟุตบอล จุดบั้งไฟน้อย”
	
“สภาเด็กฯ มีประมาณ ๓๐ คน โดยตังมาประมาณ ๒ ปีแล้ว ปัจจุบนประธาน
้
ั
คนเดิมไปท�ำงาน กรุงเทพฯ จึงมีการแต่งตั้งประธานคนใหม่แทน…เด็กส่วนใหญ่
เป็นเด็กจากระบบการศึกษาในโรงเรียน ระดับมัธยมขึ้นไป ในสภาเด็กฯ ก็จะแต่งตั้ง
ประธาน เลขา เหรัญญิก เมือ อบต. หรือชาวบ้านต้องการขอความช่วยเหลือให้ชวยงาน
่
่
สภาเด็กฯ ก็จะส่งทีมงานไปร่วมด้วย...อยากให้สภาเด็กฯ ให้ความส�ำคัญกับชุมชน
ไม่ไปมั่วสุมทั้งเรื่องยาเสพติดหรือเพศ พอมีสภาเด็กฯ ก็สังเกตว่า ปัญหาดังกล่าวดีขึ้น
มีเพียงปัญหาเล็กๆน้อย ซึงผมมองว่าเราเองต้องท�ำเป็นตัวอย่าง เช่น เรืองไม่เอาใจใส่ใน
่
่
การงานที่ได้รับมอบหมาย ไม่รับผิดชอบกิจกรรมของตนเอง ต้องบอกกันบ่อยๆ ซึ่งก็
แก้ไขโดยการให้พี่เลี้ยงคอยดูแลอย่างใกล้ชิด”
27
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร

More Related Content

What's hot

คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003charinruarn
 
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.wasan
 
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวีคำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวีนายจักราวุธ คำทวี
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ...
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ...Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ...
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ...นวพร คำแสนวงษ์
 
Tic 1
Tic  1Tic  1
Tic 1BTNHO
 
รายงานสรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการประเมิน สถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน....
รายงานสรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการประเมิน สถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน....รายงานสรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการประเมิน สถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน....
รายงานสรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการประเมิน สถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน....นายจักราวุธ คำทวี
 

What's hot (11)

แบบฟอร์ม+Storytellingครั้งที่ 1รอบ2 56
แบบฟอร์ม+Storytellingครั้งที่ 1รอบ2 56แบบฟอร์ม+Storytellingครั้งที่ 1รอบ2 56
แบบฟอร์ม+Storytellingครั้งที่ 1รอบ2 56
 
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
 
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003
 
ชื่อโครงการ 57
ชื่อโครงการ 57ชื่อโครงการ 57
ชื่อโครงการ 57
 
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
 
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวีคำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ...
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ...Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ...
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ...
 
Tic 1
Tic  1Tic  1
Tic 1
 
บทที่ 17
บทที่ 17บทที่ 17
บทที่ 17
 
รายงานสรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการประเมิน สถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน....
รายงานสรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการประเมิน สถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน....รายงานสรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการประเมิน สถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน....
รายงานสรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการประเมิน สถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน....
 
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
 

Viewers also liked

สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดอุบลราชธานี
สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดอุบลราชธานีสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดอุบลราชธานี
สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดอุบลราชธานีMr-Dusit Kreachai
 
วาระงานผู้บริหารและบุคลากร
วาระงานผู้บริหารและบุคลากรวาระงานผู้บริหารและบุคลากร
วาระงานผู้บริหารและบุคลากรMr-Dusit Kreachai
 
วาระงานผู้บริหารและบุคลากร
วาระงานผู้บริหารและบุคลากรวาระงานผู้บริหารและบุคลากร
วาระงานผู้บริหารและบุคลากรMr-Dusit Kreachai
 
ทำเนียบรุ่นที่ 1 แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมเด็กและเยาวชน
ทำเนียบรุ่นที่ 1 แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมเด็กและเยาวชนทำเนียบรุ่นที่ 1 แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมเด็กและเยาวชน
ทำเนียบรุ่นที่ 1 แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมเด็กและเยาวชนMr-Dusit Kreachai
 
Realizações 2015
Realizações 2015Realizações 2015
Realizações 2015Lari Aveiro
 
ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในMr-Dusit Kreachai
 
สถิติการศึกษาระดับประเทศ
สถิติการศึกษาระดับประเทศสถิติการศึกษาระดับประเทศ
สถิติการศึกษาระดับประเทศMr-Dusit Kreachai
 
โครงการอบรมนักจัดเก็บรายได้
โครงการอบรมนักจัดเก็บรายได้โครงการอบรมนักจัดเก็บรายได้
โครงการอบรมนักจัดเก็บรายได้Mr-Dusit Kreachai
 
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่าลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่าMr-Dusit Kreachai
 
สรุปผลที่สำคัญเด็กและเยาวชน ปี 2551
สรุปผลที่สำคัญเด็กและเยาวชน ปี 2551สรุปผลที่สำคัญเด็กและเยาวชน ปี 2551
สรุปผลที่สำคัญเด็กและเยาวชน ปี 2551Mr-Dusit Kreachai
 
สรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานของ สำนักบริการวิชาการชุมชน
สรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานของ สำนักบริการวิชาการชุมชน สรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานของ สำนักบริการวิชาการชุมชน
สรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานของ สำนักบริการวิชาการชุมชน Mr-Dusit Kreachai
 
Seminário Aquisição de Leitura Fluente
Seminário Aquisição de Leitura FluenteSeminário Aquisição de Leitura Fluente
Seminário Aquisição de Leitura FluenteLari Aveiro
 
สถิติข้อมูล อนามัย การศึกษา ระดับประเทศ
สถิติข้อมูล อนามัย การศึกษา ระดับประเทศสถิติข้อมูล อนามัย การศึกษา ระดับประเทศ
สถิติข้อมูล อนามัย การศึกษา ระดับประเทศMr-Dusit Kreachai
 
ชื่อทำเนียบพี่เลี้ยง
ชื่อทำเนียบพี่เลี้ยงชื่อทำเนียบพี่เลี้ยง
ชื่อทำเนียบพี่เลี้ยงMr-Dusit Kreachai
 
โครงการอบรมน กจ ดเก_บรายได_
โครงการอบรมน กจ ดเก_บรายได_โครงการอบรมน กจ ดเก_บรายได_
โครงการอบรมน กจ ดเก_บรายได_Mr-Dusit Kreachai
 
ภาพกิจกรรมใน ปี 2556
ภาพกิจกรรมใน ปี  2556ภาพกิจกรรมใน ปี  2556
ภาพกิจกรรมใน ปี 2556Mr-Dusit Kreachai
 
แผนงบประมาณ ปี 2557
แผนงบประมาณ ปี 2557แผนงบประมาณ ปี 2557
แผนงบประมาณ ปี 2557Mr-Dusit Kreachai
 
ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไปข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไปMr-Dusit Kreachai
 
Power point
Power pointPower point
Power pointdethaa
 

Viewers also liked (19)

สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดอุบลราชธานี
สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดอุบลราชธานีสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดอุบลราชธานี
สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดอุบลราชธานี
 
วาระงานผู้บริหารและบุคลากร
วาระงานผู้บริหารและบุคลากรวาระงานผู้บริหารและบุคลากร
วาระงานผู้บริหารและบุคลากร
 
วาระงานผู้บริหารและบุคลากร
วาระงานผู้บริหารและบุคลากรวาระงานผู้บริหารและบุคลากร
วาระงานผู้บริหารและบุคลากร
 
ทำเนียบรุ่นที่ 1 แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมเด็กและเยาวชน
ทำเนียบรุ่นที่ 1 แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมเด็กและเยาวชนทำเนียบรุ่นที่ 1 แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมเด็กและเยาวชน
ทำเนียบรุ่นที่ 1 แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมเด็กและเยาวชน
 
Realizações 2015
Realizações 2015Realizações 2015
Realizações 2015
 
ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
 
สถิติการศึกษาระดับประเทศ
สถิติการศึกษาระดับประเทศสถิติการศึกษาระดับประเทศ
สถิติการศึกษาระดับประเทศ
 
โครงการอบรมนักจัดเก็บรายได้
โครงการอบรมนักจัดเก็บรายได้โครงการอบรมนักจัดเก็บรายได้
โครงการอบรมนักจัดเก็บรายได้
 
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่าลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
 
สรุปผลที่สำคัญเด็กและเยาวชน ปี 2551
สรุปผลที่สำคัญเด็กและเยาวชน ปี 2551สรุปผลที่สำคัญเด็กและเยาวชน ปี 2551
สรุปผลที่สำคัญเด็กและเยาวชน ปี 2551
 
สรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานของ สำนักบริการวิชาการชุมชน
สรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานของ สำนักบริการวิชาการชุมชน สรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานของ สำนักบริการวิชาการชุมชน
สรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานของ สำนักบริการวิชาการชุมชน
 
Seminário Aquisição de Leitura Fluente
Seminário Aquisição de Leitura FluenteSeminário Aquisição de Leitura Fluente
Seminário Aquisição de Leitura Fluente
 
สถิติข้อมูล อนามัย การศึกษา ระดับประเทศ
สถิติข้อมูล อนามัย การศึกษา ระดับประเทศสถิติข้อมูล อนามัย การศึกษา ระดับประเทศ
สถิติข้อมูล อนามัย การศึกษา ระดับประเทศ
 
ชื่อทำเนียบพี่เลี้ยง
ชื่อทำเนียบพี่เลี้ยงชื่อทำเนียบพี่เลี้ยง
ชื่อทำเนียบพี่เลี้ยง
 
โครงการอบรมน กจ ดเก_บรายได_
โครงการอบรมน กจ ดเก_บรายได_โครงการอบรมน กจ ดเก_บรายได_
โครงการอบรมน กจ ดเก_บรายได_
 
ภาพกิจกรรมใน ปี 2556
ภาพกิจกรรมใน ปี  2556ภาพกิจกรรมใน ปี  2556
ภาพกิจกรรมใน ปี 2556
 
แผนงบประมาณ ปี 2557
แผนงบประมาณ ปี 2557แผนงบประมาณ ปี 2557
แผนงบประมาณ ปี 2557
 
ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไปข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป
 
Power point
Power pointPower point
Power point
 

Similar to มุมมองผู้บริหาร

โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานีโครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานีMr-Dusit Kreachai
 
ยางนาสาร-ฉบับที่-80
ยางนาสาร-ฉบับที่-80ยางนาสาร-ฉบับที่-80
ยางนาสาร-ฉบับที่-80Mr-Dusit Kreachai
 
งานธุรกิจการท่องเที่ยว
งานธุรกิจการท่องเที่ยวงานธุรกิจการท่องเที่ยว
งานธุรกิจการท่องเที่ยวPornpan Larbsib
 
งานธุรกิจการท่องเที่ยว
งานธุรกิจการท่องเที่ยวงานธุรกิจการท่องเที่ยว
งานธุรกิจการท่องเที่ยวPornpan Larbsib
 
ธุรกิจการท่องเที่ยว
ธุรกิจการท่องเที่ยวธุรกิจการท่องเที่ยว
ธุรกิจการท่องเที่ยวPornpan Larbsib
 
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 52554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิตรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิตWichai Likitponrak
 
ยางนา ฉบับที่ 69
ยางนา ฉบับที่  69ยางนา ฉบับที่  69
ยางนา ฉบับที่ 69Mr-Dusit Kreachai
 
ยางนา ฉบับที่ 67
ยางนา ฉบับที่  67ยางนา ฉบับที่  67
ยางนา ฉบับที่ 67Mr-Dusit Kreachai
 
Newsletter Pidthong vol.1
Newsletter Pidthong vol.1Newsletter Pidthong vol.1
Newsletter Pidthong vol.1tongsuchart
 
งานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยนงานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยนjulee2506
 
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...Pattie Pattie
 
แผนการจัดโครงการและกิจกรรมพัฒนานิสิต ประจำปี 2561
แผนการจัดโครงการและกิจกรรมพัฒนานิสิต ประจำปี 2561แผนการจัดโครงการและกิจกรรมพัฒนานิสิต ประจำปี 2561
แผนการจัดโครงการและกิจกรรมพัฒนานิสิต ประจำปี 2561solarcell2
 
บทท 4 โครงการการให_ความร__ผ__ปกครอง
บทท   4 โครงการการให_ความร__ผ__ปกครองบทท   4 โครงการการให_ความร__ผ__ปกครอง
บทท 4 โครงการการให_ความร__ผ__ปกครองPitchayakarn Nitisahakul
 
คู่มือการทำงานสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย
คู่มือการทำงานสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทยคู่มือการทำงานสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย
คู่มือการทำงานสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทยInfluencer TH
 

Similar to มุมมองผู้บริหาร (20)

โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานีโครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
 
ข้อมูลโคร..[1]
ข้อมูลโคร..[1]ข้อมูลโคร..[1]
ข้อมูลโคร..[1]
 
ข้อมูลโคร..[1]
ข้อมูลโคร..[1]ข้อมูลโคร..[1]
ข้อมูลโคร..[1]
 
ยางนาสาร-ฉบับที่-80
ยางนาสาร-ฉบับที่-80ยางนาสาร-ฉบับที่-80
ยางนาสาร-ฉบับที่-80
 
งานธุรกิจการท่องเที่ยว
งานธุรกิจการท่องเที่ยวงานธุรกิจการท่องเที่ยว
งานธุรกิจการท่องเที่ยว
 
งานธุรกิจการท่องเที่ยว
งานธุรกิจการท่องเที่ยวงานธุรกิจการท่องเที่ยว
งานธุรกิจการท่องเที่ยว
 
ธุรกิจการท่องเที่ยว
ธุรกิจการท่องเที่ยวธุรกิจการท่องเที่ยว
ธุรกิจการท่องเที่ยว
 
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 52554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิตรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
 
ยางนา ฉบับที่ 69
ยางนา ฉบับที่  69ยางนา ฉบับที่  69
ยางนา ฉบับที่ 69
 
ยางนา ฉบับที่ 67
ยางนา ฉบับที่  67ยางนา ฉบับที่  67
ยางนา ฉบับที่ 67
 
Newsletter Pidthong vol.1
Newsletter Pidthong vol.1Newsletter Pidthong vol.1
Newsletter Pidthong vol.1
 
Youth clever project
Youth clever                        projectYouth clever                        project
Youth clever project
 
Youth clever project
Youth clever projectYouth clever project
Youth clever project
 
งานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยนงานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยน
 
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
 
แผนการจัดโครงการและกิจกรรมพัฒนานิสิต ประจำปี 2561
แผนการจัดโครงการและกิจกรรมพัฒนานิสิต ประจำปี 2561แผนการจัดโครงการและกิจกรรมพัฒนานิสิต ประจำปี 2561
แผนการจัดโครงการและกิจกรรมพัฒนานิสิต ประจำปี 2561
 
บทท 4 โครงการการให_ความร__ผ__ปกครอง
บทท   4 โครงการการให_ความร__ผ__ปกครองบทท   4 โครงการการให_ความร__ผ__ปกครอง
บทท 4 โครงการการให_ความร__ผ__ปกครอง
 
25713 1
25713 125713 1
25713 1
 
คู่มือการทำงานสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย
คู่มือการทำงานสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทยคู่มือการทำงานสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย
คู่มือการทำงานสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย
 

มุมมองผู้บริหาร

  • 1. ค�ำน�ำ โครงการขับเคลื่อนงานด้านเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังหวัด : อุบลราชธานี ได้รบการสนับสนุนจากส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ ั (สสส.) ให้ด�ำเนินโครงการ โดยมีเป้าหมายในการพัฒนาศักยภาพองค์กรปกครอง ส่ ว นท้ อ งถิ่ น (อปท.) ให้ มี บ ทบาทของส่ ว นร่ ว มในการด� ำ เนิ น งานขั บ เคลื่ อ น เด็กและเยาวชนที่ชัดเจน สามารถพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างความเข้มแข็ง เพื่อเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้และพัฒนาเด็กและเยาวชนในพื้นที่ เกิดการบูรณาการ การท�ำงานของ อปท. ให้สามารถเชื่อมโยงกับงานด้านเด็กและเยาวชน หนังสือเล่มนี้ เป็นส่วนหนึงจากการด�ำเนินการงานขับเคลือนเด็กและเยาวชน ่ ่ โดยน�ำข้อมูลประสบการณ์จากท�ำงานด้านเด็กและเยาวชนของผู้บริหาร มาวิเคราะห์ เรียบเรียง เพื่อน�ำเสนอถึงแนวคิด แรงบันดาลใจ วิธีการด�ำเนินงาน ตลอดจนผลลัพธ์ ที่เกิดขึ้น ที่สามารถด�ำเนินการขับเคลื่อนในแต่ละพื้นที่ การสร้างแรงบันดาลใจแก่ องค์กรอื่น ๆ ในการท�ำงานด้านนี้ โดยคณะผู้เขียนและเรียบเรียง คาดหวังว่าหนังสือ เล่มนี้ จะสามารถสื่อสารบอกเล่าเรื่องราวดีๆ ของแนวคิดในการท�ำงานด้านเด็ก และเยาวชนที่ เ ป็ น ประโยชน์ และช่ ว ยสร้ า งแรงบั น ดาลใจ แก่ อ งค์ ก ร ผู ้ ส นใจ ผู้เกี่ยวข้องในการร่วมกันขับเคลื่อนงานด้านเด็กและเยาวชนให้ขยายวงกว้างตาม สภาพบริบทและเงื่อนไขปัจจัยในพื้นที่ของตนเองต่อไป 1
  • 2. 2
  • 3. สารบัญ ผศ.ประชุม ผงผ่าน ผศ.ดร.สมพร ดวนใหญ่ องค์การบริหารส่วนต�ำบลคอนสาย องค์การบริหารส่วนต�ำบลค�ำเขื่อนแก้ว เทศบาลต�ำบลค�ำน�้ำแซบ องค์การบริหารส่วนต�ำบลคูเมือง องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองเหล่า เทศบาลต�ำบลขามใหญ่ องค์การบริหารส่วนต�ำบลกาบิน เทศบาลเมืองวารินช�ำราบ เทศบาลเมืองเดชอุดม องค์การบริหารส่วนต�ำบลบัวงาม องค์การบริหารส่วนต�ำบลเหล่าแดง เทศบาลเมืองพิบูลมังสาหาร เทศบาลต�ำบลท่าช้าง องค์การบริหารส่วนต�ำบลตาเกา เทศบาลต�ำบลม่วงสามสิบ เทศบาลต�ำบลหนองผือ เทศบาลต�ำบลนาเยีย องค์การบริหารส่วนต�ำบลนากระแซง องค์การบริหารส่วนต�ำบลโพธิ์ไทร องค์การบริหารส่วนต�ำบลส�ำโรง องค์การบริหารส่วนต�ำบลโคกสว่าง องค์การบริหารส่วนต�ำบลป่าโมง เทศบาลต�ำบลเขมราฐ เทศบาลต�ำบลนิคมสร้างตนเองล�ำโดมน้อย องค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดยาลวน หน้า ๑ ๔ ๘ ๑๔ ๑๘ ๒๒ ๒๖ ๓๐ ๓๒ ๓๔ ๓๗ ๔๑ ๔๔ ๔๘ ๕๒ ๕๕ ๕๘ ๖๑ ๖๔ ๖๖ ๖๙ ๗๒ ๗๕ ๗๙ ๘๒ ๘๖ ๘๙ 3
  • 4. 4
  • 5. “ถ้าอยากให้เด็กมีพฤติกรรมทางบวก ผู้ใหญ่ต้องฟังเด็ก รู้จักและเข้าใจภาษาเด็ก ทั้งภาษาพูด ภาษากาย ภาษาใจ...ฟังเด็กเป็น” ผูชวยศาสตราจารย์ ประชุม ผงผ่าน อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ้่ ซึ่งท่านได้เป็นที่ปรึกษาของโครงการขับเคลื่อนเด็กและเยาวชน ท่านได้ให้แนวทาง การด�ำเนินโครงการและค�ำแนะน�ำต่างๆ จนโครงการนี้ได้รับทุนด�ำเนินงานจาก ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) พร้อมนี้ท่านได้พูดแนวคิดใน การท�ำงานด้านเด็กและเยาวชนไว้ว่า “ผมได้รับเชิญเป็นที่ปรึกษาของโครงการขับเคลื่อนเด็กก่อนเริ่มโครงการ จนได้รับทุนด�ำเนินงานจากส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ให้ด�ำเนินงาน ๓ ปี....อยากเล่าให้ฟังว่า แต่ก่อนจังหวัดอุบลราชธานีมีสภาเด็ก ซึ่ง เป็นเรื่องของภาคประชาชน ผลลัพธ์ค่อนข้างดี..ด�ำเนินงานอยู่นอกรั้วมหาวิทยาลัย ราชภัฏอุบลฯ เป็นโครงการของกลุ่มคนที่รักเด็กรวมกลุ่มกัน และบังเอิญ มรภ.อุบลฯ ได้รับบุคลากรที่เคยเป็นประธานสภาเด็กเข้าท�ำงานที่เรา ก็เหมือนกับเอาสภาเด็ก เข้ามาอยู่ในรั้วมหาวิทยาลัย เสมือนหนึ่งว่าเราเป็นเจ้าของ แต่จริงๆ แล้ว คงไม่ใช่ เป็นการท�ำงานลักษณะภาคีเครือข่ายร่วมกันระหว่างองค์เอกชน องค์กรภาครัฐ... อย่างไรก็ตามเราก็ได้ดูแล สนับสนุนอย่างใกล้ชิด ไม่ว่าจะเป็นสถานที่ตั้งส�ำนักงาน สิ่งอ�ำนวยความสะดวกที่ใช้ในการประชุม สัมมนา จัดกิจกรรม เสมือนว่าเรากลาย เป็นศูนย์กลางของเด็กและเยาวชนของจังหวัดอุบลราชธานีไปโดยปริยาย..เราเอา ตัวเราไปรองรับการท�ำงานของสภาเด็กและเยาวชน “เหมือนเป็นหุ้นส่วนของการ ท�ำงานด้านเด็กและเยาวชน เป็นเพื่อนคู่มิตร เอาใจไปผูกกัน ไม่ใช่หน้าที่” “กิจกรรมเกิดขึ้นภายใต้การเปิดพื้นที่ เปิดเวทีให้เด็กแสดงกิจกรรม ความ สามารถและความส�ำเร็จ...ถ้าอยากให้เด็กมีพฤติกรรมทางบวก ผู้ใหญ่ต้องฟังเด็ก รู้จักและเข้าใจภาษาเด็ก ทั้งภาษาพูด ภาษากาย ภาษาใจ...ฟังเด็กเป็น ที่เด็กๆเรียก.. 1
  • 6. ผู้ใหญ่ใจดี..กิจกรรมที่จัดขึ้น ถ้าบอกว่าพอใจกิจกรรมไหน คงบอกยากเพราะความ สามารถของเด็กมีความแตกต่างกัน..สิ่งที่เกิดขึ้นจากการท�ำกิจกรรมคือ เด็กเปลี่ยน พฤติกรรมสามารถเป็นตัวอย่างได้ โดยก้าวมายืนอยู่แนวหน้าของสภาเด็ก สามารถ เปลี่ยนวิถีชีวิตลบ เป็นบวก.. “เป็นเด็กที่โลก สังคม เพื่อน ครอบครัวยอมรับ”..พา เด็กกลุ่มนี้ร่วมเป็นวิทยากร เช่น เด็กที่ติดเชื้อเอช ไอ วี “ถึงแม้เปลี่ยนสภาพทางกาย ไม่ได้ แต่สามารถเปลี่ยนพฤติกรรมได้”...” “ส�ำนักบริการวิชาการชุมชน ในฐานะทีมงานในการด�ำเนินงานโครงการนี้ น�ำเสนอความก้าวหน้าอยู่เสมอ เรียนเชิญผมร่วมประชุมหรืออภิปราย เปิดงาน นิทรรศการ มหกรรม..ถ้าผมเข้าร่วมกิจกรรมเท่าที่โอกาสหรือเวลาสอดคล้องตรงกัน เขาพาท�ำอะไรผมก็ทำ สวมเสือตัวนีไปร่วมงานนะก็ตองสวม..ทีมงานพอใจ ว่า ผูบริหาร � ้ ้ ้ ้ ให้ความส�ำคัญต่องานที่เขาท�ำ รวมทั้งกลุ่มเด็กหรือผู้ประสานงาน...รวมไปถึงการมี ส่วนร่วมของ ๑๑ คณะในมหาวิทยาลัย ที่ด�ำเนินงานตามความถนัดของแต่ละคณะ สามารถถอดบทเรียนเป็นแบบอย่างของของการมีส่วนร่วมได้” “ถ้าถามว่าท�ำไมถึงต้องเข้าร่วมกิจกรรมอย่างนัน บางคนอาจมองว่า คงปฏิเสธ ้ ไม่ได้หรือเปล่า เพราะเป็นอธิการบดี นั่นก็เป็นส่วนหนึ่ง...แต่แท้จริงแล้วเป็นความ รู้สึกที่ดีต่อเด็กและเยาวชน ผมชื่นชมชอบในความไร้เดียงสา ความไม่รู้จริงๆ ความ มีเสน่ห์อยู่ในตัว เราสามารถสัมผัสได้ในตัวของเด็ก มีความน่ารัก น่าเอ็นดู น่าพูดคุย ด้วย..” “เรื่องของเด็กและเยาวชนจะบอกว่าเป็นของกระทรวงสาธารณสุข ศึกษา มหาดไทย เกษตร ไม่ได้เพราะเป็นองค์รวม เป็นส่วนหนึ่งของทุกภาคส่วนหรือองค์กร เป็นส่วนประกอบที่เลื่อนไหลไปมา.. ยื่นมือยื่นไม้เข้ามาช่วยกัน ไม่มิติใดก็มิติหนึ่ง ไม่ช่วงเวลาใดก็ช่วงเวลาหนึ่ง ถ้าเราคิดอย่างนี้ได้ต้องรีบท�ำ...ไม่ยืนรอ ไม่เพิกเฉย เราต้องร่วมกันแก้ไขและพัฒนา เรื่องของเด็กและเยาวชนนับเป็นส่วนหนึ่งของเรา ขององค์กรศึกษา ชุมชนและสังคม เราควรหันหน้าเข้าหากันเพื่อเปลี่ยนสิ่งที่ไม่พึง ประสงค์เป็นสิ่งที่พึงประสงค์” “นโยบายด้ า นเด็ ก และเยาวชนได้ รั บ การก� ำ หนดไว้ ใ นยุ ท ธศาสตร์ ของ มรภ.อุบลฯโดยมี ๒ เรื่องหลัก หนึ่งคือ “โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏ 2
  • 7. อุบลราชธานี” ซึ่งเปิดรับนักเรียนชั้น ป.๑ แล้วในปีการศึกษา ๒๕๕๖ และ สองคือ โครงการสภาเด็กและเยาวชน ซึ่งตั้งเป้าหมายขยายเป็นกลุ่มจังหวัด ๔ จังหวัด คื อ อุ บ ลราชธานี ศรี ส ะเกษ ยโสธรและอ� ำ นาจเจริ ญ ...และขยายเป็ น “สภา เยาวชนมหาวิทยาลัยแห่งอาเซียน” ซึ่งได้ก�ำหนดเป็นปฏิญญามหาวิทยาลัยราชภัฏ อุบลราชธานีว่าด้วยสภาเยาวชนมหาวิทยาลัยแห่งอาเซียนแล้ว และวางแผนจัด โครงการ “บัสเยาวชนอาเซียน” เพื่อการเรียนรู้กลุ่มประเทศอาเซียนใน “วิถีชีวิตที่มี ผืนแผ่นดินติดกัน” ตามอนุภาคลุ่มน�้ำโขง” “จากการด�ำเนินของสองโครงการที่มาเชื่อมต่อกันคือ เยาวชนอาเซียน กับงานขับเคลื่อนเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังหวัด ท�ำให้เราได้เรียน.. จากการเชื่อมโยงนั้น ท�ำให้รองศาสตราจารย์ ดร. สมพงษ์ จิตระดับ บอกว่า คิด ไม่ถึงว่าจะจัดใหญ่ขนาดนี้และน�ำมาลงตัวในบริบทเดียวกันได้ ภาพของอธิการบดี ยืนถ่ายภาพกับเด็กเยาวชนอาเซียน “เป็นภาพประวัติศาสตร์ พร้อมที่ระเบิดออก ไปสู่สาธารณะ เข้าถึงจิตวิญญาณและธาตุแท้ของโครงการ”...๖ กันยายน ที่ผ่านมา ผมก็ได้รับโล่เกียรติยศ “บุคคลต้นแบบ ต้นกล้าคุณธรรม คนดีของสังคม” นับว่าเป็น เกียรติประวัติและก�ำลังใจในการท�ำงานเพื่อส่วนรวม โดยเฉพาะงานด้านเด็กและ เยาวชน” “ผมค่อนข้างมันใจได้วา เราเดินมาถูกทางแล้ว จากการท�ำงานตามเป้าหมาย ่ ่ ที่วางไว้ สามารถท�ำได้เกินเป้าหมายของโครงการด้วยซ�้ำ ท�ำให้ทางกรุงเทพมหานคร ได้จัดทีมมาศึกษาดูงาน ก็ได้รับค�ำชื่นชม.. สสส. ก�ำลังเตรียมขยายโครงการนี้ในภาค เหนือ โดยให้เราเป็นพี่เลี้ยง” “...เหมือนเป็นหุ้นส่วน ของการท�ำงานด้านเด็กและเยาวชน เป็นเพื่อนคู่มิตร เอาใจไปผูกกัน ไม่ใช่หน้าที่...” 3
  • 8. 4
  • 9. “อยากให้เด็กคิดว่า เป้าหมายสูงสุดในการพัฒนาเด็กจริงๆ คือ การให้เด็กคิดและรู้จักที่จะท�ำอะไรต่างๆ ได้ด้วยตนเอง พึ่งพาตนเองได้ในอนาคตอย่างมีศักดิ์ศรี” ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมพร ดวนใหญ่ รองอธิการบดี ฝ่ายวิจัยและ พัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ท่านได้พูดแนวคิดในการท�ำงาน ด้านเด็กและเยาชนไว้ว่า “ในแนวคิดของผมคิดว่า การขับเคลือนงานด้านเด็กและเยาวชน ณ สถานการณ์ ่ ปัจจุบันนี่เหมาะ เพราะว่ามี ๕ องค์กรที่เข้ามาร่วมงานกับเราก็เป็นองค์กรที่เกี่ยวข้อง ด้านเด็กและเยาวชนโดยตรงอยู่แล้ว ความแปลกใหม่ที่เห็นได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้นก็คือ องค์การบริหารส่วนต�ำบล (อบต.) ถึงแม้ว่าภาครัฐหรือภาควิชาการจะส่งเสริม ถ้า อบต.ซึ่งเป็นผู้ที่ดูแลและอยู่ใกล้ชิดกับเยาวชนมากที่สุด ถ้าไม่เอาไปปฏิบัติก็จะ ไม่เกิดประโยชน์ ในการพัฒนางาน กิจกรรมที่เราท�ำมันไม่จ�ำเป็นหรอกที่ต้องเหมือน กันและรูปแบบที่เขาท�ำก็ท�ำถูกต้องนะ คือ สภาเด็กที่เขาสร้างกันขึ้นมานะ เขาก็มีรูป แบบที่ชัดเจน ตัวสภาเด็กก็เป็นผู้เสนอโครงการเอง เสนอมาว่าอยากท�ำอะไร ผู้ใหญ่ มีหน้าที่คอยหนุน คอยก�ำกับให้มันถูกต้องเท่านั้นเอง ผมก็เคยคุยกับบุคลากรที่นี่ว่า บางครั้งเราก็ต้องมีโมเดลที่ถูกต้องเหมือนกันนะ ยกตัวอย่างเช่น เด็กส่วนใหญ่ที่จะ เข้ามา present งาน ต้อง present โดยใช้ power point ถามว่ามีความจ�ำเป็นไหม ก็ไม่มีความจ�ำเป็นหรอก เราต้องกระตุ้นให้เด็กใช้ศักยภาพและทรัพยากรที่เขามีอยู่ ไม่ใช่ว่า อบต.นี้มีลานสเก็ต อบต.นี้ไม่มีลานสเก็ต แล้วถามว่าจะมีกิจกรรมได้อย่างไร เขาอาจจะมีห้วยใกล้ๆบ้าน เขาอาจจะจัดให้มีการแข่งขันว่ายน�้ำก็ได้ เพราะฉะนั้น เราอยากให้เด็กคิดว่าเป้าหมายสูงสุดในการพัฒนาเด็กจริงๆ คือ การให้เด็กคิดและ รู้จักที่จะท�ำอะไรต่างๆได้ด้วยตนเอง พึ่งพาตนเองได้ในอนาคตอย่างมีศักดิ์ศรี” “มุ ม มองของผมในสิ่ ง ที่ ส� ำ นั ก บริ ก ารวิ ช าการชุ ม ชนของเราได้ ท� ำ กั น ใน ปัจจุบันนี้ สิ่งที่ผมชอบที่สุดก็คือ การที่เราให้แต่ละคณะในมหาวิทยาลัยเข้ามามีส่วน ร่วม โดยการลงไปในแต่ละพื้นที่พร้อมมีการจัดสรรงบประมาณให้ไปด้วย เขาก็ท�ำ 5
  • 10. แข่งกัน แต่ละคณะก็สนุก ความตั้งใจจริงๆ ของผม คือ อยากให้เกิดความต่อเนื่อง จะเกิดความต่อเนื่องได้อย่างไร พวกเราต้องช่วยกัน เราต้องสร้างต้นแบบที่ดี ที่นี้ เราก็พอจะเป็นต้นแบบได้ คือ เราต้องสร้างตัวบุคคล เราโชคดีที่มีทีมงานขับเคลื่อน งานด้านเด็กและเยาวชนของมหาวิทยาลัย ซึ่งจะเป็นตัวหลักในการท�ำกิจกรรม สรุป ว่าการด�ำเนินงานด้านเด็กและเยาวชนที่เราท�ำกัน ถามว่าพอใจไหม ผมพอใจ แต่เรา ก็จะต้องมีการปรับเปลี่ยนและพัฒนาต่อไป โดยที่เราต้องพยายามดูหรือประเมินว่า รูปแบบไหนที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด ดีใจที่ท่านอธิการบดีเราสายตายาวไกล ท่าน ต้องการผลักดันเรื่องนี้เพราะเห็นว่ามันเป็นพลังที่สุด ท่านก็สนับสนุนงบประมาณเพิ่ม เติมให้ เพื่อต้องการให้กิจกรรมมันเดินได้ต่อไป” “ในอนาคตสังคมไทยจะเป็นสังคมผู้สูงอายุมากยิ่งขึ้น ผู้สูงอายุ คือ ผู้ที่ไม่ สามารถหารายได้หรือประกอบอาชีพได้ แต่สังคมไทยเป็นสังคมครอบครัว คือ ลูก หลานเกื้อกูลผู้สูงอายุ เพราะฉะนั้นถ้าเราไม่พัฒนาลูกหลานเยาวชนให้มีความพร้อม ในทุกด้านแล้วผู้สูงอายุจะอยู่กับใคร ท่านจะปล่อยให้ผู้สูงอายุไปเดินหากินอยู่ตาม ข้างถนนหรือ เดี๋ยวนี้ที่ผมมองเห็นผู้สูงอายุไปเดินหากินอยู่ข้างถนนผมรู้สึกว่ามันจะ เกิดแบบนี้ขึ้นอีกมากไหม แล้วพวกเราล่ะ ถ้าลูกเต้าไม่อยู่ด้วยพวกเราจะอยู่อย่างไร ในหลวงทรงตรัสไว้ว่า “A loss is again” ตามหลักเศรษฐศาสตร์ก็คือ ถ้าไม่มี การสูญเสียก็ไม่มีโอกาสได้ ซึ่งต่างจากหลักเศรษฐศาสตร์ของทุนนิยมที่จะต้องร�่ำรวย อย่างเดียว เมื่อสมัย ๒๐ ปีก่อนที่เราจะเป็นนิคส์ ญี่ปุ่นบอกว่าอย่าเป็นเลยนิคส์ไม่มี ประโยชน์เพราะการที่เราจะมีเงินเยอะขนาดไหนไม่ส�ำคัญเลย ผมก็เพิ่งเข้าใจนี่แหล่ะ ครับ เพราะฉะนั้นฐานที่ส�ำคัญที่สุดก็คือ เยาวชน ในเชิงวิชาการสิ่งหนึ่งที่เราต้องน�ำมาวิเคราะห์ คือ การที่เราให้แต่ละ อบต. จั ด ตั้ ง สภาเด็ ก การด� ำ เนิ น กิ จ กรรมของเด็ ก เป็ น อย่ า งไรบ้ า ง เราต้ อ งมาช่ ว ยกั น วิเคราะห์ว่าอบต.นี้ด�ำเนินกิจกรรมสภาเด็กได้หรือไม่ได้ เพราะอะไร หน้าที่อีกอย่าง คือเราต้องมาสังเคราะห์ที่สิ่งเขาท�ำที่ไม่ใช่เชิงวิชาการให้เป็นเชิงวิชาการให้ได้ เราต้อง จัดท�ำรายงานสรุปการฝึกอบรมและรูปแบบกิจกรรม โดยอบต.ที่ยังไม่ได้ท�ำ เขาก็ สามารถเข้ามาดูและเลือกรูปแบบกิจกรรมที่เหมาะสมกับบริบทของท้องถิ่นเขาได้ ในฐานะที่เราเป็นนักวิชาการ เราจะต้องชี้ทางให้กับอบต.ต่างๆ ในเชิงวิชาการได้ 6
  • 11. ให้ข้อเสนอแนะได้ ชี้ช่องต่อได้ เช่น เราไปช่วย อบต.หนึ่ง แล้วเห็นว่าเด็กคนหนึ่ง เก่งมากเลย เราต้องชี้ช่องต่อนะว่าเด็กคนนี้เก่งแต่ไม่มีเงินเขาจะมีชีวิตและความเป็น อยู่ที่ดีขึ้นได้อย่างไร ส่งต่อได้ ไม่ใช่ว่าเขาดีแล้วก็ให้เขาดิ้นเอง เราต้องเป็นทั้งผู้ให้ความ รู้และแนะแนว ชี้ทาง ซึ่งเขาจะไปหรือไม่ก็แล้วแต่เขา ก็อย่างงานด้านเด็กและเยาวชน นี่แหล่ะ เราต้องวิเคราะห์ สังเคราะห์ และชี้ทาง สร้างให้มันมี Idol สิ่งที่มีพลังหรือ อิทธิพลอันหนึ่งต่อเยาวชนก็คือ Idol เราต้องให้เยาวชนมี Idol ที่ถูกต้องและสามารถ ชี้ช่องทางออกให้เขาได้ “ในฐานะที่เราเป็นนักวิชาการ เราจะต้องชี้ทางให้กับ อบต.ต่างๆ ในเชิงวิชาการได้ ให้ข้อเสนอแนะได้ ชี้ช่องต่อได้ เช่น เราไปช่วย อบต.หนึ่ง แล้วเห็นว่าเด็กคนหนึ่งเก่งมากเลย เราต้องชี้ช่องต่อนะว่าเด็กคนนี้เก่ง แต่ไม่มีเงินเขาจะมีชีวิตและความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นได้อย่างไร ส่งต่อได้” 7
  • 12. 8
  • 13. “แม้บางครั้งอาจแตกต่างกันด้านแนวคิดของคนท�ำงานร่วมกัน ในชุมชนและการมีส่วนร่วม กิจกรรมไม่เต็มร้อยเปอร์เซ็นต์ ดูเหมือนต่างคนต่างท�ำ แต่เราก็ท�ำหน้าที่ของเราให้ดีที่สุด...ท�ำการเมือง ให้เป็นการบ้าน....มองไปข้างหน้าเป็นความหวัง มองไปข้างหลังเป็นบทเรียน..แต่ส�ำหรับโครงการขับเคลื่อนเด็ก เด็กมีความผูกพันกับทางทีมงานของ อบต. เพราะเราคลุกคลีกับเด็ก ร่วมทุกข์ ร่วมสุขกันมาตลอด” คุ ณ ทองค� ำ มี หิ ริ นายกองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลคอนสาย อ� ำ เภอ ตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี ได้กล่าวถึงการด�ำเนินงานการขับเคลื่อนงาน ด้านเด็กและเยาวชนไว้ว่า “แต่ก่อนเด็กในหมู่บ้านเชื่อฟังพ่อแม่ ผู้ใหญ่ ซึ่งเป็นไปตามวิถีของ วัฒนธรรมบ้านเรา เช่น สมัยก่อนผู้สูงอายุขยัน ขนาดไม่มีรถไถก็สามารถท�ำนาได้ ในครอบครัวหนึ่งมีลูกหลายคน ๗-๘ คน แต่ก็ยังสามารถเลี้ยงลูกได้โดยไม่ล�ำบาก มากนัก แต่ปจจุบน เพียงแค่คนหรือสองคนก็เลียงล�ำบากมากกว่าจะเติบโตครอบครัว ั ั ้ ขยายแทบไม่มี มีแต่ครอบครัวเดี่ยว ผมก็เลยมองย้อนแนวคิดเดิมนั้นว่า ท�ำไม ไม่น�ำสิ่งดีดีของเรากลับมาสร้างให้เกิดคุณค่าอีก โดยการให้ความส�ำคัญผู้สูงอายุ “เฒ่าอย่างมีคุณค่า ชราอย่างมีศักดิ์ศรี” เพราะผมเชื่อว่าผู้สูงอายุเป็นผู้บ่มเพาะ ความดีไว้เยอะ ทั้งด้านจริยธรรม ความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ตรงภายใต้ วิถีชีวิตในชุมชนเหมาะสมกับการน�ำมาสืบทอดให้เด็กรุ่นหลังได้เรียนรู้ เช่น ทุกวัน นี้การสอนเด็กให้ท�ำตะกร้อ ม้าก้านกล้วย เล่านิทาน เครื่องจักสาน หวด กระทอ กระติ๊บข้าว หรือแม้กระทั่งเครื่องไม้เครื่องมือท�ำมาหากิน” “เมื่อก่อนผมเป็นคณะกรรมการ โรงเรียนบ้านคอนสาย ซึ่งเป็นโรงเรียน ประจ�ำหมู่บ้าน จะมีเด็กเกเร ไม่เข้าห้องเรียน ตั้งกลุ่มกันตามแยกต่างๆ ในหมู่บ้าน 9
  • 14. ท�ำโทษด้วยการตีก็ไม่ได้ กรรมการหมู่บ้านมาบอกก็ไม่เชื่อฟัง ดีไม่ดีเค้าท�ำท่า จะท�ำร้ายเราอีก ดังนั้นผมเลยมีความคิดว่า เราอาจต้องมาหาวิธีแก้ โดยเสริม จุดเด่นของเด็กที่มีอยู่ และพบว่า เด็กในโรงเรียนจะมีระบบการดูแลของแต่ละ ชั้นเรียนแบบพี่ดูแลน้อง คือ เด็กชั้น ม. ๓ จะดูแล เด็กชั้น ม. ๒ เด็กชั้น ม. ๒ จะดูแลเด็กชั้น ม. ๑ เด็กจะเชื่อฟังพี่มากกว่าครูด้วยซ�้ำ แต่ส่วนใหญ่จะเป็นเรื่อง ทางลบมากกว่า เช่น ต่อต้านระเบียบในโรงเรียน ยกพวกท�ำร้ายกัน จากที่เด็กเป็น แบบนี้ผมเลยคิดว่า เราเสริมจุดนี้ไปทางสร้างสรรค์ ให้ร่วมกันท�ำกิจกรรมทางบวก เป็นประโยชน์ โดยที่เราคอยดูอยู่ห่างๆ หลังจากนั้นประมาณ ๓ ปี พบว่า เด็กเข้า ห้องเรียนมากขึ้น พฤติกรรมสูบบุหรี่ลดลง ไม่ชวนกันออกนอกโรงเรียน ที่ส�ำคัญ คือ อัตราการจบการศึกษาเพิ่มขึ้น เป็นตัวชี้วัดหนึ่งว่า “สังคมมีความปลอดภัย” “ชวนเด็กมาเข้าใกล้ชมชน” เพราะเดิมเด็กไม่คอยเข้าสังคม เด็กอยูสวนเด็ก ุ ่ ่่ ผู้ใหญ่อยู่ส่วนผู้ใหญ่ ไม่อยากไปช่วยงานในหมู่บ้าน บางครั้งต้องเรียก ขอร้องให้ไป และไปร่วมงานก็ไปนั่งอยู่เฉยๆ ไม่ได้ช่วยเหลืออะไร ผมก็ชวนเด็กเข้าไป เพราะ โดยปกติตัวเองจะช่วยงานอยู่แล้ว ท�ำให้เด็กดูพาท�ำ บางทีก็ให้ค่าตอบแทนที่เป็น เงินบ้างเล็กน้อย เราต้องเข้าใจว่าบางครั้งเด็กก็ต้องการสิ่งเหล่านี้” “เด็กที่เป็นจิตอาสา ๗-๘ คน เสื้อมีให้สองแบบ สีส้มส�ำหรับงานทั่วไป สีด�ำส�ำหรับงานศพ ผมพาลูกสาวอายุ ๗ ปี ไปด้วยเพื่อเป็นตัวอย่าง ไม่ใช่ไปบอก แต่ลูกคนอื่น เป็นการฝึกให้เสียสละตั้งแต่เด็ก โดยเฉพาะงานศพ งานจะฉุกละหุก ไม่มีคนช่วย เจ้าภาพเตรียมงานไม่ทัน เด็กจะเข้าไปช่วยจนงานเสร็จ บางทีก็ได้ ค่าตอบแทนซึ่งไม่ได้คาดหวังตรงนี้ แต่อยากช่วยมากกว่า เด็กไม่รู้สึกอาย แต่ภูมิใจ ผมจะดูแลอยู่ห่างๆ อาจช่วยเรื่องถวายของพระ ซึ่งท�ำให้เด็กมองเห็นว่ามีผู้ใหญ่พา ท�ำ ไม่งั้นเด็กอาจจะอาย เขิน ไม่กล้า พอท�ำบ่อยๆ ก็เป็นนิสัย เป็นพื้นฐานของเขา เหมือนเราแต่ก่อนพ่อแม่พาท�ำนา โตขึ้นเราก็เป็นคนขยันขันแข็งเลยคิดว่า “เรา อยากให้เค้าเป็นอะไร เราก็ต้องฝึกเค้า” 10
  • 15. “สภาเด็กฯ มีสมาชิกประมาณ ๖๐ คน ปัญหาของการเข้ามาร่วมสภา เด็กฯ คือ พืนทีหางไกล บางหมูบานไกลถึง ๒๐ กม. โทรศัพท์ตองใช้เสา การเดินทาง ้ ่ ่ ่ ้ ้ ของเด็กล�ำบาก เริ่มจากชุมชนใกล้เคียงก่อน แล้วค่อยขยายพื้นที่ต่อไป แต่เด็กจะ มีสถานที่เป็นของเขา “มาโฮมกัน” ซึ่งทาง อบต. สนับสนุนโดยเด็กบริหารจัดการ กันเอง มีคอมพิวเตอร์ให้ มีการบริหารจัดการ มีระเบียบ มีประธาน กรรมการ เลขาฯ จัดสถานทีสวยงาม จัดบอร์ดให้ความรู้ มีภาพกิจกรรมว่าไปท�ำอะไร เวลาไป ่ ประชุมตามหน่วยงานต่างๆ มีระบบพีเ่ ลียงดูแลเพือให้เด็กได้เรียนรูสงคม ในขณะเดียวกัน ้ ่ ้ั ก็เรียนรู้ด้วยตัวเองไปด้วย รวมทั้งเปิดโอกาสให้เด็กมีส่วนร่วมในการวางแผน ว่าอยากจะท�ำกิจกรรมอะไร มีแผนงานให้เสนอ รวมทั้งการเตรียมคนเพื่อเข้ามา ท�ำงานแทนรุ่นพี่ที่ออกไป” “เกิดการสร้างทีมงาน จนได้รับเชิญไปร่วมเป็นวิทยากร โดยจะเห็นได้ จากมูลนิธิเพร์ล เอส บัค ส�ำนักงานสร้างเสริมสุขภาพ โครงการต�ำบลสุขภาวะ กระทรวงพัฒนาฯ เชิญไปร่วม ช่วยให้เด็กเริ่มมีรายได้ ฝึกความเป็นผู้น�ำ ฝึกอาชีพ บางครั้งเราขอเด็กเข้าร่วม ๓๐ คน แต่เด็กมาร่วมมากกว่าที่ต้องการ งบประมาณ ส่วนเกิน ทาง อบต. ก็ต้องช่วย จะปฏิเสธก็ไม่ได้ ดีแล้วที่เด็กเข้ามาร่วม” “พอท�ำงานไปเด็กจะยึดติดกับพี่เลี้ยง บางครั้งไม่ให้ความร่วมมือ เช่น การเข้าร่วมประชุมกับจังหวัด หรือกระทรวงต่างๆ ที่ขอให้เข้าร่วม และการ ไปแต่ละครั้งต้องมีพี่เลี้ยงซึ่งเป็นบุคลากรใน อบต. ไปด้วย เด็กจะยึดติดว่าต้อง ไปกับคนนีคนเดียวเท่านัน ด้วยความทีเ่ ด็กท�ำงานกับพีเ่ ลียงมานาน เกิดความผูกพัน ้ ้ ้ เพราะพี่เลี้ยงคนนี้ท�ำงานลุยแบบเช้า-เย็น เสาร์-อาทิตย์ ผมต้องอธิบายให้เด็ก เข้ า ใจว่ า “งานของเราอย่ า ไปยึ ด ติ ด กั บ คน คนๆเดียวอาจต้อ งท�ำงานหลายที่ มีพี่เลี้ยงแบบนี้คนเดียวไม่ตายเหรอ บางครั้งต้องมีคนไปท�ำงานแทน เพราะงาน ด้านเด็กมีหลายงาน”......“ให้เค้าท�ำงานเป็นระบบ ท�ำงานแทนกันได้”....“สมมุตวา ิ่ ต่อไปถ้าไม่มีนายกคนเดิม นายกต่อไปอาจมีแนวคิดที่แตกต่างจากเดิม แต่ยัง มีหน่วยงานอื่นเข้าประสานงานเด็กกับเรา เราจ�ำเป็นต้องสานงานต่อไป เราจะท�ำ 11
  • 16. อย่างไรให้ประสานงานต่อได้”.....“คนอื่นต้องมองเห็นศักยภาพของเรา เราต้อง เข้มแข็งยืนหยัดด้วยล�ำแข้งของตัวเอง” “จากการท�ำงานด้านเด็กในชุมชน มีเสียงสะท้อนจากเด็กและผู้ปกครอง ดีมาก โดยเฉพาะโครงการศึกษาดูงานของเด็กและผู้ปกครอง ซึ่งไม่เคยมีมาก่อน ถึงแม้ว่าค่าใช้จ่ายจะเกินงบประมาณที่ตั้งไว้ แต่เรายอมลงทุนเพื่อตอบแทนสังคม แม้บางครั้งอาจแตกต่างกันด้านแนวคิดของคนท�ำงานร่วมกันในชุมชนและการมี ส่ วนร่ ว มกิ จกรรมไม่ เ ต็ ม ร้ อ ยเปอร์ เซ็ น ต์ ดู เ หมื อ นต่างคนต่างท�ำ แต่เราก็ท�ำ หน้าที่ของเราให้ดทสด...“ท�ำการเมืองให้เป็นการบ้าน”....“มองไปข้างหน้าเป็นความ ี ี่ ุ หวัง มองไปข้างหลังเป็นบทเรียน”..แต่ส�ำหรับโครงการขับเคลื่อนเด็ก เด็กมีความ ผูกพันกับทางทีมงานของ อบต. เพราะเราคลุกคลีกับเด็ก ร่วมทุกข์ ร่วมสุขกันมา ตลอด” “ส�ำหรับทีมงานด้านเด็กของ อบต. ผมยืนยันได้เลยว่า สามารถท�ำงานได้ ดีทุกคน ผมคิดว่า ความรู้ความเข้าใจเด็กต้องมาก่อน ทีมงานก็เช่นกัน ถ้าไม่รู้อะไร มาเลยจะล�ำบาก ผมให้ข้อเสนอแนะในการท�ำงานจากความรู้และประสบการณ์ ด้ านเด็ ก ที่ สั่ ง สมมา เปิ ด โอกาสเต็ ม ที่ ใ นการท� ำ งาน แสดงความสามารถ ช่ว ย ให้ทีมงานเกิดความภาคภูมิใจ ทักษะการใช้คน ใช้ค�ำพูดให้ก�ำลังใจ ต้องมุ่งเรื่อง ของงาน... “งานต้องได้ผล คนต้องมีความสุข” “ส�ำหรับแผนในอนาคตผมยังให้ความส�ำคัญด้านผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ เพราะเป็นนโยบายส�ำคัญตั้งแต่เริ่มเข้ามาท�ำงานตรงนี้ ที่ผ่านมาได้ก�ำหนด ไว้ในข้อบัญญัติ ว่าเราต้องดูแลโครงสร้างพื้นฐานและพัฒนาคุณภาพชีวิต ของ ประชาชน โดยเฉพาะเรื่องการศึกษากับเด็ก เพราะถ้าเราสร้างคนได้ไม่มีคุณภาพ จะส่งกระทบต่อสังคมต่อไป” “อยากจะฝากถึงหน่วยงานอื่นว่า การท�ำงานกับเด็ก ผู้บริหารมีบทบาท ส�ำคัญอย่างยิ่ง รวมทั้งผู้น�ำชุมชน ถึงแม้ดูเหมือนว่าจะเป็นเพียงเรื่องเล็กน้อย แต่ ท�ำแล้วมีความสุข ช่วยกล่อมเกลาสร้างสรรค์เด็ก เป็นการให้ เด็กในวันข้างหน้า 12
  • 17. เติบโตเป็นผู้ใหญ่มีคุณภาพ สามารถพัฒนาชุมชน อยากให้มีความต่อเนื่องของ โครงการ สิ่งที่ท�ำอาจต้องอาศัยเวลา แต่เกิดคุณค่าต่อประชาชน เป็นประโยชน์ต่อ ภาพรวม.... “ไม่ใช่แค่ค�ำพูด แต่ต้องลงมือท�ำ น�ำไปสู่การปฏิบัติให้ได้ ผู้น�ำท�ำเป็น ตัวอย่าง เป็นต้นแบบ เสียสละต่อชุมชน” “ไม่ใช่แค่ค�ำพูดอย่างเดียว แต่ต้องลงมือท�ำ น�ำไปสู่การปฏิบัติให้ได้ ผู้น�ำท�ำเป็นตัวอย่าง เป็นต้นแบบ เสียสละต่อชุมชน” 13
  • 18. 14
  • 19. “ไม่เคยรู้สึกหนักใจเลยในการท�ำงานด้านเด็ก เพราะคิดว่าตนเองก็เคยเป็นเด็กมาก่อน เติบโตมากับพื้นบ้านแถบนี้ รู้ว่าตนเองเป็นอย่างไร ต้องการอะไร พอมาเป็นผู้บริหาร เหมือนทดแทนให้กับตนเอง ที่ตนเองที่ไม่เคยได้รับ ทั้งด้านการศึกษา ด้านอาชีพ ด้านกีฬา ผมสนับสนุนทั้ง ๙ โรงเรียนที่อยู่ในพื้นที่เรา ดังนั้นเด็กรุ่นหลังจึงได้มีโอกาสเท่าที่จะให้ได้อย่างเต็มที่” คุณธวัตชัย หอมทรัพย์ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลค�ำเขื่อนแก้ว อ�ำเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี กล่าวไว้ว่า “ทาง อบต. ได้ด�ำเนินงานด้านเด็กและเยาวชนตามแนวทางของจังหวัดที่ให้ นโยบายมา โดยสนับสนุนให้เด็กสร้างสรรค์กจกรรมกีฬา กิจกรรมตามขนบธรรมเนียม ิ ประเพณี ที่ส�ำคัญคือ เปิดโอกาสให้เด็กเข้ามีส่วนร่วมของการวางนโยบาย จัดท�ำแผน ของชุมชน รวมทั้งประชาสัมพันธ์ให้เด็กมีแผนในการท�ำงานร่วมกับ อบต.” “สภาเด็กฯ ต้องใช้เวลาในการสร้างความเข้าใจในระบบหรือลักษณะของ การท�ำงาน ซึงสภาเด็กฯทีนจะมีขอจ�ำกัดเรืองของพืนที่ เนืองจากเป็นชุมชนขนาดใหญ่ ่ ่ ี่ ้ ่ ้ ่ ห่างไกลกันในแต่ละชุมชน และมีพื้นที่เป็นป่าเขา แต่อย่างไรก็ตาม อบต. ก็เป็น จุดประสานของสภาเด็กฯ ซึ่งการประชุมกลุ่มแต่ละครั้งจะนัดกันมาพูดคุยกันที่นี่” “ส�ำหรับแนวคิดในการท�ำงานด้านเด็กของผม มองว่า พืนทีตำบลค�ำเขือนแก้ว ้ ่� ่ เป็นรอยต่อของเส้นทางการล�ำเลียงยาเสพติด ก็จะเกิดปัญหาการจับกุมเกิดขึ้น โดยเฉพาะเยาวชน เลยเป็นทีมาว่า ต้องการให้เด็กและเยาวชนหลุดพ้นจากสิงเลวร้าย ่ ่ เหล่านี้ อยากให้มีกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อตัวเด็กเอง แต่มันก็ไม่ใช่เรื่องง่าย เพราะ เด็กมีความแตกต่างของความเป็นอยู่ ครอบครัวมีความขาดแคลน ส่งผลต่อการเข้าถึง และการเข้ามามีส่วนร่วมของเด็กค่อนข้างน้อย” “เด็กทีไม่ได้เรียนหนังสือ จะเป็นปัญหา ถึงแม้วาไม่เยอะ แต่กไปสร้างปัญหา ่ ่ ็ ให้กับชุมชน เพราะเด็กกลุ่มนี้ พ่อแม่ส่งไปเรียนแล้วไม่เรียน ออกมาก่อน จบ ม.๓ ท�ำให้เป็นภาระของครอบครัวและชุมชน” 15
  • 20. “แต่หลังจากที่ได้ท�ำงานด้านเด็ก ช่วยให้เด็กที่เป็นภาระของพ่อแม่ลดลง โดยจากกระบวนการกิจกรรมพัฒนาอาชีพ ส่งเสริมกิจกรรมกีฬาที่เด็กท�ำอยู่ โดย อบต. ให้การสนับสนุนด้านงบประมาณ จัดให้มีการอบรมทักษะชีวิต อาชีพ โดย มีหน่วยงานอื่นเข้ามามีส่วนร่วมสนับสนุน เช่น หน่วยพัฒนาสังคมที่ ๗๔ และมูลนิธิ ศุภนิมิตแห่งประเทศไทย โดยทางมูลนิธิฯ นี้เข้ามาอยู่ในพื้นที่ มากกว่า ๒ ปีแล้ว โดย ด�ำเนินงานตามโครงการของมูลนิธิฯ เอง แต่ในระยะหลังเข้ามามีส่วนร่วมงานด้าน เด็กมากขึ้น ได้ช่วยเหลือด้านงบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ ร่วมกับทางเราด้วย” “สภาเด็กฯ เริ่มด�ำเนินการก่อนที่ผมจะมารับต�ำแหน่งซึ่งผมมารับต�ำแหน่ง ประมาณ ๔ ปีมาแล้ว สมาชิกเด็กในสภาเด็กฯ มีทั้งก�ำลังศึกษาอยู่ในระบบการศึกษา ในโรงเรียนและนอกโรงเรียน โดยเด็กทีเ่ ป็นแกนน�ำเป็นคนเดิมและท�ำงานอย่างต่อเนือง ่ ทุกปี แต่ถ้ารุ่นนี้ออกไป ผมมีความคิดว่า จะสร้างเด็กกลุ่มที่ทาง อบต. จ้างท�ำงานใน ช่วงปิดเทอม ซึ่งเด็กเหล่านี้จะมีความคุ้นเคยกับการท�ำงานด้านเด็กอยู่แล้ว ให้ช่วย สานงานต่อ โดยการท�ำงานนั้นทาง อบต. จัดพี่เลี้ยงโดยหัวหน้า...อบต. จะสนับสนุน ด้านสถานที่ งบประมาณ ให้ท�ำกิจกรรม” “ส่วนบุคลากรที่ท�ำงานด้านเด็ก ผมพยายามสร้างแรงจูงใจเพราะที่นี่ท�ำงาน เหมือนพี่น้อง อยู่กันแบบง่ายๆ วัยเราก็ไม่แตกต่างกันมาก คุยกันได้หมด ผมเปิด โอกาสให้ เจ้าหน้าที่คุยทุกเรื่อง โดยเฉพาะด้านเด็ก ซึ่งเป็นงานที่ไม่ง่ายเลย” “ผู้ปกครองมีความพึงพอใจต่อโครงการจ้างเด็กท�ำงานช่วงปิดภาคเรียน เพราะท�ำให้เด็กมีรายได้ไปจุนเจือครอบครัว ไม่มีเวลาว่างมากนัก ตื่นเช้ามาท�ำงาน กว่าจะกลับก็เย็น ถ้าเด็กไม่ได้ท�ำงานก็จะเป็นภาระครอบครัว โดยเฉพาะเด็กผู้ชาย เพราะเวลามันว่างเยอะ ก็จะใช้เวลาว่างในการมั่วสุมกัน อบต.ค�ำเขื่อนแก้ว จะมี “อบต. สัญจร” ในพื้นที่ต่างๆ ผู้ปกครองบอกเราว่า มีความมั่นใจ เราให้แด็กและ ผู้ปกครองแสดงความคิดเห็น หย่อนบัตรความคิดเห็น รวมทั้งให้เด็กเข้ามามีส่วนร่วม กิจกรรมเสนอโครงการ เพื่อบรรจุในแผนของ อบต.” “เด็กมีความแตกต่างกันโดยเฉพาะครอบครัว เด็กบางคนเข้ามาร่วมกิจกรรม ได้ตลอด เนืองจากครอบครัวสนับสนุนและมีความพร้อมด้านเศรษฐกิจ แต่เด็กบางคน ่ ถ้าครอบครัวไม่พร้อม ฐานะยากจน การเดินทางมาร่วมกิจกรรมล�ำบาก บางคนมีรถ 16
  • 21. ส่วนตัว บางคนไม่มีเงินค่ารถ ถ้ามาร่วมกิจกรรมแล้ว สูญเสียรายได้ก็ไม่อยากมา แต่เราก็เปิดโอกาสให้เด็กเดินเข้ามาตลอด” “ไม่เคยรู้สึกหนักใจเลยในการท�ำงานด้านเด็ก เพราะคิดว่าตนเองก็เคยเป็น เด็กมาก่อน เติบโตมากับพื้นบ้านแถบนี้ รู้ว่าตนเองเป็นอย่างไร ต้องการอะไร พอมา เป็นผู้บริหาร เหมือนทดแทนให้กับตนเอง ที่ตนเองไม่เคยได้รับ ทั้งด้านการศึกษา ด้านอาชีพ ด้านกีฬา ผมสนับสนุนทั้ง ๙ โรงเรียนที่อยู่ในพื้นที่เรา ดังนั้นเด็กรุ่นหลังจึง ได้มีโอกาสเท่าที่จะให้ได้อย่างเต็มที่” “สิ่งที่ผมอยากท�ำต่อไปนะครับ คือ อยากสร้างพื้นที่จ�ำหน่ายสินค้าของเด็ก ซึ่งเป็นผลผลิตที่เด็กสร้างขึ้นมาตามที่เราส่งเสริม แต่ถ้าเราไม่มีจุดจ�ำหน่ายสินค้า เด็ก ก็จะไม่มทขายสินค้า เด็กอาจจะหยุดท�ำได้ ตามทีผมมองไว้คอ สามแยกทางไปช่องเม็ก ี ี่ ่ ื ใกล้ อบต. เพราะที่นี่มีผลงานเด่นคือ ไม้กวาด ผลิตภัณฑ์จักสานพลาสติก ที่เราเคย พัฒนาไว้และท�ำให้กลุ่มเด็กมีรายได้มั่นคง” “ในฐานะที่ต�ำบลค�ำเขื่อนแก้ว อยู่ใกล้ชายแดนกับประเทศ สปป.ลาว และ เป็นช่องทางผ่านไป ประเทศเวียดนาม ผมอยากพัฒนาภาษาอังกฤษให้กับเด็กเพราะ ภาษาอังกฤษเป็นเรื่องส�ำคัญมากและเป็นภาษากลางของการรวมกลุ่มอาเซียน เด็ก บ้านเราน่าเป็นห่วงเรื่องภาษาอังกฤษ เป็นเด็กบ้านนอก เราอยู่ในพื้นที่รอยต่ออยู่แล้ว เราน่าจะใช้ให้เป็นประโยชน์ เพียงแค่สามารถสือสารได้ เข้าใจกัน อาจไม่ตองลงลึกมาก ่ ้ สามารถติดต่อสื่อสารท�ำธุรกิจกับคนต่างชาติได้” “อยากจะฝากบอกว่า..เด็กถ้าเราเป็นตัวอย่างที่ดีให้เขา เขาจะดูเรา และเข้า มาหาเราได้ง่ายขึ้น อบต. เป็นหน่วยงานราชการ ไม่บ่อยนักที่จะมีเด็กสนใจที่จะเข้า มาติดต่อสื่อสารด้วย แต่ถ้าเราชักชวนเข้ามาท�ำกิจกรรม เด็กจะสนุกสนาน เราต้อง พยายามเปิดโอกาสให้เด็กได้ท�ำงานอย่างเต็มที่ อยากให้ผู้บริหารจัดสรรงบประมาณ ให้เด็กได้ท�ำกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง ท�ำจนเกิดเป็นประเพณีสืบทอดไปเรื่อย ถ้ารุ่นพี่ท�ำ รุ่นน้องก็อยากท�ำตามต่อกันไปให้เข้มแข็ง” 17
  • 22. 18
  • 23. “ผมมองว่าการท�ำงานด้านเด็กและเยาวชนเป็นการเตรียมความพร้อม ที่จะท�ำให้ชุมชนมีความเจริญก้าวหน้ามากขึ้น มีแนวความคิดเชิงพัฒนามากขึ้น และชุมชนก็จะพัฒนาอย่างยั่งยืน” คุณสุเมธ ตรีศูลรัตน์ นายกเทศมนตรีต�ำบลค�ำน�้ำแซบ อ�ำเภอวารินช�ำราบ จังหวัดอุบลราชธานี ผู้บริหารรุ่นใหม่ไฟแรง ซึ่งได้น�ำพาให้เทศบาลต�ำบลค�ำน�้ำแซบ น�ำร่องการท�ำงานด้านเด็กและเยาวชนมา ๒ ปีแล้ว ได้กล่าวว่า “ ตอนนี้เราต้องตอบโจทย์ก่อนว่าเราตั้งสภาเด็กขึ้นมาท�ำอะไร มันเป็น ค�ำถามหลักที่ทุกคนต้องมีค�ำตอบในการจัดตั้ง เราอยากให้เด็กมีส่วนร่วมในการท�ำ กิจกรรม มีแนวความคิดเชิงบูรณาการในการท�ำงานร่วมกันระหว่างเด็กและผู้ใหญ่ สิ่งต่อมาคือแนวความคิดที่จะท�ำให้เด็กสามารถด�ำเนินการต่อเองได้หรือท�ำกิจกรรม ต่อไปได้ด้วยตัวของเขาเอง ซึ่งประเด็นหลักๆ มีอยู่ ๒ อย่างคือ ๑. การให้ความร่วม มือ ๒. การสนับสนุนงบประมาณ เพราะในการท�ำกิจกรรมทุกงานมันต้องมีงบในการ ด�ำเนินการ” “ในส่วนของการท�ำงานด้านเด็กและเยาวชนของพื้นที่เรา ถ้าถามว่ามันโอเค ไหม ผมก็ว่ามันก็โอเค การเขียนโครงการ เด็กเขาก็ท�ำเองตั้งแต่เริ่มคิด เริ่มเขียน และ หาช่องทางในการหางบประมาณมาสนับสนุนในการท�ำกิจกรรม ซึ่งเขาก็ต้องส่งออก ไปหลายๆที่ ไม่ว่าจะเป็นของ สสส. ของมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ของผม เขาก็ส่งไป เด็กเป็นคนขับเคลื่อนเองทั้งหมด ซึ่งถามว่าดีไหม ดี แต่ผมมองว่ายังไงเรา ก็ต้องมีงบประมาณหลักส่วนหนึ่งที่ให้กับเด็กถ้าคุณอยากให้เด็กท�ำกิจกรรม ก็ตั้งให้ เขาไว้ก่อน แล้วดูว่าเขามีแนวความคิดจะไปท�ำอะไร ผลตอบรับเป็นอย่างไรได้บ้าง” “การขับเคลือนงานด้านเด็กทีดและมีประสิทธิภาพ ผมว่ามันต้องเริมจากการ ่ ่ี ่ สร้างแรงกระตุ้น ให้เขารู้ว่าเขาจะได้อะไรจากส่วนนี้บ้าง เราต้องพยายามชี้ให้เห็นถึง จุดนั้น ผมมองว่า อปท.หลายแห่งที่ท�ำในเรื่องของเด็กก็ถือว่าค่อนข้างดี ผู้บริหารผลัก ดันค่อนข้างเยอะโดยมอบหมายให้เจ้าหน้าที่ที่มีใจที่อยากจะท�ำ มีความพร้อมในการ ท�ำงาน เพราะบางครั้งเราก็ต้องท�ำกิจกรรมของชุมชนในช่วงวันหยุดเสาร์อาทิตย์” 19
  • 24. “การท�ำงานด้านเด็ก ที่จริงแล้วผมอยากพัฒนาเด็กตั้งแต่อยู่ในครรภ์ซึ่ง ตอนนีเ้ ราก็ได้ทำแล้ว การดูแลคุณแม่ตงครรภ์ ดูแลเด็กช่วงปฐมวัย ค่อยๆ ท�ำไล่ระดับ � ั้ ขึนไป เราท�ำให้เขามีความกล้า มีความคิดที่จะแสดงออก มีแนวความคิดในเชิงพัฒนา ้ ในเชิงบูรณาการท�ำงานเด็กร่วมกับผู้ใหญ่ เรามองมาก่อนแล้ว ไม่ได้มองหยุดอยู่แค่ที่ สภาเด็กเท่านั้น เพียงแต่ว่าเราท�ำให้ match กับแต่ละช่วงวัยเท่านั้นเอง” “แต่ ข องพวกนี้ผมว่ามันขาดความต่อเนื่อง คือมันเดินได้แวบแล้ว มันก็ ขาดหายไป เด็กที่เข้ามาท�ำงานกับเราถามว่าเราจะอัดเงินลงไปเรื่อยๆ ไหม โดย ภารกิ จ ของเราถามว่ า เยอะไหมมั น ก็ เ ยอะอยู ่ น ะ แต่ วิ ธี ก ารแก้ ข องเราก็ คื อ เน้ น การส่งประกวด การท�ำงานเน้นการคิดในเชิงสร้างสรรค์และส่งประกวดไปเพื่อหาทุน เข้ามาสนับสนุน และยังเป็นการฝึกเด็กเพื่อเตรียมความพร้อมในอนาคตในเรื่องการ จัดเตรียมเอกสารต่างๆ วิธีการเข้าพบผู้ใหญ่ แนวคิดในการท�ำกิจกรรมและวิธีการ ด�ำเนินกิจกรรมต่อไป” “การท�ำงานด้านเด็กพวกเราคุยกันตั้งแต่เริ่มแล้วล่ะว่าเราอยากได้อะไร ซึ่งนโยบายของผู้บริหารก็บอกชัดเจนตั้งแต่ทีแรกแล้ว ฉะนั้นเราก�ำหนดนโยบายแล้ว ลูกน้องยังไงก็ต้องเดินตาม ส่วนเขามีปัญหาตรงไหนก็ลงไปช่วยแก้ไข อยู่ติดกับเขา ไม่ใช่ว่าจะให้เขาท�ำงานคนเดียว ซึ่งเราก็มองว่าคนที่เรามอบหมายงานให้เขาก็มีความ พร้อมในการที่จะท�ำ ความรัก ความอยากที่จะท�ำ คุณจะท�ำอะไรก็ช่าง แต่ถ้ามีความ อยากตั้งแต่เริ่มอะไรมันก็เดินได้เพราะอยากที่จะท�ำ การที่จะท�ำอะไรได้ส�ำเร็จนั้น ๑. ความอยากต้องมี ๒. คิดหาไอเดียใหม่ๆ อยู่เสมอ คุณไม่จ�ำเป็นต้องคิดเองไอเดียอื่นๆ ที่เขามีโพสต์อยู่ในอินเตอร์เน็ตเยอะแยะดึงจากตรงนั้นแหล่ะมาใช้ เราต้องไม่หยุดอยู่ แค่นี้” “ผมมองว่าการท�ำงานด้านเด็กและเยาวชนเป็นการเตรียมพร้อมทีจะท�ำให้ชมชนมี ่ ุ ความเจริญก้าวหน้ามากขึ้น มีแนวความคิดเชิงพัฒนามากขึ้น เด็กกลุ่มปัจจุบันที่เป็น เยาวชนถ้าเขามีความรู้หรือความพร้อมแล้ว เขาก็จะมองปัญหาและวิธีในการแก้ไข ปัญหาได้ทะลุปรุโปร่ง ผมมองว่ามันเป็นวิธีการที่จะท�ำให้ชุมชนเกิดการพัฒนาอย่าง ยั่งยืนในอนาคต เพราะเรามองว่าการท�ำอะไรก็ช่างถ้าเกิดจากความอยากได้ ความ อยากที่จะเป็น และมีการท�ำกันจริงๆ มันเดินต่อไปได้ ทุกกิจกรรมทุกโครงการ” 20
  • 25. “การท�ำอะไรเราต้องท�ำให้ดี เป็นต้นแบบที่ดี ถ้าเป็นต้นแบบที่ไม่ดีก็ไม่ควร จะท�ำ เด็กยังไงเราก็ต้องดันให้เขาขึ้น แต่ก่อนการท�ำงานของสภาเด็กและเยาวชน ผมอยากได้หลายอย่าง แต่ช่วงหลังมาผมมองแค่จุดใหญ่ๆ ไม่กี่จุด ข้อแรกผมอยาก ให้เด็กรู้จักปฏิสัมพันธ์กับคนอื่น มี connection เยอะๆ และข้อสองอยากให้เขามี ความกล้า กล้าที่จะคิด กล้าที่จะพูด กล้าที่จะท�ำ แล้วค้นหาปัญหา นี่คือสิ่งที่เราต้อง ได้ ข้อสุดท้ายคือแนวคิดในการที่จะหาเงินคือเขาต้องคิดอะไรที่สร้างสรรค์และท�ำได้ จริงเพื่อที่จะส่งประกวด เฟ้นความสามารถของตัวเองออกมาเพื่อที่จะให้งานมันเดิน ต่อไป นั้นคือสามสิ่งที่ผมมองว่าเขาควรจะได้จากการท�ำกิจกรรมสภาเด็ก” “การท�ำงานสภาเด็ก ผมมองว่ามันเป็นแค่เสี้ยวหนึ่งของชีวิตเท่านั้นเอง เขา ได้เรียนรู้แต่ไม่ใช่เป็นสาระส�ำคัญเพราะสาระส�ำคัญของเขาก็คือการเรียนหนังสือ นั่น คือสิ่งที่ผมบอกกับเด็กทุกกลุ่มที่เข้ามาท�ำงานที่นี่ กิจกรรมเป็นแค่สิ่งเล็กๆ ถามว่า ต้องมีไหม ควรจะต้องมีแต่สิ่งที่ต้องท�ำก็คือ การเรียน” การที่จะท�ำอะไรได้ส�ำเร็จนั้น ๑. ความอยากต้องมี ๒. คิดหาไอเดียใหม่ๆ อยู่เสมอ 21
  • 26. 22
  • 27. “ผมเชื่อมั่นในบุคลากรของผม รวมทั้งการด�ำเนินการขับเคลื่อน งานเด็กด้วย...เคยได้รับรางวัลด้านเด็กและเยาวชน เพราะเรามีความเอาใจใส่ มีเจตนาที่ดีต่อเด็ก รางวัลที่ได้มารู้สึกมีเกียรติ ภาคภูมิใจและมีความสุข.. ไม่ใช่ได้เฉพาะผู้บริหาร แต่ได้ทั้งองค์กร ได้ทั้งต�ำบล” คุณเจษฏา พรหมดี นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลคูเมือง อ�ำเภอวารินช�ำราบ จังหวัดอุบลราชธานี ได้กล่าวถึงการด�ำเนินงานด้านเด็กและเยาวชนไว้ว่า “สภาเด็กฯ รวมกลุ่มกันที่ อบต. บางครั้งเราไปคุยกับเด็กที่โรงเรียนบ้าน คูเมือง เพราะว่าเด็กส่วนใหญ่อยู่ในโรงเรียน จ�ำนวนสมาชิกประมาณ ๖๐ คน เป็น เด็กกลุ่มหนึ่งวัยท�ำงาน รวมกลุ่มยาก เวลาประสานไปหาที่บ้าน เด็กที่อยู่ในโรงเรียน เป็นเด็กผูหญิง เวลาจะพาเด็กกลุมนีไปหาเด็กกลุมทีทำงานแล้ว บางทีการเดินทางล�ำบาก ้ ่ ้ ่ ่ � ชุมชนรับทราบ ว่ามีสภาเด็กฯ สังเกตว่าชาวบ้านจะเข้ามาช่วยงานด้านเด็ก ช่วย ประสานเด็กและใครไม่มา ก็จะตามเด็กให้ ผู้ปกครองก็ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี” “กิจกรรมจิตอาสาของเด็กผู้หญิงชักชวนเพื่อนไปร่วมงานบุญกับผู้ปกครอง เด็กช่วยล้างจานหรือเสิร์ฟอาหาร นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมส่งเสริมอาชีพ เด็กไปเรียน รู้ที่ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน เพื่อประดิษฐ์กิ๊ฟหมวก โดยพี่เลี้ยงสนับสนุนอุปกรณ์ ในช่วงแรกเด็กไม่คอยจริงจัง ท�ำกันเล่นๆ ไม่คอยมีความรับผิดชอบ พีเ่ ลียงต้องเข้มงวด ่ ่ ้ จ�้ำจี้จ�้ำไช ใส่ใจมากขึ้น...การดูแลเด็กต้องประคับประคอง พยายามดึงเด็กเข้ามาร่วม กิจกรรม ไม่ให้ไขว้เขว ออกนอกลู่นอกทาง” “เยาวชนบางคนมาร่ ว มกิ จ กรรมไม่ ไ ด้ เพราะต้ อ งท� ำ งานและลางาน จะเสียรายได้ บางคนผู้ปกครองไม่เห็นด้วย เกรงว่าเด็กจะเกเร ไปเที่ยว ซึ่งพี่เลี้ยงต้อง อธิบายให้เข้าใจ...เด็กในโรงเรียนเป็นเด็กผู้หญิง ซึ่งจะเข้ามามีส่วนร่วมค่อนข้างดี แต่ เด็กที่ท�ำงานเป็นผู้ชายจะไม่ค่อยมีส่วนร่วมมากนัก ต้องคอยกระตุ้น” “นโยบายการท�ำงานด้านเด็กของเรา ส่งเสริมสนับสนุนให้ออกก�ำลังกาย เล่นกีฬา หน่วยงานใดที่มาประสานเรื่องเด็กและเยาวชน ผมมีนโยบายให้ตอบรับ ทันที..ปัจจุบันการช่วยเหลือเด็กมีความส�ำคัญมาก เพราะปัญหาของเด็กปัจจุบัน คือ 23
  • 28. ติดเกมและอินเทอร์เน็ต ท้องก่อนวัยอันควร ติดยาเสพติด ก่อความรุนแรง เราต้อง ยอมรับว่า ทุกวันนี้เทคโนโลยีมีความก้าวหน้า ท�ำให้เด็กต้องตกเป็นเหยื่ออย่างหลีก เลี่ยงไม่ได้ ถ้าไม่จัดการปัญหาเด็กจะท�ำให้เกิดปัญหารุนแรงเพิ่มมากขึ้น” “เราควรให้การศึกษาแก่เด็กทั้งในโรงเรียนและนอกโรงเรียน พาเด็กไป ศึกษานอกสถานที่ เรียนรู้สิ่งใหม่ ให้รู้ว่าท�ำแบบนี้มันดี และท�ำแบบนี้ไม่ดี เด็กก�ำลัง อยู่ในวัยอยากรู้อยากเห็น เคยพาเด็กไปทัศนศึกษาที่วัดภูอานนท์ อ�ำเภอโขงเจียม เพื่อให้เด็กเรียนรู้เรื่องศาสนา วัฒนธรรม ไม่ใช่มุ่งแต่เทคโนโลยี เด็กต้องรู้จักทั้งภาค ทฤษฎี และปฏิบัติ ซึ่งส่วนการศึกษาของ อบต. มีความเอาใจใส่มากแต่ผลที่เกิดขึ้น อาจไม่ได้ถึง ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ แต่ผมก็พอใจแล้ว เพราะการท�ำงานด้านเด็กเป็นเรื่อง ละเอียดอ่อน เราต้องเอาใจใส่ให้มาก” “ผมเป็นผู้บริหารคนหนึ่งที่ชอบเรียนรู้ ไม่ว่าจะเป็นด้านไหนก็ตาม รวมทุก ด้านในองค์กร ผมเรียนรู้กับส่วนต่างๆใน อบต. มีปัญหาเราร่วมกันแก้ไข ผมเชื่อมั่น ในบุคลากรของผม รวมทั้งการด�ำเนินการขับเคลื่อนงานเด็กด้วย...เคยได้รับรางวัล ด้านเด็กและเยาวชน เพราะเรามีความเอาใจใส่ มีเจตนาที่ดีต่อเด็ก รางวัลที่ได้มารู้สึก มีเกียรติ ภาคภูมิใจและมีความสุข.. ไม่ใช่ได้เฉพาะผู้บริหาร แต่ได้ทั้งองค์กร ได้ทั้ง ต�ำบล” “เราภูมิใจว่า เราเป็น อบต. น�ำร่องการขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชน ดังนั้นเราต้องเดินหน้าสู่อนาคตที่ดี มีสมาชิกเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ รูปแบบการท�ำงานของผม ไม่ชอบให้แยกส่วน แต่ช่วยเหลือกันท�ำงานเพื่อให้บรรลุผลแก่พี่น้องประชาชนหรือ หน่วยงานที่มาประสาน” “ผู้บริหารต้องเข้าใจเด็ก เอาใจใส่และให้ความส�ำคัญแก่เด็กให้มีอนาคตที่ดี สู่โลกใหม่ๆ ถ้าผู้บริหารไม่ให้ความส�ำคัญก็ไม่มีประโยชน์ที่จะท�ำงานด้านเด็ก ...ปัจจัย เสริมคือ ปลัด อบต. เพราะปลัด อบต. จะเป็นตัวขับเคลื่อนที่ส�ำคัญ เป็น “ส่วนควบ ขององค์ประธาน” นายก อบต. คือองค์ประธาน และปลัด อบต. คือ ส่วนควบ ถ้ามี แต่ประธาน แต่ไม่มีส่วนควบ เสมือนว่า..รถมีแต่เครื่องยนต์ แต่ไม่มีล้อ ไม่มีพวงมาลัย มันก็ไปไหนไม่ได้ ระหว่างประธานกับส่วนควบต้องร่วมมือกัน” 24
  • 29. “ถ้าไม่กระตุ้นในช่วงเด็ก แต่ไปกระตุ้นในช่วงผู้ใหญ่จะฝึกฝนยาก การเรียน รู้เรื่องการขับเคลื่อนกับเด็กเป็นสิ่งส�ำคัญในชีวิต ผมเรียนรู้จากลูกสาวลูกชายตนเอง ว่า ไม่ใช่เรื่องง่ายเท่าใดนักกว่าเด็กจะโตเป็นผู้ใหญ่ ตัวนี้ก็เป็นสิ่งกระตุ้นตัวหนึ่ง” ผู้บริหารต้องเข้าใจเด็ก เอาใจใส่และ ให้ความส�ำคัญแก่เด็กให้มีอนาคตที่ดีสู่โลกใหม่ๆ ถ้าผู้บริหารไม่ให้ความส�ำคัญ ก็ไม่มีประโยชน์ที่จะท�ำงานด้านเด็ก 25
  • 30. 26
  • 31. “อยากให้เด็กในต�ำบลเป็นเสมือน “ต้นกล้า” จะเป็นต้นอะไรก็ได้เพราะมองว่าต้นกล้าจะเติบโตไปข้างหน้า ถ้าเลี้ยงดูอย่างดีก็จะเติบโต แต่ถ้าดูแลไม่ดีก็จะเป็นต้นแคระแกรน ไม่มีประโยชน์ ท�ำอะไรก็ไม่ได้” คุณบุญน�ำ ชินทวัน องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองเหล่า อ�ำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี ได้กล่าวเกี่ยวกับการด�ำเนินงานด้านเด็กและเยาวชนไว้ว่า “จากการด�ำเนินงานที่ผ่านมา ทาง อบต. หนองเหล่า ได้เน้นท�ำการส่งเสริม ให้เด็กห่างไกลจากยาเสพติด อย่างเดือนที่ผ่านมาทาง อบต. ได้พาเด็กและผู้ปกครอง ไปท�ำกิจกรรมนอกสถานทีที่ สัตหีบ ชลบุรี ก็ได้รบความร่วมมือจากเด็กและผูปกครอง ่ ั ้ เป็นอย่างดี โดยเด็กที่เข้ามาร่วมกิจกรรมนี้ เป็นเด็กตัวแทนจาก ๑๑ หมู่บ้านในต�ำบล หนองเหล่า” “การด�ำเนินงานด้านเด็กในท้องถิ่นบ้านเรา บางครั้งไม่ใช่เรื่องง่ายนัก แต่ ก็สามารถด�ำเนินการได้ โดยยึดหลักให้เด็กเป็นศูนย์กลาง บางคนติดเรียนหนังสือทั้ง ในหมู่บ้าน อ�ำเภอหรือบางคนไปเรียนในจังหวัดซึ่งไกลจากหมู่บ้าน ๔๐ กว่ากิโลเมตร ส่วนใหญ่เด็กจะไปโรงเรียน คนที่ไม่ไปเรียนจะน้อย เด็กจะชอบกิจกรรมที่เป็นการ อบรม แต่กิจกรรมที่เป็นงานต่อเนื่องหรือรับผิดชอบจะไม่ชอบนัก บางทีกลับจาก โรงเรียน ก็รวมกลุ่มกันเตะฟุตบอล จุดบั้งไฟน้อย” “สภาเด็กฯ มีประมาณ ๓๐ คน โดยตังมาประมาณ ๒ ปีแล้ว ปัจจุบนประธาน ้ ั คนเดิมไปท�ำงาน กรุงเทพฯ จึงมีการแต่งตั้งประธานคนใหม่แทน…เด็กส่วนใหญ่ เป็นเด็กจากระบบการศึกษาในโรงเรียน ระดับมัธยมขึ้นไป ในสภาเด็กฯ ก็จะแต่งตั้ง ประธาน เลขา เหรัญญิก เมือ อบต. หรือชาวบ้านต้องการขอความช่วยเหลือให้ชวยงาน ่ ่ สภาเด็กฯ ก็จะส่งทีมงานไปร่วมด้วย...อยากให้สภาเด็กฯ ให้ความส�ำคัญกับชุมชน ไม่ไปมั่วสุมทั้งเรื่องยาเสพติดหรือเพศ พอมีสภาเด็กฯ ก็สังเกตว่า ปัญหาดังกล่าวดีขึ้น มีเพียงปัญหาเล็กๆน้อย ซึงผมมองว่าเราเองต้องท�ำเป็นตัวอย่าง เช่น เรืองไม่เอาใจใส่ใน ่ ่ การงานที่ได้รับมอบหมาย ไม่รับผิดชอบกิจกรรมของตนเอง ต้องบอกกันบ่อยๆ ซึ่งก็ แก้ไขโดยการให้พี่เลี้ยงคอยดูแลอย่างใกล้ชิด” 27