SlideShare a Scribd company logo
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชน
ด้วยกิจการเพื่อสังคม
ธิป ศรีสกุลไชยรัก
อาจารย์ สถาบันอศรมศิลป์
ผู้เขียน : ธิป ศรีสกุลไชยรัก
บรรณาธิการบริหาร : นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล
บรรณาธิการฝ่ายวิชาการ : นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล
กองบรรณาธิการ : นายฮาพีฟี สะมะแอ, นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง, นายอรุณ สถิตพงศ์สถาพร
ถอดความ : นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง
ปก : นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง
รูปเล่ม : นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง
ปีที่เผยแพร่ : กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
ผู้เผยแพร่ : ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับมูลนิธิส่งเสริมปัญญาสาธารณะ (CPWI) ภายใต้
แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง
ผู้สนับสนุน : สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สส
สารบัญ
เรื่อง หน้า
ชุมชนริมน้าจันทบูร 1
ลาดับเหตุการณ์ของจันทบูรโมเดล 5
แนวคิดกิจการเพื่อสังคม (Social Enterprise) 7
กระบวนการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมด้วยแนวคิดกิจการเพื่อสังคม 7
วิธีการระดมทุน 8
โครงการปรับปรุงบ้านหลวงราชไมตรี 9
การประชาสัมพันธ์ 12
กิจการเพื่อสังคม : บริษัทบ้านพักหลวงราชไมตรี 13
การเติบโตของโครงการและความสาเร็จ 14
ความท้าทาย 16
บทเรียนจากการพัฒนาชุมชนริมน้าจันทบูร 17
สรุป 18
1
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม1,2
โดย ธิป ศรีสกุลไชยรัก
อาจารย์ประจาสถาบันอาศรมศิลป์
การอนุรักษ์ย่านชุมชนเก่าในประเทศไทยที่ผ่านมา ส่วนใหญ่แล้วจะสามารถดาเนินกระบวนการการ
มีส่วนร่วมของชุมชนได้ในระดับร่วมคิดและร่วมทาเท่านั้น แต่ยังไม่สามารถยกระดับการมีส่วนร่วมให้อยู่ใน
ระดับร่วมรับผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจได้ ส่วนหนึ่งเป็นสาเหตุมาจากข้อจากัดของภาครัฐ ที่มีบทบาทเป็น
เจ้าของโบราณสถาน ในขณะที่ภาคประชาชนยังคงต้องดิ้นรนใช้เวลาในชีวิตแต่ละวันเพื่อปากท้องและหา
เลี้ยงครอบครัว จึงทาให้คนถูกออกจากประวัติศาสตร์ของตนเอง ความภูมิใจในรากฐานของตนเองก็ลดจาง
ลง
ชุมชนริมน้าจันทบูร เป็นชุมชนที่ใช้วิธีและกระบวนเพื่อสร้างทางเลือกใหม่ในการอนุรักษ์ โดยใช้หลัก
คิดคือชุมชนจะต้องร่วมรับผลประโยชน์โดยตรงเพื่อให้เกิดรายได้แก่ชุมชนได้ดาเนินการอนุรักษ์โดยใช้
วิธีการอนุรักษ์อย่างมีส่วนร่วมด้วยแนวคิดกิจการเพื่อสังคม (Social Enterprise) เข้าออกแบบปรับปรุง
ฟื้นฟู ตัวอาคารสถาปัตยกรรมเรือนไม้เก่าแก่ ดาเนินการเป็นโรงแรมและแหล่งเรียนรู้ประวัติศาสตร์ (Historic
Inn) โดยที่ชุมชนร่วมเป็นเจ้าของ และปรับชุมชนกลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์แห่งใหม่ สร้าง
รายได้ให้กับคนในชุมชน เกิดเป็นตัวอย่างการอนุรักษ์ย่านชุมชนเก่า หรือเรียกอีกอย่างว่า “จันทบูรโมเดล”
ชุมชนริมน้าจันทบูร
ชุมชนริมน้าจันทบูร จังหวัดจันทบุรี เป็นชุมชนเก่าแก่ ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 เป็นชุมชนที่มีความ
ความเจริญรุ่งเรืองทางการค้าทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศที่สาคัญของภาคตะวันออกโดยใช้แม่น้า
จันทบุรีเป็นเส้นทางหลักในการขนส่งสัญจรไปมา (รูปที่ 1) ชุมชนแห่งนี้มีผู้คนอาศัยกันอย่างหนาแน่น เป็น
ชุมชนที่มีวัฒนธรรมหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็น จีน ญวน ไทย และฝรั่งที่เข้ามาค้าขายแม้ว่าชุมชนแห่งนี้จะมี
ปัญหาเหมือนกับชุมชนอื่นๆ คือปัญหาไฟไหม้ น้าท่วม(รูปที่ 2) ซึ่งเป็นปัญหาหลักของเมืองเก่า แต่ปัจจุบัน
ยังคงมีความดั้งเดิมหลงเหลืออยู่มาก โดยเฉพาะอาคาร สถาปัตยกรรม บ้านเรือนของผู้คนในสมัยตั้งแต่ตั้ง
1ถอดความจากเวทีคนเล็กเปลี่ยนเมืองสัญจร ครั้งที่ 1 เมื่อ วันอังคารที่ 8 ธันวาคม 2558 ณ บ้านหลวงราชไมตรี จังหวัดจันทบูร จัดโดย
แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง ภายใต้ศูนย์ ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต และ
โครงการผู้นาแห่งอนาคต คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ โดยการสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริม สุขภาพ
(สสส.)
2และเวทีวิชาการ เรื่อง ภาคประชาสังคมกับนวัตกรรมการพัฒนาเมือง เมื่อวันเสาร์ที่ 9 มกราคม 2559 ณ โรงแรมอิมพิเรียลแม่ปิง จังหวัด
เชียงใหม่ จัดโดย แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง ภายใต้ศูนย์ ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ
มหาวิทยาลัยรังสิต โดยการสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริม สุขภาพ (สสส.)
2
ชุมชน(รูปที่ 3 )โดยยังคงเหลืออาคารไม้ที่เป็นอาคารไม้รุ่นแรก เสาตั้งอยู่บนหิน เป็นไม้ทั้งหลังอยู่ (รูปที่ 4 )
นอกจากนี้ยังมีศาสนสถานทั้งวัด โบสถ์คริสต์ วัดญวน (รูปที่ 5-6) อยู่ในพื้นที่เดียวกัน ซึ่งการที่มรดกทาง
สถาปัตยกรรมยังหลงเหลืออยู่ถือเป็นปัจจัยที่ดี เพราะสถาปัตยกรรมเป็นมรดกที่จับต้องได้ เป็นรูปธรรม จึง
สามารถเชื่อมโยงผู้คนไปหารากเหง้าประวัติศาสตร์ได้ง่ายมากขึ้น
รูปที่ 1 ชุมชนริมน้าจันทบูรในอดีต
รูปที่ 2 ปัญหาน้าท่วมในชุมชนตั้งแต่อดีต
3
รูปที่ 3 อาคารบ้านเรือนในปัจจุบัน
รูปที่ 4 อาคารไม้รุ่นแรก
4
รูปที่ 6 วัดญวน ณ ชุมชนริมน้าจันทบุรี
รูปที่ 5 โบสถ์คริสต์ ณ ชุมชนริมน้าจันทบุรี
5
ลาดับเหตุการณ์ของจันทบูรโมเดล
พ.ศ. 2551 นักศึกษาจากสถาบันอาศรมศิลป์ ในหลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต ลง
พื้นที่ทาวิทยานิพนธ์เป็นจุดเริ่มต้นการอนุรักษ์ โดยมีอาจารย์และสถาบันอาศรมศิลป์เป็นที่ปรึกษา ได้ทา
กระบวนการกับชุมชนเพื่ออนุรักษ์และพัฒนา โดยอาศัยอยู่กับชุมชน รับฟังปัญหา ไม่นาโจทย์ของตัวเองเป็น
ตัวตั้ง แต่ศึกษาและใช้โจทย์จากพื้นที่
พ.ศ. 2552 สานักงานพาณิชย์จังหวัดเข้าร่วมการพัฒนาพื้นที่ โดยกระตุ้นให้เกิดถนนคนเดิน อีกทั้ง
มีกระแสของการท่องเที่ยวเมืองเก่ากระตุ้นให้ชุมชนเริ่มตระหนักถึงอนาคตของตนเอง จึงจัดตั้งคณะทางาน
ชุมชนภายใต้ชมรมชื่อ “ชมรมพัฒนาชุมชนริมน้า”ตั้งเป้าหมายร่วมกันของชุมชน โดยใช้วิสัยทัศน์
“วัฒนธรรมนาการค้า” คือ ไม่ได้ปฏิเสธการค้า แต่ชุมชนจะให้ความสาคัญกับความอนุรักษ์วิถีชีวิตวัฒนธรรม
มากกว่า ทาให้เกิดกิจกรรมจากการมีส่วนร่วมของชุมชน เช่น การทาความสะอาดชุมชนสารวจข้อมูลบ้าน
และอาคาร การจัดบ้าน การจัดถนนสายวัฒนธรรม เป็นต้น
พ.ศ. 2553 เจ้าของบ้านเลขที่ 69 บ้านขุนอนุสรสมบัติ คือคุณป้าบุญพริ้ม ปฏิรูปานุสร ต้องการ
เสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน จึงมอบบ้านหลังนี้ซึ่งอายุกว่า 100 ปี ปรับปรุงเป็น “บ้านเรียนรู้ของ
ชุมชน3
” โดยได้รับทุนจาก Rockefeller foundation
พ.ศ. 2554 สถาบันอาศรมศิลป์ได้ชวนชาวบ้านคิดถึงอนาคตและขยับการอนุรักษ์ด้วยตัวของชุมชน
เองให้มากขึ้น เพราะเมื่อชุมชนเริ่มมีชื่อเสียงระดับหนึ่ง การท่องเที่ยวเริ่มมาในชุมชน วิถีชีวิตเริ่มเปลี่ยน
ขณะเดียวกันเริ่มมีนายทุนภายนอกเข้ามา หากชุมชนไม่จัดการจะต้องมีคนอื่นภายนอกเข้ามาจัดการอย่าง
แน่นอน สถาบันอาศรมศิลป์จึงนาเสนอแนวคิดการอนุรักษ์อย่างมีส่วนร่วมด้วย“แนวคิดกิจการเพื่อสังคม
(Social Enterprise)เป็นเครื่องมือเพื่อช่วยการอนุรักษ์ของชุมชนเนื่องจากเล็งเห็นว่าเป็นพื้นที่
ประวัติศาสตร์ สามารถนาแนวคิดดังกล่าวประยุกต์กับคุณค่าประวัติศาสตร์ในพื้นที่ เช่น บ้านและอาคารเก่า
ที่สามารถปรับปรุงเป็นโรงแรม เป็นรายได้ให้กับชุมชนได้
แรกเริ่มที่เสนอแนวคิดกิจการเพื่อสังคมยังขาดความเข้าใจจากชุมชน จึงมีกระบวนการพูดคุยเพื่อ
สร้างทิศทางการอนุรักษ์ (รูปที่ 7-8) แต่เมื่อมีการพูดคุยกันมากขึ้น ถึงประโยชน์ที่จะได้รับ มีการเปิดวิดีทัศน์
เกี่ยวกับแนวคิดดังกล่าว ที่เข้าใจง่าย ผ่านไป 1 เดือน ชุมชนได้ยอมรับแนวคิดนี้ชุมชนเริ่มมองเห็นทิศทาง
และเป้าหมายของชุมชนด้วยการอนุรักษ์มากขึ้น และวางแผนออกแบบธุรกิจการอนุรักษ์ด้วยแนวคิดดังกล่าว
3บ้านเรียนรู้ชุมชน เป็นแหล่งรวบรวมและเผยแพร่ความรู้ประวัติความเป็นมาของชุมชนริมน้าจันทบูร ให้แก่เยาวชน นักท่องเที่ยว และ
ผู้สนใจทั่วไป
6
รูปที่ 7 กระบวนการพูดคุยในชุมชน
รูปที่ 8 กระบวนการพูดคุยในชุมชน
7
แนวคิดกิจการเพื่อสังคม (Social Enterprise)
แนวคิดกิจการเพื่อสังคม (Social Enterprise) คือ การองค์กรเอกชนที่อุทิศตัวเพื่อแก้ไขปัญหาสังคม
สนองผู้ เสียเปรียบในสังคม และจัดหาสินค้าที่สาคัญทางสังคมที่ภาครัฐหรือเอกชนไม่สามารถจัดหาให้ได้
(Dees, 1998) อย่างไรก็ตามในทางปฏิบัตินั้นการประกอบกิจการเพื่อสังคมเกี่ยวข้องกับปัญหาสังคม หรือ
ความต้องการที่ยังไม่ได้รับการตอบสนองจากภาคเอกชนหรือรัฐบาลนั่นเอง (อ้างใน เอกชัย,2554)
จากประสบการณ์ของสถาบันอาศรมศิลป์ในการอนุรักษ์ย่านชุมชนเก่าหลายแห่งในประเทศ พบว่า
ชุมชนในฐานะที่เป็นองค์ประกอบของเมือง ถูกขับเคลื่อนด้วยระบบเศรษฐกิจทุนนิยม สังคมในอดีตที่เคย
พึ่งพิงกัน มีอาหารร่วมแบ่งปันกัน เหลือน้อยลงหรือแทบจะไม่มีเหลือในปัจจุบัน ฉะนั้น หากยังทาการ
อนุรักษ์ที่นึกถึงแต่ความสวยงามคงไม่สามารถรักษาแก่นแท้และคุณค่าที่ดีงานของสังคมไทยได้ ซึ่งในความ
เป็นจริงแล้วชุมชนส่วนใหญ่ไม่ได้อยากจะตัดขาดจากรากเหง้าของตน พวกเขายังคงต้องการที่จะรักษาอัต
ลักษณ์ให้คงอยู่
จากเหตุผลข้างต้นแนวคิดกิจการเพื่อสังคม จึงเหมาะเป็นเครื่องมือในการดาเนินการอนุรักษ์ของ
ชุมชนริมน้าจันทบูร เพื่อหวังจะสร้างกิจการโดยให้ชุมชนเป็นผู้ลงทุน บริหารจัดการ และร่วมรับผลกาไร เพื่อ
ยกระดับและสร้างการมีส่วนร่วมจากชุมชนจริงๆ อีกทั้งจะทาให้ชุมชนไม่ต้องพึ่งพิงจากทุนภายนอก สามารถ
มีทุนของตนเองในการทางานเพื่อสร้างความยั่งยืนในอนาคต การเลือกแนวคิดนี้ สถาบันอาศรมศิลป์ในฐานะ
สถาบันการศึกษาหวังเป็นอย่างยิ่งหากสามารถทาได้สาเร็จ จะเป็นทางเลือกในการอนุรักษ์ชุมชนเก่าให้คง
อยู่ได้อย่างยั่งยืน
กระบวนการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมด้วยแนวคิดกิจการเพื่อสังคม (รูปที่ 9)
การประยุกต์แนวคิดดังกล่าวกับชุมชนริมน้าจันทบูรมีขั้นตอน ดังนี้
1. การก่อตั้งบริษัท หลังจากที่ชุมชนยอมรับการใช้แนวคิดกิจการเพื่อสังคมเป็นเครื่องมือในการ
บริหารจัดการงานอนุรักษ์ของชุมชนจึงมีการก่อตั้งบริษัทชุมชนขึ้นมา ชื่อว่า “บริษัท จันทบูรรักษ์ดี
จากัด” มีการตั้งคาถามว่า เหตุใดถึงรวมกลุ่มแบบบริษัท เหตุใดไม่รวมกลุ่มแบบสหกรณ์ มูลนิธิ แต่
สิ่งที่สถาบันอาศรมศิลป์คิดคือ ต้องการให้โครงการที่คนทั่วไปสามารถทาได้ แข่งขันได้จริง โดยที่คน
ทั่วไปสามารถทาได้แม้มีเพียง 1 คน หรือ 2 คน หรือทั้งชุมชนก็สามารถทาได้ นอกจากนี้ยัง
เกี่ยวข้องกับเรื่องเทคนิค คือ เรื่องของการโหวตเสียง สาหรับสหกรณ์คือ 1 หุ้นต่อ 1 เสียง แต่
บริษัทเสียงโหวตจะเป็นไปตามจานวนหุ้น ฉะนั้นที่เลือกแบบบริษัท เนื่องจากเสียงส่วนหนึ่งมันเป็น
ของคนในชุมชน จึงคิดว่าการจัดเป็นรูปแบบของบริษัทนั้นจะดีกว่ามากกว่าจะเป็นสหกรณ์ เพราะ
สหกรณ์เสียงมันแตกได้
2. การพัฒนารูปแบบของกิจกรรมหรือค้นหาสินค้า รูปแบบธุรกิจเชิงอนุรักษ์ที่ได้วางไว้ คือ การ
ปรับปรุงบ้านหรืออาคารเก่าในชุมชนดาเนินการเป็นโรงแรมและแหล่งเรียนรู้ประวัติศาสตร์ (Historic
8
Inn)จึงได้หาบ้านหรืออาคารที่เหมาะสมในการทาธุรกิจ และได้พบกับบ้านหลวงราชไมตรี บ้านเก่า
หลังใหญ่อายุกว่า 150 ปี ซึ่งเต็มไปด้วยเรื่องราวประวัติศาสตร์ โดยเจ้าของคือนพ.ปสารพงษ์ ปุณศรี
ทายาทรุ่นที่ 3ของหลวงราชไมตรี ท่านต้องการมีส่วนร่วมและสนับสนุนแนวคิดนี้ จึงได้ทาสัญญาให้
บริษัทฯของชุมชนได้เช่าบ้าน เพื่อบูรณะเป็นบ้านพักประวัติศาสตร์หลวงราชไมตรีด้วยสัญญาเช่า
30 ปี ค่าเช่าเดือนละ 1 บาท ซึ่งเป็นความโชคดีมากของชุมชนที่สามารถหาบ้านที่มีเรื่องราว และมี
ต้นทุนที่ต่ามากในการดาเนินธุรกิจ
3. การระดมทุน หลังจากที่ได้บ้านหลวงราชไมตรีในการปรับปรุงเพื่อทาเป็นบ้านพักหรือโรงแรมจึง
เริ่มระดมทุนเพื่อปรับปรุงบ้าน โดยตั้งงบประมาณการลงทุนคือ 8.8 ล้านบาท (รายละเอียดดูได้ใน
หัวข้อ วิธีการระดมทุน)
4. การปรับปรุงและพัฒนากิจการ ในระหว่างการระดมทุน ก็ได้ดาเนินการบูรณะปรับปรุง บ้านหลวง
ราชไมตรีตามหลักวิชาการอนุรักษ์สถาปัตยกรรม โดยใช้เวลาปรับปรุงทั้งหมดประมาณ 8 เดือน
(รายละเอียดดูได้ในหัวข้อ การปรับปรุงบ้านหลวงราชไมตรี)
5. การประชาสัมพันธ์ หลังจากเปิดกิจการให้บริการ แรกเริ่มใช้วิธีการประชาสัมพันธ์แบบปากต่อปาก
หลังจากนั้นจึงมีการใช้สื่อให้ช่วยประชาสัมพันธ์มากขึ้น(รายละเอียดดูได้ในหัวข้อ การ
ประชาสัมพันธ์)
วิธีการระดมทุน
วิธีการระดมทุนคือการขายหุ้น หุ้นละ 1,000 บาท โดยมีกฎเกณฑ์ในการระดมทุนคือ หากคนใน
ชุมชนไม่สามารถเข้าร่วมซื้อหุ้นเกินที่ตั้งไว้ จะล้มเลิกโครงการ เพราะถือว่าไม่ได้รับการมีส่วนร่วมจากคนใน
ชุมชน ในท้ายที่สุดบริษัท ฯ สามารถขายหุ้นให้กับคนในชุมชนเกินจานวนที่คาดการณ์ไว้ คิดเป็นเงิน
รูปที่ 9 การอนุรักษ์ฟื้นฟูย่านชุมชนเก่า ของชุมชนริมน้าจันทบูร
9
ประมาณ 2 ล้าน (รูปที่ 10) โดยอันที่จริงคนในชุมชนไม่ได้ถึงขนาดอยากเป็นเจ้าของแบบ 100 เปอร์เซ็นต์
แต่เนื่องจากอยากให้โครงการฯ เป็นไปได้เพราะเห็นประโยชน์ในการอนุรักษ์จึงมาร่วมซื้อหุ้น
ปัจจุบันมีคนถือหุ้น 501 คน เป็นคนในชุมชน 200 กว่าคน ที่เหลือเป็นคนจากกรุงเทพฯ และ
เครือข่ายของคนในชุมชน การซื้อหุ้นของคนในชุมชนสะท้อนให้เห็นถึงความเข้าใจในโครงการ และสะท้อน
ความร่วมมือของชุมชนเป็นอย่างดี เพื่ออนุรักษ์และฟื้นฟูบ้านหลวงราชไมตรีหากเปิดกิจการได้แล้ว
คณะทางานกาหนดผลตอบแทนจากกาไรนี้จะตอบแทนให้ในรูปของการปันผลสาหรับผู้ถือหุ้น และอีก 10%
ของกาไรจะมอบให้ชุมชนเพื่อทาประโยชน์ในการพัฒนาชุมชนต่อไป
โครงการปรับปรุงบ้านหลวงราชไมตรี
สภาพบ้านหลวงราชไมตรีก่อนปรับปรุง เป็นบ้านที่โทรมมาก (รูปที่ 11) จึงเริ่มค่อยๆ ปรับปรุง โดย
ใช้เวลาปรับปรุงทั้งหมดประมาณ 8 เดือน (รูปที่ 12) ระหว่างทาการปรับปรุง คณะทางานได้ทาการขุด
สารวจของโบราณในบ้าน และตรวจสอบประวัติ(รูปที่ 13) เพื่อที่จะได้นาของโบราณเหล่านั้มาเป็นแหล่ง
เรียนรู้ประวัติศาสตร์ของคนในชุมชน จะเกิดทั้งคุณค่าและมูลค่าด้วย
หลังจากปรับปรุงเสร็จแล้ว(รูปที่ 14) ข้างล่างของบ้านหลวงราชไมตรีเปิดเป็นบ้านเรียนรู้ชุมชน (รูป
ที่ 15) ทุกคนสามารถเยี่ยมชมได้โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย ส่วนห้องอื่นๆ ในบ้าน และชั้นบน ได้ปรับปรุงเป็น
ห้องพักจานวน 12 ห้อง โดยแต่ละห้องได้ตั้งชื่อตามเรื่องราวของท่านหลวงฯ เช่น ห้องนักเรียน เนื่องจาก
ท่านเป็นเศรษฐีใจดี หากเรียนดี สามารถมาพักที่บ้านท่านได้ เป็นต้น (รูปที่ 16)
รูปที่ 10 การระดมทุนปรับปรุงบ้านหลวงราชไมตรี
10
รูปที่ 11 บ้านหลวงราชไมตรีก่อนปรับปรุง
รูปที่ 12 การปรับปรุงบ้านหลวงราชไมตรี
รูปที่ 13 สารวจและสืบค้นของโบราณภายในบ้าน
11
รูปที่ 14 บ้านหลวงราชไมตรีหลังปรับปรุง
รูปที่ 15 มุมเรียนรู้ของประวัติศาสตร์ ด่านล่างของบ้านฯ
12
การประชาสัมพันธ์
โครงการ ฯ ไม่ได้จัดงบเผื่อสาหรับการประชาสัมพันธ์ เนื่องจากไม่เคยทาธุรกิจมาก่อน ทาให้
ช่วงแรก มีคนเข้าพักเพียง10-20 เปอร์เซ็นต์ ต่อมามีกลุ่มสื่อจากช่องต่างๆ เข้ามาติดต่อ เนื่องจากชอบ
แนวคิดการอนุรักษ์ จึงเข้ามาทาข่าว และช่วยประชาสัมพันธ์ โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย(รูปที่ 17) แม้มีหลายสื่อที่
ขอคิดค่าใช้จ่าย แต่ทางโครงการฯ ต้องปฏิเสธ เนื่องจากไม่มีงบประมาณให้
สื่อที่เผยแพร่นั้นมีหลากหลายช่อง เช่น ทางทีวี หนังสือพิมพ์ นิตยสาร และที่สาคัญไม่ได้สื่อในแง่
ของการตลาด หรือการท่องเที่ยว แต่สื่อในแง่ของการเป็นทางเลือกของการอนุรักษ์เมือง ซึ่งภายหลังจากมี
การเผลแพร่โครงการผ่านสื่อสาธารณะ ทาให้มีหลายกลุ่มเข้ามาเรียนรู้ และอยากนากลับไปประยุกต์ใช้กับ
พื้นที่ของตนเอง นอกจากนี้ คนที่มีชื่อเสียงหลายคนก็เข้ามาพัก หรือมาเยี่ยม พร้อมเขียนลงสมุดบันทึกให้
กาลังใจ เช่น อดีตรองนายกรัฐมนตรี ดร.สุรเกียรติ เสถียรไทย เป็นต้น
รูปที่ 16 ห้องพักในบ้านหลวงราชไมตรี
13
กิจการเพื่อสังคม : บริษัทบ้านพักหลวงราชไมตรี
1. โครงสร้างการบริหารจัดการ ทางบริษัทได้จัดตั้งคณะกรรมการบริหาร 5 คน เพื่อบริหารบ้านพัก
หลวงราชไมตรี โดยคนที่จะเป็นคณะกรรมการได้นั้นขึ้นอยู่กับจานวนหุ้น และที่สาคัญได้กาหนดกฎ
ในการบริหาร คือ ในคณะกรรมการบริหารจะต้องมีคนในชุมชนอย่างน้อย 1 คนเป็นคณะกรรมการ
เนื่องจากคนในชุมชนซื้อหุ้นจานวนมาก ทาให้ในคณะกรรมการบริหารมีคนในชุมชน 2 คน ส่วนอีก
3 คนที่เหลือชุมชนขอให้เป็นคณะกรรมการที่มาจากสถาบันฯ เพื่อช่วยเป็นที่ปรึกษาและช่วยกากับ
รักษาทิศทางการในการดาเนินโครงการ นอกจากนี้ยังมีคณะที่ปรึกษาอีก 3 คน เป็นผู้เชี่ยวชาญการ
ทาธุรกิจโรงแรม และที่ปรึกษาด้านกฎหมาย คณะกรรมการบริหารจะมีหน้าที่กาหนดวัตถุประสงค์
วางนโยบายและแผนการดาเนินงานรวมถึงคัดเลือก ผู้จัดการโครงการ และบุคลากรด้านอื่นๆ ตาม
ความเหมาะสม (รูปที่ 18)
รูปที่ 18 โครงสร้างการบริหารจัดการบ้านหลวงราชไมตรี
รูปที่ 17 การประชาสัมพันธ์ในสื่อต่างๆ
14
2. การบริหารจัดการทางการเงิน จากผลการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ (Feasibility study)
พบว่า โครงการนี้สามารถคืนทุนได้ในภายในระยะเวลา 10 ปี หากมีอัตราเข้าพักเฉลี่ย 60%
ผลตอบแทนหรือกาไร จะปันผลสาหรับผู้ถือหุ้นซึ่งอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามภาวะเศรษฐกิจใน
แต่ละปี นอกจากนี้ ผู้ถือหุ้นยังได้รับสิทธิพิเศษคือสามารถเข้าพักบ้านหลวงราชไมตรีในอัตราพิเศษ
ตามที่ได้ตกลงกัน นอกจากการปันผลตามสัดส่วนหุ้นแล้ว โครงการได้กาหนดให้ 10% จากผลกาไร
จะมอบให้ชุมชนเพื่อทาประโยชน์ในการรักษาวัฒนธรรมตามแนวคิดกิจการเพื่อสังคม
การเติบโตของโครงการและความสาเร็จ
- เกิดบ้านเรียนรู้ในชุมชนเพิ่มหลายหลังจากที่ชุมชนมีบ้าน 2 หลังในการเปิดเป็นแหล่งเรียนรู้ ขณะนี้
เริ่มมีการกระจายตัว คนในชุมชนเริ่มอยากเปิดบ้านของตนเอง จากที่วางแผนไว้ คือ อยากให้บ้านทุก
หลังเปิดการเรียนรู้ เพราะเชื่อว่าคนในชุมชนทุกคนสามารถเป็นผู้รู้เป็นครูได้ เพราะบ้านทุกหลังมีภูมิ
ปัญญาของตนเอง หากสามารถเปิดการเรียนรู้ได้จะช่วยทาให้คนท้องถิ่นรู้สึกในความรู้ของตัวเอง ซึ่งยัง
นาไปสู่การเกิดรายได้ด้วย ณ ตอนนี้มีบ้านอีก 4 หลังกาลังปรับปรุง(รูปที่ 19) เช่น บ้าน 109 ที่เป็น
บ้านทาพลอยดั้งเดิม (รูปที่ 20) หรือบ้านหลวงประกอบนิติไพศาล บ้านเรียนรู้เรื่องการปกครองในสมัย
ราชกาลที่ ๖ และเป็นที่พัก ก็กาลังออกแบบอยู่เช่นกัน(รูปที่ 21)
รูปที่ 19 แสดงจุดบ้าน 4 หลังที่กาลังปรับปรุงเพื่อเปิดเป็นบ้านการเรียนรู้
15
รูปที่ 21 บ้านหลวงประกอบนิติไพศาล
รูปที่ 20 บ้าน 109
16
- เกิดเป็นแหล่งท่องเที่ยวใหม่ในจังหวัดจันทบุรี จากจุดเริ่มต้นกระบวนการอนุรักษ์จนถึงปัจจุบัน
ดาเนินการมา 7 ปีแล้ว ในวันนี้ชุมชนริมน้าจันทบูรได้กลายเป็นสถานที่ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมแห่ง
ใหม่ของจังหวัดจันทบูร โดยวันเสาร์ – อาทิตย์ จะมีนักท่องเที่ยวแวะเวียนมาเสมอ ซึ่งก็สร้างความ
คึกคัก เกิดธุรกิจต่อเนื่อง และสร้างรายได้ให้กับชุมชนอีกด้วย
- รางวัลการอนุรักษ์
- อาคารอนุรักษ์ดีเด่นประจาปี ๒๕๕๘ จากสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ (จาก
โครงการบ้านพักประวัติศาสตร์หลวงราชไมตรี ชุมชนริมน้าจันทบูร จ.จันทบุรี)
- Winner, (Socially Inclusive) FuturArc Green Leadership Award 2015 (จากโครงการ
บ้านพักประวัติศาสตร์หลวงราชไมตรี ชุมชนริมน้าจันทบูร จ.จันทบุรี)
- Merit Award, UNESCO Asia-Pacific Heritage Award 2015 (จากโครงการบ้านพัก
ประวัติศาสตร์หลวงราชไมตรี ชุมชนริมน้าจันทบูร จ.จันทบุรี)
ความท้าทาย
- การลงทุนจากภายนอก หลังจากที่ชุมชนเริ่มมีชื่อเสียง เริ่มมีนักท่องเที่ยวเข้ามา ทาให้ดึงดูด
ผู้ประกอบการใหม่ๆเข้ามาลงทุนในชุมชน โดยเฉพาะร้านเหล้า ซึ่งเริ่มสร้างปัญหาให้กับชุมชน เกิด
เสียงดัง จอดรถขวางหน้าบ้าน เป็นต้น ทั้งนี้ร้านเหล้ามีทั้งที่ปรับตัวเข้าหาชุมชน และร้านเหล้าที่ไม่
ปรับตัว ซึ่งสร้างปัญหาให้กับชุมชนต่อไป นอกจากนี้ เริ่มมีการลงทุนด้านอื่นๆ เข้ามา เช่น โรงแรม
ร้านอาหาร เป็นต้น
- การทดลองแนวคิดใหม่เกี่ยวกับแนวคิดกิจการเพื่อสังคม (social enterprise)ในช่วงเริ่มต้น
กระบวนการอนุรักษ์ คือการอธิบายให้คนในชุมชนเข้าใจในแนวคิดกิจการเพื่อสังคม (social
enterprise) ทั้งหลักคิด กระบวนการ ผลดีที่มีต่อชุมชน ในช่วงแรกชุมชนไม่เห็นด้วยกับแนวคิดนี้
แต่สุดท้ายชุมชนได้ลองทบทวนใหม่ และเห็นด้วยที่จะดาเนินโครงการด้วยแนวคิดนี้
- ความท้าทายในการทาธุรกิจ เนื่องจากใช้แนวคิดกิจการเพื่อสังคมเป็นเครื่องมือในการจัดการด้าน
อนุรักษ์ สิ่งที่คณะทางานต้องเผชิญ คือ การทาธุรกิจ ซึ่งเป็นความไม่ถนัดของคณะทางาน เนื่องจาก
เป็นกลุ่มคนที่อยู่ในสถาบันการศึกษา และคนในชุมชนทาให้ต้องศึกษาการทาธุรกิจอย่างมาก จาก
ในช่วงแรกคิดอยากทาแบบโรแมนติก จะทาห้องแค่ 5 ห้อง ขายห้องละ 3000 บาท คิดว่าจะอยู่รอด
แต่เมื่อศึกษาความเป็นไปได้แล้ว พบว่า ต้องใช้เวลากว่า 20 ปี ถึงจะคืนทุน จึงต้องคิดใหม่เพื่อให้มี
กาไรจริง ซึ่งมีความยากหลายอย่าง เช่น ความไกลของจังหวัดจันทบุรี-กรุงเทพฯ ต้องใช้การ
เดินทางกว่า 4 ชม. การคานวณราคาค่าห้อง การสร้างตลาด เป็นต้น จึงต้องทาให้ไม่ขาดทุน เพราะ
ไม่เช่นนั้นจะยิ่งส่งผลเสียต่ออนุรักษ์และความร่วมมือของชุมชน
17
- การสนับสนุนจากรัฐท้องถิ่นคณะทางานมีความพยายามในการสร้างความร่วมมือกับเทศบาลฯ
ซึ่งพบว่า เทศบาลฯ ไม่ได้ขัดขวางการทางาน แต่ทั้งนี้เทศบาลฯ เองก็ยังเข้ามามีส่วนร่วมไม่มากนัก
ซึ่งทาให้ชุมชนต้องดาเนินการทุกอย่างด้วยตนเอง คณะทางานยังพบกับปัญหาความไม่แน่นอนของ
การเมืองในจังหวัด เนื่องจากมีการเปลี่ยนผู้ว่า ฯ บ่อย ซึ่งส่งผลต่อความต่อเนื่องในการทางานอย่าง
ยิ่ง
บทเรียนจากการพัฒนาชุมชนริมน้าจันทบูร
- ความไม่สมบูรณ์ของชุมชน ตลอดการทางานกับชุมชนริมน้าจันทบูร สิ่งหนึ่งที่ได้เรียนรู้ คือ ไม่มี
ชุมชนใดที่จะสมบูรณ์แบบ โดยที่ทางานแล้วไม่พบปัญหา ทุกชุมชนมีความเป็นกลุ่มก้อน ซึ่งอาจจะเป็น
กลุ่มที่เกิดจากการเป็นญาติกัน หรือเกิดจากฐานของนักการเมืองท้องถิ่น ที่ทาให้คนแตกแยกแบ่งฝัก
แบ่งฝ่าย สิ่งเหล่านี้ผู้ทางานชุมชนต้องทาความเข้าใจ และระมัดระวังการบริหารจัดการ ในขณะเดียวกัน
ผู้ทางานอาจมีความกังวลเกี่ยวกับปัญหาการแบ่งฝ่าย มีความคิดเห็นไม่ตรงกันในชุมชน สิ่งที่ทาให้
เรียนรู้จากการทางานคือ แม้จะมีความเห็นไม่ตรงกัน แต่พวกเขาก็สามารถอยู่ด้วยกันได้ ซึ่งอยู่เป็นแบบ
นี้มาตั้งแต่สมัยอดีตแล้ว
- ความร่วมมือกับภาครัฐ บทเรียนและประสบการณ์การทางานด้านอนุรักษ์มีสิ่งหนึ่งที่สาคัญมาก คือ
การร่วมมือกับภาครัฐ หรือการยกระดับการอนุรักษ์ด้วยกลไกของภาครัฐ แม้ว่าคนในชุมชนจะเป็นตัว
หลักและสามารถทากระบวนการด้วยตนเอง และดาเนินโครงการจนสาเร็จในระดับหนึ่ง แต่ท้ายที่สุดแล้ว
หากไม่ได้รับความร่วมมือของภาครัฐที่จะใช้อานาจทางกฎหมายในการสนับสนุน ส่งเสริม และปกป้อง
อาคารเก่าและชุมชน ก็จะไม่สามารถสร้างความยั่งยืนในระยะยาวได้
- ดาบสองคมของการฟื้นฟูชุมชนด้วยแนวคิดทางธุรกิจ การทางานด้านอนุรักษ์ด้วยเครื่องมีทางธุรกิจ
ร่วมกับชุมชน เป็นดาบสองคมที่จะทาให้เกิดได้ทั้งผลดีและผลเสีย ผลดีคือชุมชนมีส่วนร่วมใน
กระบวนการอนุรักษ์ มีส่วนคิด มีส่วนรับผล มีส่วนเป็นเจ้าของงาน เป็นผลดีต่อความยั่งยืนในอนาคต แต่
ในขณะเดียวกัน กระบวนการอนุรักษ์ด้วยแนวคิดกิจการเพื่อสังคมนี้ มีผลประโยชน์ทางธุรกิจเข้ามา
เกี่ยวข้องจานวนมาก ในขณะที่ชุมชนมีฐานที่ไม่แข็งแรง จะสร้างความแตกแยก และเป็นผลให้ชุมชนล่ม
สลายได้ ดังนั้นในบกรณีจึงจาเป็นที่ต้องมีองค์กรที่สามเข้าไปช่วยดาเนินการ
- การปรับตัวของชุมชนกับการลงทุนจากภายนอก หลังจากที่ชุมชน ฯ เริ่มมีชื่อเสียงและกลายเป็น
แหล่งท่องเที่ยวแห่งใหม่ ทาให้มีดึงดูดการลงทุนจากภายนอกมามากขึ้น เพื่อสอดรับการเป็นเมือง
ท่องเที่ยว เช่น ร้านเหล้า เป็นต้น ซึ่งกระทบต่อชุมชน สิ่งที่ได้เรียนรู้ คือ ชุมชนไม่กีดกันร้านเหล้า แต่มี
การปรับตัว มีข้อตกลงร่วมกัน มีกระบวนการพูดคุยร่วมกัน ซึ่งร้านเหล้าเองก็มีปรับตัว เช่น ลดการเปิด
เสียงดัง ปิดร้านเที่ยงคืน ลดเสียงเพลง ห้ามเด็กและเยาวชนเข้า เป็นต้น ทาให้ทั้งชุมชนและร้านเหล้า
สามารถอยู่ร่วมกันได้
18
สรุป
จากประสบการณ์อนุรักษ์ย่านชุมชนเก่าตลอดที่ผ่านมา ทาให้เรียนรู้ว่า การที่จะอนุรักษ์ให้ได้ผลจริง
นั้น จะต้องทาให้คนในชุมชนเข้าใจและตระหนักถึงประวัติศาสตร์ รากเหง้า วิถีชีวิตของตัวชุมชน และที่
สาคัญจะต้องทาควบคู่ไปกับด้านเศรษฐกิจด้วย เนื่องจากประเทศไทยไม่เหมือนกับต่างประเทศ ที่ไม่มี
ปัญหาเรื่องปากท้อง ดังนั้นปัจจัยทางเศรษฐกิจจึงมีผลอย่างยิ่งต่อระดับการมีส่วนร่วม การอนุรักษ์อย่างมี
ส่วนร่วมด้วยแนวคิดกิจการเพื่อสังคม (Social Enterprise) ที่ชุมชนริมน้าจันทบูรจึงเป็นการจุดประกายให้
เกิดความตระหนักเรื่องการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรม ทาให้เกิดการเคลื่อนไหวของชุมชนในการมีส่วนร่วม
ในชุมชนเป็นหุ้นส่วนเพื่อเป็นเจ้าของมรดกวัฒนธรรมร่วมกัน และช่วยกันดูแลกันเองจนเป็นแหล่งท่องเที่ยว
ใหม่ที่มีรูปแบบที่พอเหมาะลงตัวกับวิถีชุมชน สามารถสร้างรายได้ให้กับชุมชน แม้ว่าการทางานอนุรักษ์ที่
ชุมชนริมน้าจันทบูรอาจมีข้อผิดพลาดหรือมีอุปสรรคบ้าง แต่อย่างน้อยการอนุรักษ์ด้วยแนวคิดกิจการเพื่อ
สังคม จะเป็นทางเลือกหนึ่งของการอนุรักษ์ย่านเก่าในที่อื่นๆ ได้เรียนรู้และต่อยอดเพื่อการพัฒนาและ
อนุรักษ์ของประเทศไทยให้ยั่งยืนต่อไปได้
19

More Related Content

What's hot

Buddhist Architecture
Buddhist ArchitectureBuddhist Architecture
Buddhist Architecture
Andhra University
 
07 concept of space
07 concept of space07 concept of space
07 concept of space
Jan Echiverri-Quintano
 
Vincom Landmark 81 Landscape - Ho Chi Minh City, vietnam
Vincom Landmark 81 Landscape - Ho Chi Minh City, vietnamVincom Landmark 81 Landscape - Ho Chi Minh City, vietnam
Vincom Landmark 81 Landscape - Ho Chi Minh City, vietnam
Kiara Alejandrino
 
โครงงานปริมาณฝุ่นละอองในอากาศ
โครงงานปริมาณฝุ่นละอองในอากาศโครงงานปริมาณฝุ่นละอองในอากาศ
โครงงานปริมาณฝุ่นละอองในอากาศThrus Teerakiat
 
Defects Of Foreign Architectures In Afghanistan
Defects Of Foreign Architectures In AfghanistanDefects Of Foreign Architectures In Afghanistan
Defects Of Foreign Architectures In Afghanistan
Sameer Nawab
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์Pannaray Kaewmarueang
 
การจัดการศึกษาคณะสงฆ์ไทยในสมัยล้านนา
การจัดการศึกษาคณะสงฆ์ไทยในสมัยล้านนาการจัดการศึกษาคณะสงฆ์ไทยในสมัยล้านนา
การจัดการศึกษาคณะสงฆ์ไทยในสมัยล้านนา
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
CREATIVE BRIEF - TVC: Khu du lịch Làng Tre (Nha Trang)
CREATIVE BRIEF - TVC: Khu du lịch Làng Tre (Nha Trang)CREATIVE BRIEF - TVC: Khu du lịch Làng Tre (Nha Trang)
CREATIVE BRIEF - TVC: Khu du lịch Làng Tre (Nha Trang)
Alanguyen Production
 
การพิจารณาในมุมกว้าง
การพิจารณาในมุมกว้างการพิจารณาในมุมกว้าง
การพิจารณาในมุมกว้างnattaya
 
HINDU ARCHITECTURE
HINDU ARCHITECTUREHINDU ARCHITECTURE
HINDU ARCHITECTURE
Shourya Puri
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาซักข์
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาซักข์เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาซักข์
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาซักข์
CC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
Khác biệt hóa thương hiệu - Xây dựng để dẫn đầu
Khác biệt hóa thương hiệu - Xây dựng để dẫn đầuKhác biệt hóa thương hiệu - Xây dựng để dẫn đầu
Khác biệt hóa thương hiệu - Xây dựng để dẫn đầu
THANHS BRANDING & MANAGEMENT COMPANY
 
Culture and Consumer Behavior (Ch.3)
Culture and Consumer Behavior (Ch.3)Culture and Consumer Behavior (Ch.3)
Culture and Consumer Behavior (Ch.3)
Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
Design thinking การคิดเชิงออกแบบ (Thai - English)
Design thinking การคิดเชิงออกแบบ (Thai - English)Design thinking การคิดเชิงออกแบบ (Thai - English)
Design thinking การคิดเชิงออกแบบ (Thai - English)
Mayuree Srikulwong
 
Luận văn: Quản lý hoạt động Nhà hát Nghệ thuật đương đại Việt Nam. 9 ĐIỂM
Luận văn: Quản lý hoạt động Nhà hát Nghệ thuật đương đại Việt Nam. 9 ĐIỂMLuận văn: Quản lý hoạt động Nhà hát Nghệ thuật đương đại Việt Nam. 9 ĐIỂM
Luận văn: Quản lý hoạt động Nhà hát Nghệ thuật đương đại Việt Nam. 9 ĐIỂM
Viết Thuê Khóa Luận _ ZALO 0917.193.864 default
 

What's hot (20)

Social network direct media
Social network direct mediaSocial network direct media
Social network direct media
 
Buddhist Architecture
Buddhist ArchitectureBuddhist Architecture
Buddhist Architecture
 
07 concept of space
07 concept of space07 concept of space
07 concept of space
 
Vincom Landmark 81 Landscape - Ho Chi Minh City, vietnam
Vincom Landmark 81 Landscape - Ho Chi Minh City, vietnamVincom Landmark 81 Landscape - Ho Chi Minh City, vietnam
Vincom Landmark 81 Landscape - Ho Chi Minh City, vietnam
 
โครงงานปริมาณฝุ่นละอองในอากาศ
โครงงานปริมาณฝุ่นละอองในอากาศโครงงานปริมาณฝุ่นละอองในอากาศ
โครงงานปริมาณฝุ่นละอองในอากาศ
 
Defects Of Foreign Architectures In Afghanistan
Defects Of Foreign Architectures In AfghanistanDefects Of Foreign Architectures In Afghanistan
Defects Of Foreign Architectures In Afghanistan
 
3.4 อารยธรรมกรีก
3.4 อารยธรรมกรีก3.4 อารยธรรมกรีก
3.4 อารยธรรมกรีก
 
การโต้วาที
การโต้วาทีการโต้วาที
การโต้วาที
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์
 
การจัดการศึกษาคณะสงฆ์ไทยในสมัยล้านนา
การจัดการศึกษาคณะสงฆ์ไทยในสมัยล้านนาการจัดการศึกษาคณะสงฆ์ไทยในสมัยล้านนา
การจัดการศึกษาคณะสงฆ์ไทยในสมัยล้านนา
 
swot
swotswot
swot
 
CREATIVE BRIEF - TVC: Khu du lịch Làng Tre (Nha Trang)
CREATIVE BRIEF - TVC: Khu du lịch Làng Tre (Nha Trang)CREATIVE BRIEF - TVC: Khu du lịch Làng Tre (Nha Trang)
CREATIVE BRIEF - TVC: Khu du lịch Làng Tre (Nha Trang)
 
การพิจารณาในมุมกว้าง
การพิจารณาในมุมกว้างการพิจารณาในมุมกว้าง
การพิจารณาในมุมกว้าง
 
HINDU ARCHITECTURE
HINDU ARCHITECTUREHINDU ARCHITECTURE
HINDU ARCHITECTURE
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาซักข์
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาซักข์เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาซักข์
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาซักข์
 
Khác biệt hóa thương hiệu - Xây dựng để dẫn đầu
Khác biệt hóa thương hiệu - Xây dựng để dẫn đầuKhác biệt hóa thương hiệu - Xây dựng để dẫn đầu
Khác biệt hóa thương hiệu - Xây dựng để dẫn đầu
 
Culture and Consumer Behavior (Ch.3)
Culture and Consumer Behavior (Ch.3)Culture and Consumer Behavior (Ch.3)
Culture and Consumer Behavior (Ch.3)
 
Design thinking การคิดเชิงออกแบบ (Thai - English)
Design thinking การคิดเชิงออกแบบ (Thai - English)Design thinking การคิดเชิงออกแบบ (Thai - English)
Design thinking การคิดเชิงออกแบบ (Thai - English)
 
Luận văn: Quản lý hoạt động Nhà hát Nghệ thuật đương đại Việt Nam. 9 ĐIỂM
Luận văn: Quản lý hoạt động Nhà hát Nghệ thuật đương đại Việt Nam. 9 ĐIỂMLuận văn: Quản lý hoạt động Nhà hát Nghệ thuật đương đại Việt Nam. 9 ĐIỂM
Luận văn: Quản lý hoạt động Nhà hát Nghệ thuật đương đại Việt Nam. 9 ĐIỂM
 

Similar to เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม

การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
FURD_RSU
 
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรีเมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
FURD_RSU
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
FURD_RSU
 
เล่มที่ 6 ประเพณี
เล่มที่ 6 ประเพณีเล่มที่ 6 ประเพณี
เล่มที่ 6 ประเพณี
หรร 'ษๅ
 
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
Tum Meng
 
ยางนาสาร-ฉบับที่-79
ยางนาสาร-ฉบับที่-79ยางนาสาร-ฉบับที่-79
ยางนาสาร-ฉบับที่-79Mr-Dusit Kreachai
 
ชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docx
ชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docxชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docx
ชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docx
Niran Kultanan
 
อาจารย์นิรันดร์ กุลฑานันท์ แทนคุณแผ่นดิน
อาจารย์นิรันดร์ กุลฑานันท์ แทนคุณแผ่นดินอาจารย์นิรันดร์ กุลฑานันท์ แทนคุณแผ่นดิน
อาจารย์นิรันดร์ กุลฑานันท์ แทนคุณแผ่นดิน
Niran Kultanan
 
FURD CITIES MONITOR VOL.9 (FEBRUARY 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.9 (FEBRUARY 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.9 (FEBRUARY 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.9 (FEBRUARY 2018)
FURD_RSU
 
ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน
ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอนชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน
ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน
FURD_RSU
 
เอกสารชุดที่ 1 การจัดการโครงการ
เอกสารชุดที่ 1 การจัดการโครงการเอกสารชุดที่ 1 การจัดการโครงการ
เอกสารชุดที่ 1 การจัดการโครงการ
mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
ทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเอง
ทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเองทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเอง
ทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเอง
Tum Meng
 
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์
FURD_RSU
 
หนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมือง
หนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมืองหนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมือง
หนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมือง
FURD_RSU
 
โครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียนโครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียนJar 'zzJuratip
 
การพัฒนาเมืองน่านสู่สังคมคุณภาพ
การพัฒนาเมืองน่านสู่สังคมคุณภาพการพัฒนาเมืองน่านสู่สังคมคุณภาพ
การพัฒนาเมืองน่านสู่สังคมคุณภาพ
FURD_RSU
 
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
FURD_RSU
 
สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่
สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่
สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่S-ruthai
 

Similar to เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม (20)

การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
 
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรีเมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
 
เล่มที่ 6 ประเพณี
เล่มที่ 6 ประเพณีเล่มที่ 6 ประเพณี
เล่มที่ 6 ประเพณี
 
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
 
ยางนาสาร-ฉบับที่-79
ยางนาสาร-ฉบับที่-79ยางนาสาร-ฉบับที่-79
ยางนาสาร-ฉบับที่-79
 
ชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docx
ชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docxชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docx
ชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docx
 
อาจารย์นิรันดร์ กุลฑานันท์ แทนคุณแผ่นดิน
อาจารย์นิรันดร์ กุลฑานันท์ แทนคุณแผ่นดินอาจารย์นิรันดร์ กุลฑานันท์ แทนคุณแผ่นดิน
อาจารย์นิรันดร์ กุลฑานันท์ แทนคุณแผ่นดิน
 
FURD CITIES MONITOR VOL.9 (FEBRUARY 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.9 (FEBRUARY 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.9 (FEBRUARY 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.9 (FEBRUARY 2018)
 
ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน
ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอนชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน
ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน
 
V 289
V 289V 289
V 289
 
เอกสารชุดที่ 1 การจัดการโครงการ
เอกสารชุดที่ 1 การจัดการโครงการเอกสารชุดที่ 1 การจัดการโครงการ
เอกสารชุดที่ 1 การจัดการโครงการ
 
ทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเอง
ทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเองทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเอง
ทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเอง
 
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์
 
หนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมือง
หนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมืองหนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมือง
หนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมือง
 
โครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียนโครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียน
 
Japan reading policy
Japan reading policyJapan reading policy
Japan reading policy
 
การพัฒนาเมืองน่านสู่สังคมคุณภาพ
การพัฒนาเมืองน่านสู่สังคมคุณภาพการพัฒนาเมืองน่านสู่สังคมคุณภาพ
การพัฒนาเมืองน่านสู่สังคมคุณภาพ
 
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
 
สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่
สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่
สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่
 

More from FURD_RSU

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
FURD_RSU
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD_RSU
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
FURD_RSU
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
FURD_RSU
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD_RSU
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
FURD_RSU
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
FURD_RSU
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
FURD_RSU
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
FURD_RSU
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
FURD_RSU
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
FURD_RSU
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
FURD_RSU
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
FURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD_RSU
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
FURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD_RSU
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
FURD_RSU
 
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
FURD_RSU
 

More from FURD_RSU (20)

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
 
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
 

เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม

  • 1.
  • 3. ผู้เขียน : ธิป ศรีสกุลไชยรัก บรรณาธิการบริหาร : นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล บรรณาธิการฝ่ายวิชาการ : นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล กองบรรณาธิการ : นายฮาพีฟี สะมะแอ, นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง, นายอรุณ สถิตพงศ์สถาพร ถอดความ : นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง ปก : นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง รูปเล่ม : นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง ปีที่เผยแพร่ : กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 ผู้เผยแพร่ : ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับมูลนิธิส่งเสริมปัญญาสาธารณะ (CPWI) ภายใต้ แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง ผู้สนับสนุน : สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สส
  • 4. สารบัญ เรื่อง หน้า ชุมชนริมน้าจันทบูร 1 ลาดับเหตุการณ์ของจันทบูรโมเดล 5 แนวคิดกิจการเพื่อสังคม (Social Enterprise) 7 กระบวนการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมด้วยแนวคิดกิจการเพื่อสังคม 7 วิธีการระดมทุน 8 โครงการปรับปรุงบ้านหลวงราชไมตรี 9 การประชาสัมพันธ์ 12 กิจการเพื่อสังคม : บริษัทบ้านพักหลวงราชไมตรี 13 การเติบโตของโครงการและความสาเร็จ 14 ความท้าทาย 16 บทเรียนจากการพัฒนาชุมชนริมน้าจันทบูร 17 สรุป 18
  • 5. 1 เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม1,2 โดย ธิป ศรีสกุลไชยรัก อาจารย์ประจาสถาบันอาศรมศิลป์ การอนุรักษ์ย่านชุมชนเก่าในประเทศไทยที่ผ่านมา ส่วนใหญ่แล้วจะสามารถดาเนินกระบวนการการ มีส่วนร่วมของชุมชนได้ในระดับร่วมคิดและร่วมทาเท่านั้น แต่ยังไม่สามารถยกระดับการมีส่วนร่วมให้อยู่ใน ระดับร่วมรับผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจได้ ส่วนหนึ่งเป็นสาเหตุมาจากข้อจากัดของภาครัฐ ที่มีบทบาทเป็น เจ้าของโบราณสถาน ในขณะที่ภาคประชาชนยังคงต้องดิ้นรนใช้เวลาในชีวิตแต่ละวันเพื่อปากท้องและหา เลี้ยงครอบครัว จึงทาให้คนถูกออกจากประวัติศาสตร์ของตนเอง ความภูมิใจในรากฐานของตนเองก็ลดจาง ลง ชุมชนริมน้าจันทบูร เป็นชุมชนที่ใช้วิธีและกระบวนเพื่อสร้างทางเลือกใหม่ในการอนุรักษ์ โดยใช้หลัก คิดคือชุมชนจะต้องร่วมรับผลประโยชน์โดยตรงเพื่อให้เกิดรายได้แก่ชุมชนได้ดาเนินการอนุรักษ์โดยใช้ วิธีการอนุรักษ์อย่างมีส่วนร่วมด้วยแนวคิดกิจการเพื่อสังคม (Social Enterprise) เข้าออกแบบปรับปรุง ฟื้นฟู ตัวอาคารสถาปัตยกรรมเรือนไม้เก่าแก่ ดาเนินการเป็นโรงแรมและแหล่งเรียนรู้ประวัติศาสตร์ (Historic Inn) โดยที่ชุมชนร่วมเป็นเจ้าของ และปรับชุมชนกลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์แห่งใหม่ สร้าง รายได้ให้กับคนในชุมชน เกิดเป็นตัวอย่างการอนุรักษ์ย่านชุมชนเก่า หรือเรียกอีกอย่างว่า “จันทบูรโมเดล” ชุมชนริมน้าจันทบูร ชุมชนริมน้าจันทบูร จังหวัดจันทบุรี เป็นชุมชนเก่าแก่ ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 เป็นชุมชนที่มีความ ความเจริญรุ่งเรืองทางการค้าทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศที่สาคัญของภาคตะวันออกโดยใช้แม่น้า จันทบุรีเป็นเส้นทางหลักในการขนส่งสัญจรไปมา (รูปที่ 1) ชุมชนแห่งนี้มีผู้คนอาศัยกันอย่างหนาแน่น เป็น ชุมชนที่มีวัฒนธรรมหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็น จีน ญวน ไทย และฝรั่งที่เข้ามาค้าขายแม้ว่าชุมชนแห่งนี้จะมี ปัญหาเหมือนกับชุมชนอื่นๆ คือปัญหาไฟไหม้ น้าท่วม(รูปที่ 2) ซึ่งเป็นปัญหาหลักของเมืองเก่า แต่ปัจจุบัน ยังคงมีความดั้งเดิมหลงเหลืออยู่มาก โดยเฉพาะอาคาร สถาปัตยกรรม บ้านเรือนของผู้คนในสมัยตั้งแต่ตั้ง 1ถอดความจากเวทีคนเล็กเปลี่ยนเมืองสัญจร ครั้งที่ 1 เมื่อ วันอังคารที่ 8 ธันวาคม 2558 ณ บ้านหลวงราชไมตรี จังหวัดจันทบูร จัดโดย แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง ภายใต้ศูนย์ ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต และ โครงการผู้นาแห่งอนาคต คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ โดยการสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริม สุขภาพ (สสส.) 2และเวทีวิชาการ เรื่อง ภาคประชาสังคมกับนวัตกรรมการพัฒนาเมือง เมื่อวันเสาร์ที่ 9 มกราคม 2559 ณ โรงแรมอิมพิเรียลแม่ปิง จังหวัด เชียงใหม่ จัดโดย แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง ภายใต้ศูนย์ ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต โดยการสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริม สุขภาพ (สสส.)
  • 6. 2 ชุมชน(รูปที่ 3 )โดยยังคงเหลืออาคารไม้ที่เป็นอาคารไม้รุ่นแรก เสาตั้งอยู่บนหิน เป็นไม้ทั้งหลังอยู่ (รูปที่ 4 ) นอกจากนี้ยังมีศาสนสถานทั้งวัด โบสถ์คริสต์ วัดญวน (รูปที่ 5-6) อยู่ในพื้นที่เดียวกัน ซึ่งการที่มรดกทาง สถาปัตยกรรมยังหลงเหลืออยู่ถือเป็นปัจจัยที่ดี เพราะสถาปัตยกรรมเป็นมรดกที่จับต้องได้ เป็นรูปธรรม จึง สามารถเชื่อมโยงผู้คนไปหารากเหง้าประวัติศาสตร์ได้ง่ายมากขึ้น รูปที่ 1 ชุมชนริมน้าจันทบูรในอดีต รูปที่ 2 ปัญหาน้าท่วมในชุมชนตั้งแต่อดีต
  • 8. 4 รูปที่ 6 วัดญวน ณ ชุมชนริมน้าจันทบุรี รูปที่ 5 โบสถ์คริสต์ ณ ชุมชนริมน้าจันทบุรี
  • 9. 5 ลาดับเหตุการณ์ของจันทบูรโมเดล พ.ศ. 2551 นักศึกษาจากสถาบันอาศรมศิลป์ ในหลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต ลง พื้นที่ทาวิทยานิพนธ์เป็นจุดเริ่มต้นการอนุรักษ์ โดยมีอาจารย์และสถาบันอาศรมศิลป์เป็นที่ปรึกษา ได้ทา กระบวนการกับชุมชนเพื่ออนุรักษ์และพัฒนา โดยอาศัยอยู่กับชุมชน รับฟังปัญหา ไม่นาโจทย์ของตัวเองเป็น ตัวตั้ง แต่ศึกษาและใช้โจทย์จากพื้นที่ พ.ศ. 2552 สานักงานพาณิชย์จังหวัดเข้าร่วมการพัฒนาพื้นที่ โดยกระตุ้นให้เกิดถนนคนเดิน อีกทั้ง มีกระแสของการท่องเที่ยวเมืองเก่ากระตุ้นให้ชุมชนเริ่มตระหนักถึงอนาคตของตนเอง จึงจัดตั้งคณะทางาน ชุมชนภายใต้ชมรมชื่อ “ชมรมพัฒนาชุมชนริมน้า”ตั้งเป้าหมายร่วมกันของชุมชน โดยใช้วิสัยทัศน์ “วัฒนธรรมนาการค้า” คือ ไม่ได้ปฏิเสธการค้า แต่ชุมชนจะให้ความสาคัญกับความอนุรักษ์วิถีชีวิตวัฒนธรรม มากกว่า ทาให้เกิดกิจกรรมจากการมีส่วนร่วมของชุมชน เช่น การทาความสะอาดชุมชนสารวจข้อมูลบ้าน และอาคาร การจัดบ้าน การจัดถนนสายวัฒนธรรม เป็นต้น พ.ศ. 2553 เจ้าของบ้านเลขที่ 69 บ้านขุนอนุสรสมบัติ คือคุณป้าบุญพริ้ม ปฏิรูปานุสร ต้องการ เสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน จึงมอบบ้านหลังนี้ซึ่งอายุกว่า 100 ปี ปรับปรุงเป็น “บ้านเรียนรู้ของ ชุมชน3 ” โดยได้รับทุนจาก Rockefeller foundation พ.ศ. 2554 สถาบันอาศรมศิลป์ได้ชวนชาวบ้านคิดถึงอนาคตและขยับการอนุรักษ์ด้วยตัวของชุมชน เองให้มากขึ้น เพราะเมื่อชุมชนเริ่มมีชื่อเสียงระดับหนึ่ง การท่องเที่ยวเริ่มมาในชุมชน วิถีชีวิตเริ่มเปลี่ยน ขณะเดียวกันเริ่มมีนายทุนภายนอกเข้ามา หากชุมชนไม่จัดการจะต้องมีคนอื่นภายนอกเข้ามาจัดการอย่าง แน่นอน สถาบันอาศรมศิลป์จึงนาเสนอแนวคิดการอนุรักษ์อย่างมีส่วนร่วมด้วย“แนวคิดกิจการเพื่อสังคม (Social Enterprise)เป็นเครื่องมือเพื่อช่วยการอนุรักษ์ของชุมชนเนื่องจากเล็งเห็นว่าเป็นพื้นที่ ประวัติศาสตร์ สามารถนาแนวคิดดังกล่าวประยุกต์กับคุณค่าประวัติศาสตร์ในพื้นที่ เช่น บ้านและอาคารเก่า ที่สามารถปรับปรุงเป็นโรงแรม เป็นรายได้ให้กับชุมชนได้ แรกเริ่มที่เสนอแนวคิดกิจการเพื่อสังคมยังขาดความเข้าใจจากชุมชน จึงมีกระบวนการพูดคุยเพื่อ สร้างทิศทางการอนุรักษ์ (รูปที่ 7-8) แต่เมื่อมีการพูดคุยกันมากขึ้น ถึงประโยชน์ที่จะได้รับ มีการเปิดวิดีทัศน์ เกี่ยวกับแนวคิดดังกล่าว ที่เข้าใจง่าย ผ่านไป 1 เดือน ชุมชนได้ยอมรับแนวคิดนี้ชุมชนเริ่มมองเห็นทิศทาง และเป้าหมายของชุมชนด้วยการอนุรักษ์มากขึ้น และวางแผนออกแบบธุรกิจการอนุรักษ์ด้วยแนวคิดดังกล่าว 3บ้านเรียนรู้ชุมชน เป็นแหล่งรวบรวมและเผยแพร่ความรู้ประวัติความเป็นมาของชุมชนริมน้าจันทบูร ให้แก่เยาวชน นักท่องเที่ยว และ ผู้สนใจทั่วไป
  • 10. 6 รูปที่ 7 กระบวนการพูดคุยในชุมชน รูปที่ 8 กระบวนการพูดคุยในชุมชน
  • 11. 7 แนวคิดกิจการเพื่อสังคม (Social Enterprise) แนวคิดกิจการเพื่อสังคม (Social Enterprise) คือ การองค์กรเอกชนที่อุทิศตัวเพื่อแก้ไขปัญหาสังคม สนองผู้ เสียเปรียบในสังคม และจัดหาสินค้าที่สาคัญทางสังคมที่ภาครัฐหรือเอกชนไม่สามารถจัดหาให้ได้ (Dees, 1998) อย่างไรก็ตามในทางปฏิบัตินั้นการประกอบกิจการเพื่อสังคมเกี่ยวข้องกับปัญหาสังคม หรือ ความต้องการที่ยังไม่ได้รับการตอบสนองจากภาคเอกชนหรือรัฐบาลนั่นเอง (อ้างใน เอกชัย,2554) จากประสบการณ์ของสถาบันอาศรมศิลป์ในการอนุรักษ์ย่านชุมชนเก่าหลายแห่งในประเทศ พบว่า ชุมชนในฐานะที่เป็นองค์ประกอบของเมือง ถูกขับเคลื่อนด้วยระบบเศรษฐกิจทุนนิยม สังคมในอดีตที่เคย พึ่งพิงกัน มีอาหารร่วมแบ่งปันกัน เหลือน้อยลงหรือแทบจะไม่มีเหลือในปัจจุบัน ฉะนั้น หากยังทาการ อนุรักษ์ที่นึกถึงแต่ความสวยงามคงไม่สามารถรักษาแก่นแท้และคุณค่าที่ดีงานของสังคมไทยได้ ซึ่งในความ เป็นจริงแล้วชุมชนส่วนใหญ่ไม่ได้อยากจะตัดขาดจากรากเหง้าของตน พวกเขายังคงต้องการที่จะรักษาอัต ลักษณ์ให้คงอยู่ จากเหตุผลข้างต้นแนวคิดกิจการเพื่อสังคม จึงเหมาะเป็นเครื่องมือในการดาเนินการอนุรักษ์ของ ชุมชนริมน้าจันทบูร เพื่อหวังจะสร้างกิจการโดยให้ชุมชนเป็นผู้ลงทุน บริหารจัดการ และร่วมรับผลกาไร เพื่อ ยกระดับและสร้างการมีส่วนร่วมจากชุมชนจริงๆ อีกทั้งจะทาให้ชุมชนไม่ต้องพึ่งพิงจากทุนภายนอก สามารถ มีทุนของตนเองในการทางานเพื่อสร้างความยั่งยืนในอนาคต การเลือกแนวคิดนี้ สถาบันอาศรมศิลป์ในฐานะ สถาบันการศึกษาหวังเป็นอย่างยิ่งหากสามารถทาได้สาเร็จ จะเป็นทางเลือกในการอนุรักษ์ชุมชนเก่าให้คง อยู่ได้อย่างยั่งยืน กระบวนการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมด้วยแนวคิดกิจการเพื่อสังคม (รูปที่ 9) การประยุกต์แนวคิดดังกล่าวกับชุมชนริมน้าจันทบูรมีขั้นตอน ดังนี้ 1. การก่อตั้งบริษัท หลังจากที่ชุมชนยอมรับการใช้แนวคิดกิจการเพื่อสังคมเป็นเครื่องมือในการ บริหารจัดการงานอนุรักษ์ของชุมชนจึงมีการก่อตั้งบริษัทชุมชนขึ้นมา ชื่อว่า “บริษัท จันทบูรรักษ์ดี จากัด” มีการตั้งคาถามว่า เหตุใดถึงรวมกลุ่มแบบบริษัท เหตุใดไม่รวมกลุ่มแบบสหกรณ์ มูลนิธิ แต่ สิ่งที่สถาบันอาศรมศิลป์คิดคือ ต้องการให้โครงการที่คนทั่วไปสามารถทาได้ แข่งขันได้จริง โดยที่คน ทั่วไปสามารถทาได้แม้มีเพียง 1 คน หรือ 2 คน หรือทั้งชุมชนก็สามารถทาได้ นอกจากนี้ยัง เกี่ยวข้องกับเรื่องเทคนิค คือ เรื่องของการโหวตเสียง สาหรับสหกรณ์คือ 1 หุ้นต่อ 1 เสียง แต่ บริษัทเสียงโหวตจะเป็นไปตามจานวนหุ้น ฉะนั้นที่เลือกแบบบริษัท เนื่องจากเสียงส่วนหนึ่งมันเป็น ของคนในชุมชน จึงคิดว่าการจัดเป็นรูปแบบของบริษัทนั้นจะดีกว่ามากกว่าจะเป็นสหกรณ์ เพราะ สหกรณ์เสียงมันแตกได้ 2. การพัฒนารูปแบบของกิจกรรมหรือค้นหาสินค้า รูปแบบธุรกิจเชิงอนุรักษ์ที่ได้วางไว้ คือ การ ปรับปรุงบ้านหรืออาคารเก่าในชุมชนดาเนินการเป็นโรงแรมและแหล่งเรียนรู้ประวัติศาสตร์ (Historic
  • 12. 8 Inn)จึงได้หาบ้านหรืออาคารที่เหมาะสมในการทาธุรกิจ และได้พบกับบ้านหลวงราชไมตรี บ้านเก่า หลังใหญ่อายุกว่า 150 ปี ซึ่งเต็มไปด้วยเรื่องราวประวัติศาสตร์ โดยเจ้าของคือนพ.ปสารพงษ์ ปุณศรี ทายาทรุ่นที่ 3ของหลวงราชไมตรี ท่านต้องการมีส่วนร่วมและสนับสนุนแนวคิดนี้ จึงได้ทาสัญญาให้ บริษัทฯของชุมชนได้เช่าบ้าน เพื่อบูรณะเป็นบ้านพักประวัติศาสตร์หลวงราชไมตรีด้วยสัญญาเช่า 30 ปี ค่าเช่าเดือนละ 1 บาท ซึ่งเป็นความโชคดีมากของชุมชนที่สามารถหาบ้านที่มีเรื่องราว และมี ต้นทุนที่ต่ามากในการดาเนินธุรกิจ 3. การระดมทุน หลังจากที่ได้บ้านหลวงราชไมตรีในการปรับปรุงเพื่อทาเป็นบ้านพักหรือโรงแรมจึง เริ่มระดมทุนเพื่อปรับปรุงบ้าน โดยตั้งงบประมาณการลงทุนคือ 8.8 ล้านบาท (รายละเอียดดูได้ใน หัวข้อ วิธีการระดมทุน) 4. การปรับปรุงและพัฒนากิจการ ในระหว่างการระดมทุน ก็ได้ดาเนินการบูรณะปรับปรุง บ้านหลวง ราชไมตรีตามหลักวิชาการอนุรักษ์สถาปัตยกรรม โดยใช้เวลาปรับปรุงทั้งหมดประมาณ 8 เดือน (รายละเอียดดูได้ในหัวข้อ การปรับปรุงบ้านหลวงราชไมตรี) 5. การประชาสัมพันธ์ หลังจากเปิดกิจการให้บริการ แรกเริ่มใช้วิธีการประชาสัมพันธ์แบบปากต่อปาก หลังจากนั้นจึงมีการใช้สื่อให้ช่วยประชาสัมพันธ์มากขึ้น(รายละเอียดดูได้ในหัวข้อ การ ประชาสัมพันธ์) วิธีการระดมทุน วิธีการระดมทุนคือการขายหุ้น หุ้นละ 1,000 บาท โดยมีกฎเกณฑ์ในการระดมทุนคือ หากคนใน ชุมชนไม่สามารถเข้าร่วมซื้อหุ้นเกินที่ตั้งไว้ จะล้มเลิกโครงการ เพราะถือว่าไม่ได้รับการมีส่วนร่วมจากคนใน ชุมชน ในท้ายที่สุดบริษัท ฯ สามารถขายหุ้นให้กับคนในชุมชนเกินจานวนที่คาดการณ์ไว้ คิดเป็นเงิน รูปที่ 9 การอนุรักษ์ฟื้นฟูย่านชุมชนเก่า ของชุมชนริมน้าจันทบูร
  • 13. 9 ประมาณ 2 ล้าน (รูปที่ 10) โดยอันที่จริงคนในชุมชนไม่ได้ถึงขนาดอยากเป็นเจ้าของแบบ 100 เปอร์เซ็นต์ แต่เนื่องจากอยากให้โครงการฯ เป็นไปได้เพราะเห็นประโยชน์ในการอนุรักษ์จึงมาร่วมซื้อหุ้น ปัจจุบันมีคนถือหุ้น 501 คน เป็นคนในชุมชน 200 กว่าคน ที่เหลือเป็นคนจากกรุงเทพฯ และ เครือข่ายของคนในชุมชน การซื้อหุ้นของคนในชุมชนสะท้อนให้เห็นถึงความเข้าใจในโครงการ และสะท้อน ความร่วมมือของชุมชนเป็นอย่างดี เพื่ออนุรักษ์และฟื้นฟูบ้านหลวงราชไมตรีหากเปิดกิจการได้แล้ว คณะทางานกาหนดผลตอบแทนจากกาไรนี้จะตอบแทนให้ในรูปของการปันผลสาหรับผู้ถือหุ้น และอีก 10% ของกาไรจะมอบให้ชุมชนเพื่อทาประโยชน์ในการพัฒนาชุมชนต่อไป โครงการปรับปรุงบ้านหลวงราชไมตรี สภาพบ้านหลวงราชไมตรีก่อนปรับปรุง เป็นบ้านที่โทรมมาก (รูปที่ 11) จึงเริ่มค่อยๆ ปรับปรุง โดย ใช้เวลาปรับปรุงทั้งหมดประมาณ 8 เดือน (รูปที่ 12) ระหว่างทาการปรับปรุง คณะทางานได้ทาการขุด สารวจของโบราณในบ้าน และตรวจสอบประวัติ(รูปที่ 13) เพื่อที่จะได้นาของโบราณเหล่านั้มาเป็นแหล่ง เรียนรู้ประวัติศาสตร์ของคนในชุมชน จะเกิดทั้งคุณค่าและมูลค่าด้วย หลังจากปรับปรุงเสร็จแล้ว(รูปที่ 14) ข้างล่างของบ้านหลวงราชไมตรีเปิดเป็นบ้านเรียนรู้ชุมชน (รูป ที่ 15) ทุกคนสามารถเยี่ยมชมได้โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย ส่วนห้องอื่นๆ ในบ้าน และชั้นบน ได้ปรับปรุงเป็น ห้องพักจานวน 12 ห้อง โดยแต่ละห้องได้ตั้งชื่อตามเรื่องราวของท่านหลวงฯ เช่น ห้องนักเรียน เนื่องจาก ท่านเป็นเศรษฐีใจดี หากเรียนดี สามารถมาพักที่บ้านท่านได้ เป็นต้น (รูปที่ 16) รูปที่ 10 การระดมทุนปรับปรุงบ้านหลวงราชไมตรี
  • 14. 10 รูปที่ 11 บ้านหลวงราชไมตรีก่อนปรับปรุง รูปที่ 12 การปรับปรุงบ้านหลวงราชไมตรี รูปที่ 13 สารวจและสืบค้นของโบราณภายในบ้าน
  • 15. 11 รูปที่ 14 บ้านหลวงราชไมตรีหลังปรับปรุง รูปที่ 15 มุมเรียนรู้ของประวัติศาสตร์ ด่านล่างของบ้านฯ
  • 16. 12 การประชาสัมพันธ์ โครงการ ฯ ไม่ได้จัดงบเผื่อสาหรับการประชาสัมพันธ์ เนื่องจากไม่เคยทาธุรกิจมาก่อน ทาให้ ช่วงแรก มีคนเข้าพักเพียง10-20 เปอร์เซ็นต์ ต่อมามีกลุ่มสื่อจากช่องต่างๆ เข้ามาติดต่อ เนื่องจากชอบ แนวคิดการอนุรักษ์ จึงเข้ามาทาข่าว และช่วยประชาสัมพันธ์ โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย(รูปที่ 17) แม้มีหลายสื่อที่ ขอคิดค่าใช้จ่าย แต่ทางโครงการฯ ต้องปฏิเสธ เนื่องจากไม่มีงบประมาณให้ สื่อที่เผยแพร่นั้นมีหลากหลายช่อง เช่น ทางทีวี หนังสือพิมพ์ นิตยสาร และที่สาคัญไม่ได้สื่อในแง่ ของการตลาด หรือการท่องเที่ยว แต่สื่อในแง่ของการเป็นทางเลือกของการอนุรักษ์เมือง ซึ่งภายหลังจากมี การเผลแพร่โครงการผ่านสื่อสาธารณะ ทาให้มีหลายกลุ่มเข้ามาเรียนรู้ และอยากนากลับไปประยุกต์ใช้กับ พื้นที่ของตนเอง นอกจากนี้ คนที่มีชื่อเสียงหลายคนก็เข้ามาพัก หรือมาเยี่ยม พร้อมเขียนลงสมุดบันทึกให้ กาลังใจ เช่น อดีตรองนายกรัฐมนตรี ดร.สุรเกียรติ เสถียรไทย เป็นต้น รูปที่ 16 ห้องพักในบ้านหลวงราชไมตรี
  • 17. 13 กิจการเพื่อสังคม : บริษัทบ้านพักหลวงราชไมตรี 1. โครงสร้างการบริหารจัดการ ทางบริษัทได้จัดตั้งคณะกรรมการบริหาร 5 คน เพื่อบริหารบ้านพัก หลวงราชไมตรี โดยคนที่จะเป็นคณะกรรมการได้นั้นขึ้นอยู่กับจานวนหุ้น และที่สาคัญได้กาหนดกฎ ในการบริหาร คือ ในคณะกรรมการบริหารจะต้องมีคนในชุมชนอย่างน้อย 1 คนเป็นคณะกรรมการ เนื่องจากคนในชุมชนซื้อหุ้นจานวนมาก ทาให้ในคณะกรรมการบริหารมีคนในชุมชน 2 คน ส่วนอีก 3 คนที่เหลือชุมชนขอให้เป็นคณะกรรมการที่มาจากสถาบันฯ เพื่อช่วยเป็นที่ปรึกษาและช่วยกากับ รักษาทิศทางการในการดาเนินโครงการ นอกจากนี้ยังมีคณะที่ปรึกษาอีก 3 คน เป็นผู้เชี่ยวชาญการ ทาธุรกิจโรงแรม และที่ปรึกษาด้านกฎหมาย คณะกรรมการบริหารจะมีหน้าที่กาหนดวัตถุประสงค์ วางนโยบายและแผนการดาเนินงานรวมถึงคัดเลือก ผู้จัดการโครงการ และบุคลากรด้านอื่นๆ ตาม ความเหมาะสม (รูปที่ 18) รูปที่ 18 โครงสร้างการบริหารจัดการบ้านหลวงราชไมตรี รูปที่ 17 การประชาสัมพันธ์ในสื่อต่างๆ
  • 18. 14 2. การบริหารจัดการทางการเงิน จากผลการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ (Feasibility study) พบว่า โครงการนี้สามารถคืนทุนได้ในภายในระยะเวลา 10 ปี หากมีอัตราเข้าพักเฉลี่ย 60% ผลตอบแทนหรือกาไร จะปันผลสาหรับผู้ถือหุ้นซึ่งอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามภาวะเศรษฐกิจใน แต่ละปี นอกจากนี้ ผู้ถือหุ้นยังได้รับสิทธิพิเศษคือสามารถเข้าพักบ้านหลวงราชไมตรีในอัตราพิเศษ ตามที่ได้ตกลงกัน นอกจากการปันผลตามสัดส่วนหุ้นแล้ว โครงการได้กาหนดให้ 10% จากผลกาไร จะมอบให้ชุมชนเพื่อทาประโยชน์ในการรักษาวัฒนธรรมตามแนวคิดกิจการเพื่อสังคม การเติบโตของโครงการและความสาเร็จ - เกิดบ้านเรียนรู้ในชุมชนเพิ่มหลายหลังจากที่ชุมชนมีบ้าน 2 หลังในการเปิดเป็นแหล่งเรียนรู้ ขณะนี้ เริ่มมีการกระจายตัว คนในชุมชนเริ่มอยากเปิดบ้านของตนเอง จากที่วางแผนไว้ คือ อยากให้บ้านทุก หลังเปิดการเรียนรู้ เพราะเชื่อว่าคนในชุมชนทุกคนสามารถเป็นผู้รู้เป็นครูได้ เพราะบ้านทุกหลังมีภูมิ ปัญญาของตนเอง หากสามารถเปิดการเรียนรู้ได้จะช่วยทาให้คนท้องถิ่นรู้สึกในความรู้ของตัวเอง ซึ่งยัง นาไปสู่การเกิดรายได้ด้วย ณ ตอนนี้มีบ้านอีก 4 หลังกาลังปรับปรุง(รูปที่ 19) เช่น บ้าน 109 ที่เป็น บ้านทาพลอยดั้งเดิม (รูปที่ 20) หรือบ้านหลวงประกอบนิติไพศาล บ้านเรียนรู้เรื่องการปกครองในสมัย ราชกาลที่ ๖ และเป็นที่พัก ก็กาลังออกแบบอยู่เช่นกัน(รูปที่ 21) รูปที่ 19 แสดงจุดบ้าน 4 หลังที่กาลังปรับปรุงเพื่อเปิดเป็นบ้านการเรียนรู้
  • 20. 16 - เกิดเป็นแหล่งท่องเที่ยวใหม่ในจังหวัดจันทบุรี จากจุดเริ่มต้นกระบวนการอนุรักษ์จนถึงปัจจุบัน ดาเนินการมา 7 ปีแล้ว ในวันนี้ชุมชนริมน้าจันทบูรได้กลายเป็นสถานที่ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมแห่ง ใหม่ของจังหวัดจันทบูร โดยวันเสาร์ – อาทิตย์ จะมีนักท่องเที่ยวแวะเวียนมาเสมอ ซึ่งก็สร้างความ คึกคัก เกิดธุรกิจต่อเนื่อง และสร้างรายได้ให้กับชุมชนอีกด้วย - รางวัลการอนุรักษ์ - อาคารอนุรักษ์ดีเด่นประจาปี ๒๕๕๘ จากสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ (จาก โครงการบ้านพักประวัติศาสตร์หลวงราชไมตรี ชุมชนริมน้าจันทบูร จ.จันทบุรี) - Winner, (Socially Inclusive) FuturArc Green Leadership Award 2015 (จากโครงการ บ้านพักประวัติศาสตร์หลวงราชไมตรี ชุมชนริมน้าจันทบูร จ.จันทบุรี) - Merit Award, UNESCO Asia-Pacific Heritage Award 2015 (จากโครงการบ้านพัก ประวัติศาสตร์หลวงราชไมตรี ชุมชนริมน้าจันทบูร จ.จันทบุรี) ความท้าทาย - การลงทุนจากภายนอก หลังจากที่ชุมชนเริ่มมีชื่อเสียง เริ่มมีนักท่องเที่ยวเข้ามา ทาให้ดึงดูด ผู้ประกอบการใหม่ๆเข้ามาลงทุนในชุมชน โดยเฉพาะร้านเหล้า ซึ่งเริ่มสร้างปัญหาให้กับชุมชน เกิด เสียงดัง จอดรถขวางหน้าบ้าน เป็นต้น ทั้งนี้ร้านเหล้ามีทั้งที่ปรับตัวเข้าหาชุมชน และร้านเหล้าที่ไม่ ปรับตัว ซึ่งสร้างปัญหาให้กับชุมชนต่อไป นอกจากนี้ เริ่มมีการลงทุนด้านอื่นๆ เข้ามา เช่น โรงแรม ร้านอาหาร เป็นต้น - การทดลองแนวคิดใหม่เกี่ยวกับแนวคิดกิจการเพื่อสังคม (social enterprise)ในช่วงเริ่มต้น กระบวนการอนุรักษ์ คือการอธิบายให้คนในชุมชนเข้าใจในแนวคิดกิจการเพื่อสังคม (social enterprise) ทั้งหลักคิด กระบวนการ ผลดีที่มีต่อชุมชน ในช่วงแรกชุมชนไม่เห็นด้วยกับแนวคิดนี้ แต่สุดท้ายชุมชนได้ลองทบทวนใหม่ และเห็นด้วยที่จะดาเนินโครงการด้วยแนวคิดนี้ - ความท้าทายในการทาธุรกิจ เนื่องจากใช้แนวคิดกิจการเพื่อสังคมเป็นเครื่องมือในการจัดการด้าน อนุรักษ์ สิ่งที่คณะทางานต้องเผชิญ คือ การทาธุรกิจ ซึ่งเป็นความไม่ถนัดของคณะทางาน เนื่องจาก เป็นกลุ่มคนที่อยู่ในสถาบันการศึกษา และคนในชุมชนทาให้ต้องศึกษาการทาธุรกิจอย่างมาก จาก ในช่วงแรกคิดอยากทาแบบโรแมนติก จะทาห้องแค่ 5 ห้อง ขายห้องละ 3000 บาท คิดว่าจะอยู่รอด แต่เมื่อศึกษาความเป็นไปได้แล้ว พบว่า ต้องใช้เวลากว่า 20 ปี ถึงจะคืนทุน จึงต้องคิดใหม่เพื่อให้มี กาไรจริง ซึ่งมีความยากหลายอย่าง เช่น ความไกลของจังหวัดจันทบุรี-กรุงเทพฯ ต้องใช้การ เดินทางกว่า 4 ชม. การคานวณราคาค่าห้อง การสร้างตลาด เป็นต้น จึงต้องทาให้ไม่ขาดทุน เพราะ ไม่เช่นนั้นจะยิ่งส่งผลเสียต่ออนุรักษ์และความร่วมมือของชุมชน
  • 21. 17 - การสนับสนุนจากรัฐท้องถิ่นคณะทางานมีความพยายามในการสร้างความร่วมมือกับเทศบาลฯ ซึ่งพบว่า เทศบาลฯ ไม่ได้ขัดขวางการทางาน แต่ทั้งนี้เทศบาลฯ เองก็ยังเข้ามามีส่วนร่วมไม่มากนัก ซึ่งทาให้ชุมชนต้องดาเนินการทุกอย่างด้วยตนเอง คณะทางานยังพบกับปัญหาความไม่แน่นอนของ การเมืองในจังหวัด เนื่องจากมีการเปลี่ยนผู้ว่า ฯ บ่อย ซึ่งส่งผลต่อความต่อเนื่องในการทางานอย่าง ยิ่ง บทเรียนจากการพัฒนาชุมชนริมน้าจันทบูร - ความไม่สมบูรณ์ของชุมชน ตลอดการทางานกับชุมชนริมน้าจันทบูร สิ่งหนึ่งที่ได้เรียนรู้ คือ ไม่มี ชุมชนใดที่จะสมบูรณ์แบบ โดยที่ทางานแล้วไม่พบปัญหา ทุกชุมชนมีความเป็นกลุ่มก้อน ซึ่งอาจจะเป็น กลุ่มที่เกิดจากการเป็นญาติกัน หรือเกิดจากฐานของนักการเมืองท้องถิ่น ที่ทาให้คนแตกแยกแบ่งฝัก แบ่งฝ่าย สิ่งเหล่านี้ผู้ทางานชุมชนต้องทาความเข้าใจ และระมัดระวังการบริหารจัดการ ในขณะเดียวกัน ผู้ทางานอาจมีความกังวลเกี่ยวกับปัญหาการแบ่งฝ่าย มีความคิดเห็นไม่ตรงกันในชุมชน สิ่งที่ทาให้ เรียนรู้จากการทางานคือ แม้จะมีความเห็นไม่ตรงกัน แต่พวกเขาก็สามารถอยู่ด้วยกันได้ ซึ่งอยู่เป็นแบบ นี้มาตั้งแต่สมัยอดีตแล้ว - ความร่วมมือกับภาครัฐ บทเรียนและประสบการณ์การทางานด้านอนุรักษ์มีสิ่งหนึ่งที่สาคัญมาก คือ การร่วมมือกับภาครัฐ หรือการยกระดับการอนุรักษ์ด้วยกลไกของภาครัฐ แม้ว่าคนในชุมชนจะเป็นตัว หลักและสามารถทากระบวนการด้วยตนเอง และดาเนินโครงการจนสาเร็จในระดับหนึ่ง แต่ท้ายที่สุดแล้ว หากไม่ได้รับความร่วมมือของภาครัฐที่จะใช้อานาจทางกฎหมายในการสนับสนุน ส่งเสริม และปกป้อง อาคารเก่าและชุมชน ก็จะไม่สามารถสร้างความยั่งยืนในระยะยาวได้ - ดาบสองคมของการฟื้นฟูชุมชนด้วยแนวคิดทางธุรกิจ การทางานด้านอนุรักษ์ด้วยเครื่องมีทางธุรกิจ ร่วมกับชุมชน เป็นดาบสองคมที่จะทาให้เกิดได้ทั้งผลดีและผลเสีย ผลดีคือชุมชนมีส่วนร่วมใน กระบวนการอนุรักษ์ มีส่วนคิด มีส่วนรับผล มีส่วนเป็นเจ้าของงาน เป็นผลดีต่อความยั่งยืนในอนาคต แต่ ในขณะเดียวกัน กระบวนการอนุรักษ์ด้วยแนวคิดกิจการเพื่อสังคมนี้ มีผลประโยชน์ทางธุรกิจเข้ามา เกี่ยวข้องจานวนมาก ในขณะที่ชุมชนมีฐานที่ไม่แข็งแรง จะสร้างความแตกแยก และเป็นผลให้ชุมชนล่ม สลายได้ ดังนั้นในบกรณีจึงจาเป็นที่ต้องมีองค์กรที่สามเข้าไปช่วยดาเนินการ - การปรับตัวของชุมชนกับการลงทุนจากภายนอก หลังจากที่ชุมชน ฯ เริ่มมีชื่อเสียงและกลายเป็น แหล่งท่องเที่ยวแห่งใหม่ ทาให้มีดึงดูดการลงทุนจากภายนอกมามากขึ้น เพื่อสอดรับการเป็นเมือง ท่องเที่ยว เช่น ร้านเหล้า เป็นต้น ซึ่งกระทบต่อชุมชน สิ่งที่ได้เรียนรู้ คือ ชุมชนไม่กีดกันร้านเหล้า แต่มี การปรับตัว มีข้อตกลงร่วมกัน มีกระบวนการพูดคุยร่วมกัน ซึ่งร้านเหล้าเองก็มีปรับตัว เช่น ลดการเปิด เสียงดัง ปิดร้านเที่ยงคืน ลดเสียงเพลง ห้ามเด็กและเยาวชนเข้า เป็นต้น ทาให้ทั้งชุมชนและร้านเหล้า สามารถอยู่ร่วมกันได้
  • 22. 18 สรุป จากประสบการณ์อนุรักษ์ย่านชุมชนเก่าตลอดที่ผ่านมา ทาให้เรียนรู้ว่า การที่จะอนุรักษ์ให้ได้ผลจริง นั้น จะต้องทาให้คนในชุมชนเข้าใจและตระหนักถึงประวัติศาสตร์ รากเหง้า วิถีชีวิตของตัวชุมชน และที่ สาคัญจะต้องทาควบคู่ไปกับด้านเศรษฐกิจด้วย เนื่องจากประเทศไทยไม่เหมือนกับต่างประเทศ ที่ไม่มี ปัญหาเรื่องปากท้อง ดังนั้นปัจจัยทางเศรษฐกิจจึงมีผลอย่างยิ่งต่อระดับการมีส่วนร่วม การอนุรักษ์อย่างมี ส่วนร่วมด้วยแนวคิดกิจการเพื่อสังคม (Social Enterprise) ที่ชุมชนริมน้าจันทบูรจึงเป็นการจุดประกายให้ เกิดความตระหนักเรื่องการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรม ทาให้เกิดการเคลื่อนไหวของชุมชนในการมีส่วนร่วม ในชุมชนเป็นหุ้นส่วนเพื่อเป็นเจ้าของมรดกวัฒนธรรมร่วมกัน และช่วยกันดูแลกันเองจนเป็นแหล่งท่องเที่ยว ใหม่ที่มีรูปแบบที่พอเหมาะลงตัวกับวิถีชุมชน สามารถสร้างรายได้ให้กับชุมชน แม้ว่าการทางานอนุรักษ์ที่ ชุมชนริมน้าจันทบูรอาจมีข้อผิดพลาดหรือมีอุปสรรคบ้าง แต่อย่างน้อยการอนุรักษ์ด้วยแนวคิดกิจการเพื่อ สังคม จะเป็นทางเลือกหนึ่งของการอนุรักษ์ย่านเก่าในที่อื่นๆ ได้เรียนรู้และต่อยอดเพื่อการพัฒนาและ อนุรักษ์ของประเทศไทยให้ยั่งยืนต่อไปได้
  • 23. 19