SlideShare a Scribd company logo
สภาคนแป้ (เครือข่ายลูกหลานเมืองแพร่)
ภาพจาก facebook : The Active Generation of Phrae Family ข่ายลูกหลานเมืองแพร่
สามารถ สุวรรณรัตน์
นักวิชาการอิสระ
แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง
ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
1
สภาคนแป้ (เครือข่ายลูกหลานเมืองแพร่)
ความเคลื่อนไหวการดาเนินงานการพัฒนาเมืองโดยภาคประชาสังคมเมืองแพร่เริ่มปรากฏ
ชัดเจน ในช่วงต้นของช่วงปลายทศวรรษปี 2540 เป็นต้นมา พื้นที่ที่กิจกรรมโดดเด่นและมีการดาเนินงาน
อย่างที่เป็นรูปธรรมอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ พื้นที่ในเขตเมืองเก่าแพร่ โดยเฉพาะบริเวณถนนพระนอน ไป
จนถึงสี่แยกประตูมาน เป็นการรวมตัวของกลุ่มเครือข่ายลูกหลานเมืองแพร่ ซึ่งประกอบขึ้นจากกลุ่ม
ทางานจิตอาสาด้านการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมของเมืองหลากหลายกลุ่ม โดยอาศัยเครื่องมือ
กิจกรรมเชิงรณรงค์ กิจกรรมเชิงวัฒนธรรม และกิจกรรมการถนนคนเดินเข้ามาเป็นเครื่องช่วยในการ
อนุรักษ์ และฟื้นฟูพื้นที่ รวมถึงส่งต่อองค์ความรู้ และคุณค่ากับความหมายที่สาคัญของความเป็นคน
เมืองแพร่ อันได้แก่ วิถีชีวิต ประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อ อาคารเก่าที่คุณค่า และแนวคิดการสร้าง
ชุมชน ย่าน และเมืองให้น่าอยู่ ต้านทานภาวะความเปลี่ยนแปลงของเมืองที่กาลังเกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็น
ความซบเซาของย่านชุมชนที่เคยคึกคัก อันเนื่องมาจาการอพยพออกไปหางานต่างถิ่นของคนรุ่นใหม่ ทิ้ง
ให้ผู้สูงอายุอยู่ที่บ้าน สภาพการจราจรที่รถราวิ่งกันรวดเร็วผ่านใจกลางย่านที่อยู่อาศัย และความทรุด
โทรมของอาคารเก่าที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์และสถาปัตยกรรม
จุดเริ่มต้น
การศึกษาความเคลื่อนไหวการดาเนินงานอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมและการพัฒนาเมืองโดย
ภาคประชาสังคมในจังหวัดแพร่ครั้งนี้ จึงจะมุ่งศึกษา งานของสภาคนแป้ (เครือข่ายลูกหลานเมืองแพร่)
ผ่านกลุ่มแกนนาที่เป็นสมาชิก และกาลังสาคัญในการผลัดดันกิจกรรม กาดกองเก่า (พระนอน) และงาน
ในนามกลุ่มลูกหลานเมืองแพร่ รวมถึงกลุ่มชมรมอนุรักษ์สถาปัตยกรรมท้องถิ่นเมืองแพร่ จากการ
สัมภาษณ์ผู้ที่มีบทบาทในการขับเคลื่อนงานด้านการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมในเขตเมืองเก่าแพร่
พบว่า แนวคิดการอนุรักษ์คุณค่ามรดกทางวัฒนธรรมเริ่มต้นขึ้นราวปี 2542 จากการที่ภาคประชาสังคม
ได้มีส่วนเข้าร่วมการประชุมในประเด็นเรื่องการท่องเที่ยวร่วมกับสภาอุตสาหกรรมจังหวัดแพร่ พร้อมทั้ง
หารือการจัดกิจกรรมพิเศษ เช่น งานขนมเส้น การจัดทาหนังสือ 72 พรรษา รัชการที่ 9 ซึ่งมีการระดม
นักวิชาการ ผู้มีความรู้เรื่องประวัติศาสตร์ท้องถิ่นเข้ามาร่วมกัน เกิดเป็นการจัดตั้งกลุ่มจิตอาสาชื่อ ชมรม
คนฮักเมืองแป้
กิจกรรมที่ผ่านมา
ในปีระหว่าง 2544-46 ชมรมคนฮักเมืองแพร่ และกลุ่มเครือข่าย ได้เริ่มทางานเครือข่ายกับ
สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.) ในประเด็นการอนุรักษ์วัฒนธรรม มีการจัดเวทีพูดคุยถึงคุณค่าและ
ตัวตนของคนแพร่ขึ้นหลายครั้ง กลายเป็นการรวมกลุ่มคนที่มีความคิดคล้ายคลึงกัน ทางานร่วมกันใน
2
ลักษณะเครือข่ายหลวมๆ ของเป็นกลุ่มคนที่มีความสามารถเฉพาะด้าน เช่น สถาปนิก ช่างฝีมือ ครู
อาจารย์ ต่างคนต่างทางานในส่วนที่ตนถนัดแล้วนากระบวนการและงานที่ทาอยู่มาเชื่อมโยงกัน โดยมี
วัตถุประสงค์เพื่อสร้างสรรค์เมืองแพร่ให้น่าอยู่ พร้อมไปกับการค้นหาตัวตนของคนแพร่ มีการจัด
กิจกรรมทั้งเวทีการพูดคุยเช่น เหลียวหลังแลหน้า เมืองแพร่กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับความเชื่อระดับเมือง
เช่น การเข้าเบิก ๔ ประตูเมือง การถมหลุมกาแพงเมือง การเลี้ยงผีเจ้าหลวง
จนในปี 2548 หนังสือ ศึกษาเมืองแพร่ สาวความเมืองแพร่ ที่บอกเล่าถึงกระบวนฟื้น
ความหมายตัวตนของคนแพร่ตลอดระยะเวลา 5 ปี ที่ผ่านมาถูกรวบรวมและจัดพิมพ์ เครือข่ายที่ร่วมกัน
ทางานมาได้ระยะหนึ่งได้ชื่อให้กับเครือข่ายว่า “ข่ายลูกหลานเมืองแพร่”
ในปี 2549 การดาเนินงานพัฒนาเมืองโดยภาคประชาสังคมจาก “ข่ายลูกหลานเมืองแพร่” ได้รับ
การสนับสนุนจากองค์กร Semeo-Spafa ในโครงการบ้านหนังสือ หรือ ห้องเรียนเมืองแพร่ ในช่วงปี พ.ศ.
2549-2551 ซึ่งเป็นโครงการที่ดาเนินคู่ขนานไปกับงานโบราณคดีชุมชน การขุดค้นแหล่งโบราณคดียุค
ก่อนประวัติศาสตร์ชุมชนนาตอง โครงการบ้านหนังสือ-ห้องเรียนเมืองแพร่ กระบวนเรียนรู้ภาค
ประชาชนเพื่อเปิดโอกาสให้ลูกหลานเยาวชนเมืองแพร่ได้เรียนรู้รากเหง้าและคุณค่ามรดกทางวัฒนธรรม
ของตนเอง จากประสบการณ์จริงนอกห้องเรียน และโครงการนี้ยังมุ่งเน้นการสร้างกระบวนการสานพลัง
ภาคประชาชนเพื่อจัดทาองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับ
ในปี 2550 ข่ายลูกหลานเมืองแพร่ได้ริเริ่มกิจกรรมกิจกรรม ‘คนแป้แอ่วเมืองแป้’ เมืองเก่าแพร่
เขตเหนือ และเขตใต้ โดยการสนับสนุนขององค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่ และหอการค้าจังหวัดแพร่
ในการจัดงานครั้งแรก และอีก 7 ครั้งสนับสนุนโดยเทศบาลเมืองแพร่ เป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้คน
แพร่นั่งรถสามล้อ ชมสภาพแวดล้อมในเมืองเก่า รวมถึงแวะชมบ้านเก่าในเมืองแพร่ ผลจากการจัด
คาราวานรถสามล้อเที่ยวชมรอบเมือง เป็นที่มาของการรวมตัวกันของกลุ่มคนรักษ์บ้าน คุ้ม และอาคาร
เก่า ทั้งที่เป็นผู้อยู่อาศัย ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ และกลุ่มข่ายลูกหลานเมืองแพร่บางส่วนที่มีความรู้
ด้านสถาปัตยกรรม ศิลปะ และการออกแบบ และมีความสนใจในการอนุรักษ์บ้านเก่า ร่วมกันจัดตั้ง
‘ชมรมอนุรักษ์สถาปัตยกรรมท้องถิ่นเมืองแพร่’ โดยมีวัตถุประสงค์การทางาน คือ
1) รวบรวมอาคารบ้านพัก สถานที่สาคัญทางประวัติศาสตร์เพื่อการอนุรักษ์
2) ผลักดันให้เกิดพื้นที่อนุรักษ์ และเสนอร่างกาหนดทางราชการเพื่อให้มีการอนุรักษ์อาคาร
เหล่านั้นอย่างถูกวิธี และถูกต้องตามหลักวิชาการ
3) ร่วมกับราชการและเอกชนต่างในการจัดกิจกรรมเพื่อสร้างความเข้าใจ และกระตุ้น
จิตสานึกในการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมท้องถิ่นเมืองแพร่
4) จัดทาแผน และดาเนินงานอย่างต่อเนื่องเพื่อให้อาคารได้รับการอนุรักษ์ สามารถอยู่
ร่วมกับสภาพสังคมที่กาลังเปลี่ยนแปลงไป ให้คงอยู่ตราบนานเท่านาน
5) ร่วมกับทางจังหวัดจัดทาแผนงานส่งเสริม การท่องเที่ยวด้านศิลปวัฒนธรรม
สถาปัตยกรรม เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวและกระตุ้นเศรษฐกิจและมีกิจกรรมต่างๆ เกิดขึ้นภายใต้การ
3
ดาเนินงานของชมรมอีกมากมาย เช่น การจัดนิทรรศการบ้านเก่า อาคารโบราณ ภาพเก่า ในกิจกรรม
ถนนคนเดินพระนอน
การศึกษาบ้านเก่า และอาคารโบราณของชมรมฯ นาไปสู่ความร่วมมือจากกลุ่ม
สถาบันการศึกษา และองค์กรภาครัฐจากหลากหลายที่มา อาทิ การศึกษาดูงานของทูตสหรัฐอเมริกา
คณะศึกษาดูงานจากพม่า และลาว ในปี 2553-2555 รวมถึงการทางานร่วมกับการเคหะแห่งชาติ และ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาในโครงการฟื้นฟูการอยู่อาศัยในภูมิภาค พื้นที่ชุมชนเมืองแพร่
ในปี 2553 แนวคิดการจัดตั้งถนนคนเดินกาดกองเก่าเริ่มขึ้นจากสมาชิกชมรมอนุรักษ์
สถาปัตยกรรมท้องถิ่นเมืองแพร่ ได้ชักชวนเครือข่ายลูกหลานเมืองแพร่ ซึ่งประกอบด้วย กลุ่มออมทรัพย์
ในชุมชน กลุ่มเกษตรอินทรีย์ เด็กและเยาชน สภาองค์กรชุมชน กลุ่มหมอพื้นบ้าน และข่ายลูกหลานเมือง
แพร่ ร่วมกันดาเนินโครงการตามแนวคิด “แพร่เมืองแห่งความสุข” โดยการสนับสนุนงบประมาณจาก
สานักงานส่งเสริมสุขภาพแห่งชาติ สสส. ในโครงการดังกล่าวได้มีการทดลองปิดถนนคาลือ ในช่วงบ่าย
ทุกวันเสาร์ เพื่อเปิดพื้นที่ให้คนในชุมชนได้มีพื้นที่สาธารณะใช้ประโยชน์สร้างสรรค์ร่วมกัน เป็นพื้นที่
ส่งเสริมสุขภาวะแก่ชุมชน มีการวางขายสินค้าเล็กน้อยๆ อาทิ ผักพื้นบ้าน ของทานเล่น งานหัตถกรรม
และกิจกรรมสร้างสรรค์อื่นๆ เช่น นิทรรศการภาพถ่ายเก่า การแสดงดนตรีพื้นเมือง และดนตรีสตริงของ
เยาวชน ฯลฯ กิจกรรมกาดกองเก่า ได้รับความร่วมมืออย่างดีจากเจ้าของบ้านริมถนน ทั้งในเรื่องการเปิด
พื้นที่หน้าบ้านวางขายสินค้า การจัดการขยะ การต่อไฟฟ้าให้แสงสว่าง และการจัดระเบียบพื้นที่ร้านค้า
กาดกองเก่ายังดาเนินงานอยู่ถึงปัจจุบัน และกลายเป็นพื้นที่นัดหมายและศูนย์กลางของการพบปะของ
สมาชิกข่ายลูกหลานเมืองแพร่ และชมรมฯ
กระบวนการทางาน
สาหรับกระบวนการทางานของเครือข่ายลูกหลานเมืองแพร่ และชมรมอนุรักษ์สถาปัตยกรรม
ท้องถิ่นเมืองแพร่ อาศัยกระบวนการมีส่วนร่วมทั้งจากคนในพื้นที่และกลุ่มคนภายนอกที่เข้าไปร่วม
ทางาน สาหรับการก่อตัวและการทางานของคนในตั้งอยู่บนรากฐานความสัมพันธ์ส่วนบุคคล ในการ
เชื่อมโยงความคิด ผู้คน และรวบรวมคนที่มีความสนใจร่วมกันเข้ามาร่วมทางาน ตามความสนใจและ
ความสามารถของแต่ละบุคคล เป็นการทางานแบบจิตอาสา จากผู้คนหลากหลายกลุ่ม อาทิ นัก
วัฒนธรรม นักวิชาชีพ เยาวชนคนรุ่นใหม่ นักพัฒนาเอกชน และกลุ่มชาวชุมชนในเขตเมืองเก่าแพร่
งบประมาณ
สาหรับการสนับสนุนด้านงบประมาณในเบื้องต้นแต่ละคนต่างอาศัยงบประมาณส่วนตัวในการ
ริเริ่มการทางาน ทั้งในการพัฒนาโจทย์การทางาน และการสมทบทุนในรูปแบบต่างๆร่วมกับหลากหลาย
หน่วยงานที่เข้ามาช่วยสนับสนุน จนมีการจัดทาโครงการขอรับงบประมาณจากหน่วยงานองค์กร
ภายนอก ที่มีวัตถุประสงค์สอดคล้องกับแนวคิด และเป้าหมายการทางานของกลุ่ม
4
ที่ผ่านมาการดาเนินงานได้มีการใช้ทุนนอกจากทุนส่วนตัวจากสมาชิกและเครือข่ายการทางาน
ยังได้รับงบประมาณจากองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น และการสนับสนุนในรูปแบบการทาโครงการร่วม
เช่น องค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่ หอการค้าจังหวัดแพร่ เทศบาลเมืองแพร่ และสภาวัฒนธรรม
จังหวัดแพร่ รวมถึงหน่วยงานภายนอกที่ทางานเกี่ยวของการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรม การพัฒนา
เมือง และการพัฒนาความเข้มแข็งของภาคประชาสังคม อาทิ องค์กร Semeo-Spafa, สถาบันพัฒนา
องค์กรชุมชน (พอช.), กรมศิลปากร, สมาคมสถาปนิกสยาม การเคหะแห่งชาติ สานักงานส่งเสริม
สุขภาพแห่งชาติ (สสส.), บางกอกฟอรั่ม และหน่วยงานสถาบันการศึกษา เช่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลล้านนา
ความสาเร็จ
กิจกรรมต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายในเมืองแพร่และช่วยปลุกกระแสการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรม
และการพัฒนาเมืองแพร่ ได้แก่ การรื้อฟื้นคุณค่าและความหมายตัวตนคนเมืองแพร่ ผ่านเวทีสัมมนา
และการพูดคุย และการทากิจกรรมที่ช่วยกระตุ้นจิตสานึก และความร่วมมือของคนในพื้นที่ เกิดเป็น
เครือข่ายลูกหลานเมืองแพร่ และกลุ่มชมรมฯ ต่างๆ เชื่อมร้อยกับเป็นเครือข่ายการทางานด้านอนุรักษ์
และรักษาเมืองขนาดใหญ่ ทางานอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542 ถึงปัจจุบัน, เกิดกิจกรรมสร้างสรรค์ที่
ส่งเสริมความเข้าใจคุณค่ามรดกทางวัฒนธรรม และการพัฒนาเมืองเก่าแพร่อย่างมีส่วนร่วม เช่น กิจ
กรรมผ่อบ้านแอ่วเมืองแป้, กิจกรรมห้องเรียนเมืองแป้ สาหรับเยาวชนและผู้สนใจ, การจัดทาแผนที่มรดก
ทางวัฒนธรรม, กิจกรรมเฮียนเก่า เมืองเก่า กิจกรรมสารวจบ้านเก่า, การให้รางวัล ธงไจยบ้านเก่า เพื่อ
เป็นการระบุคุณค่าบ้านเก่าและให้กาลังใจเจ้าของบ้าน, กิจกรรมการศึกษาดูงานเมืองอนุรักษ์ เช่น เมือง
เก่าสงขลา เมืองเก่าปีนัง, กิจกรรมกาดเลียบเมฆ (กาแพงเมือง) และสุมาเมฆ คู ประตูเมืองแพร่,
กิจกรรมกาดกองเก่า, กิจกรรมปั่นจักรยานเปลี่ยนแป้ (กิจกรรมปั่นจักรยานรอบเมืองเก่าทุกเย็นวัน
อาทิตย์) และในปี 2555 บ้าน คุ้ม และอาคารเก่า ในเขตเมืองเก่าจานวน 9 หลังได้รับรางวัลจากสมาคม
สถาปนิกสยาม อาทิรางวัลสมควรเผยแพร่ อาคารอนุรักษ์ชมเชย และดีเด่น, หน่วยงานทั้งในท้องถิ่น
และภายนอกเข้าไปมีส่วนร่วมในการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ และจัดทาโครงการที่เกี่ยวข้องกับการ
อนุรักษ์ การพัฒนาเมือง และการส่งเสริมการท่องเที่ยว และอีกหลากหลาย ตัวอย่างเช่น การจัดทาป้าย
หน้าบ้านเก่าโดย สภาวัฒนธรรมจังหวัด การจัดงานทางวัฒนธรรมสาคัญๆสนับสนุนโดยกระทรวง
วัฒนธรรม การพิมพ์หนังสือภาพ sketch แบบอาคารเก่าที่มีคุณค่าในเขตเมืองเก่าแพร่ ชื่อหนังสือ ‘ผ่อ
บ้าน หันเมือง’ สนับสนุนโดยสถานฑูตอเมริกา เป็นต้น
5
รูปที่ 1 ภาพกิจกรรมผ่อบ้านแอ่วเมือง
รูปที่ 2 ภาพกิจกรรมการแจกธงไจยบ้าน และภาพธงไจยบ้าน
รูปที่ 3 – 4 ภาพกิจกรรมกาดเลียบเมก และกิจกรรมสุมาเมฆ คู ประตูเมือง
6
รูปที่ 5 ภาพกิจกรรมแอ่วกาดกองเก่า (ถนนคนเดินกาดพระนอน)
รูปที่ 6 ภาพกิจกรรมการมอบหนังสือ “ผ่อบ้าน หันเมือง” ร่วมกับสถานทูตอเมริกา
และภาพตัวอย่างอาคารที่ได้รับรางวัลจากสมาคมสถาปนิกสยาม
รูปที่ 7 ภาพกิจกรรม ปั่นเปลี่ยนแป้
7
จุดแข็ง
ในปัจจุบันการทางานของเครือข่ายลูกหลานเมืองแพร่ ยังคงดาเนิงานในเชิงประเด็นที่ตนเอง
สนใจแยกตามกลุ่มการทางาน และสาหรับชมรมอนุรักษ์สถาปัตยกรรมท้องถิ่นเมืองแพร่ บุคลากรก็ยังคง
ทางานอยู่ผ่านกิจกรรมกาดกองเก่า กิจกรรมถนนคนเดินบนถนนคาลือทุกวันเสาร์ จุดแข็งของการ
ดาเนินงานของชมรมฯ อยู่ที่ บุคลากร ซึ่งเป็นคนในท้องถิ่น ที่มีความรู้และได้รับการยอมรับอย่างกว้าง
ขว้างในฐานะ ผู้ทางานจิตอาสาเพื่อสาธารณะประโยชน์ โดยในกลุ่มแกนนาสมาชิกต่างมีความรู้
ความสามารถเฉพาะด้าน เช่น สถาปนิก ปราชญ์ภูมิปัญญา เป็นผู้มีประสบการณ์ในการทางานพัฒนา
เครือข่ายภาคประชาสังคม และนักธุรกิจที่มีบทบาทสร้างสรรค์ธุรกิจ นอกจากนี้กลุ่มแกนนายังมี
ศักยภาพในการดึงดูดคนในทุกระดับให้มาทางานร่วมกันได้ ตั้งแต่ระดับชาวบ้าน องค์กรภาครัฐระดับ
ท้องถิ่น และองค์กรภาครัฐจากส่วนกลาง เช่น สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.) สานักงานส่งเสริม
สุขภาพแห่งชาติ (สสส.) สมาคมสถาปนิกสยาม และหน่วยงานการอนุรักษ์ระดับนานาชาติอย่าง
Semeo-Spafa ในการสนับสนุนทั้งในเรื่องของงบประมาณ และการสนับสนุนด้านความรู้เทคนิค และ
โอกาสในการเพิ่มพูนประสบการณ์ รวมถึงการเชื่อมโยงสถาบันการศึกษา เช่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลล้านนา เกิดผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรมมากมาย ตัวอย่างที่เห็นเด่นชัดคือการฟื้นฟูถนนคาลือให้
กลับมามีชีวิตชีวา และสามารถขยายแนวคิดการดาเนินงานของกลุ่มไปสู่ในกลุ่มชาวบ้านในพื้นที่ โดย
อาศัยการทางานบนพื้นฐานของความสัมพันธ์ส่วนบุคคล และการชักชวนกันมาร่วมทางาน ตามความ
ถนัดและความสนใจ ทาให้การดาเนินงานมีความคล่องตัว การวางแผนการทางานอาศัยการปรึกษาหารือ
จัดสรรแบ่งงานตามกาลัง และขอรับงบประมาณสนับสนุนผ่านการยืนเสนอโครงการต่อหน่วยงานทั้งองค์
ภายในและภายนอก แม้จะมีข้อติดขัดในเรื่องงบประมาณอยู่บ้างในช่วงต้น แต่ทางกลุ่มก็สามารถ
ดาเนินงานได้ และสามารถขยายความคิดไปสู่เยาชนรุ่นใหม่ เกิดกลุ่มเยาวชนอาสาเข้าร่วมกิจกรรม
ต่างๆเช่น กิจกรรมกาดกองเก่า ผ่านการเล่นดนตรี หรือการปั่นจักรยานเพื่อเสริมสร้างสุขภาพ และ
รณรงค์การใช้จักรยาน ซึ่งเป็นอีกวิธีการที่ช่วยส่งเสริมให้เมืองแพร่น่าอยู่ขึ้น
กระบวนการมีส่วนร่วมในการดาเนินงานของชมรมฯ แบ่งได้เป็น 2 ระดับ ในระดับการวางแผน
โครงการและจัดทากิจกรรม และระดับการมีส่วนร่วมแบบผู้มาเข้าร่วมกิจกรรม ระดับการวางแผนงาน
อาศัยบุคลากรของชมรม และแกนนาชาวบ้าน หรือเจ้าของแหล่งทุนเข้ามามีส่วนร่วมในการวางแผนงาน
และในระดับปฏิบัติการ เช่นงานการจัดกาดกองเก่าจะเป็นรูปแบบการทางานที่เปิดโอกาสให้
ชาวบ้านที่มีบ้านอยู่ริมถนนคาลือ เข้ามามีส่วนร่วมในการออกแบบถนนคนเดินแบบที่ชาวบ้านต้องการ
โดยมีกระบวนการพูดคุยเพื่อสร้างความเข้าใจในแนวทางการทางาน แนวคิดด้านการอนุรักษ์และคุณค่า
ของบ้านเก่า และภูปัญญา เป็นรูปแบบกิจกรรมที่ช่วยลดภาระการทางานของกลุ่มและเปิดโอกาสให้
ชุมชนและสังคมได้ร่วมกันขับเคลื่อนวิถีการเป็นอยู่ในเมืองเก่าที่ทุกคนมีส่วนร่วมในการออกแบบได้
8
ความเสี่ยงการดาเนินงาน
ความเสี่ยงของการดาเนินงานคือ ปัญหาการขาดบุคลากรในการทางาน สาเหตุมาจากคนแพร่
รุ่นใหม่ถูกบีบให้อพยพย้ายถิ่นตั้งแต่ในวัยเรียน คนรุ่นใหม่ต้องออกไปเรียนตามมหาวิทยาลัยในเมือง
ใหญ่ และเมื่อจบการศึกษาแล้ว แหล่งงานก็อยู่ในเมืองใหญ่ มีคนรุ่นใหม่จานวนน้อยมากที่กลับมาทางาน
ที่บ้านเกิด และกลุ่มคนเหล่านี้ต่างมีความรู้ความเข้าใจในคุณค่าและประวัติศาสตร์ของเมืองเก่าแพร่น้อย
การเข้ามาร่วมเป็นจิตอาสาในการทางานด้านการพัฒนาเมือง และการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมจึง
เป็นเรื่องยาก จุดอ่อนของการดาเนินงานของชมรมฯ อยู่ที่ข้อจากัดของงบประมาณ ซึ่งทางชมรมฯ ไม่มี
ทุนทรัพย์ที่สามารถนามาใช้ทางานได้เพียงพอและต่อเนื่อง ยังต้องอาศัยทุนของตนเอง และการพึงพาก
โครงการจากกลุ่มองค์กรภายนอกที่คอยสนับสนุนทั้งกาลังคน และงบประมาณ พอโครงการจบ และ
งบประมาณหมด การเคลื่อนตัวของงานบางอย่างจะสะดุด และไม่สามารถทางานได้อย่างต่อเนื่อง
สภาคนแป้ : เครือข่ายลูกหลานเมืองแพร่

More Related Content

What's hot

Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจSmart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
Sarit Tiyawongsuwan
 
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
ผู้สูงอายุ60
ผู้สูงอายุ60ผู้สูงอายุ60
ผู้สูงอายุ60
gel2onimal
 
การพัฒนาเมืองน่านสู่สังคมคุณภาพ
การพัฒนาเมืองน่านสู่สังคมคุณภาพการพัฒนาเมืองน่านสู่สังคมคุณภาพ
การพัฒนาเมืองน่านสู่สังคมคุณภาพ
FURD_RSU
 
โครงงานpowerpoint
โครงงานpowerpointโครงงานpowerpoint
โครงงานpowerpoint
tapatss
 
กรณีศึกษา1 การบินไทย
กรณีศึกษา1 การบินไทยกรณีศึกษา1 การบินไทย
กรณีศึกษา1 การบินไทย
Chatchamon Uthaikao
 
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้านNi Aslan
 
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
Nattapakwichan Joysena
 
หน้าที่พลเมืองป_5.pptx
หน้าที่พลเมืองป_5.pptxหน้าที่พลเมืองป_5.pptx
หน้าที่พลเมืองป_5.pptx
PamPSeehatip1
 
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิดคำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
krisdika
 
230616_Final_กลยุทธ์การใช้งานเทศกาลเพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจของเมือง_BMA.pdf
230616_Final_กลยุทธ์การใช้งานเทศกาลเพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจของเมือง_BMA.pdf230616_Final_กลยุทธ์การใช้งานเทศกาลเพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจของเมือง_BMA.pdf
230616_Final_กลยุทธ์การใช้งานเทศกาลเพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจของเมือง_BMA.pdf
Chuta Tharachai
 
04 FAR, BCR, OSR, and ISR : A Case Study of Khon Kaen LRT-Red Line
04 FAR, BCR, OSR, and ISR : A Case Study of Khon Kaen LRT-Red Line04 FAR, BCR, OSR, and ISR : A Case Study of Khon Kaen LRT-Red Line
04 FAR, BCR, OSR, and ISR : A Case Study of Khon Kaen LRT-Red Line
Sarit Tiyawongsuwan
 
โครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทยโครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทย
Surasak Tumthong
 
โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนา
โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนาโครงการกังหันน้ำชัยพัฒนา
โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนาnamtoey
 
โคงงานไอเอส เรื่องเกลียวขวดน้ำกันลื่น
โคงงานไอเอส เรื่องเกลียวขวดน้ำกันลื่นโคงงานไอเอส เรื่องเกลียวขวดน้ำกันลื่น
โคงงานไอเอส เรื่องเกลียวขวดน้ำกันลื่น
Phakanan Boonpithakkhet
 
เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3
วีระยศ เพชรภักดี
 
หนังสือรับรอง(เด็กศูนย์ฯ)
หนังสือรับรอง(เด็กศูนย์ฯ)หนังสือรับรอง(เด็กศูนย์ฯ)
หนังสือรับรอง(เด็กศูนย์ฯ)
cm carent
 

What's hot (20)

Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจSmart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
 
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
 
ผู้สูงอายุ60
ผู้สูงอายุ60ผู้สูงอายุ60
ผู้สูงอายุ60
 
การพัฒนาเมืองน่านสู่สังคมคุณภาพ
การพัฒนาเมืองน่านสู่สังคมคุณภาพการพัฒนาเมืองน่านสู่สังคมคุณภาพ
การพัฒนาเมืองน่านสู่สังคมคุณภาพ
 
โครงงานpowerpoint
โครงงานpowerpointโครงงานpowerpoint
โครงงานpowerpoint
 
กรณีศึกษา1 การบินไทย
กรณีศึกษา1 การบินไทยกรณีศึกษา1 การบินไทย
กรณีศึกษา1 การบินไทย
 
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
 
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
 
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
 
Thairadio
ThairadioThairadio
Thairadio
 
หน้าที่พลเมืองป_5.pptx
หน้าที่พลเมืองป_5.pptxหน้าที่พลเมืองป_5.pptx
หน้าที่พลเมืองป_5.pptx
 
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิดคำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
 
230616_Final_กลยุทธ์การใช้งานเทศกาลเพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจของเมือง_BMA.pdf
230616_Final_กลยุทธ์การใช้งานเทศกาลเพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจของเมือง_BMA.pdf230616_Final_กลยุทธ์การใช้งานเทศกาลเพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจของเมือง_BMA.pdf
230616_Final_กลยุทธ์การใช้งานเทศกาลเพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจของเมือง_BMA.pdf
 
04 FAR, BCR, OSR, and ISR : A Case Study of Khon Kaen LRT-Red Line
04 FAR, BCR, OSR, and ISR : A Case Study of Khon Kaen LRT-Red Line04 FAR, BCR, OSR, and ISR : A Case Study of Khon Kaen LRT-Red Line
04 FAR, BCR, OSR, and ISR : A Case Study of Khon Kaen LRT-Red Line
 
ปก
ปกปก
ปก
 
โครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทยโครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทย
 
โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนา
โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนาโครงการกังหันน้ำชัยพัฒนา
โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนา
 
โคงงานไอเอส เรื่องเกลียวขวดน้ำกันลื่น
โคงงานไอเอส เรื่องเกลียวขวดน้ำกันลื่นโคงงานไอเอส เรื่องเกลียวขวดน้ำกันลื่น
โคงงานไอเอส เรื่องเกลียวขวดน้ำกันลื่น
 
เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3
 
หนังสือรับรอง(เด็กศูนย์ฯ)
หนังสือรับรอง(เด็กศูนย์ฯ)หนังสือรับรอง(เด็กศูนย์ฯ)
หนังสือรับรอง(เด็กศูนย์ฯ)
 

Viewers also liked

2.1อาหารสำหรับวัยทารก
2.1อาหารสำหรับวัยทารก2.1อาหารสำหรับวัยทารก
2.1อาหารสำหรับวัยทารก
Nickson Butsriwong
 
2.3 .วัยเรียน 59
2.3 .วัยเรียน 592.3 .วัยเรียน 59
2.3 .วัยเรียน 59
Nickson Butsriwong
 
โครงงานกินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี 1
โครงงานกินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี 1โครงงานกินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี 1
โครงงานกินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี 1doctormon
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
fruit_jakgrapan
 
พืชสมุนไพร
พืชสมุนไพรพืชสมุนไพร
พืชสมุนไพร
krittiyanee16
 
Saskatchewan Seniors Oral Health and Long Term Care Strategy
Saskatchewan Seniors Oral Health and Long Term Care StrategySaskatchewan Seniors Oral Health and Long Term Care Strategy
Saskatchewan Seniors Oral Health and Long Term Care Strategy
saskohc
 

Viewers also liked (6)

2.1อาหารสำหรับวัยทารก
2.1อาหารสำหรับวัยทารก2.1อาหารสำหรับวัยทารก
2.1อาหารสำหรับวัยทารก
 
2.3 .วัยเรียน 59
2.3 .วัยเรียน 592.3 .วัยเรียน 59
2.3 .วัยเรียน 59
 
โครงงานกินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี 1
โครงงานกินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี 1โครงงานกินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี 1
โครงงานกินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี 1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
พืชสมุนไพร
พืชสมุนไพรพืชสมุนไพร
พืชสมุนไพร
 
Saskatchewan Seniors Oral Health and Long Term Care Strategy
Saskatchewan Seniors Oral Health and Long Term Care StrategySaskatchewan Seniors Oral Health and Long Term Care Strategy
Saskatchewan Seniors Oral Health and Long Term Care Strategy
 

Similar to สภาคนแป้ : เครือข่ายลูกหลานเมืองแพร่

โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานีโครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานีMr-Dusit Kreachai
 
ย่านตาขาวโมเดล
ย่านตาขาวโมเดลย่านตาขาวโมเดล
ย่านตาขาวโมเดล
Pattie Pattie
 
ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน
ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอนชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน
ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน
FURD_RSU
 
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
โครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตโครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตjeabjeabloei
 
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 52554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
นำเสนอ กองการศึกษา นครรังสิต
นำเสนอ กองการศึกษา นครรังสิตนำเสนอ กองการศึกษา นครรังสิต
นำเสนอ กองการศึกษา นครรังสิต
yahapop
 
โครงการวรรณกรรมอาเซียนกับคติชน ประชาสัมพันธ์
โครงการวรรณกรรมอาเซียนกับคติชน  ประชาสัมพันธ์โครงการวรรณกรรมอาเซียนกับคติชน  ประชาสัมพันธ์
โครงการวรรณกรรมอาเซียนกับคติชน ประชาสัมพันธ์
pyopyo
 
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
dnavaroj
 
Tsmt vol16
Tsmt vol16Tsmt vol16
Tsmt vol16
MonSci Physics
 
โครงการพ ฒนาผ _เร_ยน
โครงการพ ฒนาผ _เร_ยนโครงการพ ฒนาผ _เร_ยน
โครงการพ ฒนาผ _เร_ยน
ไชยา แก้วผาไล
 
วารสารเล่ม 2
วารสารเล่ม 2วารสารเล่ม 2
วารสารเล่ม 2warut phungsombut
 
โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาค
โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาคโครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาค
โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาค
Sittisak Rungcharoensuksri
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
KruBeeKa
 
Kick off nrct
Kick off nrctKick off nrct
Kick off nrctrattapol
 
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 10
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 10ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 10
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 10
โรงเรียนมหาธิคุณวิทยา
 
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 10
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 10ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 10
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 10
โรงเรียนมหาธิคุณวิทยา
 

Similar to สภาคนแป้ : เครือข่ายลูกหลานเมืองแพร่ (20)

บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานีโครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
 
ย่านตาขาวโมเดล
ย่านตาขาวโมเดลย่านตาขาวโมเดล
ย่านตาขาวโมเดล
 
ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน
ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอนชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน
ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน
 
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
 
โครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตโครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคต
 
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 52554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
 
นำเสนอ กองการศึกษา นครรังสิต
นำเสนอ กองการศึกษา นครรังสิตนำเสนอ กองการศึกษา นครรังสิต
นำเสนอ กองการศึกษา นครรังสิต
 
โครงการวรรณกรรมอาเซียนกับคติชน ประชาสัมพันธ์
โครงการวรรณกรรมอาเซียนกับคติชน  ประชาสัมพันธ์โครงการวรรณกรรมอาเซียนกับคติชน  ประชาสัมพันธ์
โครงการวรรณกรรมอาเซียนกับคติชน ประชาสัมพันธ์
 
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
 
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
 
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
 
Tsmt vol16
Tsmt vol16Tsmt vol16
Tsmt vol16
 
โครงการพ ฒนาผ _เร_ยน
โครงการพ ฒนาผ _เร_ยนโครงการพ ฒนาผ _เร_ยน
โครงการพ ฒนาผ _เร_ยน
 
วารสารเล่ม 2
วารสารเล่ม 2วารสารเล่ม 2
วารสารเล่ม 2
 
โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาค
โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาคโครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาค
โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาค
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
 
Kick off nrct
Kick off nrctKick off nrct
Kick off nrct
 
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 10
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 10ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 10
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 10
 
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 10
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 10ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 10
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 10
 

More from FURD_RSU

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
FURD_RSU
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD_RSU
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
FURD_RSU
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
FURD_RSU
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
FURD_RSU
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD_RSU
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
FURD_RSU
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
FURD_RSU
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
FURD_RSU
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
FURD_RSU
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
FURD_RSU
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
FURD_RSU
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
FURD_RSU
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
FURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD_RSU
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
FURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD_RSU
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
FURD_RSU
 

More from FURD_RSU (20)

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
 

สภาคนแป้ : เครือข่ายลูกหลานเมืองแพร่

  • 1. สภาคนแป้ (เครือข่ายลูกหลานเมืองแพร่) ภาพจาก facebook : The Active Generation of Phrae Family ข่ายลูกหลานเมืองแพร่ สามารถ สุวรรณรัตน์ นักวิชาการอิสระ แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 2. 1 สภาคนแป้ (เครือข่ายลูกหลานเมืองแพร่) ความเคลื่อนไหวการดาเนินงานการพัฒนาเมืองโดยภาคประชาสังคมเมืองแพร่เริ่มปรากฏ ชัดเจน ในช่วงต้นของช่วงปลายทศวรรษปี 2540 เป็นต้นมา พื้นที่ที่กิจกรรมโดดเด่นและมีการดาเนินงาน อย่างที่เป็นรูปธรรมอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ พื้นที่ในเขตเมืองเก่าแพร่ โดยเฉพาะบริเวณถนนพระนอน ไป จนถึงสี่แยกประตูมาน เป็นการรวมตัวของกลุ่มเครือข่ายลูกหลานเมืองแพร่ ซึ่งประกอบขึ้นจากกลุ่ม ทางานจิตอาสาด้านการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมของเมืองหลากหลายกลุ่ม โดยอาศัยเครื่องมือ กิจกรรมเชิงรณรงค์ กิจกรรมเชิงวัฒนธรรม และกิจกรรมการถนนคนเดินเข้ามาเป็นเครื่องช่วยในการ อนุรักษ์ และฟื้นฟูพื้นที่ รวมถึงส่งต่อองค์ความรู้ และคุณค่ากับความหมายที่สาคัญของความเป็นคน เมืองแพร่ อันได้แก่ วิถีชีวิต ประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อ อาคารเก่าที่คุณค่า และแนวคิดการสร้าง ชุมชน ย่าน และเมืองให้น่าอยู่ ต้านทานภาวะความเปลี่ยนแปลงของเมืองที่กาลังเกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็น ความซบเซาของย่านชุมชนที่เคยคึกคัก อันเนื่องมาจาการอพยพออกไปหางานต่างถิ่นของคนรุ่นใหม่ ทิ้ง ให้ผู้สูงอายุอยู่ที่บ้าน สภาพการจราจรที่รถราวิ่งกันรวดเร็วผ่านใจกลางย่านที่อยู่อาศัย และความทรุด โทรมของอาคารเก่าที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์และสถาปัตยกรรม จุดเริ่มต้น การศึกษาความเคลื่อนไหวการดาเนินงานอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมและการพัฒนาเมืองโดย ภาคประชาสังคมในจังหวัดแพร่ครั้งนี้ จึงจะมุ่งศึกษา งานของสภาคนแป้ (เครือข่ายลูกหลานเมืองแพร่) ผ่านกลุ่มแกนนาที่เป็นสมาชิก และกาลังสาคัญในการผลัดดันกิจกรรม กาดกองเก่า (พระนอน) และงาน ในนามกลุ่มลูกหลานเมืองแพร่ รวมถึงกลุ่มชมรมอนุรักษ์สถาปัตยกรรมท้องถิ่นเมืองแพร่ จากการ สัมภาษณ์ผู้ที่มีบทบาทในการขับเคลื่อนงานด้านการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมในเขตเมืองเก่าแพร่ พบว่า แนวคิดการอนุรักษ์คุณค่ามรดกทางวัฒนธรรมเริ่มต้นขึ้นราวปี 2542 จากการที่ภาคประชาสังคม ได้มีส่วนเข้าร่วมการประชุมในประเด็นเรื่องการท่องเที่ยวร่วมกับสภาอุตสาหกรรมจังหวัดแพร่ พร้อมทั้ง หารือการจัดกิจกรรมพิเศษ เช่น งานขนมเส้น การจัดทาหนังสือ 72 พรรษา รัชการที่ 9 ซึ่งมีการระดม นักวิชาการ ผู้มีความรู้เรื่องประวัติศาสตร์ท้องถิ่นเข้ามาร่วมกัน เกิดเป็นการจัดตั้งกลุ่มจิตอาสาชื่อ ชมรม คนฮักเมืองแป้ กิจกรรมที่ผ่านมา ในปีระหว่าง 2544-46 ชมรมคนฮักเมืองแพร่ และกลุ่มเครือข่าย ได้เริ่มทางานเครือข่ายกับ สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.) ในประเด็นการอนุรักษ์วัฒนธรรม มีการจัดเวทีพูดคุยถึงคุณค่าและ ตัวตนของคนแพร่ขึ้นหลายครั้ง กลายเป็นการรวมกลุ่มคนที่มีความคิดคล้ายคลึงกัน ทางานร่วมกันใน
  • 3. 2 ลักษณะเครือข่ายหลวมๆ ของเป็นกลุ่มคนที่มีความสามารถเฉพาะด้าน เช่น สถาปนิก ช่างฝีมือ ครู อาจารย์ ต่างคนต่างทางานในส่วนที่ตนถนัดแล้วนากระบวนการและงานที่ทาอยู่มาเชื่อมโยงกัน โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อสร้างสรรค์เมืองแพร่ให้น่าอยู่ พร้อมไปกับการค้นหาตัวตนของคนแพร่ มีการจัด กิจกรรมทั้งเวทีการพูดคุยเช่น เหลียวหลังแลหน้า เมืองแพร่กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับความเชื่อระดับเมือง เช่น การเข้าเบิก ๔ ประตูเมือง การถมหลุมกาแพงเมือง การเลี้ยงผีเจ้าหลวง จนในปี 2548 หนังสือ ศึกษาเมืองแพร่ สาวความเมืองแพร่ ที่บอกเล่าถึงกระบวนฟื้น ความหมายตัวตนของคนแพร่ตลอดระยะเวลา 5 ปี ที่ผ่านมาถูกรวบรวมและจัดพิมพ์ เครือข่ายที่ร่วมกัน ทางานมาได้ระยะหนึ่งได้ชื่อให้กับเครือข่ายว่า “ข่ายลูกหลานเมืองแพร่” ในปี 2549 การดาเนินงานพัฒนาเมืองโดยภาคประชาสังคมจาก “ข่ายลูกหลานเมืองแพร่” ได้รับ การสนับสนุนจากองค์กร Semeo-Spafa ในโครงการบ้านหนังสือ หรือ ห้องเรียนเมืองแพร่ ในช่วงปี พ.ศ. 2549-2551 ซึ่งเป็นโครงการที่ดาเนินคู่ขนานไปกับงานโบราณคดีชุมชน การขุดค้นแหล่งโบราณคดียุค ก่อนประวัติศาสตร์ชุมชนนาตอง โครงการบ้านหนังสือ-ห้องเรียนเมืองแพร่ กระบวนเรียนรู้ภาค ประชาชนเพื่อเปิดโอกาสให้ลูกหลานเยาวชนเมืองแพร่ได้เรียนรู้รากเหง้าและคุณค่ามรดกทางวัฒนธรรม ของตนเอง จากประสบการณ์จริงนอกห้องเรียน และโครงการนี้ยังมุ่งเน้นการสร้างกระบวนการสานพลัง ภาคประชาชนเพื่อจัดทาองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับ ในปี 2550 ข่ายลูกหลานเมืองแพร่ได้ริเริ่มกิจกรรมกิจกรรม ‘คนแป้แอ่วเมืองแป้’ เมืองเก่าแพร่ เขตเหนือ และเขตใต้ โดยการสนับสนุนขององค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่ และหอการค้าจังหวัดแพร่ ในการจัดงานครั้งแรก และอีก 7 ครั้งสนับสนุนโดยเทศบาลเมืองแพร่ เป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้คน แพร่นั่งรถสามล้อ ชมสภาพแวดล้อมในเมืองเก่า รวมถึงแวะชมบ้านเก่าในเมืองแพร่ ผลจากการจัด คาราวานรถสามล้อเที่ยวชมรอบเมือง เป็นที่มาของการรวมตัวกันของกลุ่มคนรักษ์บ้าน คุ้ม และอาคาร เก่า ทั้งที่เป็นผู้อยู่อาศัย ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ และกลุ่มข่ายลูกหลานเมืองแพร่บางส่วนที่มีความรู้ ด้านสถาปัตยกรรม ศิลปะ และการออกแบบ และมีความสนใจในการอนุรักษ์บ้านเก่า ร่วมกันจัดตั้ง ‘ชมรมอนุรักษ์สถาปัตยกรรมท้องถิ่นเมืองแพร่’ โดยมีวัตถุประสงค์การทางาน คือ 1) รวบรวมอาคารบ้านพัก สถานที่สาคัญทางประวัติศาสตร์เพื่อการอนุรักษ์ 2) ผลักดันให้เกิดพื้นที่อนุรักษ์ และเสนอร่างกาหนดทางราชการเพื่อให้มีการอนุรักษ์อาคาร เหล่านั้นอย่างถูกวิธี และถูกต้องตามหลักวิชาการ 3) ร่วมกับราชการและเอกชนต่างในการจัดกิจกรรมเพื่อสร้างความเข้าใจ และกระตุ้น จิตสานึกในการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมท้องถิ่นเมืองแพร่ 4) จัดทาแผน และดาเนินงานอย่างต่อเนื่องเพื่อให้อาคารได้รับการอนุรักษ์ สามารถอยู่ ร่วมกับสภาพสังคมที่กาลังเปลี่ยนแปลงไป ให้คงอยู่ตราบนานเท่านาน 5) ร่วมกับทางจังหวัดจัดทาแผนงานส่งเสริม การท่องเที่ยวด้านศิลปวัฒนธรรม สถาปัตยกรรม เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวและกระตุ้นเศรษฐกิจและมีกิจกรรมต่างๆ เกิดขึ้นภายใต้การ
  • 4. 3 ดาเนินงานของชมรมอีกมากมาย เช่น การจัดนิทรรศการบ้านเก่า อาคารโบราณ ภาพเก่า ในกิจกรรม ถนนคนเดินพระนอน การศึกษาบ้านเก่า และอาคารโบราณของชมรมฯ นาไปสู่ความร่วมมือจากกลุ่ม สถาบันการศึกษา และองค์กรภาครัฐจากหลากหลายที่มา อาทิ การศึกษาดูงานของทูตสหรัฐอเมริกา คณะศึกษาดูงานจากพม่า และลาว ในปี 2553-2555 รวมถึงการทางานร่วมกับการเคหะแห่งชาติ และ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาในโครงการฟื้นฟูการอยู่อาศัยในภูมิภาค พื้นที่ชุมชนเมืองแพร่ ในปี 2553 แนวคิดการจัดตั้งถนนคนเดินกาดกองเก่าเริ่มขึ้นจากสมาชิกชมรมอนุรักษ์ สถาปัตยกรรมท้องถิ่นเมืองแพร่ ได้ชักชวนเครือข่ายลูกหลานเมืองแพร่ ซึ่งประกอบด้วย กลุ่มออมทรัพย์ ในชุมชน กลุ่มเกษตรอินทรีย์ เด็กและเยาชน สภาองค์กรชุมชน กลุ่มหมอพื้นบ้าน และข่ายลูกหลานเมือง แพร่ ร่วมกันดาเนินโครงการตามแนวคิด “แพร่เมืองแห่งความสุข” โดยการสนับสนุนงบประมาณจาก สานักงานส่งเสริมสุขภาพแห่งชาติ สสส. ในโครงการดังกล่าวได้มีการทดลองปิดถนนคาลือ ในช่วงบ่าย ทุกวันเสาร์ เพื่อเปิดพื้นที่ให้คนในชุมชนได้มีพื้นที่สาธารณะใช้ประโยชน์สร้างสรรค์ร่วมกัน เป็นพื้นที่ ส่งเสริมสุขภาวะแก่ชุมชน มีการวางขายสินค้าเล็กน้อยๆ อาทิ ผักพื้นบ้าน ของทานเล่น งานหัตถกรรม และกิจกรรมสร้างสรรค์อื่นๆ เช่น นิทรรศการภาพถ่ายเก่า การแสดงดนตรีพื้นเมือง และดนตรีสตริงของ เยาวชน ฯลฯ กิจกรรมกาดกองเก่า ได้รับความร่วมมืออย่างดีจากเจ้าของบ้านริมถนน ทั้งในเรื่องการเปิด พื้นที่หน้าบ้านวางขายสินค้า การจัดการขยะ การต่อไฟฟ้าให้แสงสว่าง และการจัดระเบียบพื้นที่ร้านค้า กาดกองเก่ายังดาเนินงานอยู่ถึงปัจจุบัน และกลายเป็นพื้นที่นัดหมายและศูนย์กลางของการพบปะของ สมาชิกข่ายลูกหลานเมืองแพร่ และชมรมฯ กระบวนการทางาน สาหรับกระบวนการทางานของเครือข่ายลูกหลานเมืองแพร่ และชมรมอนุรักษ์สถาปัตยกรรม ท้องถิ่นเมืองแพร่ อาศัยกระบวนการมีส่วนร่วมทั้งจากคนในพื้นที่และกลุ่มคนภายนอกที่เข้าไปร่วม ทางาน สาหรับการก่อตัวและการทางานของคนในตั้งอยู่บนรากฐานความสัมพันธ์ส่วนบุคคล ในการ เชื่อมโยงความคิด ผู้คน และรวบรวมคนที่มีความสนใจร่วมกันเข้ามาร่วมทางาน ตามความสนใจและ ความสามารถของแต่ละบุคคล เป็นการทางานแบบจิตอาสา จากผู้คนหลากหลายกลุ่ม อาทิ นัก วัฒนธรรม นักวิชาชีพ เยาวชนคนรุ่นใหม่ นักพัฒนาเอกชน และกลุ่มชาวชุมชนในเขตเมืองเก่าแพร่ งบประมาณ สาหรับการสนับสนุนด้านงบประมาณในเบื้องต้นแต่ละคนต่างอาศัยงบประมาณส่วนตัวในการ ริเริ่มการทางาน ทั้งในการพัฒนาโจทย์การทางาน และการสมทบทุนในรูปแบบต่างๆร่วมกับหลากหลาย หน่วยงานที่เข้ามาช่วยสนับสนุน จนมีการจัดทาโครงการขอรับงบประมาณจากหน่วยงานองค์กร ภายนอก ที่มีวัตถุประสงค์สอดคล้องกับแนวคิด และเป้าหมายการทางานของกลุ่ม
  • 5. 4 ที่ผ่านมาการดาเนินงานได้มีการใช้ทุนนอกจากทุนส่วนตัวจากสมาชิกและเครือข่ายการทางาน ยังได้รับงบประมาณจากองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น และการสนับสนุนในรูปแบบการทาโครงการร่วม เช่น องค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่ หอการค้าจังหวัดแพร่ เทศบาลเมืองแพร่ และสภาวัฒนธรรม จังหวัดแพร่ รวมถึงหน่วยงานภายนอกที่ทางานเกี่ยวของการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรม การพัฒนา เมือง และการพัฒนาความเข้มแข็งของภาคประชาสังคม อาทิ องค์กร Semeo-Spafa, สถาบันพัฒนา องค์กรชุมชน (พอช.), กรมศิลปากร, สมาคมสถาปนิกสยาม การเคหะแห่งชาติ สานักงานส่งเสริม สุขภาพแห่งชาติ (สสส.), บางกอกฟอรั่ม และหน่วยงานสถาบันการศึกษา เช่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลล้านนา ความสาเร็จ กิจกรรมต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายในเมืองแพร่และช่วยปลุกกระแสการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรม และการพัฒนาเมืองแพร่ ได้แก่ การรื้อฟื้นคุณค่าและความหมายตัวตนคนเมืองแพร่ ผ่านเวทีสัมมนา และการพูดคุย และการทากิจกรรมที่ช่วยกระตุ้นจิตสานึก และความร่วมมือของคนในพื้นที่ เกิดเป็น เครือข่ายลูกหลานเมืองแพร่ และกลุ่มชมรมฯ ต่างๆ เชื่อมร้อยกับเป็นเครือข่ายการทางานด้านอนุรักษ์ และรักษาเมืองขนาดใหญ่ ทางานอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542 ถึงปัจจุบัน, เกิดกิจกรรมสร้างสรรค์ที่ ส่งเสริมความเข้าใจคุณค่ามรดกทางวัฒนธรรม และการพัฒนาเมืองเก่าแพร่อย่างมีส่วนร่วม เช่น กิจ กรรมผ่อบ้านแอ่วเมืองแป้, กิจกรรมห้องเรียนเมืองแป้ สาหรับเยาวชนและผู้สนใจ, การจัดทาแผนที่มรดก ทางวัฒนธรรม, กิจกรรมเฮียนเก่า เมืองเก่า กิจกรรมสารวจบ้านเก่า, การให้รางวัล ธงไจยบ้านเก่า เพื่อ เป็นการระบุคุณค่าบ้านเก่าและให้กาลังใจเจ้าของบ้าน, กิจกรรมการศึกษาดูงานเมืองอนุรักษ์ เช่น เมือง เก่าสงขลา เมืองเก่าปีนัง, กิจกรรมกาดเลียบเมฆ (กาแพงเมือง) และสุมาเมฆ คู ประตูเมืองแพร่, กิจกรรมกาดกองเก่า, กิจกรรมปั่นจักรยานเปลี่ยนแป้ (กิจกรรมปั่นจักรยานรอบเมืองเก่าทุกเย็นวัน อาทิตย์) และในปี 2555 บ้าน คุ้ม และอาคารเก่า ในเขตเมืองเก่าจานวน 9 หลังได้รับรางวัลจากสมาคม สถาปนิกสยาม อาทิรางวัลสมควรเผยแพร่ อาคารอนุรักษ์ชมเชย และดีเด่น, หน่วยงานทั้งในท้องถิ่น และภายนอกเข้าไปมีส่วนร่วมในการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ และจัดทาโครงการที่เกี่ยวข้องกับการ อนุรักษ์ การพัฒนาเมือง และการส่งเสริมการท่องเที่ยว และอีกหลากหลาย ตัวอย่างเช่น การจัดทาป้าย หน้าบ้านเก่าโดย สภาวัฒนธรรมจังหวัด การจัดงานทางวัฒนธรรมสาคัญๆสนับสนุนโดยกระทรวง วัฒนธรรม การพิมพ์หนังสือภาพ sketch แบบอาคารเก่าที่มีคุณค่าในเขตเมืองเก่าแพร่ ชื่อหนังสือ ‘ผ่อ บ้าน หันเมือง’ สนับสนุนโดยสถานฑูตอเมริกา เป็นต้น
  • 6. 5 รูปที่ 1 ภาพกิจกรรมผ่อบ้านแอ่วเมือง รูปที่ 2 ภาพกิจกรรมการแจกธงไจยบ้าน และภาพธงไจยบ้าน รูปที่ 3 – 4 ภาพกิจกรรมกาดเลียบเมก และกิจกรรมสุมาเมฆ คู ประตูเมือง
  • 7. 6 รูปที่ 5 ภาพกิจกรรมแอ่วกาดกองเก่า (ถนนคนเดินกาดพระนอน) รูปที่ 6 ภาพกิจกรรมการมอบหนังสือ “ผ่อบ้าน หันเมือง” ร่วมกับสถานทูตอเมริกา และภาพตัวอย่างอาคารที่ได้รับรางวัลจากสมาคมสถาปนิกสยาม รูปที่ 7 ภาพกิจกรรม ปั่นเปลี่ยนแป้
  • 8. 7 จุดแข็ง ในปัจจุบันการทางานของเครือข่ายลูกหลานเมืองแพร่ ยังคงดาเนิงานในเชิงประเด็นที่ตนเอง สนใจแยกตามกลุ่มการทางาน และสาหรับชมรมอนุรักษ์สถาปัตยกรรมท้องถิ่นเมืองแพร่ บุคลากรก็ยังคง ทางานอยู่ผ่านกิจกรรมกาดกองเก่า กิจกรรมถนนคนเดินบนถนนคาลือทุกวันเสาร์ จุดแข็งของการ ดาเนินงานของชมรมฯ อยู่ที่ บุคลากร ซึ่งเป็นคนในท้องถิ่น ที่มีความรู้และได้รับการยอมรับอย่างกว้าง ขว้างในฐานะ ผู้ทางานจิตอาสาเพื่อสาธารณะประโยชน์ โดยในกลุ่มแกนนาสมาชิกต่างมีความรู้ ความสามารถเฉพาะด้าน เช่น สถาปนิก ปราชญ์ภูมิปัญญา เป็นผู้มีประสบการณ์ในการทางานพัฒนา เครือข่ายภาคประชาสังคม และนักธุรกิจที่มีบทบาทสร้างสรรค์ธุรกิจ นอกจากนี้กลุ่มแกนนายังมี ศักยภาพในการดึงดูดคนในทุกระดับให้มาทางานร่วมกันได้ ตั้งแต่ระดับชาวบ้าน องค์กรภาครัฐระดับ ท้องถิ่น และองค์กรภาครัฐจากส่วนกลาง เช่น สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.) สานักงานส่งเสริม สุขภาพแห่งชาติ (สสส.) สมาคมสถาปนิกสยาม และหน่วยงานการอนุรักษ์ระดับนานาชาติอย่าง Semeo-Spafa ในการสนับสนุนทั้งในเรื่องของงบประมาณ และการสนับสนุนด้านความรู้เทคนิค และ โอกาสในการเพิ่มพูนประสบการณ์ รวมถึงการเชื่อมโยงสถาบันการศึกษา เช่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลล้านนา เกิดผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรมมากมาย ตัวอย่างที่เห็นเด่นชัดคือการฟื้นฟูถนนคาลือให้ กลับมามีชีวิตชีวา และสามารถขยายแนวคิดการดาเนินงานของกลุ่มไปสู่ในกลุ่มชาวบ้านในพื้นที่ โดย อาศัยการทางานบนพื้นฐานของความสัมพันธ์ส่วนบุคคล และการชักชวนกันมาร่วมทางาน ตามความ ถนัดและความสนใจ ทาให้การดาเนินงานมีความคล่องตัว การวางแผนการทางานอาศัยการปรึกษาหารือ จัดสรรแบ่งงานตามกาลัง และขอรับงบประมาณสนับสนุนผ่านการยืนเสนอโครงการต่อหน่วยงานทั้งองค์ ภายในและภายนอก แม้จะมีข้อติดขัดในเรื่องงบประมาณอยู่บ้างในช่วงต้น แต่ทางกลุ่มก็สามารถ ดาเนินงานได้ และสามารถขยายความคิดไปสู่เยาชนรุ่นใหม่ เกิดกลุ่มเยาวชนอาสาเข้าร่วมกิจกรรม ต่างๆเช่น กิจกรรมกาดกองเก่า ผ่านการเล่นดนตรี หรือการปั่นจักรยานเพื่อเสริมสร้างสุขภาพ และ รณรงค์การใช้จักรยาน ซึ่งเป็นอีกวิธีการที่ช่วยส่งเสริมให้เมืองแพร่น่าอยู่ขึ้น กระบวนการมีส่วนร่วมในการดาเนินงานของชมรมฯ แบ่งได้เป็น 2 ระดับ ในระดับการวางแผน โครงการและจัดทากิจกรรม และระดับการมีส่วนร่วมแบบผู้มาเข้าร่วมกิจกรรม ระดับการวางแผนงาน อาศัยบุคลากรของชมรม และแกนนาชาวบ้าน หรือเจ้าของแหล่งทุนเข้ามามีส่วนร่วมในการวางแผนงาน และในระดับปฏิบัติการ เช่นงานการจัดกาดกองเก่าจะเป็นรูปแบบการทางานที่เปิดโอกาสให้ ชาวบ้านที่มีบ้านอยู่ริมถนนคาลือ เข้ามามีส่วนร่วมในการออกแบบถนนคนเดินแบบที่ชาวบ้านต้องการ โดยมีกระบวนการพูดคุยเพื่อสร้างความเข้าใจในแนวทางการทางาน แนวคิดด้านการอนุรักษ์และคุณค่า ของบ้านเก่า และภูปัญญา เป็นรูปแบบกิจกรรมที่ช่วยลดภาระการทางานของกลุ่มและเปิดโอกาสให้ ชุมชนและสังคมได้ร่วมกันขับเคลื่อนวิถีการเป็นอยู่ในเมืองเก่าที่ทุกคนมีส่วนร่วมในการออกแบบได้
  • 9. 8 ความเสี่ยงการดาเนินงาน ความเสี่ยงของการดาเนินงานคือ ปัญหาการขาดบุคลากรในการทางาน สาเหตุมาจากคนแพร่ รุ่นใหม่ถูกบีบให้อพยพย้ายถิ่นตั้งแต่ในวัยเรียน คนรุ่นใหม่ต้องออกไปเรียนตามมหาวิทยาลัยในเมือง ใหญ่ และเมื่อจบการศึกษาแล้ว แหล่งงานก็อยู่ในเมืองใหญ่ มีคนรุ่นใหม่จานวนน้อยมากที่กลับมาทางาน ที่บ้านเกิด และกลุ่มคนเหล่านี้ต่างมีความรู้ความเข้าใจในคุณค่าและประวัติศาสตร์ของเมืองเก่าแพร่น้อย การเข้ามาร่วมเป็นจิตอาสาในการทางานด้านการพัฒนาเมือง และการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมจึง เป็นเรื่องยาก จุดอ่อนของการดาเนินงานของชมรมฯ อยู่ที่ข้อจากัดของงบประมาณ ซึ่งทางชมรมฯ ไม่มี ทุนทรัพย์ที่สามารถนามาใช้ทางานได้เพียงพอและต่อเนื่อง ยังต้องอาศัยทุนของตนเอง และการพึงพาก โครงการจากกลุ่มองค์กรภายนอกที่คอยสนับสนุนทั้งกาลังคน และงบประมาณ พอโครงการจบ และ งบประมาณหมด การเคลื่อนตัวของงานบางอย่างจะสะดุด และไม่สามารถทางานได้อย่างต่อเนื่อง