SlideShare a Scribd company logo
0
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ
โครงการเพาะพันธุปญญา(พัฒนายุววิจัย)
โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ
ชุดโครงงาน ไก)ย)างบ*านแคน
โดย
นายเดชมณี เนาวโรจน และคณะ
1
มีนาคม 2560
สารบัญ
หน*า
บทคัดยอ 2
บทนํา 4
การออกแบบกระบวนการเรียนรูแบบ RBL ของโรงเรียน 5
การคัดเลือกประเด็นหลัก 6
สรุปผลการดําเนินกิจกรรมโครงการเพาะพันธุ/ป0ญญาของโรงเรียน 10
เสียงสะทอนของครู นักเรียน และผูบริหาร 14
สรุปผลการดําเนินงานโครงงานยอย 10 โครงงาน 16
ภาคผนวก 21
2
สรุปงานประจําป3 (พฤษภาคม 2559 – มีนาคม 2560)
บทคัดย)อ
โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ/ ไดสมัครเขารวมโครงการเพาะพันธุ/ป0ญญา ศูนย/
พี่เลี้ยงมหาวิทาลัยอุบลราชธานี เป<นป=ที่ 3 ป=การศึกษา 2559 มีผูบริหารโรงเรียน จํานวน 2 คน ครูที่ปรึกษา
โครงงาน จํานวน 8 คน มีนักเรียน ม.5/2 จํานวน 35 คน รวมกิจกรรมโครงการในครั้งนี้ โดยไดเลือกประเด็น
หลัก เรื่อง ไกยางบานแคน โดยใหนักเรียนเสนอประเด็น และลงมติประชาธิปไตยเสียงขางมาก มีการนําเสนอ
โครงงานยอยเกี่ยวกับไกยางบานแคน และไดรับการอนุมัติจากศูนย/พี่เลี้ยง จํานวน 10 โครงงาน และสนับสนุน
งบโครงงานละ6300 บาท ดังนี้
โครงงาน
ที่
ชื่อโครงงาน บูรณาการกับ
โครงงานที่
ครู* สอนกลุมวิชา
1 วิธีการยางไก ทุกโครงงาน นางสาวยาใจ เจริญพงษ/ วิทยาศาสตร/
2
การศึกษาตนทุนผลตอบแทนเปรียบเทียบกับ
รายจายในครอบครัวของผูประกอบอาชีพขายไก
ยางบานแคน
ทุกโครงงาน นางสาวแสงเดือน บกนอย สังคมศาสตร/
3 ถานที่ใหพลังงานมาก ทุกโครงงาน นายกิตติพงษ/ บุญสาร วิทยาศาสตร/
4 สปาเกตตี้ผัดกระเพราไกยาง ทุกโครงงาน นางนุชนาฎ โชติสุวรรณ เศรษฐศาสตร/
5
พฤติกรรมการซื้อและบริโภคไกยางบานแคน
ตําบลดงแคนใหญ อําเภอคําเขื่อนแกว จังหวัด
ยโสธร
ทุกโครงงาน นางสาวแสงเดือน บกนอย สังคมศาสตร/
6 roating chicken Inter ทุกโครงงาน นางสาวกิตติมา สาระรักษ/ เศรษฐศาสตร/
7 แจวไกยาง ทุกโครงงาน นางสาคร ทองเทพ เศรษฐศาสตร/
8 อาชีพขายไกยางของคนในชุมชนบานดงแคนใหญ ทุกโครงงาน นางสาวอรอุมา ดวงเงิน สังคมศาสตร/
9 การเลี้ยงไก ทุกโครงงาน นายเดชมณี เนาวโรจน/ วิทยาศาสตร/
10 เตาเผาถาน ทุกโครงงาน นายเดชมณี เนาวโรจน/ วิทยาศาสตร/
งบประมาณรวม (ทุกโครงการย)อย) 63,000 บาท
3
สรุปผลการทําโครงงาน ทั้ง 10 โครงงาน พบวา โครงงานสามารถสรุปผลไดตามสมมติฐานที่ตั้งไว
จากการเขารวมโครงการเพาะพันธุ/ป0ญญาในครั้งนี้ ทําใหทั้งครูและนักเรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงตนเองอยาง
มากสามารถนํามาใชกับการดําเนินชีวิตประจําวันไดเป<นอยางดี เป<นโครงการที่เกิดการเรียนรูอยางมากมายมี
ทั้งทุกข/ สุข ในกระบวนการทํางาน การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นมากที่สุดของนักเรียนโครงการเพาะพันธุ/ป0ญญา
โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ/ เรียงจากมากไปหานอย ไดแก 1. ทักษะการคิดวิเคราะห/
2. มนุษย/สัมพันธ/ ทักษะทางสังคม 3. การรับฟ0งผูอื่น และ 4. ความกลาแสดงออก
4
บทนํา
โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ/ สมัครเขารวมโครงการเพาะพันธุ/
ป0ญญา กับศูนย/พี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ตั้งแตป=การศึกษา 2557 จนถึงป=การศึกษา 2559 ป=ที่ 3 ของ
การเขารวมโครงการฯ จากที่ครูไมมีความรูอะไรเลยเกี่ยวกับทักษะเพาะพันธุ/ป0ญญาจนถึงกระทั่งป=นี้คิดวาครูมี
การเปลี่ยนแปลงและไดเรียนรูอยางมากจากครูดวยกันเอง โครงการเพาะพันธุ/ป0ญญาเป<นโครงการที่มีรูปแบบที่
สามารถวัดผลไดชัดเจน นักเรียนเกิดทักษะการเรียนรู โดยเฉพาะป=นี้ยุคคนไทย 4.0 โครงการนี้ก็สามารถสนอง
นโยบายของรัฐบาลไดเป<นอยางดี ป=นี้ครูและนักเรียนของโรงเรียนที่รวมโครงการไดเรียนรูกระบวนการ RBL
ซึ่งเป<นกระบวนการเรียนรูของนักเรียนนอกหองเรียนมีความเขาใจและทํางานเป<นระบบมากขึ้น มีการวาง
แผนการทํางานทําใหงานที่ไดไมคอยมีป0ญญาและอุปสรรคเหมือนป=ที่แลว
กระบวนการทํางานแบบ RBL เป<นการเรียนรู สูกระบวนการทํางาน ลงมือปฏิบัติ ทําซ้ํา วิเคราะห/เหตุ
วิเคราะห/ผล จนเกิดเป<นทักษะที่จะติดตัวนักเรียนไปตลอดชีวิต
5
การออกแบบกระบวนการเรียนรู*แบบ RBL ของโรงเรียน(ญสส.) ป3การศึกษา 2559
โรงเรียนดําเนินการ ศูนย/พี่เลี้ยงดําเนินการ
สมัครร่วมโครงการ
เลือกห้อง / เลือกประเด็นหลัก
แบ่งกลุ่ม
ค้นคว้า / เรียนรู้ / โครงงานย่อย
ศึกษาข้อมูล/สอบถาม/สัมภาษณ์ ผู้มีความรู้และประสบการณ์
อินเทอร์เน็ต
ลงมือทําโครงงาน RBL / เรียนรู้ RBL
วิเคราะห์ข้อมูล หลักการ
สรุปผลวิจัย
สิ-นสุด
เอกสารตีพิมพ์ ครูกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์/สังคม
จิตปัญญา
ครู/นักเรียนเขียนไดอารี1
อัพเดรต facebook
อัพเดรต Line อบรมการเขียนรายงาน
นักเรียนสรุปผล RBL แต่ละกลุ่ม
นําเสนอเค้าโครงฯ
นําเสนอปิดโครงการที1ศูนย์ ม.อุบล
นําเสนอปิดโครงการที1ศูนย์ ม.อุบล
แสดงละครเวทีนําเสนอRBL
แสดงละครเวทีนําเสนอRBL
ศูนย์พี1เลี-ยงนิเทศ RBL 1 ครั-ง
ร่วมปิดโครงการที1เมืองทอง กทม.
อบรมการคิดวิเคราะห์
ศูนย์พี1เลี-ยง ม.อุบลฯ
ศึกษาดูงาน
เริ1มต้น
อบรม
6
การคัดเลือกประเด็นหลัก(Theme)
โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ/ ไดสมัครเขารวมโครงการเพาะพันธุ/ป0ญญา ศูนย/
พี่เลี้ยงมหาวิทาลัยอุบลราชธานี เป<นป=ที่ 3 ป=การศึกษา 2559 มีผูบริหารโรงเรียน จํานวน 2 คน ครูที่ปรึกษา
โครงงาน จํานวน 8 คน มีนักเรียน ม.5/2 จํานวน 35 คน ในการเลือกประเด็นหลักของโรงเรียน ครูใหนักเรียน
คิดหาประเด็นหลักโดยการวิพากวิจารณ/ คนควา สืบคนขอมูล ซึ่งนักเรียนไดเสนอไวหลายเรื่อง สรุปสุดทายก็
เป<นเรื่อง “ ไกยางบานแคน ” โดยใชประชามติประชาธิปไตย พื้นฐานความรูเดิมที่โรงเรียนหรือชุมชนมีอยู
ไกยางบานแคน เป<นอาหารที่ขึ้นชื่อและเป<นสินคาโอท็อปที่รูจักกันดีของจังหวัดยโสธร มีสูตรเฉพาะและ
กรรมวิธีที่ไมเหมือนไกยางที่ใด ๆ ชุมชนบานดงแคนใหญจึงยึดอาชีพขายไกยาง จนกระทั่งสามารถสรางเป<น
อาชีพและรายไดเสริม นํารายไดเขาสูครอบครัวและชุมชนป=ละหลายหมื่นบาท
มูลเหตุจูงใจใหสนใจประเด็นนี้โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ/ เป<นโรงเรียนที่
ตั้งอยูในชุมชนที่ประกอบอาชีพขายไกยางบานแคน และเห็นพฤติกรรมและรูปแบบการทําไกยาง จึงตองการ
นําภูมิป0ญญาของชุมชนเผยแพรใหคนไทยไดรับรูในเรื่องไกยางบานแคน เพื่อกระตุนยอดขายและสนับสนุนการ
ประกอบอาชีพของชุมชนดังกลาว
การออกแบบกระบวนการเรียนรู RBL ของโรงเรียน หลังจากไดประเด็นไกยางบานแคนแลว ไดให
นักเรียนคนควา สิบคนประเด็นที่จะทําโครงงาน RBL ยอยเกี่ยวกับไกยางบานแคน จํานวน 10 โครงงาน เขียน
ผังเหตุผลแตละโครงงานยอย และเสนอโครงงาน RBL ยอยทั้ง 10 โครงงานเพื่อขออนุมัติ ผลปรากฏวา ไดรับ
การอนุมัติโครงการ RBL จํานวน 10 โครงงานและเงินสนับสนุน 63,000 บาท
7
ตามแผนผังโครงงาน ดังนี้
ไกยางบานแคน
8
ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/ไก
ไก) จัดอยูในประเภทสัตว/ป=กจําพวกนก ชื่อวิทยาศาสตร/ Gallus gallus มีหลายวงศ/ บินไดในระยะสั้น
หากินตามพื้นดิน ตกไขกอนแลวจึงฟ0กเป<นตัว ตัวผูหงอนใหญและเดือยยาว เชน ไกแจ ไกอู ไกตะเภา ไกเบ
ตง ไกดํา ไกนา ไกโฟม
9
ประวัติความไก)ย)างบ*านแคน :
อาชีพขายไก)ย)างของคนในชุมชนบ*านดงแคนใหญ) มีประวัติและความเปTนมาอย)างไร
นางเกง บุญเฉลียวเป<นคนบานกอก ตําบลไทย อําเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานีและยายแหลม
ยายฝcอ เป<นคนบานกอก ตําบลไทย อําเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี เขามาอยูบานดงแคนใหญ เมื่อป=
พ.ศ. 2495 และไดแตงงานกับสามีที่บานดงแคนใหญแตกอนจะมีรถสายทาง “รถสายันต/” สาย25 กรุงเทพ-
อุบลหรือรถบขส.ในป0จจุบัน รถคันนี้จะออกจาก บขส อุบลราชธานีประมาณ 06.00น. มาถึงบานดงแคนใหญ
ตอนเชาผูโดยสารก็จะหิวขาวพอดีแตกอนจะไมคอยมีอะไรขาย ยายเกง ยายแหลม ยายฝcอจึงพากันขายไกยาง
และไดนําเอาสูตรไกยางที่ตนมีมาทําขายใชชื่อรานวา “ไกยางบานแคนยกลอ”เมื่อป= พ.ศ.2511 แตกอนจะขาย
ในราคาไมละ10บาทคือไมใหญ ไมเล็กขายในราคา 1บาท หมักใสเกลือ พริกไทยและกะเทียม เป<นรสชาติที่ทุก
คนชื่นชอบ ทําใหลูกคาเริ่มเยอะมากขึ้นขายดีมากขึ้น ญาติพี่นองและคนบานดงแคนใหญเห็นวาขายดีและมี
รายไดเยอะจึงมาเปeดรานขายไกยางเพิ่มขึ้น10กวารานแตจะใชสูตรหมักไกสูตรเดียวกัน เมื่อคนซื้อก็เพิ่มขึ้น
รานขายไกยางเพิ่มขึ้นบางสวนก็สืบทอดกิจการป= พ.ศ.254 5ไกบานลดนอยลงและเนื้อไมเยอะคนขายไกยางจึง
หันมาใชไกพันธุ/ผสมหรือไกเนื้อจากบริษัทเบทาโกที่จะมีรถมาสงถึงหนารานจะรับในตัวละ 17บาท ราคาของ
เพิ่มขึ้นไกยางจึงเพิ่มราคาเป<นตัว 35 บาทหรือ 3ตัว 100 บาท รานขายไกยางเพิ่มขึ้นเป<น 27 รานบานดงแคน
ใหญติดถนนแจงสนิทและเป<นทางผาน ไกยางมีรสชาติอรอยแถมยังมีกลิ่นหอมคนที่เดินทางไปมาจึงพากันพัก
รับประทานอาหารและยังซื้อไปฝากญาติพี่นองไกยางบานดงคนใหญจึงเป<นที่เลื่องลือไปไกลผูคนสนใจทําให
ผูใหญในชุมชนจัดตั้งใหเป<นสินคาโอท็อป ป=พ.ศ.2552 ยังใชไกพันธุ/ผสมในการยางแตจะรับจากฟาร/มบานกลาง
นาและบานหนองแปนรับมาในราคาตัวละ 65 บาท นํามายางขายในราคาตัวละ 100-120 บาท มีจํานวน 22
ราน จนถึงป0จจุบัน และนอกจากนี้แลว ความเลื่องลือของไกยางเป<นที่รูจักกันมากจึงมีคําขวัญของอําเภอคํา
เขื่อนแกววา“ เมืองโบราณ ธารสองสาย ไกยางรสเด็ด แหลงผลิตขาวหอมมะลิ ”ซึ่งมีความหมายดังนี้
เมืองโบราณ หมายถึง ดงเมืองเตย บานสงเปcอย
ธารสองสาย หมายถึง แมน้ําเซ แมน้ําชี
ไก)ย)างรสเด็ด หมายถึง ไกยางบานดงแคนใหญ
แหล)งผลิตขาวหอมมะลิ หมายถึง ไรนา ในอําเภอคําเขื่อนแกวปลูกขาวหอมมะลิ ดีที่สุดในยุคนี้
10
หลังจากที่ไก)ย)างของชุมชนบ*านดงแคนใหญ)ได*เปTนผลิตภัณฑโอท็อบของชุมชนแล*วส)งผลกระทบต)อ
ครอบครัวผู*ขายไก)ย)างอย)างไรบ*าง
ในการเกิดรานขายไกยางเพิ่มขึ้นนั้น ยอมสงผลตอชุมชนหรือบริเวณที่อยูใกลเคียง จากการลงพื้นที่นั้น
ทําใหทราบวา ชุมชนบานดงแคนใหญไดรับผลกระทบจากการเพิ่มจํานวนรานขายไกยางไมวาจะเป<นผลกระทบ
ทั้งทางดานบวกและดานลบ ดังจะเสนอใหทราบตอไปนี้
3.1 ผลกระทบดานบวก คือ ทําใหคนรูจักไกยางบานแคนมากขึ้น ขายดีมากขึ้น รายไดดี มีชื่อเสียง
คนที่ผานไปผานมาอุดหนุน สงผลใหคนในชุมชนมีรายไดเพิ่มมากขึ้น
3.2 ผลกระทบดานลบ คือ ในที่นี้จะสงผลกระทบดานลบตอผูประกอบการเดิม คือ เมื่อขายไดดี ราคา
ดี ทําใหมีคนมาขายไกยางเพิ่มขึ้น ทําใหคนที่ขายไกยางอยูแลวมีรายไดที่เทาเดิม หรือเพิ่มเติมไมมาก
ขอบคุณขอมูลจาก : กลุม RBL อาชีพขายไกยางของคนในชุมชนบานดงแคนใหญ
สรุปผลการจัดกิจกรรมโครงการเพาะพันธุปญญาของโรงเรียน
โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ/ ไดจัดกิจกรรมโครงการเพาพันธุ/ป0ญญา ตลอด
ระยะเวลา 1 ป=การศึกษา ตั้งแตเขารวมโครงการฯ กับศูนย/มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ทําใหทั้งครูและนักเรียน
เกิดการเปลี่ยนแปลงตาง ๆ อยางมากมาย ทั้งดานจิตใจ และพฤติกรรมการเรียนรูครูและนักเรียนมี
ความสัมพันธ/กันอยางใกลชิด โดยนํากระบนการ RBL มาใชในกระบวนการเรียนรูของนักเรียนจนทําให
นักเรียนมีความเขาใจและสามารถนําไปปรับใชกับชีวิตประจําวัน
ผลจากการทํากิจกรรมที่มุงมั่นและทุมเท ทําใหเพาะพันธุ/ป0ญญา โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร
ในพระสังฆราชูปถัมภ/ ไดรับรางวัลจากศูนย/พี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบล ดังนี้
1. โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ/ ไดรับรางวัล ชมเชย คลิปวิดีโอแหง
การเรียนรู
2. นายธราธร กลมเกลียว ไดรับรางวัล นักเรียนเพาะพันธุ/ป0ญญาแหงป=
3. นางสาวกิตติมา สาระรักษ/ ไดรับรางวัล ครูเพาะพันธุ/ป0ญญาแหงป=
11
ภาพกิจกรรมของโรงเรียน
12
ภาพกิจกรรมของโรงเรียน
เลือกประเด็นหลัก Theme
ลงพื-นที1จริง
ลงเตรียมอุปกรณ์
ทดลอง / เก็บข้อมูล
ร่วมปิดโครงการที1 ม.อุบลฯ
13
ผลงานโรงเรียนเพาะพันธุปญญา ป3 2559
14
เสียงสะท*อน (Reflections) ของครู นักเรียน และผู*บริหาร
เสียงสะท*อนของครู
เราจะทําไดจริงหรือ ? นักเรียนจะเรียนรูเรื่องหรือเปลา ? คําถามที่ครูคนหนึ่ง ถามตัวเองเมื่อตองการ
กาวขาม“ความเคยชิน”เดิมๆ เปลี่ยนสูวิธีการจัดการเรียนการสอนแนวใหม และเมื่อตองการหาคําตอบ
ความยุงยากวุนวายจึงเกิดขึ้นในระบบการคิด และวิธีการทํางานของครู จากเดิมที่เคยเป<นผูสั่งการผานขั้นตอน
วิธีการเรียนและสื่อการเรียนที่ครูกําหนดไวเพื่อใหนักเรียนเกิดการเรียนรู ในใตหองสี่เหลี่ยมเล็กๆบาง
แหลงเรียนรูภายในโรงเรียนบาง กลายมาเป<นครูผูอํานวยการ เป<นโคชในการเรียนรูของนักเรียน โดยที่ตัวครู
เริ่มตนจากการเปลี่ยนทัศนคติของตนเองที่มีตอการจัดการเรียนการสอนแบบ Research-Based Learning
(RBL) จากมุมที่เคยมองวาเป<นเรื่องยาก มาเป<นมุมของการพิจารณาถึงผลดีที่นักเรียนจะไดรับเมื่อผานการเรียน
ในรูปแบบดังกลาว แลวจึงเตรียมความพรอมของตนเองโดยการหาความรูเกี่ยวกับ RBL จากสื่อชนิดตางๆ และ
จากศูนย/พี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี แลวจึงลงมือจัดการเรียนรูและเรียนรูที่จะพัฒนาตนเองไปพรอมกับ
นักเรียน เมื่อไดลงมือทําจึงพบวา “โลกของการแสวงหาความรูนั้นกวางใหญนัก และเป!นโลกที่มีความตื่นเตน
ความภาคภูมิใจรอใหคนพบอยู”
ในรอบหนึ่งป=ที่ผานมา ( ป=การศึกษา ๒๕๕๙) “เรา” ครูและนักเรียนเพาะพันธ/ป0ญญาโรงเรียนสมเด็จ
พระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ/ ไดคลุกคลีกอยูกับ “ไกยาง” ภูมิป0ญญาและอาชีพอันเป<นเอกลักษณ/ของ
ทองถิ่น ครูพบวา นักเรียนกลาที่จะเปลี่ยนตนเองในเรื่องของการพูด กระบวนการทํางาน วิธีการศึกษาคนควา
พรอมกับมีความมุงมั่นที่จะคิดหาหนทางที่สรางสรรค/ในการสงเสริมภูมิป0ญญาให “ประหยัด” สําหรับ
ผูประกอบการ “เกิดประโยชน/” สําหรับตนเองและผูที่สนใจในการประกอบอาชีพดังกลาว และ “โดนใจ”
เพื่อตอบสนองความตองการของกลุมลูกคา โดยการดําเนินการทั้งหมดอยูภายใตกรอบของความคิดอยางมี
เหตุผล และองค/ความรูที่ไดศึกษามาเป<นอยางดี นักเรียนที่จัดอยูในกลุมเกง ไดคนพบแนวทางในการศึกษาหา
ความรูที่เหมาะกับศักยภาพของตนเอง นักเรียนกลุมปานกลางพบวาเมื่อไดพยายามกับสิ่งที่ทําใหมากขึ้นก็จะ
สามารถพัฒนาศักยภาพของตนเองใหดีขึ้นได นักเรียนกลุมที่เคยถูกมองวาไมเกง ไดคนพบคุณลักษณะสําคัญ
ของตนเองที่พิเศษจนสามารถนํามาซึ่งความภาคภูมิใจและการยอมรับจากผูอื่นได นักเรียนทุกคนมีพัฒนาการ
ในการมองโลกและชีวิตในมุมที่กวางไปกวาเดิม มากบาง นอยบางตามศักยภาพที่มี แตสิ่งเหลานั้นจะเป<นจุด
เปลี่ยนสําคัญที่ทําใหนักเรียนพัฒนาตนเองไปสูจุดหมายที่ตองการไดอยางสงางาม
สวนการเรียนรูและพัฒนาตนเองของครูเพาะพันธ/ป0ญญา เมื่อไดเขารวมโครงการและเรียนรูที่จะ
เปลี่ยนแปลงตนเองแลวพบวา ครูที่ดีของนักเรียนนั้น การมีความรูและความชํานาญในดานวิชาการ ไมใช
องค/ประกอบเดียวที่จะนําพานักเรียนไปสูเปoาหมายที่ตองการได แตการเป<นครูที่ใจกวาง รับฟ0งและทําความ
เขาใจนักเรียน ครูที่คอยใหกําลังใจ ชื่นชม ใหคําปรึกษาแนะนํา ดวยคําพูด การแสดงออกที่เป<นกัลยาณมิตร
และครูที่ลงมือกระทําใหนักเรียนมองเห็นถึงความตั้งใจ ความเอาใจใสในการพัฒนาตัวนักเรียนอยางเต็มกําลัง
ความสามารถ นั่นตางหากคือ ครูที่นักเรียนจะมอบโอกาสใหนําพาอนาคตทางการศึกษาของเขาไปสูเปoาหมาย
ที่ตองการอยางเต็มใจ “ การไดรับความไววางใจในเรื่องสําคัญของชีวิตนักเรียน และสามารถแนะนํานักเรียนให
คนพบวิธีการที่จะนํามาซึ่งความสําเร็จในชีวิตได คือความภาคภูมิใจของคนที่ประกอบอาชีพครู ” ขอขอบคุณ
15
สํานักงานกองทุนวิจัยแหงชาติ ธนาคารกสิกรไทย ผูใหญใจดีทุกทานที่ไดจัดใหมีโครงการเพาะพันธ/ป0ญญา
โครงการดีๆที่ทําใหทั้งครูและนักเรียน ไดมีจุดเปลี่ยนทางความคิด ในการที่จะพัฒนาตนเองเพื่อเป<นบุคลากรที่มี
คุณภาพ พรอมที่จะเป<นกําลังสําคัญในการพัฒนาประเทศชาติตอไป
เขียนโดย : นางสาวกิตติมา สาระรักษ/
เสียงสะท*อนของนักเรียน
ผมรูสึกประทับใจมากที่ไดเขารวมโครงการเพาะพันธุ/ป0ญญานี้เพราะเป<นโครงการที่ทําใหผมไดทั้ง
ความรู ความคิด และการกลาแสดงออกในการที่จะพูดคิดและทําสิ่งตาง ๆ ไดอยางมั่นใจมากขึ้น
โครงการนี้สอนใหผมรูถึงวิธีการคิดที่มีระบบมีความคิดที่แปลกใหมและสรางสรรค/มากขึ้น ทําใหผมมี
ความคิดที่กวางขึ้นและนอกจากนี้โครงการเพาะพันธุ/ป0ญญายังสามารถนํามาประยุกต/เขากับวิชาตาง ๆ ไดและ
สอนในเรื่องการทํางานเป<นกลุมทําใหรูถึงบุคลิกและความสามารถของสมาชิกในกลุมอีกดวย ทําใหมีความคิดที่
ใหมขึ้น และกลาแสดงออกมากขึ้น
เขียนโดย : นายธราธร กลมเกลียว
เสียงสะท*อนของนักเรียน
โครงการเพาะพันธุ/ป0ญญาไดใหอะไรหลายๆอยางกับฉัน ทําใหฉันทําโครงงานเป<น รูจักการคิด
วิเคราะห/ คิดสังเคราะห/ จากคนที่ไมคอยชอบการทําโครงงาน ก็กลายเป<นชอบ เพราะการทําโครงการนี้
ฉันไดทั้งเรียนรูการทํางานเป<นกลุม รูจักการแกปpญหารวมกัน ทําใหเราสนิทกันมากขึ้น และเรียนรูที่จะ
ชวยเหลือกัน ทําใหเรามีความกลาแสดงออก กลาที่จะคิดกลาที่จะพูด เพราะเราเป<นคนทําโครงงานจริงจริง ...
ขอบคุณที่มีโครงการดีๆแบบนี้นะคะ...
เขียนโดย : นางสาวอโนทัย ภาคะ
เสียงสะท*อนของผู*บริหาร
“ ป=ที่ 3 กับการเขารวมโครงการเพาะพันธุ/ป0ญญา ผมเห็นความมุงมั่นความตั้งใจของนักเรียน รวมทั้งคุณครูที่ปรึกษา
เห็นการเปลี่ยนแปลงโดยเฉพาะความรักความสามัคคี ทักษะชีวิตการทํางานของแตละคน ในนามของฝqายบริหาร ขอขอบคุณ
ครูพี่เลี้ยง นักเรียนในโครงการเพาะพันธุ/ป0ญญาที่ไดดูแลใหขอคิดในการจัดการเรียนรู โดยใชการวิจัยเป<นฐาน ลูกๆนักเรียนใน
โครงการทุกคน ไดแลกเปลี่ยนเรียนรู มีทักษะกระบวนการในการเรียนรูอยางมีวิจารณญาณ สามารถเชื่อมตอการเรียนรูตลอด
ชีวิต หวังเป<นอยางยิ่งวา โครงการเพาะพันธุ/ป0ญญาจะสรางกระบวนการในการคิดวิเคราะห/และเป<นพื้นฐานของนักวิจัยใน
ระดับชาติตอไป ”
นายชาติชาย สิงห/พรหมสาร
ผูอํานวยการโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ/
16
สรุปผลการดําเนินโครงงานย)อ10 โครงงาน
1. วิธีการย)างไก)
โครงงานเพาะพันธุ/ป0ญญาไดทําการศึกษาเรื่องวิธีการยางไกเพื่อการศึกษาความสุกของไก
ในการวัดความสุขของการยางไกทั้ง 3 ชุดการทดลอง วัดโดยการใชมืดแลลงบนเนื้อไกที่ยางแลวจากนั้นใชมือกดดูสังเกต
ดูวาไกชุดไหนไมมีเลือดซึมออกมา ในการยางใชเวลายางดานละ 15นาที
ชุดที่1 ไกที่หอดวยกระดาษฟรอยด/ไมมีเลือดซึมออกมาเมื่อเอามือกด
ชุดที่2,3 ไกมีเลือดซึมออกมาเมือเอามือกด
ดังนั้นจากการทดลอง วิธีการยางไกที่เหมาะสมที่สุดคือ วิธีการยางไกชุดที่1 การยางไกแบบหอดวย
กระดาษฟรอยด/ เนื่องจากกระดาษฟรอยด/เก็บความรอนไดดี จึงทําใหไกสุกภายในเวลา 15นาที ซึ่งใชเวลาในการยางนอย
กวาชุดที่ 2 และ3
2. การศึกษาต*นทุนผลตอบแทนเปรียบเทียบกับรายจ)ายในครอบครัวของผู*ประกอบอาชีพขาย ไก)ย)าง
บ*านแคน
อาชีพขายไกยางเป<นอาชีพที่อยูคูกับชุมชนบานดงแคนใหญมานานและสืบทอดมาสูลูกหลานจนถึงป0จจุบันจึงมี
คนทําอาชีพขายไกยางมากขึ้นเรื่อยตลอดแนวสองขางทางถนนแจงสนิทของบานดงแคนใหญ ต.ดงแคนใหญ อ.คําเขื่อน
แกว จ.ยโสธร มีทั้งรานขนาดเล็ก ขนาดใหญ มีทั้งแบบมีจุดขายประจําและแบบวิ่งขายตามรถประจําทาง ผูศึกษาจึงมี
ความสนใจในวิถีชีวิตในรอบวันของคนขายไกยาง และพัฒนาการการประกอบอาชีพขายไกยาง วารายไดที่ไดคุมกับการ
ลงทุนหรือไมและในสภาวะเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงมีการเพิ่มรายไดโดยการขายสินคาอยางอื่นเสริมหรือไมอยางไร
จากการทําโครงงานทําใหผูที่ประกอบอาชีพขายไกยางในชุมชนบานดงแคนใหญใหญเห็นความสําคัญของการทําบัญชี
รายรับรายจายวามีการลงทุนเทาไรและไดผลกําไรกับมามากนอยเพียงใด เห็นประโยชน/และสําคัญในการคิดหาทางวาทํา
อยางไรถึงจะใชเงินในกระลงทุนนอยและทําใหไดผลกําไรกลับมาใหไดมากกวาเดิมที่เคยทํากําไรไดมา
3. ถานที่ใหพลังงานมาก
เนื่องจากชุมชนขายไกยาง ในการยางไกเราจะใชถานเป<นเชื้อเพลิงในการยางไกเสมอ แตบางครั้งถานที่นํามาใช
ยางไกนั้น เมื่อกอไฟขึ้น จะแตก กระเด็นไปทั่ว และบางครั้งถานยังใหพลังงานนอย พวกเราจึงทําโครงงานวิจัยเกี่ยวกับ
การเปรียบเทียบพลังงานจากถาน ซึ่งมีประโยชน/มาก เชน การเลือกไมมายางไก ประกอบกับชุมชนของเราที่ทําอาชีพขาย
ไกยาง ซึ่งพวกเราอยากทราบวาถานไมยูคา ถานไมกระถิ่นณรงค/ และถานไมพอกนั้น ถานชนิดไหนที่สามารถใหพลังงาน
มากที่สุด
จากการทดลองพวกเราสังเกตการเปรียบเทียบพลังงานจากถานไมยูคา ถานไมกระถิ่นณรงค/ และถานไมพอก
พบวา ถานไมยูคาสามารถใหพลังงานมากที่สุด ถานทั้ง 3 ชนิดสามารถใหพลังงานได แตจะใหพลังงานไดสูงสุดในชวง 30
นาที
4. สปาเกตตี้ผัดกระเพราไก)ย)าง
โครงงานเพาะพันธุ/ป0ญญาไดทําการศึกษาเรื่อง สปาเก็ตตี้ผัดกระเพราไกยาง เพื่อการศึกษาเปรียบเทียบวาสปา
เก็ตตี้ผัดกระเพราไกยางที่ผูวิจัยคิดคนสูตรของสปาเก็ตตี้ 3 สูตรนั้น สูตรใดที่จะไดรับความพึงพอใจจากผูบริโภคมากที่สุด
ซึ่งในการทําสปาเก็ตตี้ผัดกระเพราไกยางนั้นเราจะนําเนื้อไกยางมาเป<นวัตถุดิบหลักในการทําสปาเก็ตตี้ผัดกระเพราไกยาง
และนําเสนสปาเก็ตตี้มาผัดเขากับวัตถุดิบและเครื่องปรุงในการทําผัดกระเพราแลวนําสปาเก็ตตี้ผัดกระเพราไกยางแตละ
สูตรที่เราไดทําไปทดลองกลุมตัวอยางเพื่อรับประทานแลวประเมินความพึงพอใจโดยใชแบบประเมินในการวัดผลวาสปา
เก็ตตี้ผัดกระเพราไกยางสูตรใดไดรับความพึงพอใจมากที่สุดไดผลสรุปวา สปาเก็ตตี้ผัดกระเพราไกยางสูตรที่ 1 ไดรับความ
พึงพอใจมากที่สุด
17
5. พฤติกรรมการซื้อและบริโภคไก)ย)างบ*านแคน ตําบลดงแคนใหญ) อําเภอคําเขื่อนแก*ว จังหวัดยโสธร
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค/ เพื่อศึกษาพฤติกรรมการซื้อและบริโภคไกยางบานดงแคนใหญ มีความพึงพอใจตอ
การซื้อและบริโภค ตลอดจนความคิดเห็นและขอเสนอแนะตางๆ จากการซื้อและบริโภค เครื่องมือที่ใชในการวิจัยคือ
แบบสอบถาม ซึ่งประกอบดวยคําถาม ประเภทกําหนดคําตอบให ประเภทตอบไดอยางเสรี และประเภทประมาณคา
(Likert Scale) เนื้อหาของแบบสอบถามแบงออกเป<น 4 ตอน คือ ตอนที่ 1 คําถามเกี่ยวกับป0จจัยพื้นฐานสวนบุคคล
ตอนที่ 2 คําถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการซื้อและการบริโภคไกยางบานแคน ตอนที่ 3 คําถามเกี่ยวกับความคิดเห็น ตอนที่
4 ขอเสนอแนะตอการสงเสริมการบริโภคไกยางบานแคน
ผูซื้อและบริโภคไกยางบานดงแคนใหญ มีความพึงพอใจอยางมากในการเลือกซื้อ เลือกบริโภค เนื่องจากอาหาร
สะอาด มีสีสันรสชาติดี ราคาเหมาะสม เมื่อเทียบกับแหงอื่น บรรยากาศของรานสวย มีสิ่งอํานวยความสะดวก
6. roating chicken Inter
ในการทําโครงงานเรื่อง ไกยางสรางรายได เป<นโครงงานประเภทเศรษฐศาสตร/ ไดมีการทําไกยางจากเพื่อเพิ่ม
รายได และสามารถทําเป<นอาชีพเสริมได จากนั้นพวกเราไดออกแบบสอบถามโดยยึดหลักการตลาด 7 Ps โดยออกแบบ
ครั้งที่หนึ่ง เกี่ยวกับการสํารวจพฤติกรรมความตองการของผูบริโภคตอผลิตภัณฑ/ไกยาง ทําใหทราบวาสวนมากเป<นเพศ
หญิงจํานวน 174 คน และเพศชายจํานวน 126 คน มีชวงอายุที่ 10-18 ป=เป<นจํานวนมากที่ชอบบริโภคไกยางและมีอายุ
ชวงที่ 36-41 ป=เป<นจํานวนนอย ซึ่งมีอาชีพเป<นนักเรียนสวนใหญ และอาชีพเป<นขาราชการสวนนอย และสวนมากมี
รายไดเฉลี่ยตอเดือนนอยกวา 3000 บาท สวนนอยมีรายไดเฉลี่ยตอเดือนที่ 7001-9000 บาท ซึ่งเหตุผลที่ชอบบริโภคไก
ยางสวนมากเพื่อความอรอย และรูปแบบผลิตภัณฑ/ไกยางสวนมากที่นิยมบริโภคเป<นแบบบรรจุในกลอง รองลงมานิยม
บริโภคเป<นแบบบรรจุหอดวยพลาสติก ซึ่งกลิ่นไกยางที่ชอบบริโภคสวนมากกลิ่นสมุนไพร และสวนนอยกลิ่นไกยางที่ชอบ
บริโภคคือกลิ่นดอกไม ซึ่งในความคิดเห็นเกี่ยวกับไกยางสวนมากคิดวาเป<นผลิตภัณฑ/ใหมที่นาบริโภค ถาหากมีการวาง
จําหนายไกยางจํานวน 243 คนสนใจซื้อ จํานวนเงินที่จะซื้อไกยางในแตละครั้งสวนมากอยูที่ 100 บาท และคุณสมบัติที่
ใชพิจารณาในการตัดสินใจซื้อสวนมากเป<นคุณภาพ ซึ่งป0จจัยที่มีอิทธิพลตอการเลือกซื้อไกยางจํานวนมากเกิดจากตัวเรา
เอง ขณะในการทําไกยางก็มีอุปสรรคป0ญหาก็คือ ผูบริโภคมีความชอบที่ตางกัน พวกเราไดลองทําไกยางเรื่อยๆจน
สามารถแกไขป0ญหาไดก็คือ ไดคิดทําไกยางขึ้นมาสองสูตรคือ สูตรพริกไทยดํา และสูตรตะไคร สวนวัตถุการทําก็
เหมือนเดิม จากนั้นไดมีการออกแบบครั้งที่สองการสํารวจพฤติกรรมความตองการของผูบริโภค เพื่อตองการทราบขอมูลที่
ผูบริโภคกลุมเปoาหมายพอใจหรือไมอยางไรในการเลือกบริโภคผลิตภัณฑ/ไกยาง โดยการแจกแบบสอบถามการสํารวจ
ความพึงพอใจผลิตภัณฑ/หลังจากไดบริโภคไกยาง เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ/ไกยางตามความตองการของผูบริโภคเพื่อนําขอมูล
ที่ไดหรือขอมูลความตองการเกี่ยวกับการพัฒนาผลิตภัณฑ/ที่ผูบริโภคตองการ นํากลับมาแกไขและพัฒนาผลิตภัณฑ/ใหดี
ขึ้น พรอมกับการแจกผลิตภัณฑ/ไกยางสูตรตางๆเพื่อใหผูบริโภคไดทดลองบริโภคกอนเพื่อสํารวจความแนใจกอนมีการขาย
ผลิตภัณฑ/ไกยางเพื่อรายไดเสริม จากผลของแบบสอบถามการสํารวจพฤติกรรมความตองการของผูบริโภค หลังจากได
บริโภคไกยาง เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ/ไกยางตามความตองการของผูบริโภคโดยเนนกลุมเปoาหมายผูบริโภคในชวงอายุ 10-
18 ป=พบวามีความสนใจผลิตภัณฑ/ไกยางสูตรตะไคร รองลงมาเป<นไกยางสูตรดั้งเดิม และสวนนอยชอบไกยางสูตร
พริกไทยดํา
สวนบรรจุภัณฑ/ผูบริโภคเห็นดวยอยางยิ่งในเรื่องการหอบรรจุภัณฑ/ในกลอง สวนมากผูบริโภคมีความพึงพอใจ
อยางมากกับผลิตภัณฑ/ไกยางเพราะเป<นผลิตภัณฑ/ที่ใหมนาบริโภค ถาหากมีการวางจําหนายผลิตภัณฑ/ไกยางสวนมาก
สนใจที่จะซื้อ และไดรับความรวมมือจากการทําแบบสอบถามทั้งสองครั้ง โดยผูบริโภคผลิตภัณฑ/ไดมีขอเสนอแนะหรือ
ขอคิดดีๆมาใหกลุมพวกเราไดนํามาพัฒนาผลิตภัณฑ/ไกยาง เชน พยายามสูตอไป รสชาติพอดีใชได อรอยมาก ถามีการ
ทําไกยางใหมีบริโภคฟรีกอน ยินดีสนับสนุนในผลิตภัณฑ/ เป<นการทําไกยางจากวัตถุดิบธรรมชาติมีความปลอดภัย
ผลิตภัณฑ/นาบริโภคสะอาดปลอดภัย และบริโภคแลวไมมีผลขางเคียง ซึ่งจากขอเสนอแนะทั้งหมดนี้ เป<นการพูดให
กําลังใจ รวมทั้งของที่ควรปฏิบัติ ตองขอขอบพระคุณทุกๆทานที่ใหความรวมมือในการตอบแบบสอบถามทั้งสองครั้ง
18
7. แจ)วไก)ย)าง
ชุมชนดงแคนใหญเป<นชุมชนขนาดใหญชุมชนหนึ่ง ที่มีการนําไกมาประกอบเป<นอาชีพ โดยทําไกยางบานแคน
ป0จจุบันไกยางบานแคนเป<นสินคา OTOP ขึ้นชื่อ การที่จะมีรถชาติอรอยมากยิ่งขึ้นนั้น สวนหนึ่งก็มาจากการทําน้ําจิ้ม ซึ่ง
ในชุมชนดงแคนใหญมีน้ําจิ้มเพียงสูตรเดียว น้ําจิ้มถือวาเป<นเครื่องจิ้มปรุงรสที่ทําใหอาหารมีรสชาติอรอยมากขึ้น พวกเรา
จึงคิดคนสูตรน้ําจิ้มขึ้นมา 6 สูตร เพื่อมาตอยอดกับคนในชุมชนใกลเคียง คือ สูตรที่ 1 น้ําจิ้มแจวขา สูตรที่ 2 น้ําจิ้มหวาน
และสูตรที่ 3 น้ําจิ้มแจวแบบไทยๆ สูตร4 น้ําจิ้มแจวพื้นบาน สูตร5 น้ําจิ้มแจวมะขาม สูตร6น้ําจิ้มแจวปลารา แลวคัดจาก
6สูตรใหเหลือเพียง3สูตร โดยทําแบบสอบถามความพึงพอใจ เพื่อเพิ่มน้ําจิ้มใหหลากหลายรสชาติ
จากการทดลองพวกเราไดศึกษาการทําน้ําจิ้มไก เพื่อใชในการประกอบอาชีพหรือตอยอดได
8. อาชีพขายไก)ย)างของคนในชุมชนบ*านดงแคนใหญ)
จากการศึกษาโครงงานเรื่อง อาชีพขายไกยางของคนในชุมชนบานดงแคนใหญ ทางกลุมของผูศึกษา มีวัตถุประสงค/ใน
การศึกษา คือ1. เพื่อศึกษาอาชีพขายไกยางของคนในชุมชนบานดงแคนใหญ 2. เพื่อศึกษาผลกระทบที่เกิดขึ้นหลังจากที่ไกยาง
ของชุมชนไดเป<นผลิตภัณฑ/โอท็อบของชุมชน คือ การสัมภาษณ/เพื่อหาประวัติความเป<นมาของไกยางคําตอบวัตถุประสงค/ขอที่
1 การออกแบบสอบเพื่อหาคําตอบวัตถุประสงค/ขอที่ 1-2 จากผลการศึกษาสรุปไดวา นางเกง บุญเฉลียวเป<นคนบานกอก
ตําบลไทย อําเภอเขื่องในจังหวัดอุบลราชธานีและยายแหลม ยายฝcอ เป<นคนบานกอก ตําบลไทย อําเภอเขื่องใน จังหวัด
อุบลราชธานี เขามาอยูบานดงแคนใหญ เมื่อป= พ.ศ. 2495 มาไดสามีที่บานดงแคนใหญแตกอนจะมีรถสายทาง “รถสายันต/”
สาย25 กรุงเทพ-อุบลหรือรถบขส.ในป0จจุบัน รถคันนี้จะออกจากบขส.อุบลราชธานีประมาณ 06.00น. พอมาถึงบานดงแคน
ใหญก็จะเชาผูโดยสารก็จะหิวขาวพอดีแตกอนจะไมคอยมีอะไรขาย ยายเกง ยายแหลม ยายฝcอจึงพากันขายไกยางไดนําเอา
สูตรไกยางที่ตนมีมาขายใชชื่อรานวา “ไกยางบานแคนยกลอ”เมื่อป= พ.ศ.2511 แตกอนจะขายในราคาไมละ10บาทคือไมใหญ
ไมเล็กขายในราคา 1บาท หมักใสเกลือ พริกไทยและกะเทียม เป<นรสชาติที่ทุกคนชื่นชอบ ลูกคาก็เริ่มเยอะมากขึ้นขายดีมากขึ้น
ญาติพี่นองและคนบานดงแคนใหญเห็นวาขายดีและมีรายไดเยอะจึงมาเปeดรานขายไกยางเพิ่มขึ้นนํามาในชีวิตประจําวัน และ
ผูใหขอมูลเพศของผูใหขอมูล/คนในชุมชนเพศหญิงมีมากที่สุด คิดเป<นรอยละ 83.33% และเพศชายคิดเป<นรอยละ 16.66%
ชวงอายุของผูใหขอมูล/คนในชุมชนมีอายุอยูชวงระหวาง 36-45% ป= มากที่สุดคิดเป<นรอยละ 73.33% รองลงมาอายุชวง
ระหวาง56ป= คิดเป<นรอยละ26.66%อายุของผูใหขอมูล/ผูประกอบกิจการขายไกยางอยูชวงระหวาง 46-55 ป= มากที่สุดคิดเป<น
รอยละ60.0%รองลงมาอายุชวงระหวาง 36-45 ป= คิดเป<นรอยละ 40.0% ระดับการศึกษาของผูใหขอมูลระดับประถมศึกษา
มากที่สุดคิดเป<นรอยละ 63.33% รองลงมาระดับมัธยมศึกษาคิดเป<นรอยละ 26.66% อับดับสุดทายคือระดับปริญญาตรี คิด
เป<นรอยละ10%
จากการออกแบบสอบถามหากเราตองการที่จะรูถึงประวัติไกยางบานดงแคนใหญผูกรอกแบบสอบถามตองการการ
ตอบแบบสอบถามปลายเปeด ตองการทราบเกี่ยวประวัติไกยางบานดงแคนใหญ เห็นความสําคัญของไกยางดงแคนใหญ
โครงงานนี้มีประโยชน/ตอผูอื่นโดย ทําใหรูเรื่องประวัติอาชีพขายไกยางของคนในชุมชนบานดงแคนใหญ
19
9. การเลี้ยงไก)
จากการทดลองเลี้ยงไกพันธุ/เนื้อ ชนิดเดียวกับที่ชุมชนดงแคนใหญนํามาใชในการปeyงเป<นไกยางบานแคน ที่เป<นสิ้น
คาโอทอป เป<นระยะเวลา 4 เดือน และสังเกตการณ/เจริญเติบโตการชั่งน้ําหนักของไก เดือนละครั้งโดยใชสูตรอาหารที่แตกตาง
กัน และมีการควบคุมตัวแปรตนอยาดี จากผลการทดลองพบวา หัวอาหารที่ขายตามทองตลาดจะเลี้ยงไกไดเจริญเติบโต ดีกวา
อาหารที่ผสมเอง เพราะอาหารที่ซื้อตามทองตลาดจะมีสารอาหารครบมากกวาที่เราผสมเอง
จากการทดลองพบวาถาตองการลดตนทุนในการซื้ออาหารไก เราก็สามารถทําได และยังทําใหไกของเรามีการ
เจริญเติบโตไดตามปกติ ซึ่งถาตองการไกที่มีคุณภาพสมบูรณ/แข็งแรง จากการทดลองอาหาร 3 สูตรผสมเอง ระหวาง ขาว
ปลายผสมขาวโพด หัวอาหารผสมขาวโพด และขาวปลายอยางเดียว ในอันตราสวน 1: 1 พบวา หัวอาหารผสมขาวโพด ทําให
ไกมีการเจริญเติบโดดีกวาสูตรอื่นๆ แตที่การทดลองพบวาขาวปลายไมเหมาะที่จะนํามาเป<นอาหารของไกพันธุ/เนื้อ เพราะไกไม
คอยกินอาหารชนิดนี้ และการเลี้ยงไกจะตองมีการดูแลเป<นพิเศษ เพราะไกพันธุ/จะไมทนตองโรค ถาอากาศรอนๆจะรูสึกกะวน
กระวายและดื่มน้ํามาก
10. เตาเผาถ)าน
ในการทดลองการเผาถานโดยใชถัง 50 ลิตรโดยมีการควบคุมเวลาจากเตาเผาถาน 2 เตา เตาแรกจะมีทอควัน 1 ทอ
และเตาที่สองจะมีทอควัน2ทอจากนั้นชั่งน้ําหนักขงฝcนที่อยูในเตาเมื่อทําการชั่งแลวผลที่ไดคือ เตาแรกจะมีน้ําหนัก 23
กิโลกรัมและเตาที่สองชั่งได 17 กิโลกรัมโดยทดลองในเวลาเดียวกัน 20 นที
ดังนั้น จากการทดลองการเผาถานที่เหมาะสมที่สุด คือ เตาแรกมีทอควัน1ทอที่สามารถเผาถานที่มีคุณภาพไดดีกวา
เตาที่สองเพราะเมื่อเรานําถานออกมาจากเตาแลวพบวาถานเตาแรกมีการเผาไดทั่วถึงสวนเตาที่สองมีการเผาไหมเป<นบาง
สวน
จากการทดลองสาเหตุที่สองรูไดปริมาณถายนอยกวา 1 รูเพราะวาในการเผาไหมไมตองใชปริมาณออกซิเจน จึงทํา
ใหออกซิเจนเขาไปในเตาไดงายกวาหนึ่งรู จึงทําใหการเผาไหมสมบูรณ/ในเวลาที่เทากัน เตาสองรูปจึงไดปริมาณนอยกวา
เตาหนึ่งรู แตถาตองการถานไมที่มากกวาเดิมเราก็สามารถแกไดโดยปeดหนาตาใหเร็วกวาเตาชนิดหนึ่งรู ก็จะไดปริมาณ
ถานที่มากขึ้น
20
ภาคผนวก
21
รายชื่อคณะครู นักเรียนเพาะพันธุปญญา ป3การศึกษา 2558
โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ผู*บริหาร
1. นายชาติชาย สิงห/พรหมสาร ผูอํานวยการโรงเรียน
2. นายเชิดชัย สิงห/คิบุตร
ครูที่ปรึกษาร)วมโครงการ
1 นายเดชมณี เนาวโรจน/ ครูกลุมวิชา วิทยาศาสตร/ มือถือ 0981049766
2 นางสาคร ทองเทพ ครูกลุมวิชา วิทยาศาสตร/ มือถือ 0854106857
3 นางสาวยาใจ เจริญพงษ/ ครูกลุมวิชา วิทยาศาสตร/ มือถือ 0862506414
4 นางสาวแสงเดือน บกนอย ครูกลุมวิชา วิทยาศาสตร/ มือถือ 0872463509
5 นายกิตติพงษ/ บุญสาร ครูกลุมวิชา วิทยาศาสตร/ มือถือ 0883758721
6 นางสาวอรอุมา ดวงเงิน ครูกลุมวิชา สังคมศึกษาฯ มือถือ -
7 นางสาวกิตติมา สาระรักษ/ ครูกลุมวิชา สังคมศึกษาฯ มือถือ 0801705406
8 นางนุชนาฏ โชติสุวรรณ ครูกลุมวิชา วิทยาศาสตร/ มือถือ 0847524758
วิทยากรทองถิ่น
1. นายถวิล บุญสาร
22
นักเรียนร)วมโครงการเพาะพันธุปญญา ชั้นมัธยมศึกษาป3ที่ 5/2 ป3การศึกษา 2559
เลขที่ ชื่อ-สกุล ฉายาในเพาะพันธุ/ป0ญญา
1 นายอภิรักษ/ หลักคํา
2 นายทิวา จารึกธรรม
3 นายธนาคาร รวมธรรม
4 นายมงคลธรรม สายโสดา
5 นายมนัสศักดิ์ รวมธรรม
6 นางสาวกชมน สังข/ทอง
7 นางสาวธัญญลักษณ/ ไทสีลา
8 นางสาวสุภาพันธ/ เพียแกนแกว
9 นางสาวเสาวลักษณ/ ทินบุตร
10 นางสาวอมิทตรา ศิริดล
11 นางสาวฮัสวานี หลักคํา
12 นายคิรากร สีงาม
13 นายณัฐเดช จันทร/ดง
14 นายธราธร กลมเกลียว
15 นางสาวดวงดี ยืนสุข
16 นางสาวเบญวลี บุงทอง
17 นางสาวเสาวณี เอนกบุญ
18 นายกฤษฏา อาจไธสงค/
19 นายเจนณรงค/ สุตะคาน
20 นางสาวเจนจิรา นาหลู
21 นางสาวทิวาพร แกววันนา
22 นางสาวธัญญพร ทะเสนฮด
23 นางสาวเพ็ญนภา ไกยเวช
24 นางสาวโสภิดา บุญจรัส
25 นางสาวอันธิยา ทองเจียว
26 นางสาวสุพรรณิกา สมจิตร
27 นางสาวอรวรา สราญรมย/
28 นายปริญญา นครไชย
29 นางสาวดวงลดา มุงงาม
30 นางสาวผกาวดี กองดวง
31 นางสาวมินตรา เยี่ยงอยาง
32 นายจิรายุทธ อินทร/เอี่ยม
33 นายปฏิภาณ เผือกไธสง
34 นายวีระวุฒิ เมฆมล
35 นางสาวอโนทัย ภาคะ
23
Poster / เอกสารการนําเสนองานต)าง ๆ
24
25
รายงานการประชาสัมพันธ : www.facebook.com/เพาะพันธุปญญา โรงเรียนสมเด็จพระ
ญาณสังวร ในพระสังฆราชุปถัมภ
26
สัญญาที่ RDG5740040/59-11
โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ
ชุดโครงงาน ไก)ย)างบ*านแคน
รายงานสรุปการเงิน
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ชื่อผู*ดูแลโครงงาน นายเดชมณี เนาวโรจน/
รายงานในช)วงตั้งแต)วันที่ 2 ธันวาคม 2559 ถึงวันที่ 31 มีนาคม 2560
หมายเหตุ เป<นรายงานสรุปการเงินรวมของทุกโครงงานยอย โดยยึดถืองบประมาณรวมตามเอกสารแนบ
หมายเลข 1/1
รายจาย
หมวดตาม
สัญญา
รายจ)ายสะสม
จากรายงาน
ครั้งก)อน A
ค)าใช*จ)ายงวด
ปจจุบัน B
รวมรายจ)าย
สะสมจนถึง
ปจจุบัน
C= A+B
งบประมาณ
ที่ตั้งไว*ตาม
สัญญา
D*
คงเหลือ
(หรือเกิน)
E=D-C
1. คาตอบแทน
หรือคาประกัน
คุณภาพ
10000 0
2. คาวัสดุ
อุปกรณ/
20000 0
3. คาใชสอย 33000 0
รวมทั้งสิ้น 63000 0
* นํามาจากเอกสารแนบหมายเลข 1/1
จํานวนเงินที่ไดรับและจํานวนเงินคงเหลือ
จํานวนเงินที่ได*รับ จํานวนเงิน วันที่ได*รับ ค)าใช*จ)าย จํานวน
งวดที่ 1 50400 งวดที่ 1 50400
งวดที่ 2 12600 งวดที่ 2 12600
ดอกเบี้ย ครั้งที่ 1
ดอกเบี้ย ครั้งที่ 2
รวมรายรับ 63000 รวมรายจาย 63000
27
สัญญาที่ RDG5740040/59-11
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
เรื1อง วิธีการย่างไก่
อาจารย์ที1ปรึกษาโครงงาน
นางสาว ยาใจ เจริญพงษ์
คณะผู้วิจัย(นักเรียน)
นาย ธราธร กลมเกลียว
นางสาว เสาวณี อเนกบุญ
นางสาว ฮัสวานี หลักคํา
สนับสนุนโดยสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย(สกว)
และ บมจ.ธนาคารกสิกรไทย
ชุดโครงการ “เพาะพันธุ์ปัญญา (พัฒนายุววิจัย)”
28
กิตติกรรมประกาศ
ในการจัดทําโครงงานเรื่อง วิธีการยางไก ในครั้งนี้ สําเร็จลุลวงได ตองขอกราบขอบพระคุณ
นายชาติชาย สิงห/พรหมสาร ผูอํานวยการโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ/ นายเชิดชัย
สิงห/คิบุตร รองผูอํานวยการโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ/ ในการสนับสนุนและ
สงเสริมใหนักเรียนมีการพัฒนาทักษะการคิด ใหคําชี้แนะและอํานวยความสะดวกในการทําโครงงานครั้งนี้
กราบขอบพระคุณ คุณครูเดชมณี เนาวโรจน/ คุณครู ยาใจ เจริญพงษ/ ที่ใหคําปรึกษาดูแล แนะนําและ
แกไขขอบกพรองในการโครงงานในทุกๆดาน
กราบขอบพระคุณคระครูและบุคลาการทางการศึกษาและ สมาชิกในครอบครัวที่คอยชวยเหลือในการ
ทําโครงงาน อีกทั้งเพื่อนนักเรียน ที่คอยชวยเหลือและใหกําลังใจจนกระทั่งโครงงานสําเร็จ ขอขอบคุณทุกทาน
ที่มีสวนเกี่ยวของใหงานบรรลุตามวัตถุประสงค/
คณะผูจัดทํา
29
บทคัดยอ
คําสําคัญ วิธีการยางไก
นักเรียนผูทําโครงงาน
1.นาย ธราธร กลมเกลียว
2.นางสาว เสาวณี อเนกบุญ
3.นางสาว ฮัสวานี หลักคํา
ครูที่ปรึกษา
คนที่ ชื่อ-สกุล สอนกลุมสาระ โทรศัพท/ อีเมล/
1 นางสาว ยาใจ เจริญพงธ/ วิทยาศาสตร/
โครงงานเพาะพันธุ/ป0ญญาไดทําการศึกษาเรื่องวิธีการยางไกเพื่อการศึกษาความสุกของไก
ในการวัดความสุขของการยางไกทั้ง 3 ชุดการทดลอง วัดโดยการใชมืดแลลงบนเนื้อไกที่ยางแลวจากนั้นใชมือ
กดดูสังเกตดูวาไกชุดไหนไมมีเลือดซึมออกมา ในการยางใชเวลายางดานละ 15นาที
ชุดที่1 ไกที่หอดวยกระดาษฟรอยด/ไมมีเลือดซึมออกมาเมื่อเอามือกด
ชุดที่2,3 ไกมีเลือดซึมออกมาเมือเอามือกด
ดังนั้นจากการทดลอง วิธีการยางไกที่เหมาะสมที่สุดคือ วิธีการยางไกชุดที่1 การยางไกแบบหอดวย
กระดาษฟรอยด/ เนื่องจากกระดาษฟรอยด/เก็บความรอนไดดี จึงทําใหไกสุกภายในเวลา 15นาที ซึ่งใชเวลาใน
การยางนอยกวาชุดที่2และ3
30
บทนํา
ป0จจุบันในชุมชนมีการเลี้ยงไกเพื่อความเพลิดเพลิน เพื่อหารายไดและบางทองถิ่นก็ลี้ยงเพื่อ
การพนันแตในชุมชนดงแคนใหญซึ่งเป<นที่ตั้งของสถานศึกษาโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูป
ถัมภ/ เขาสามารถพลิกวิกฤตใหเป<นโอกาสโดยหันมาขายไกยางเพื่อเป<นอาชีพเสริมหลังจากประกอบอาชีพทํา
นาคนสวนมากจะรูจักในชื่อไกยางบานแคนหรือไกยางบานดงแคนใหญ ในอดีตนั้นมีเพียงไมกี่รานที่ขายไกยาง
แตในป0จจุบันนี้ยิ่งมีจํานวนเพิ่มมากขึ้นทุกวันและแตละรานมีกลยุทธ/การขายที่แตกตางกัน ดังนั้นผูวิจัยมีความ
สนใจศึกษาระยะเวลากับการยางไกที่ทําใหสุกเร็วเหมาะกับความตองการของตลาดเพราะสังเกตเห็นวาการยาง
ไกของแตละรานสุกบางไมสุกบางทําใหผูบริโภคเสียความรูสึกอคติกับไกยางบานแคน
ดังนั้นผูวิจัยโครงงานจึงไดทําวิจัยโครงงานเรื่องวิธีการยางไกเพื่อใหทราบเวลาที่เหมาะสมใน
การยางที่ทําใหไกสุกเพื่อใหเกิดประโยชน/แกผูศึกษาอยางสูงสุด
วัตถุประสงค
เพื่อศึกษาทดลองวิธีการยางไกที่ใชเวลานอยที่สุดในการยางโดยกําหนดอยู3ชุดคือ
ชุดที่1การยางไกที่หอดวยกระดาษฟรอยด/
ชุดที่2การยางไกโดยใชชอนซอมจิ้มลงบนเนื้อไก
ชุดที่3ไกธรรมดาที่ไมหอดยกระดาษฟรอยด/และไมผานการใชชอนซอมจิ้มลงบนเนื้อไก
ตัวแปรและสมมุติฐานของโครงงาน
สมมุติฐาน วิธีการยางไกที่หอดวยกระดาษฟรอยด/จะทําใหไกสุกเร็วกวาการยางไกโดยใชชอนสอมจิ้มลง
บนเนื้อไก และ การยางไกธรรมดาที่ไมหอดยกระดาษฟรอยด/และไมผานการใชชอนสอมจิ้มลงบนเนื้อไก
ตัวแปร
ตัวแปรอิสระ (ตัวแปรตน ) ไดแก วิธีการยางไก
ตัวแปรตาม ไดแก ความสุก ระยะเวลาการยาง
ตัวแปรควบคุม ไดแก ขนาดของไกยาง สายพันธุ/ของไก ขนาดของไมเสียบไก ระยะเวลาการหมัก ปริมาณ
เครื่องปรุง
โครงงานมีตัวแปรตอไปนี้ และแสดงแผนผังเหตุ-ผล ในรูปที่1
ยางไก
ชนิดไก ไกยาง
ความสุก
เวลา
เวลา
ห่อไก่แล้วย่าง
ทําให้ไก่เป็นรูพรุนแล้วค่อยย่าง
ย่างแบบธรรมดา
31
แนวคิดและทฤษฏีที่เกี่ยวข*อง
ไกยาง เป<นอาหารยอดนิยมของคนไทย ใชรับประทานไดตั้งแตอาหารจานหลัก อาหารวาง อาหารเรียก
น้ํายอย หรือกับแกลม ซึ่งในแตละพื้นที่จะมีสูตรเฉพาะแตกตางกันออกไป แตสวนใหญมักจะนิยมทําใหหนัง
กรอบ เนื้อนุม และมีความหอมจากเครื่องเทศ โดยรับประทานกับขาวเหนียว นอกจากนี้อาจมีการปรุงรส
เพิ่มเติม เชน ทาไกดวยขมิ้น หรือทําเป<น ไกยางนมสด ไกยางน้ําผึ้ง เป<นตน
ข*อมูลเกี่ยวกับไก)ย)าง
ขนาด: สวนใหญจะมีน้ําหนักประมาณ2-3 กิโลกรัมและตัวโตเต็มที่ 25-30 เซนติเมตร
สี: มีหลากหลายสี เชน สีแดง สีขาว สีเขียว
อาหาร: สวนใหญแลวจะรับประทานอาหารอาทิเชน ขาวปลาย รํา และผักเป<นตน
สถานที่อยูอาศัย: พบไดตามบริเวณทั่วไป
การขยายพันธุ/: เป<นการปฏิสนธิซึ่งไกสามารถมีลูกไดตลอดป=
การนําไปใชประโยชน/:
-เลี้ยงเพื่อความเพลิดเพลิน
-ใชสําหรับนํามาเป<นอาหาร
-ใชในการประกอบพิธีกรรมตามความเชื่อของชาวบาน
อุปกรณ/และวิธีการทดลอง
-ไมหนีบไก2ชิ้น ยาว30ซ.ม. เสนผาศูนย/กลาง 1.5
-นาฬิกาจับเวลา 1 อัน
-ไก1ตัว น้ําหนัก1.5 ก.ก.
-เครื่องชั่งน้ําหนัก
วิธีการทํา
1.นําไกไปหมัก
2.นําไกไปยาง(โดยเสียบไมเสียบไกแลว)
2.1.นําไกไปยางโดยหอดวยกระดาษฟรอยด/
2.2 นําไกไปยางโดยทําใหไกเป<นรูพรุนทําใหไกเป<นรูพรุน
2.3นําไกไปยางโดยยางแบบธรรมดา
3.นําไกที่เตรียมไวทั้ง3มายาง
4.จับเวลาในการยาง
32
ผลการวิจัย
จากการทดลอง วิธีการยางไกที่เหมาะสมที่สุดคือ วิธีการยางไกชุดที่1 การยางไกแบบหอดวยกระดาษ
ฟรอยด/ เนื่องจากกระดาษฟรอยด/เก็บความรอนไดดี จึงทําใหไกสุกภายในเวลา 15นาที ซึ่งใชเวลาในการยาง
นอยกวาชุดที่2และ3
สรุปตาราง : วิธีการย)างไก)
เวลาการยางไก
(นาที)
ผลการทดลองที่สังเกตได
ชุดที่1 ชุดที่2 ชุดที่3
15นาที จากเดิมกระดาษฟรอยด/มีสีเงิน
จากนั้นไดทําการเริ่มยางผานไป 15
นาที กระดาษฟรอยด/เริ่มมีการ
เปลี่ยนเป<นสีขาวพอเปeดกระดาฟรอย
ดืออกดูปรากฏวาไกมีสีเหลืองออน มี
น้ํามันของไกที่ซึมออกมาอยูใน
กระดาษฟรอยด/ จากนั้นใชมีดแล
และใชมือกดดูปรากฏวาไมมีเลือดซึม
ออกมา
น้ํามันไกเริ่มออกไกมีการ
เปลี่ยนสีนาตาลอมสม
หนังไกเริ่มเกรียมแตพอ
แลเนื้อแลวใชมือจิ้มดู
ปรากฏวายังมีเลือดซึม
อยูเล็กนอย
ไกเริ่มเปลี่ยนเป<นสี
น้ําตาลออน จากนั้นได
ทําการแลเนื้อแลวใช
มือจิ้มปรากฏวายังมี
เลือดซึมออกมา
30นาที ไกมีสีเหลืองออกน้ําตาลและสุกพอดี ไกเปลี่ยนเป<นสีน้ําตาล
และสุกในที่สุด
ไกมีการเปลี่ยนเป<นสี
น้ําตาลเขมและสุกใน
ที่สุด
*หมายเหตุ 1.การยางไกโดยการหอดวยกระดาษฟรอยด/ (ชุดที่1)
2.การยางโดยการใชชอนซอมจิ้มลงบนเนื้อไกให
เป<นรูพรุน (ชุดที่2)
3.การยางไกแบบธรรมดา โดยที่ไมหอกระดาษฟรอยด/และไมผานการใชชอนซอมจิ้มลงบนเนื้อ
ไกใหเป<นรูพรุน(ชุดที่3)
33
กราฟ
วิธีการย)างไก)ชุดที่ 1 คือ การยางไกโดยการหอดวยกระดาษฟรอยด/
*หมายเหตุ2 แกนYคือ การเปลี่ยนแปลงสีบนเนื้อไก
หมายเลข 1 คือ สีขาว
หมายเลข 2 คือ สีเหลืองน้ําตาล
หมายเลข 3 คือ สีน้ําตาลออน
หมายเลข 4 คือ สีน้ําตาลสม
หมายเลข 5 คือ สีน้ําตาลเขม
15 นาที 30 นาที
0
0.5
1
1.5
2
2.5
ชุดที 1
ชุดที1 1
34
ชุดที่ 2 คือ การยางโดยการใชชอนซอมจิ้มลงบนเนื้อไกใหเป<นรูพรุน
*หมายเหตุ2 แกนYคือ การเปลี่ยนแปลงสีบนเนื้อไก
หมายเลข 1 คือ สีขาว
หมายเลข 2 คือ สีเหลืองน้ําตาล
หมายเลข 3 คือ สีน้ําตาลออน
หมายเลข 4 คือ สีน้ําตาลสม
หมายเลข 5 คือ สีน้ําตาลเขม
15 นาที 30 นาที
0
1
2
3
4
5
6
ชุดที 2
ชุดที1 2
35
ชุดที่ 3 คือ การยางไกแบบธรรมดา โดยที่ไมหอกระดาษฟรอยด/และไมผานการใชชอนซอมจิ้มลงบนเนื้อไกให
เป<นรูพรุน
*หมายเหตุ2 แกนYคือ การเปลี่ยนแปลงสีบนเนื้อไก
หมายเลข 1 คือ สีขาว
หมายเลข 2 คือ สีเหลืองน้ําตาล
หมายเลข 3 คือ สีน้ําตาลออน
หมายเลข 4 คือ สีน้ําตาลสม
หมายเลข 5 คือ สีน้ําตาลเขม
15 นาที 30 นาที
0
1
2
3
4
5
6
ชุดที 3
ชุดที1 3
36
สรุปการเปลียบเทียบทั้ง 3ชุด
กราฟเปลียบเทียบการย)างไก)แต)ละชุด
*หมายเหตุ1 ชุดที่ 1 คือ การยางไกโดยการหอดวยกระดาษฟรอยด/
ชุดที่ 2 คือ การยางโดยการใชชอนซอมจิ้มลงบนเนื้อไกให
เป<นรูพรุน
ชุดที่ 3 คือ การยางไกแบบธรรมดา โดยที่ไมหอกระดาษฟรอยด/และไมผานการใชชอนซอมจิ้ม
ลงบนเนื้อไกใหเป<นรูพรุน
*หมายเหตุ2 แกนYคือ การเปลี่ยนแปลงสีบนเนื้อไก
หมายเลข 1 คือ สีขาว
หมายเลข 2 คือ สีเหลืองน้ําตาล
หมายเลข 3 คือ สีน้ําตาลออน
หมายเลข 4 คือ สีน้ําตาลสม
หมายเลข 5 คือ สีน้ําตาลเขม
0
1
2
3
4
5
6
15 นาที 30 นาที
ชุดที1 1
ชุดที1 2
ชุดที1 3
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559

More Related Content

What's hot

วารสารเล่ม 2
วารสารเล่ม 2วารสารเล่ม 2
วารสารเล่ม 2warut phungsombut
 
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี นายจักราวุธ คำทวี
 
แผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญ
แผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญแผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญ
แผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญkruprang
 
ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี Mana Suksa
 
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงครามแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงครามSuppalak Lim
 
รวมวารสาร 256
รวมวารสาร 256รวมวารสาร 256
รวมวารสาร 256Suwannee Pun
 
ข้อมูล สพม เขต 40
ข้อมูล สพม เขต 40ข้อมูล สพม เขต 40
ข้อมูล สพม เขต 40Weerachat Martluplao
 
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
วารสารประดิพัทธ์ ฉบับที่ 52
วารสารประดิพัทธ์ ฉบับที่ 52วารสารประดิพัทธ์ ฉบับที่ 52
วารสารประดิพัทธ์ ฉบับที่ 52Somdetpittayakom Spk
 
โครงร างโครงงาน
โครงร างโครงงานโครงร างโครงงาน
โครงร างโครงงานDuonghthai Thaigun
 
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)Thakhantha
 
ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์56
ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์56ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์56
ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์56จุฑารัตน์ ใจบุญ
 

What's hot (18)

วารสารเล่ม 2
วารสารเล่ม 2วารสารเล่ม 2
วารสารเล่ม 2
 
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)
 
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
 
แผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญ
แผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญแผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญ
แผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญ
 
ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
 
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
 
Warasanonline255
Warasanonline255Warasanonline255
Warasanonline255
 
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงครามแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
 
รวมวารสาร 256
รวมวารสาร 256รวมวารสาร 256
รวมวารสาร 256
 
Pranitee present tahoma
Pranitee present tahomaPranitee present tahoma
Pranitee present tahoma
 
ข้อมูล สพม เขต 40
ข้อมูล สพม เขต 40ข้อมูล สพม เขต 40
ข้อมูล สพม เขต 40
 
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)
 
วารสารประดิพัทธ์ ฉบับที่ 52
วารสารประดิพัทธ์ ฉบับที่ 52วารสารประดิพัทธ์ ฉบับที่ 52
วารสารประดิพัทธ์ ฉบับที่ 52
 
A2
A2A2
A2
 
วารสารโรงเรียน 2 2557
วารสารโรงเรียน 2 2557วารสารโรงเรียน 2 2557
วารสารโรงเรียน 2 2557
 
โครงร างโครงงาน
โครงร างโครงงานโครงร างโครงงาน
โครงร างโครงงาน
 
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)
 
ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์56
ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์56ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์56
ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์56
 

Viewers also liked

History of music videos
History of music videosHistory of music videos
History of music videosashcane
 
ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์Dnavaroj Dnaka
 
ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็กขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็กAiman Sadeeyamu
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้าdnavaroj
 
Ανακαίνιση ξενοδοχείου
Ανακαίνιση ξενοδοχείουΑνακαίνιση ξενοδοχείου
Ανακαίνιση ξενοδοχείουdomi anakainisi
 
3Com 3C400050
3Com 3C4000503Com 3C400050
3Com 3C400050savomir
 
Cocktail Party Venues Perth - Raffles Hotel
Cocktail Party Venues Perth - Raffles HotelCocktail Party Venues Perth - Raffles Hotel
Cocktail Party Venues Perth - Raffles Hotelclaricelinton
 
Boosting your SW development with Devops
Boosting your SW development with DevopsBoosting your SW development with Devops
Boosting your SW development with DevopsTimo Stordell
 
What js? Its environment
What js? Its environmentWhat js? Its environment
What js? Its environmentLucio Martinez
 
3Com 3CRVH701396A
3Com 3CRVH701396A3Com 3CRVH701396A
3Com 3CRVH701396Asavomir
 
Ez cast dongle an hdmi dongle-based tv streamer
Ez cast dongle   an hdmi dongle-based tv streamerEz cast dongle   an hdmi dongle-based tv streamer
Ez cast dongle an hdmi dongle-based tv streamerwifi ezcast dongle
 
3Com 3C10384VCX
3Com 3C10384VCX3Com 3C10384VCX
3Com 3C10384VCXsavomir
 
3Com 3C95006PS-2
3Com 3C95006PS-23Com 3C95006PS-2
3Com 3C95006PS-2savomir
 

Viewers also liked (15)

History of music videos
History of music videosHistory of music videos
History of music videos
 
ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์
 
ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็กขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
Ανακαίνιση ξενοδοχείου
Ανακαίνιση ξενοδοχείουΑνακαίνιση ξενοδοχείου
Ανακαίνιση ξενοδοχείου
 
3Com 3C400050
3Com 3C4000503Com 3C400050
3Com 3C400050
 
Cocktail Party Venues Perth - Raffles Hotel
Cocktail Party Venues Perth - Raffles HotelCocktail Party Venues Perth - Raffles Hotel
Cocktail Party Venues Perth - Raffles Hotel
 
Boosting your SW development with Devops
Boosting your SW development with DevopsBoosting your SW development with Devops
Boosting your SW development with Devops
 
What js? Its environment
What js? Its environmentWhat js? Its environment
What js? Its environment
 
3Com 3CRVH701396A
3Com 3CRVH701396A3Com 3CRVH701396A
3Com 3CRVH701396A
 
Despertar
DespertarDespertar
Despertar
 
Ez cast dongle an hdmi dongle-based tv streamer
Ez cast dongle   an hdmi dongle-based tv streamerEz cast dongle   an hdmi dongle-based tv streamer
Ez cast dongle an hdmi dongle-based tv streamer
 
3Com 3C10384VCX
3Com 3C10384VCX3Com 3C10384VCX
3Com 3C10384VCX
 
3Com 3C95006PS-2
3Com 3C95006PS-23Com 3C95006PS-2
3Com 3C95006PS-2
 

Similar to รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559

สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)dnavaroj
 
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะMontree Jareeyanuwat
 
เทศบาล5 สัณหจุฑา ทองศรีนวล
เทศบาล5   สัณหจุฑา ทองศรีนวลเทศบาล5   สัณหจุฑา ทองศรีนวล
เทศบาล5 สัณหจุฑา ทองศรีนวลsanhajutha
 
รายงานผลการดำเนินงาน กศน.เทศบาลตำบลบ้านนา
รายงานผลการดำเนินงาน กศน.เทศบาลตำบลบ้านนารายงานผลการดำเนินงาน กศน.เทศบาลตำบลบ้านนา
รายงานผลการดำเนินงาน กศน.เทศบาลตำบลบ้านนาVeerasakSaengAnan
 
สารสนเทศ 53
สารสนเทศ  53สารสนเทศ  53
สารสนเทศ 53saenphinit
 
เทศบาล5 อภิเชษฐ์ นิยมเดชา
เทศบาล5   อภิเชษฐ์  นิยมเดชาเทศบาล5   อภิเชษฐ์  นิยมเดชา
เทศบาล5 อภิเชษฐ์ นิยมเดชาapichetniyomdecha
 
เทศบาล5 สาวิตรี แสนทวี
เทศบาล5   สาวิตรี  แสนทวีเทศบาล5   สาวิตรี  แสนทวี
เทศบาล5 สาวิตรี แสนทวีsawitreesantawee
 
เทศบาล5 กมลเนตร ดิสโสภา
เทศบาล5   กมลเนตร ดิสโสภาเทศบาล5   กมลเนตร ดิสโสภา
เทศบาล5 กมลเนตร ดิสโสภาkamonnet
 
เทศบาล5 ฉัตรพิไล จันทร์ราม
เทศบาล5   ฉัตรพิไล   จันทร์รามเทศบาล5   ฉัตรพิไล   จันทร์ราม
เทศบาล5 ฉัตรพิไล จันทร์รามTooNz Chatpilai
 
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 10/61
 วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 10/61 วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 10/61
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 10/61คมสัน คงเอี่ยม
 
โรงเรียนวัดห้วยพระ sar 63
โรงเรียนวัดห้วยพระ sar 63โรงเรียนวัดห้วยพระ sar 63
โรงเรียนวัดห้วยพระ sar 63Watcharasak Chantong
 
โรงเรียนเทศบาล5(วัดหัวป้อมนอก)
โรงเรียนเทศบาล5(วัดหัวป้อมนอก)โรงเรียนเทศบาล5(วัดหัวป้อมนอก)
โรงเรียนเทศบาล5(วัดหัวป้อมนอก)TooNz Chatpilai
 
ประวัติมนตรี
ประวัติมนตรีประวัติมนตรี
ประวัติมนตรีMontree Jareeyanuwat
 
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานครmahaoath พระมหาโอ๊ท
 

Similar to รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559 (20)

สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)
 
Bestmaecharao
BestmaecharaoBestmaecharao
Bestmaecharao
 
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
 
ประวัติโรงเรียนวัดสมานประชาชน
ประวัติโรงเรียนวัดสมานประชาชนประวัติโรงเรียนวัดสมานประชาชน
ประวัติโรงเรียนวัดสมานประชาชน
 
เทศบาล5 สัณหจุฑา ทองศรีนวล
เทศบาล5   สัณหจุฑา ทองศรีนวลเทศบาล5   สัณหจุฑา ทองศรีนวล
เทศบาล5 สัณหจุฑา ทองศรีนวล
 
ร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวนร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวน
 
รายงานผลการดำเนินงาน กศน.เทศบาลตำบลบ้านนา
รายงานผลการดำเนินงาน กศน.เทศบาลตำบลบ้านนารายงานผลการดำเนินงาน กศน.เทศบาลตำบลบ้านนา
รายงานผลการดำเนินงาน กศน.เทศบาลตำบลบ้านนา
 
สารสนเทศ 53
สารสนเทศ  53สารสนเทศ  53
สารสนเทศ 53
 
เทศบาล5 อภิเชษฐ์ นิยมเดชา
เทศบาล5   อภิเชษฐ์  นิยมเดชาเทศบาล5   อภิเชษฐ์  นิยมเดชา
เทศบาล5 อภิเชษฐ์ นิยมเดชา
 
เทศบาล5 สาวิตรี แสนทวี
เทศบาล5   สาวิตรี  แสนทวีเทศบาล5   สาวิตรี  แสนทวี
เทศบาล5 สาวิตรี แสนทวี
 
เทศบาล5
เทศบาล5 เทศบาล5
เทศบาล5
 
เทศบาล5 กมลเนตร ดิสโสภา
เทศบาล5   กมลเนตร ดิสโสภาเทศบาล5   กมลเนตร ดิสโสภา
เทศบาล5 กมลเนตร ดิสโสภา
 
เทศบาล5 ฉัตรพิไล จันทร์ราม
เทศบาล5   ฉัตรพิไล   จันทร์รามเทศบาล5   ฉัตรพิไล   จันทร์ราม
เทศบาล5 ฉัตรพิไล จันทร์ราม
 
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 10/61
 วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 10/61 วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 10/61
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 10/61
 
โรงเรียนวัดห้วยพระ sar 63
โรงเรียนวัดห้วยพระ sar 63โรงเรียนวัดห้วยพระ sar 63
โรงเรียนวัดห้วยพระ sar 63
 
โรงเรียนเทศบาล5(วัดหัวป้อมนอก)
โรงเรียนเทศบาล5(วัดหัวป้อมนอก)โรงเรียนเทศบาล5(วัดหัวป้อมนอก)
โรงเรียนเทศบาล5(วัดหัวป้อมนอก)
 
ประวัติมนตรี
ประวัติมนตรีประวัติมนตรี
ประวัติมนตรี
 
เอกสารโบราณอีสาน
เอกสารโบราณอีสานเอกสารโบราณอีสาน
เอกสารโบราณอีสาน
 
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
 
จุดเน้นที่ 8
จุดเน้นที่ 8จุดเน้นที่ 8
จุดเน้นที่ 8
 

More from dnavaroj

เอกสารประกอบการอบรม Analysis
เอกสารประกอบการอบรม Analysisเอกสารประกอบการอบรม Analysis
เอกสารประกอบการอบรม Analysisdnavaroj
 
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...dnavaroj
 
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.dnavaroj
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558dnavaroj
 
Science.m.3.2
Science.m.3.2Science.m.3.2
Science.m.3.2dnavaroj
 
Science.m.3.1
Science.m.3.1Science.m.3.1
Science.m.3.1dnavaroj
 
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้dnavaroj
 
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้dnavaroj
 
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกัน
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกันการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกัน
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกันdnavaroj
 
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่าการยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่าdnavaroj
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมdnavaroj
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศdnavaroj
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5  (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5  (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงานdnavaroj
 
ธรรมะ 365 วัน....ขออนุโมทนากับเจ้าของผลงาน
ธรรมะ 365 วัน....ขออนุโมทนากับเจ้าของผลงานธรรมะ 365 วัน....ขออนุโมทนากับเจ้าของผลงาน
ธรรมะ 365 วัน....ขออนุโมทนากับเจ้าของผลงานdnavaroj
 
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1dnavaroj
 

More from dnavaroj (20)

เอกสารประกอบการอบรม Analysis
เอกสารประกอบการอบรม Analysisเอกสารประกอบการอบรม Analysis
เอกสารประกอบการอบรม Analysis
 
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
 
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
 
Science.m.3.2
Science.m.3.2Science.m.3.2
Science.m.3.2
 
Science.m.3.1
Science.m.3.1Science.m.3.1
Science.m.3.1
 
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้
 
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
 
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกัน
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกันการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกัน
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกัน
 
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่าการยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5  (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5  (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
ธรรมะ 365 วัน....ขออนุโมทนากับเจ้าของผลงาน
ธรรมะ 365 วัน....ขออนุโมทนากับเจ้าของผลงานธรรมะ 365 วัน....ขออนุโมทนากับเจ้าของผลงาน
ธรรมะ 365 วัน....ขออนุโมทนากับเจ้าของผลงาน
 
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
 

รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559

  • 2. 1 มีนาคม 2560 สารบัญ หน*า บทคัดยอ 2 บทนํา 4 การออกแบบกระบวนการเรียนรูแบบ RBL ของโรงเรียน 5 การคัดเลือกประเด็นหลัก 6 สรุปผลการดําเนินกิจกรรมโครงการเพาะพันธุ/ป0ญญาของโรงเรียน 10 เสียงสะทอนของครู นักเรียน และผูบริหาร 14 สรุปผลการดําเนินงานโครงงานยอย 10 โครงงาน 16 ภาคผนวก 21
  • 3. 2 สรุปงานประจําป3 (พฤษภาคม 2559 – มีนาคม 2560) บทคัดย)อ โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ/ ไดสมัครเขารวมโครงการเพาะพันธุ/ป0ญญา ศูนย/ พี่เลี้ยงมหาวิทาลัยอุบลราชธานี เป<นป=ที่ 3 ป=การศึกษา 2559 มีผูบริหารโรงเรียน จํานวน 2 คน ครูที่ปรึกษา โครงงาน จํานวน 8 คน มีนักเรียน ม.5/2 จํานวน 35 คน รวมกิจกรรมโครงการในครั้งนี้ โดยไดเลือกประเด็น หลัก เรื่อง ไกยางบานแคน โดยใหนักเรียนเสนอประเด็น และลงมติประชาธิปไตยเสียงขางมาก มีการนําเสนอ โครงงานยอยเกี่ยวกับไกยางบานแคน และไดรับการอนุมัติจากศูนย/พี่เลี้ยง จํานวน 10 โครงงาน และสนับสนุน งบโครงงานละ6300 บาท ดังนี้ โครงงาน ที่ ชื่อโครงงาน บูรณาการกับ โครงงานที่ ครู* สอนกลุมวิชา 1 วิธีการยางไก ทุกโครงงาน นางสาวยาใจ เจริญพงษ/ วิทยาศาสตร/ 2 การศึกษาตนทุนผลตอบแทนเปรียบเทียบกับ รายจายในครอบครัวของผูประกอบอาชีพขายไก ยางบานแคน ทุกโครงงาน นางสาวแสงเดือน บกนอย สังคมศาสตร/ 3 ถานที่ใหพลังงานมาก ทุกโครงงาน นายกิตติพงษ/ บุญสาร วิทยาศาสตร/ 4 สปาเกตตี้ผัดกระเพราไกยาง ทุกโครงงาน นางนุชนาฎ โชติสุวรรณ เศรษฐศาสตร/ 5 พฤติกรรมการซื้อและบริโภคไกยางบานแคน ตําบลดงแคนใหญ อําเภอคําเขื่อนแกว จังหวัด ยโสธร ทุกโครงงาน นางสาวแสงเดือน บกนอย สังคมศาสตร/ 6 roating chicken Inter ทุกโครงงาน นางสาวกิตติมา สาระรักษ/ เศรษฐศาสตร/ 7 แจวไกยาง ทุกโครงงาน นางสาคร ทองเทพ เศรษฐศาสตร/ 8 อาชีพขายไกยางของคนในชุมชนบานดงแคนใหญ ทุกโครงงาน นางสาวอรอุมา ดวงเงิน สังคมศาสตร/ 9 การเลี้ยงไก ทุกโครงงาน นายเดชมณี เนาวโรจน/ วิทยาศาสตร/ 10 เตาเผาถาน ทุกโครงงาน นายเดชมณี เนาวโรจน/ วิทยาศาสตร/ งบประมาณรวม (ทุกโครงการย)อย) 63,000 บาท
  • 4. 3 สรุปผลการทําโครงงาน ทั้ง 10 โครงงาน พบวา โครงงานสามารถสรุปผลไดตามสมมติฐานที่ตั้งไว จากการเขารวมโครงการเพาะพันธุ/ป0ญญาในครั้งนี้ ทําใหทั้งครูและนักเรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงตนเองอยาง มากสามารถนํามาใชกับการดําเนินชีวิตประจําวันไดเป<นอยางดี เป<นโครงการที่เกิดการเรียนรูอยางมากมายมี ทั้งทุกข/ สุข ในกระบวนการทํางาน การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นมากที่สุดของนักเรียนโครงการเพาะพันธุ/ป0ญญา โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ/ เรียงจากมากไปหานอย ไดแก 1. ทักษะการคิดวิเคราะห/ 2. มนุษย/สัมพันธ/ ทักษะทางสังคม 3. การรับฟ0งผูอื่น และ 4. ความกลาแสดงออก
  • 5. 4 บทนํา โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ/ สมัครเขารวมโครงการเพาะพันธุ/ ป0ญญา กับศูนย/พี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ตั้งแตป=การศึกษา 2557 จนถึงป=การศึกษา 2559 ป=ที่ 3 ของ การเขารวมโครงการฯ จากที่ครูไมมีความรูอะไรเลยเกี่ยวกับทักษะเพาะพันธุ/ป0ญญาจนถึงกระทั่งป=นี้คิดวาครูมี การเปลี่ยนแปลงและไดเรียนรูอยางมากจากครูดวยกันเอง โครงการเพาะพันธุ/ป0ญญาเป<นโครงการที่มีรูปแบบที่ สามารถวัดผลไดชัดเจน นักเรียนเกิดทักษะการเรียนรู โดยเฉพาะป=นี้ยุคคนไทย 4.0 โครงการนี้ก็สามารถสนอง นโยบายของรัฐบาลไดเป<นอยางดี ป=นี้ครูและนักเรียนของโรงเรียนที่รวมโครงการไดเรียนรูกระบวนการ RBL ซึ่งเป<นกระบวนการเรียนรูของนักเรียนนอกหองเรียนมีความเขาใจและทํางานเป<นระบบมากขึ้น มีการวาง แผนการทํางานทําใหงานที่ไดไมคอยมีป0ญญาและอุปสรรคเหมือนป=ที่แลว กระบวนการทํางานแบบ RBL เป<นการเรียนรู สูกระบวนการทํางาน ลงมือปฏิบัติ ทําซ้ํา วิเคราะห/เหตุ วิเคราะห/ผล จนเกิดเป<นทักษะที่จะติดตัวนักเรียนไปตลอดชีวิต
  • 6. 5 การออกแบบกระบวนการเรียนรู*แบบ RBL ของโรงเรียน(ญสส.) ป3การศึกษา 2559 โรงเรียนดําเนินการ ศูนย/พี่เลี้ยงดําเนินการ สมัครร่วมโครงการ เลือกห้อง / เลือกประเด็นหลัก แบ่งกลุ่ม ค้นคว้า / เรียนรู้ / โครงงานย่อย ศึกษาข้อมูล/สอบถาม/สัมภาษณ์ ผู้มีความรู้และประสบการณ์ อินเทอร์เน็ต ลงมือทําโครงงาน RBL / เรียนรู้ RBL วิเคราะห์ข้อมูล หลักการ สรุปผลวิจัย สิ-นสุด เอกสารตีพิมพ์ ครูกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์/สังคม จิตปัญญา ครู/นักเรียนเขียนไดอารี1 อัพเดรต facebook อัพเดรต Line อบรมการเขียนรายงาน นักเรียนสรุปผล RBL แต่ละกลุ่ม นําเสนอเค้าโครงฯ นําเสนอปิดโครงการที1ศูนย์ ม.อุบล นําเสนอปิดโครงการที1ศูนย์ ม.อุบล แสดงละครเวทีนําเสนอRBL แสดงละครเวทีนําเสนอRBL ศูนย์พี1เลี-ยงนิเทศ RBL 1 ครั-ง ร่วมปิดโครงการที1เมืองทอง กทม. อบรมการคิดวิเคราะห์ ศูนย์พี1เลี-ยง ม.อุบลฯ ศึกษาดูงาน เริ1มต้น อบรม
  • 7. 6 การคัดเลือกประเด็นหลัก(Theme) โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ/ ไดสมัครเขารวมโครงการเพาะพันธุ/ป0ญญา ศูนย/ พี่เลี้ยงมหาวิทาลัยอุบลราชธานี เป<นป=ที่ 3 ป=การศึกษา 2559 มีผูบริหารโรงเรียน จํานวน 2 คน ครูที่ปรึกษา โครงงาน จํานวน 8 คน มีนักเรียน ม.5/2 จํานวน 35 คน ในการเลือกประเด็นหลักของโรงเรียน ครูใหนักเรียน คิดหาประเด็นหลักโดยการวิพากวิจารณ/ คนควา สืบคนขอมูล ซึ่งนักเรียนไดเสนอไวหลายเรื่อง สรุปสุดทายก็ เป<นเรื่อง “ ไกยางบานแคน ” โดยใชประชามติประชาธิปไตย พื้นฐานความรูเดิมที่โรงเรียนหรือชุมชนมีอยู ไกยางบานแคน เป<นอาหารที่ขึ้นชื่อและเป<นสินคาโอท็อปที่รูจักกันดีของจังหวัดยโสธร มีสูตรเฉพาะและ กรรมวิธีที่ไมเหมือนไกยางที่ใด ๆ ชุมชนบานดงแคนใหญจึงยึดอาชีพขายไกยาง จนกระทั่งสามารถสรางเป<น อาชีพและรายไดเสริม นํารายไดเขาสูครอบครัวและชุมชนป=ละหลายหมื่นบาท มูลเหตุจูงใจใหสนใจประเด็นนี้โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ/ เป<นโรงเรียนที่ ตั้งอยูในชุมชนที่ประกอบอาชีพขายไกยางบานแคน และเห็นพฤติกรรมและรูปแบบการทําไกยาง จึงตองการ นําภูมิป0ญญาของชุมชนเผยแพรใหคนไทยไดรับรูในเรื่องไกยางบานแคน เพื่อกระตุนยอดขายและสนับสนุนการ ประกอบอาชีพของชุมชนดังกลาว การออกแบบกระบวนการเรียนรู RBL ของโรงเรียน หลังจากไดประเด็นไกยางบานแคนแลว ไดให นักเรียนคนควา สิบคนประเด็นที่จะทําโครงงาน RBL ยอยเกี่ยวกับไกยางบานแคน จํานวน 10 โครงงาน เขียน ผังเหตุผลแตละโครงงานยอย และเสนอโครงงาน RBL ยอยทั้ง 10 โครงงานเพื่อขออนุมัติ ผลปรากฏวา ไดรับ การอนุมัติโครงการ RBL จํานวน 10 โครงงานและเงินสนับสนุน 63,000 บาท
  • 9. 8 ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/ไก ไก) จัดอยูในประเภทสัตว/ป=กจําพวกนก ชื่อวิทยาศาสตร/ Gallus gallus มีหลายวงศ/ บินไดในระยะสั้น หากินตามพื้นดิน ตกไขกอนแลวจึงฟ0กเป<นตัว ตัวผูหงอนใหญและเดือยยาว เชน ไกแจ ไกอู ไกตะเภา ไกเบ ตง ไกดํา ไกนา ไกโฟม
  • 10. 9 ประวัติความไก)ย)างบ*านแคน : อาชีพขายไก)ย)างของคนในชุมชนบ*านดงแคนใหญ) มีประวัติและความเปTนมาอย)างไร นางเกง บุญเฉลียวเป<นคนบานกอก ตําบลไทย อําเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานีและยายแหลม ยายฝcอ เป<นคนบานกอก ตําบลไทย อําเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี เขามาอยูบานดงแคนใหญ เมื่อป= พ.ศ. 2495 และไดแตงงานกับสามีที่บานดงแคนใหญแตกอนจะมีรถสายทาง “รถสายันต/” สาย25 กรุงเทพ- อุบลหรือรถบขส.ในป0จจุบัน รถคันนี้จะออกจาก บขส อุบลราชธานีประมาณ 06.00น. มาถึงบานดงแคนใหญ ตอนเชาผูโดยสารก็จะหิวขาวพอดีแตกอนจะไมคอยมีอะไรขาย ยายเกง ยายแหลม ยายฝcอจึงพากันขายไกยาง และไดนําเอาสูตรไกยางที่ตนมีมาทําขายใชชื่อรานวา “ไกยางบานแคนยกลอ”เมื่อป= พ.ศ.2511 แตกอนจะขาย ในราคาไมละ10บาทคือไมใหญ ไมเล็กขายในราคา 1บาท หมักใสเกลือ พริกไทยและกะเทียม เป<นรสชาติที่ทุก คนชื่นชอบ ทําใหลูกคาเริ่มเยอะมากขึ้นขายดีมากขึ้น ญาติพี่นองและคนบานดงแคนใหญเห็นวาขายดีและมี รายไดเยอะจึงมาเปeดรานขายไกยางเพิ่มขึ้น10กวารานแตจะใชสูตรหมักไกสูตรเดียวกัน เมื่อคนซื้อก็เพิ่มขึ้น รานขายไกยางเพิ่มขึ้นบางสวนก็สืบทอดกิจการป= พ.ศ.254 5ไกบานลดนอยลงและเนื้อไมเยอะคนขายไกยางจึง หันมาใชไกพันธุ/ผสมหรือไกเนื้อจากบริษัทเบทาโกที่จะมีรถมาสงถึงหนารานจะรับในตัวละ 17บาท ราคาของ เพิ่มขึ้นไกยางจึงเพิ่มราคาเป<นตัว 35 บาทหรือ 3ตัว 100 บาท รานขายไกยางเพิ่มขึ้นเป<น 27 รานบานดงแคน ใหญติดถนนแจงสนิทและเป<นทางผาน ไกยางมีรสชาติอรอยแถมยังมีกลิ่นหอมคนที่เดินทางไปมาจึงพากันพัก รับประทานอาหารและยังซื้อไปฝากญาติพี่นองไกยางบานดงคนใหญจึงเป<นที่เลื่องลือไปไกลผูคนสนใจทําให ผูใหญในชุมชนจัดตั้งใหเป<นสินคาโอท็อป ป=พ.ศ.2552 ยังใชไกพันธุ/ผสมในการยางแตจะรับจากฟาร/มบานกลาง นาและบานหนองแปนรับมาในราคาตัวละ 65 บาท นํามายางขายในราคาตัวละ 100-120 บาท มีจํานวน 22 ราน จนถึงป0จจุบัน และนอกจากนี้แลว ความเลื่องลือของไกยางเป<นที่รูจักกันมากจึงมีคําขวัญของอําเภอคํา เขื่อนแกววา“ เมืองโบราณ ธารสองสาย ไกยางรสเด็ด แหลงผลิตขาวหอมมะลิ ”ซึ่งมีความหมายดังนี้ เมืองโบราณ หมายถึง ดงเมืองเตย บานสงเปcอย ธารสองสาย หมายถึง แมน้ําเซ แมน้ําชี ไก)ย)างรสเด็ด หมายถึง ไกยางบานดงแคนใหญ แหล)งผลิตขาวหอมมะลิ หมายถึง ไรนา ในอําเภอคําเขื่อนแกวปลูกขาวหอมมะลิ ดีที่สุดในยุคนี้
  • 11. 10 หลังจากที่ไก)ย)างของชุมชนบ*านดงแคนใหญ)ได*เปTนผลิตภัณฑโอท็อบของชุมชนแล*วส)งผลกระทบต)อ ครอบครัวผู*ขายไก)ย)างอย)างไรบ*าง ในการเกิดรานขายไกยางเพิ่มขึ้นนั้น ยอมสงผลตอชุมชนหรือบริเวณที่อยูใกลเคียง จากการลงพื้นที่นั้น ทําใหทราบวา ชุมชนบานดงแคนใหญไดรับผลกระทบจากการเพิ่มจํานวนรานขายไกยางไมวาจะเป<นผลกระทบ ทั้งทางดานบวกและดานลบ ดังจะเสนอใหทราบตอไปนี้ 3.1 ผลกระทบดานบวก คือ ทําใหคนรูจักไกยางบานแคนมากขึ้น ขายดีมากขึ้น รายไดดี มีชื่อเสียง คนที่ผานไปผานมาอุดหนุน สงผลใหคนในชุมชนมีรายไดเพิ่มมากขึ้น 3.2 ผลกระทบดานลบ คือ ในที่นี้จะสงผลกระทบดานลบตอผูประกอบการเดิม คือ เมื่อขายไดดี ราคา ดี ทําใหมีคนมาขายไกยางเพิ่มขึ้น ทําใหคนที่ขายไกยางอยูแลวมีรายไดที่เทาเดิม หรือเพิ่มเติมไมมาก ขอบคุณขอมูลจาก : กลุม RBL อาชีพขายไกยางของคนในชุมชนบานดงแคนใหญ สรุปผลการจัดกิจกรรมโครงการเพาะพันธุปญญาของโรงเรียน โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ/ ไดจัดกิจกรรมโครงการเพาพันธุ/ป0ญญา ตลอด ระยะเวลา 1 ป=การศึกษา ตั้งแตเขารวมโครงการฯ กับศูนย/มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ทําใหทั้งครูและนักเรียน เกิดการเปลี่ยนแปลงตาง ๆ อยางมากมาย ทั้งดานจิตใจ และพฤติกรรมการเรียนรูครูและนักเรียนมี ความสัมพันธ/กันอยางใกลชิด โดยนํากระบนการ RBL มาใชในกระบวนการเรียนรูของนักเรียนจนทําให นักเรียนมีความเขาใจและสามารถนําไปปรับใชกับชีวิตประจําวัน ผลจากการทํากิจกรรมที่มุงมั่นและทุมเท ทําใหเพาะพันธุ/ป0ญญา โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ/ ไดรับรางวัลจากศูนย/พี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบล ดังนี้ 1. โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ/ ไดรับรางวัล ชมเชย คลิปวิดีโอแหง การเรียนรู 2. นายธราธร กลมเกลียว ไดรับรางวัล นักเรียนเพาะพันธุ/ป0ญญาแหงป= 3. นางสาวกิตติมา สาระรักษ/ ไดรับรางวัล ครูเพาะพันธุ/ป0ญญาแหงป=
  • 15. 14 เสียงสะท*อน (Reflections) ของครู นักเรียน และผู*บริหาร เสียงสะท*อนของครู เราจะทําไดจริงหรือ ? นักเรียนจะเรียนรูเรื่องหรือเปลา ? คําถามที่ครูคนหนึ่ง ถามตัวเองเมื่อตองการ กาวขาม“ความเคยชิน”เดิมๆ เปลี่ยนสูวิธีการจัดการเรียนการสอนแนวใหม และเมื่อตองการหาคําตอบ ความยุงยากวุนวายจึงเกิดขึ้นในระบบการคิด และวิธีการทํางานของครู จากเดิมที่เคยเป<นผูสั่งการผานขั้นตอน วิธีการเรียนและสื่อการเรียนที่ครูกําหนดไวเพื่อใหนักเรียนเกิดการเรียนรู ในใตหองสี่เหลี่ยมเล็กๆบาง แหลงเรียนรูภายในโรงเรียนบาง กลายมาเป<นครูผูอํานวยการ เป<นโคชในการเรียนรูของนักเรียน โดยที่ตัวครู เริ่มตนจากการเปลี่ยนทัศนคติของตนเองที่มีตอการจัดการเรียนการสอนแบบ Research-Based Learning (RBL) จากมุมที่เคยมองวาเป<นเรื่องยาก มาเป<นมุมของการพิจารณาถึงผลดีที่นักเรียนจะไดรับเมื่อผานการเรียน ในรูปแบบดังกลาว แลวจึงเตรียมความพรอมของตนเองโดยการหาความรูเกี่ยวกับ RBL จากสื่อชนิดตางๆ และ จากศูนย/พี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี แลวจึงลงมือจัดการเรียนรูและเรียนรูที่จะพัฒนาตนเองไปพรอมกับ นักเรียน เมื่อไดลงมือทําจึงพบวา “โลกของการแสวงหาความรูนั้นกวางใหญนัก และเป!นโลกที่มีความตื่นเตน ความภาคภูมิใจรอใหคนพบอยู” ในรอบหนึ่งป=ที่ผานมา ( ป=การศึกษา ๒๕๕๙) “เรา” ครูและนักเรียนเพาะพันธ/ป0ญญาโรงเรียนสมเด็จ พระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ/ ไดคลุกคลีกอยูกับ “ไกยาง” ภูมิป0ญญาและอาชีพอันเป<นเอกลักษณ/ของ ทองถิ่น ครูพบวา นักเรียนกลาที่จะเปลี่ยนตนเองในเรื่องของการพูด กระบวนการทํางาน วิธีการศึกษาคนควา พรอมกับมีความมุงมั่นที่จะคิดหาหนทางที่สรางสรรค/ในการสงเสริมภูมิป0ญญาให “ประหยัด” สําหรับ ผูประกอบการ “เกิดประโยชน/” สําหรับตนเองและผูที่สนใจในการประกอบอาชีพดังกลาว และ “โดนใจ” เพื่อตอบสนองความตองการของกลุมลูกคา โดยการดําเนินการทั้งหมดอยูภายใตกรอบของความคิดอยางมี เหตุผล และองค/ความรูที่ไดศึกษามาเป<นอยางดี นักเรียนที่จัดอยูในกลุมเกง ไดคนพบแนวทางในการศึกษาหา ความรูที่เหมาะกับศักยภาพของตนเอง นักเรียนกลุมปานกลางพบวาเมื่อไดพยายามกับสิ่งที่ทําใหมากขึ้นก็จะ สามารถพัฒนาศักยภาพของตนเองใหดีขึ้นได นักเรียนกลุมที่เคยถูกมองวาไมเกง ไดคนพบคุณลักษณะสําคัญ ของตนเองที่พิเศษจนสามารถนํามาซึ่งความภาคภูมิใจและการยอมรับจากผูอื่นได นักเรียนทุกคนมีพัฒนาการ ในการมองโลกและชีวิตในมุมที่กวางไปกวาเดิม มากบาง นอยบางตามศักยภาพที่มี แตสิ่งเหลานั้นจะเป<นจุด เปลี่ยนสําคัญที่ทําใหนักเรียนพัฒนาตนเองไปสูจุดหมายที่ตองการไดอยางสงางาม สวนการเรียนรูและพัฒนาตนเองของครูเพาะพันธ/ป0ญญา เมื่อไดเขารวมโครงการและเรียนรูที่จะ เปลี่ยนแปลงตนเองแลวพบวา ครูที่ดีของนักเรียนนั้น การมีความรูและความชํานาญในดานวิชาการ ไมใช องค/ประกอบเดียวที่จะนําพานักเรียนไปสูเปoาหมายที่ตองการได แตการเป<นครูที่ใจกวาง รับฟ0งและทําความ เขาใจนักเรียน ครูที่คอยใหกําลังใจ ชื่นชม ใหคําปรึกษาแนะนํา ดวยคําพูด การแสดงออกที่เป<นกัลยาณมิตร และครูที่ลงมือกระทําใหนักเรียนมองเห็นถึงความตั้งใจ ความเอาใจใสในการพัฒนาตัวนักเรียนอยางเต็มกําลัง ความสามารถ นั่นตางหากคือ ครูที่นักเรียนจะมอบโอกาสใหนําพาอนาคตทางการศึกษาของเขาไปสูเปoาหมาย ที่ตองการอยางเต็มใจ “ การไดรับความไววางใจในเรื่องสําคัญของชีวิตนักเรียน และสามารถแนะนํานักเรียนให คนพบวิธีการที่จะนํามาซึ่งความสําเร็จในชีวิตได คือความภาคภูมิใจของคนที่ประกอบอาชีพครู ” ขอขอบคุณ
  • 16. 15 สํานักงานกองทุนวิจัยแหงชาติ ธนาคารกสิกรไทย ผูใหญใจดีทุกทานที่ไดจัดใหมีโครงการเพาะพันธ/ป0ญญา โครงการดีๆที่ทําใหทั้งครูและนักเรียน ไดมีจุดเปลี่ยนทางความคิด ในการที่จะพัฒนาตนเองเพื่อเป<นบุคลากรที่มี คุณภาพ พรอมที่จะเป<นกําลังสําคัญในการพัฒนาประเทศชาติตอไป เขียนโดย : นางสาวกิตติมา สาระรักษ/ เสียงสะท*อนของนักเรียน ผมรูสึกประทับใจมากที่ไดเขารวมโครงการเพาะพันธุ/ป0ญญานี้เพราะเป<นโครงการที่ทําใหผมไดทั้ง ความรู ความคิด และการกลาแสดงออกในการที่จะพูดคิดและทําสิ่งตาง ๆ ไดอยางมั่นใจมากขึ้น โครงการนี้สอนใหผมรูถึงวิธีการคิดที่มีระบบมีความคิดที่แปลกใหมและสรางสรรค/มากขึ้น ทําใหผมมี ความคิดที่กวางขึ้นและนอกจากนี้โครงการเพาะพันธุ/ป0ญญายังสามารถนํามาประยุกต/เขากับวิชาตาง ๆ ไดและ สอนในเรื่องการทํางานเป<นกลุมทําใหรูถึงบุคลิกและความสามารถของสมาชิกในกลุมอีกดวย ทําใหมีความคิดที่ ใหมขึ้น และกลาแสดงออกมากขึ้น เขียนโดย : นายธราธร กลมเกลียว เสียงสะท*อนของนักเรียน โครงการเพาะพันธุ/ป0ญญาไดใหอะไรหลายๆอยางกับฉัน ทําใหฉันทําโครงงานเป<น รูจักการคิด วิเคราะห/ คิดสังเคราะห/ จากคนที่ไมคอยชอบการทําโครงงาน ก็กลายเป<นชอบ เพราะการทําโครงการนี้ ฉันไดทั้งเรียนรูการทํางานเป<นกลุม รูจักการแกปpญหารวมกัน ทําใหเราสนิทกันมากขึ้น และเรียนรูที่จะ ชวยเหลือกัน ทําใหเรามีความกลาแสดงออก กลาที่จะคิดกลาที่จะพูด เพราะเราเป<นคนทําโครงงานจริงจริง ... ขอบคุณที่มีโครงการดีๆแบบนี้นะคะ... เขียนโดย : นางสาวอโนทัย ภาคะ เสียงสะท*อนของผู*บริหาร “ ป=ที่ 3 กับการเขารวมโครงการเพาะพันธุ/ป0ญญา ผมเห็นความมุงมั่นความตั้งใจของนักเรียน รวมทั้งคุณครูที่ปรึกษา เห็นการเปลี่ยนแปลงโดยเฉพาะความรักความสามัคคี ทักษะชีวิตการทํางานของแตละคน ในนามของฝqายบริหาร ขอขอบคุณ ครูพี่เลี้ยง นักเรียนในโครงการเพาะพันธุ/ป0ญญาที่ไดดูแลใหขอคิดในการจัดการเรียนรู โดยใชการวิจัยเป<นฐาน ลูกๆนักเรียนใน โครงการทุกคน ไดแลกเปลี่ยนเรียนรู มีทักษะกระบวนการในการเรียนรูอยางมีวิจารณญาณ สามารถเชื่อมตอการเรียนรูตลอด ชีวิต หวังเป<นอยางยิ่งวา โครงการเพาะพันธุ/ป0ญญาจะสรางกระบวนการในการคิดวิเคราะห/และเป<นพื้นฐานของนักวิจัยใน ระดับชาติตอไป ” นายชาติชาย สิงห/พรหมสาร ผูอํานวยการโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ/
  • 17. 16 สรุปผลการดําเนินโครงงานย)อ10 โครงงาน 1. วิธีการย)างไก) โครงงานเพาะพันธุ/ป0ญญาไดทําการศึกษาเรื่องวิธีการยางไกเพื่อการศึกษาความสุกของไก ในการวัดความสุขของการยางไกทั้ง 3 ชุดการทดลอง วัดโดยการใชมืดแลลงบนเนื้อไกที่ยางแลวจากนั้นใชมือกดดูสังเกต ดูวาไกชุดไหนไมมีเลือดซึมออกมา ในการยางใชเวลายางดานละ 15นาที ชุดที่1 ไกที่หอดวยกระดาษฟรอยด/ไมมีเลือดซึมออกมาเมื่อเอามือกด ชุดที่2,3 ไกมีเลือดซึมออกมาเมือเอามือกด ดังนั้นจากการทดลอง วิธีการยางไกที่เหมาะสมที่สุดคือ วิธีการยางไกชุดที่1 การยางไกแบบหอดวย กระดาษฟรอยด/ เนื่องจากกระดาษฟรอยด/เก็บความรอนไดดี จึงทําใหไกสุกภายในเวลา 15นาที ซึ่งใชเวลาในการยางนอย กวาชุดที่ 2 และ3 2. การศึกษาต*นทุนผลตอบแทนเปรียบเทียบกับรายจ)ายในครอบครัวของผู*ประกอบอาชีพขาย ไก)ย)าง บ*านแคน อาชีพขายไกยางเป<นอาชีพที่อยูคูกับชุมชนบานดงแคนใหญมานานและสืบทอดมาสูลูกหลานจนถึงป0จจุบันจึงมี คนทําอาชีพขายไกยางมากขึ้นเรื่อยตลอดแนวสองขางทางถนนแจงสนิทของบานดงแคนใหญ ต.ดงแคนใหญ อ.คําเขื่อน แกว จ.ยโสธร มีทั้งรานขนาดเล็ก ขนาดใหญ มีทั้งแบบมีจุดขายประจําและแบบวิ่งขายตามรถประจําทาง ผูศึกษาจึงมี ความสนใจในวิถีชีวิตในรอบวันของคนขายไกยาง และพัฒนาการการประกอบอาชีพขายไกยาง วารายไดที่ไดคุมกับการ ลงทุนหรือไมและในสภาวะเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงมีการเพิ่มรายไดโดยการขายสินคาอยางอื่นเสริมหรือไมอยางไร จากการทําโครงงานทําใหผูที่ประกอบอาชีพขายไกยางในชุมชนบานดงแคนใหญใหญเห็นความสําคัญของการทําบัญชี รายรับรายจายวามีการลงทุนเทาไรและไดผลกําไรกับมามากนอยเพียงใด เห็นประโยชน/และสําคัญในการคิดหาทางวาทํา อยางไรถึงจะใชเงินในกระลงทุนนอยและทําใหไดผลกําไรกลับมาใหไดมากกวาเดิมที่เคยทํากําไรไดมา 3. ถานที่ใหพลังงานมาก เนื่องจากชุมชนขายไกยาง ในการยางไกเราจะใชถานเป<นเชื้อเพลิงในการยางไกเสมอ แตบางครั้งถานที่นํามาใช ยางไกนั้น เมื่อกอไฟขึ้น จะแตก กระเด็นไปทั่ว และบางครั้งถานยังใหพลังงานนอย พวกเราจึงทําโครงงานวิจัยเกี่ยวกับ การเปรียบเทียบพลังงานจากถาน ซึ่งมีประโยชน/มาก เชน การเลือกไมมายางไก ประกอบกับชุมชนของเราที่ทําอาชีพขาย ไกยาง ซึ่งพวกเราอยากทราบวาถานไมยูคา ถานไมกระถิ่นณรงค/ และถานไมพอกนั้น ถานชนิดไหนที่สามารถใหพลังงาน มากที่สุด จากการทดลองพวกเราสังเกตการเปรียบเทียบพลังงานจากถานไมยูคา ถานไมกระถิ่นณรงค/ และถานไมพอก พบวา ถานไมยูคาสามารถใหพลังงานมากที่สุด ถานทั้ง 3 ชนิดสามารถใหพลังงานได แตจะใหพลังงานไดสูงสุดในชวง 30 นาที 4. สปาเกตตี้ผัดกระเพราไก)ย)าง โครงงานเพาะพันธุ/ป0ญญาไดทําการศึกษาเรื่อง สปาเก็ตตี้ผัดกระเพราไกยาง เพื่อการศึกษาเปรียบเทียบวาสปา เก็ตตี้ผัดกระเพราไกยางที่ผูวิจัยคิดคนสูตรของสปาเก็ตตี้ 3 สูตรนั้น สูตรใดที่จะไดรับความพึงพอใจจากผูบริโภคมากที่สุด ซึ่งในการทําสปาเก็ตตี้ผัดกระเพราไกยางนั้นเราจะนําเนื้อไกยางมาเป<นวัตถุดิบหลักในการทําสปาเก็ตตี้ผัดกระเพราไกยาง และนําเสนสปาเก็ตตี้มาผัดเขากับวัตถุดิบและเครื่องปรุงในการทําผัดกระเพราแลวนําสปาเก็ตตี้ผัดกระเพราไกยางแตละ สูตรที่เราไดทําไปทดลองกลุมตัวอยางเพื่อรับประทานแลวประเมินความพึงพอใจโดยใชแบบประเมินในการวัดผลวาสปา เก็ตตี้ผัดกระเพราไกยางสูตรใดไดรับความพึงพอใจมากที่สุดไดผลสรุปวา สปาเก็ตตี้ผัดกระเพราไกยางสูตรที่ 1 ไดรับความ พึงพอใจมากที่สุด
  • 18. 17 5. พฤติกรรมการซื้อและบริโภคไก)ย)างบ*านแคน ตําบลดงแคนใหญ) อําเภอคําเขื่อนแก*ว จังหวัดยโสธร การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค/ เพื่อศึกษาพฤติกรรมการซื้อและบริโภคไกยางบานดงแคนใหญ มีความพึงพอใจตอ การซื้อและบริโภค ตลอดจนความคิดเห็นและขอเสนอแนะตางๆ จากการซื้อและบริโภค เครื่องมือที่ใชในการวิจัยคือ แบบสอบถาม ซึ่งประกอบดวยคําถาม ประเภทกําหนดคําตอบให ประเภทตอบไดอยางเสรี และประเภทประมาณคา (Likert Scale) เนื้อหาของแบบสอบถามแบงออกเป<น 4 ตอน คือ ตอนที่ 1 คําถามเกี่ยวกับป0จจัยพื้นฐานสวนบุคคล ตอนที่ 2 คําถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการซื้อและการบริโภคไกยางบานแคน ตอนที่ 3 คําถามเกี่ยวกับความคิดเห็น ตอนที่ 4 ขอเสนอแนะตอการสงเสริมการบริโภคไกยางบานแคน ผูซื้อและบริโภคไกยางบานดงแคนใหญ มีความพึงพอใจอยางมากในการเลือกซื้อ เลือกบริโภค เนื่องจากอาหาร สะอาด มีสีสันรสชาติดี ราคาเหมาะสม เมื่อเทียบกับแหงอื่น บรรยากาศของรานสวย มีสิ่งอํานวยความสะดวก 6. roating chicken Inter ในการทําโครงงานเรื่อง ไกยางสรางรายได เป<นโครงงานประเภทเศรษฐศาสตร/ ไดมีการทําไกยางจากเพื่อเพิ่ม รายได และสามารถทําเป<นอาชีพเสริมได จากนั้นพวกเราไดออกแบบสอบถามโดยยึดหลักการตลาด 7 Ps โดยออกแบบ ครั้งที่หนึ่ง เกี่ยวกับการสํารวจพฤติกรรมความตองการของผูบริโภคตอผลิตภัณฑ/ไกยาง ทําใหทราบวาสวนมากเป<นเพศ หญิงจํานวน 174 คน และเพศชายจํานวน 126 คน มีชวงอายุที่ 10-18 ป=เป<นจํานวนมากที่ชอบบริโภคไกยางและมีอายุ ชวงที่ 36-41 ป=เป<นจํานวนนอย ซึ่งมีอาชีพเป<นนักเรียนสวนใหญ และอาชีพเป<นขาราชการสวนนอย และสวนมากมี รายไดเฉลี่ยตอเดือนนอยกวา 3000 บาท สวนนอยมีรายไดเฉลี่ยตอเดือนที่ 7001-9000 บาท ซึ่งเหตุผลที่ชอบบริโภคไก ยางสวนมากเพื่อความอรอย และรูปแบบผลิตภัณฑ/ไกยางสวนมากที่นิยมบริโภคเป<นแบบบรรจุในกลอง รองลงมานิยม บริโภคเป<นแบบบรรจุหอดวยพลาสติก ซึ่งกลิ่นไกยางที่ชอบบริโภคสวนมากกลิ่นสมุนไพร และสวนนอยกลิ่นไกยางที่ชอบ บริโภคคือกลิ่นดอกไม ซึ่งในความคิดเห็นเกี่ยวกับไกยางสวนมากคิดวาเป<นผลิตภัณฑ/ใหมที่นาบริโภค ถาหากมีการวาง จําหนายไกยางจํานวน 243 คนสนใจซื้อ จํานวนเงินที่จะซื้อไกยางในแตละครั้งสวนมากอยูที่ 100 บาท และคุณสมบัติที่ ใชพิจารณาในการตัดสินใจซื้อสวนมากเป<นคุณภาพ ซึ่งป0จจัยที่มีอิทธิพลตอการเลือกซื้อไกยางจํานวนมากเกิดจากตัวเรา เอง ขณะในการทําไกยางก็มีอุปสรรคป0ญหาก็คือ ผูบริโภคมีความชอบที่ตางกัน พวกเราไดลองทําไกยางเรื่อยๆจน สามารถแกไขป0ญหาไดก็คือ ไดคิดทําไกยางขึ้นมาสองสูตรคือ สูตรพริกไทยดํา และสูตรตะไคร สวนวัตถุการทําก็ เหมือนเดิม จากนั้นไดมีการออกแบบครั้งที่สองการสํารวจพฤติกรรมความตองการของผูบริโภค เพื่อตองการทราบขอมูลที่ ผูบริโภคกลุมเปoาหมายพอใจหรือไมอยางไรในการเลือกบริโภคผลิตภัณฑ/ไกยาง โดยการแจกแบบสอบถามการสํารวจ ความพึงพอใจผลิตภัณฑ/หลังจากไดบริโภคไกยาง เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ/ไกยางตามความตองการของผูบริโภคเพื่อนําขอมูล ที่ไดหรือขอมูลความตองการเกี่ยวกับการพัฒนาผลิตภัณฑ/ที่ผูบริโภคตองการ นํากลับมาแกไขและพัฒนาผลิตภัณฑ/ใหดี ขึ้น พรอมกับการแจกผลิตภัณฑ/ไกยางสูตรตางๆเพื่อใหผูบริโภคไดทดลองบริโภคกอนเพื่อสํารวจความแนใจกอนมีการขาย ผลิตภัณฑ/ไกยางเพื่อรายไดเสริม จากผลของแบบสอบถามการสํารวจพฤติกรรมความตองการของผูบริโภค หลังจากได บริโภคไกยาง เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ/ไกยางตามความตองการของผูบริโภคโดยเนนกลุมเปoาหมายผูบริโภคในชวงอายุ 10- 18 ป=พบวามีความสนใจผลิตภัณฑ/ไกยางสูตรตะไคร รองลงมาเป<นไกยางสูตรดั้งเดิม และสวนนอยชอบไกยางสูตร พริกไทยดํา สวนบรรจุภัณฑ/ผูบริโภคเห็นดวยอยางยิ่งในเรื่องการหอบรรจุภัณฑ/ในกลอง สวนมากผูบริโภคมีความพึงพอใจ อยางมากกับผลิตภัณฑ/ไกยางเพราะเป<นผลิตภัณฑ/ที่ใหมนาบริโภค ถาหากมีการวางจําหนายผลิตภัณฑ/ไกยางสวนมาก สนใจที่จะซื้อ และไดรับความรวมมือจากการทําแบบสอบถามทั้งสองครั้ง โดยผูบริโภคผลิตภัณฑ/ไดมีขอเสนอแนะหรือ ขอคิดดีๆมาใหกลุมพวกเราไดนํามาพัฒนาผลิตภัณฑ/ไกยาง เชน พยายามสูตอไป รสชาติพอดีใชได อรอยมาก ถามีการ ทําไกยางใหมีบริโภคฟรีกอน ยินดีสนับสนุนในผลิตภัณฑ/ เป<นการทําไกยางจากวัตถุดิบธรรมชาติมีความปลอดภัย ผลิตภัณฑ/นาบริโภคสะอาดปลอดภัย และบริโภคแลวไมมีผลขางเคียง ซึ่งจากขอเสนอแนะทั้งหมดนี้ เป<นการพูดให กําลังใจ รวมทั้งของที่ควรปฏิบัติ ตองขอขอบพระคุณทุกๆทานที่ใหความรวมมือในการตอบแบบสอบถามทั้งสองครั้ง
  • 19. 18 7. แจ)วไก)ย)าง ชุมชนดงแคนใหญเป<นชุมชนขนาดใหญชุมชนหนึ่ง ที่มีการนําไกมาประกอบเป<นอาชีพ โดยทําไกยางบานแคน ป0จจุบันไกยางบานแคนเป<นสินคา OTOP ขึ้นชื่อ การที่จะมีรถชาติอรอยมากยิ่งขึ้นนั้น สวนหนึ่งก็มาจากการทําน้ําจิ้ม ซึ่ง ในชุมชนดงแคนใหญมีน้ําจิ้มเพียงสูตรเดียว น้ําจิ้มถือวาเป<นเครื่องจิ้มปรุงรสที่ทําใหอาหารมีรสชาติอรอยมากขึ้น พวกเรา จึงคิดคนสูตรน้ําจิ้มขึ้นมา 6 สูตร เพื่อมาตอยอดกับคนในชุมชนใกลเคียง คือ สูตรที่ 1 น้ําจิ้มแจวขา สูตรที่ 2 น้ําจิ้มหวาน และสูตรที่ 3 น้ําจิ้มแจวแบบไทยๆ สูตร4 น้ําจิ้มแจวพื้นบาน สูตร5 น้ําจิ้มแจวมะขาม สูตร6น้ําจิ้มแจวปลารา แลวคัดจาก 6สูตรใหเหลือเพียง3สูตร โดยทําแบบสอบถามความพึงพอใจ เพื่อเพิ่มน้ําจิ้มใหหลากหลายรสชาติ จากการทดลองพวกเราไดศึกษาการทําน้ําจิ้มไก เพื่อใชในการประกอบอาชีพหรือตอยอดได 8. อาชีพขายไก)ย)างของคนในชุมชนบ*านดงแคนใหญ) จากการศึกษาโครงงานเรื่อง อาชีพขายไกยางของคนในชุมชนบานดงแคนใหญ ทางกลุมของผูศึกษา มีวัตถุประสงค/ใน การศึกษา คือ1. เพื่อศึกษาอาชีพขายไกยางของคนในชุมชนบานดงแคนใหญ 2. เพื่อศึกษาผลกระทบที่เกิดขึ้นหลังจากที่ไกยาง ของชุมชนไดเป<นผลิตภัณฑ/โอท็อบของชุมชน คือ การสัมภาษณ/เพื่อหาประวัติความเป<นมาของไกยางคําตอบวัตถุประสงค/ขอที่ 1 การออกแบบสอบเพื่อหาคําตอบวัตถุประสงค/ขอที่ 1-2 จากผลการศึกษาสรุปไดวา นางเกง บุญเฉลียวเป<นคนบานกอก ตําบลไทย อําเภอเขื่องในจังหวัดอุบลราชธานีและยายแหลม ยายฝcอ เป<นคนบานกอก ตําบลไทย อําเภอเขื่องใน จังหวัด อุบลราชธานี เขามาอยูบานดงแคนใหญ เมื่อป= พ.ศ. 2495 มาไดสามีที่บานดงแคนใหญแตกอนจะมีรถสายทาง “รถสายันต/” สาย25 กรุงเทพ-อุบลหรือรถบขส.ในป0จจุบัน รถคันนี้จะออกจากบขส.อุบลราชธานีประมาณ 06.00น. พอมาถึงบานดงแคน ใหญก็จะเชาผูโดยสารก็จะหิวขาวพอดีแตกอนจะไมคอยมีอะไรขาย ยายเกง ยายแหลม ยายฝcอจึงพากันขายไกยางไดนําเอา สูตรไกยางที่ตนมีมาขายใชชื่อรานวา “ไกยางบานแคนยกลอ”เมื่อป= พ.ศ.2511 แตกอนจะขายในราคาไมละ10บาทคือไมใหญ ไมเล็กขายในราคา 1บาท หมักใสเกลือ พริกไทยและกะเทียม เป<นรสชาติที่ทุกคนชื่นชอบ ลูกคาก็เริ่มเยอะมากขึ้นขายดีมากขึ้น ญาติพี่นองและคนบานดงแคนใหญเห็นวาขายดีและมีรายไดเยอะจึงมาเปeดรานขายไกยางเพิ่มขึ้นนํามาในชีวิตประจําวัน และ ผูใหขอมูลเพศของผูใหขอมูล/คนในชุมชนเพศหญิงมีมากที่สุด คิดเป<นรอยละ 83.33% และเพศชายคิดเป<นรอยละ 16.66% ชวงอายุของผูใหขอมูล/คนในชุมชนมีอายุอยูชวงระหวาง 36-45% ป= มากที่สุดคิดเป<นรอยละ 73.33% รองลงมาอายุชวง ระหวาง56ป= คิดเป<นรอยละ26.66%อายุของผูใหขอมูล/ผูประกอบกิจการขายไกยางอยูชวงระหวาง 46-55 ป= มากที่สุดคิดเป<น รอยละ60.0%รองลงมาอายุชวงระหวาง 36-45 ป= คิดเป<นรอยละ 40.0% ระดับการศึกษาของผูใหขอมูลระดับประถมศึกษา มากที่สุดคิดเป<นรอยละ 63.33% รองลงมาระดับมัธยมศึกษาคิดเป<นรอยละ 26.66% อับดับสุดทายคือระดับปริญญาตรี คิด เป<นรอยละ10% จากการออกแบบสอบถามหากเราตองการที่จะรูถึงประวัติไกยางบานดงแคนใหญผูกรอกแบบสอบถามตองการการ ตอบแบบสอบถามปลายเปeด ตองการทราบเกี่ยวประวัติไกยางบานดงแคนใหญ เห็นความสําคัญของไกยางดงแคนใหญ โครงงานนี้มีประโยชน/ตอผูอื่นโดย ทําใหรูเรื่องประวัติอาชีพขายไกยางของคนในชุมชนบานดงแคนใหญ
  • 20. 19 9. การเลี้ยงไก) จากการทดลองเลี้ยงไกพันธุ/เนื้อ ชนิดเดียวกับที่ชุมชนดงแคนใหญนํามาใชในการปeyงเป<นไกยางบานแคน ที่เป<นสิ้น คาโอทอป เป<นระยะเวลา 4 เดือน และสังเกตการณ/เจริญเติบโตการชั่งน้ําหนักของไก เดือนละครั้งโดยใชสูตรอาหารที่แตกตาง กัน และมีการควบคุมตัวแปรตนอยาดี จากผลการทดลองพบวา หัวอาหารที่ขายตามทองตลาดจะเลี้ยงไกไดเจริญเติบโต ดีกวา อาหารที่ผสมเอง เพราะอาหารที่ซื้อตามทองตลาดจะมีสารอาหารครบมากกวาที่เราผสมเอง จากการทดลองพบวาถาตองการลดตนทุนในการซื้ออาหารไก เราก็สามารถทําได และยังทําใหไกของเรามีการ เจริญเติบโตไดตามปกติ ซึ่งถาตองการไกที่มีคุณภาพสมบูรณ/แข็งแรง จากการทดลองอาหาร 3 สูตรผสมเอง ระหวาง ขาว ปลายผสมขาวโพด หัวอาหารผสมขาวโพด และขาวปลายอยางเดียว ในอันตราสวน 1: 1 พบวา หัวอาหารผสมขาวโพด ทําให ไกมีการเจริญเติบโดดีกวาสูตรอื่นๆ แตที่การทดลองพบวาขาวปลายไมเหมาะที่จะนํามาเป<นอาหารของไกพันธุ/เนื้อ เพราะไกไม คอยกินอาหารชนิดนี้ และการเลี้ยงไกจะตองมีการดูแลเป<นพิเศษ เพราะไกพันธุ/จะไมทนตองโรค ถาอากาศรอนๆจะรูสึกกะวน กระวายและดื่มน้ํามาก 10. เตาเผาถ)าน ในการทดลองการเผาถานโดยใชถัง 50 ลิตรโดยมีการควบคุมเวลาจากเตาเผาถาน 2 เตา เตาแรกจะมีทอควัน 1 ทอ และเตาที่สองจะมีทอควัน2ทอจากนั้นชั่งน้ําหนักขงฝcนที่อยูในเตาเมื่อทําการชั่งแลวผลที่ไดคือ เตาแรกจะมีน้ําหนัก 23 กิโลกรัมและเตาที่สองชั่งได 17 กิโลกรัมโดยทดลองในเวลาเดียวกัน 20 นที ดังนั้น จากการทดลองการเผาถานที่เหมาะสมที่สุด คือ เตาแรกมีทอควัน1ทอที่สามารถเผาถานที่มีคุณภาพไดดีกวา เตาที่สองเพราะเมื่อเรานําถานออกมาจากเตาแลวพบวาถานเตาแรกมีการเผาไดทั่วถึงสวนเตาที่สองมีการเผาไหมเป<นบาง สวน จากการทดลองสาเหตุที่สองรูไดปริมาณถายนอยกวา 1 รูเพราะวาในการเผาไหมไมตองใชปริมาณออกซิเจน จึงทํา ใหออกซิเจนเขาไปในเตาไดงายกวาหนึ่งรู จึงทําใหการเผาไหมสมบูรณ/ในเวลาที่เทากัน เตาสองรูปจึงไดปริมาณนอยกวา เตาหนึ่งรู แตถาตองการถานไมที่มากกวาเดิมเราก็สามารถแกไดโดยปeดหนาตาใหเร็วกวาเตาชนิดหนึ่งรู ก็จะไดปริมาณ ถานที่มากขึ้น
  • 22. 21 รายชื่อคณะครู นักเรียนเพาะพันธุปญญา ป3การศึกษา 2558 โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ผู*บริหาร 1. นายชาติชาย สิงห/พรหมสาร ผูอํานวยการโรงเรียน 2. นายเชิดชัย สิงห/คิบุตร ครูที่ปรึกษาร)วมโครงการ 1 นายเดชมณี เนาวโรจน/ ครูกลุมวิชา วิทยาศาสตร/ มือถือ 0981049766 2 นางสาคร ทองเทพ ครูกลุมวิชา วิทยาศาสตร/ มือถือ 0854106857 3 นางสาวยาใจ เจริญพงษ/ ครูกลุมวิชา วิทยาศาสตร/ มือถือ 0862506414 4 นางสาวแสงเดือน บกนอย ครูกลุมวิชา วิทยาศาสตร/ มือถือ 0872463509 5 นายกิตติพงษ/ บุญสาร ครูกลุมวิชา วิทยาศาสตร/ มือถือ 0883758721 6 นางสาวอรอุมา ดวงเงิน ครูกลุมวิชา สังคมศึกษาฯ มือถือ - 7 นางสาวกิตติมา สาระรักษ/ ครูกลุมวิชา สังคมศึกษาฯ มือถือ 0801705406 8 นางนุชนาฏ โชติสุวรรณ ครูกลุมวิชา วิทยาศาสตร/ มือถือ 0847524758 วิทยากรทองถิ่น 1. นายถวิล บุญสาร
  • 23. 22 นักเรียนร)วมโครงการเพาะพันธุปญญา ชั้นมัธยมศึกษาป3ที่ 5/2 ป3การศึกษา 2559 เลขที่ ชื่อ-สกุล ฉายาในเพาะพันธุ/ป0ญญา 1 นายอภิรักษ/ หลักคํา 2 นายทิวา จารึกธรรม 3 นายธนาคาร รวมธรรม 4 นายมงคลธรรม สายโสดา 5 นายมนัสศักดิ์ รวมธรรม 6 นางสาวกชมน สังข/ทอง 7 นางสาวธัญญลักษณ/ ไทสีลา 8 นางสาวสุภาพันธ/ เพียแกนแกว 9 นางสาวเสาวลักษณ/ ทินบุตร 10 นางสาวอมิทตรา ศิริดล 11 นางสาวฮัสวานี หลักคํา 12 นายคิรากร สีงาม 13 นายณัฐเดช จันทร/ดง 14 นายธราธร กลมเกลียว 15 นางสาวดวงดี ยืนสุข 16 นางสาวเบญวลี บุงทอง 17 นางสาวเสาวณี เอนกบุญ 18 นายกฤษฏา อาจไธสงค/ 19 นายเจนณรงค/ สุตะคาน 20 นางสาวเจนจิรา นาหลู 21 นางสาวทิวาพร แกววันนา 22 นางสาวธัญญพร ทะเสนฮด 23 นางสาวเพ็ญนภา ไกยเวช 24 นางสาวโสภิดา บุญจรัส 25 นางสาวอันธิยา ทองเจียว 26 นางสาวสุพรรณิกา สมจิตร 27 นางสาวอรวรา สราญรมย/ 28 นายปริญญา นครไชย 29 นางสาวดวงลดา มุงงาม 30 นางสาวผกาวดี กองดวง 31 นางสาวมินตรา เยี่ยงอยาง 32 นายจิรายุทธ อินทร/เอี่ยม 33 นายปฏิภาณ เผือกไธสง 34 นายวีระวุฒิ เมฆมล 35 นางสาวอโนทัย ภาคะ
  • 25. 24
  • 26. 25 รายงานการประชาสัมพันธ : www.facebook.com/เพาะพันธุปญญา โรงเรียนสมเด็จพระ ญาณสังวร ในพระสังฆราชุปถัมภ
  • 27. 26 สัญญาที่ RDG5740040/59-11 โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ ชุดโครงงาน ไก)ย)างบ*านแคน รายงานสรุปการเงิน -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ชื่อผู*ดูแลโครงงาน นายเดชมณี เนาวโรจน/ รายงานในช)วงตั้งแต)วันที่ 2 ธันวาคม 2559 ถึงวันที่ 31 มีนาคม 2560 หมายเหตุ เป<นรายงานสรุปการเงินรวมของทุกโครงงานยอย โดยยึดถืองบประมาณรวมตามเอกสารแนบ หมายเลข 1/1 รายจาย หมวดตาม สัญญา รายจ)ายสะสม จากรายงาน ครั้งก)อน A ค)าใช*จ)ายงวด ปจจุบัน B รวมรายจ)าย สะสมจนถึง ปจจุบัน C= A+B งบประมาณ ที่ตั้งไว*ตาม สัญญา D* คงเหลือ (หรือเกิน) E=D-C 1. คาตอบแทน หรือคาประกัน คุณภาพ 10000 0 2. คาวัสดุ อุปกรณ/ 20000 0 3. คาใชสอย 33000 0 รวมทั้งสิ้น 63000 0 * นํามาจากเอกสารแนบหมายเลข 1/1 จํานวนเงินที่ไดรับและจํานวนเงินคงเหลือ จํานวนเงินที่ได*รับ จํานวนเงิน วันที่ได*รับ ค)าใช*จ)าย จํานวน งวดที่ 1 50400 งวดที่ 1 50400 งวดที่ 2 12600 งวดที่ 2 12600 ดอกเบี้ย ครั้งที่ 1 ดอกเบี้ย ครั้งที่ 2 รวมรายรับ 63000 รวมรายจาย 63000
  • 28. 27 สัญญาที่ RDG5740040/59-11 รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื1อง วิธีการย่างไก่ อาจารย์ที1ปรึกษาโครงงาน นางสาว ยาใจ เจริญพงษ์ คณะผู้วิจัย(นักเรียน) นาย ธราธร กลมเกลียว นางสาว เสาวณี อเนกบุญ นางสาว ฮัสวานี หลักคํา สนับสนุนโดยสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย(สกว) และ บมจ.ธนาคารกสิกรไทย ชุดโครงการ “เพาะพันธุ์ปัญญา (พัฒนายุววิจัย)”
  • 29. 28 กิตติกรรมประกาศ ในการจัดทําโครงงานเรื่อง วิธีการยางไก ในครั้งนี้ สําเร็จลุลวงได ตองขอกราบขอบพระคุณ นายชาติชาย สิงห/พรหมสาร ผูอํานวยการโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ/ นายเชิดชัย สิงห/คิบุตร รองผูอํานวยการโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ/ ในการสนับสนุนและ สงเสริมใหนักเรียนมีการพัฒนาทักษะการคิด ใหคําชี้แนะและอํานวยความสะดวกในการทําโครงงานครั้งนี้ กราบขอบพระคุณ คุณครูเดชมณี เนาวโรจน/ คุณครู ยาใจ เจริญพงษ/ ที่ใหคําปรึกษาดูแล แนะนําและ แกไขขอบกพรองในการโครงงานในทุกๆดาน กราบขอบพระคุณคระครูและบุคลาการทางการศึกษาและ สมาชิกในครอบครัวที่คอยชวยเหลือในการ ทําโครงงาน อีกทั้งเพื่อนนักเรียน ที่คอยชวยเหลือและใหกําลังใจจนกระทั่งโครงงานสําเร็จ ขอขอบคุณทุกทาน ที่มีสวนเกี่ยวของใหงานบรรลุตามวัตถุประสงค/ คณะผูจัดทํา
  • 30. 29 บทคัดยอ คําสําคัญ วิธีการยางไก นักเรียนผูทําโครงงาน 1.นาย ธราธร กลมเกลียว 2.นางสาว เสาวณี อเนกบุญ 3.นางสาว ฮัสวานี หลักคํา ครูที่ปรึกษา คนที่ ชื่อ-สกุล สอนกลุมสาระ โทรศัพท/ อีเมล/ 1 นางสาว ยาใจ เจริญพงธ/ วิทยาศาสตร/ โครงงานเพาะพันธุ/ป0ญญาไดทําการศึกษาเรื่องวิธีการยางไกเพื่อการศึกษาความสุกของไก ในการวัดความสุขของการยางไกทั้ง 3 ชุดการทดลอง วัดโดยการใชมืดแลลงบนเนื้อไกที่ยางแลวจากนั้นใชมือ กดดูสังเกตดูวาไกชุดไหนไมมีเลือดซึมออกมา ในการยางใชเวลายางดานละ 15นาที ชุดที่1 ไกที่หอดวยกระดาษฟรอยด/ไมมีเลือดซึมออกมาเมื่อเอามือกด ชุดที่2,3 ไกมีเลือดซึมออกมาเมือเอามือกด ดังนั้นจากการทดลอง วิธีการยางไกที่เหมาะสมที่สุดคือ วิธีการยางไกชุดที่1 การยางไกแบบหอดวย กระดาษฟรอยด/ เนื่องจากกระดาษฟรอยด/เก็บความรอนไดดี จึงทําใหไกสุกภายในเวลา 15นาที ซึ่งใชเวลาใน การยางนอยกวาชุดที่2และ3
  • 31. 30 บทนํา ป0จจุบันในชุมชนมีการเลี้ยงไกเพื่อความเพลิดเพลิน เพื่อหารายไดและบางทองถิ่นก็ลี้ยงเพื่อ การพนันแตในชุมชนดงแคนใหญซึ่งเป<นที่ตั้งของสถานศึกษาโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูป ถัมภ/ เขาสามารถพลิกวิกฤตใหเป<นโอกาสโดยหันมาขายไกยางเพื่อเป<นอาชีพเสริมหลังจากประกอบอาชีพทํา นาคนสวนมากจะรูจักในชื่อไกยางบานแคนหรือไกยางบานดงแคนใหญ ในอดีตนั้นมีเพียงไมกี่รานที่ขายไกยาง แตในป0จจุบันนี้ยิ่งมีจํานวนเพิ่มมากขึ้นทุกวันและแตละรานมีกลยุทธ/การขายที่แตกตางกัน ดังนั้นผูวิจัยมีความ สนใจศึกษาระยะเวลากับการยางไกที่ทําใหสุกเร็วเหมาะกับความตองการของตลาดเพราะสังเกตเห็นวาการยาง ไกของแตละรานสุกบางไมสุกบางทําใหผูบริโภคเสียความรูสึกอคติกับไกยางบานแคน ดังนั้นผูวิจัยโครงงานจึงไดทําวิจัยโครงงานเรื่องวิธีการยางไกเพื่อใหทราบเวลาที่เหมาะสมใน การยางที่ทําใหไกสุกเพื่อใหเกิดประโยชน/แกผูศึกษาอยางสูงสุด วัตถุประสงค เพื่อศึกษาทดลองวิธีการยางไกที่ใชเวลานอยที่สุดในการยางโดยกําหนดอยู3ชุดคือ ชุดที่1การยางไกที่หอดวยกระดาษฟรอยด/ ชุดที่2การยางไกโดยใชชอนซอมจิ้มลงบนเนื้อไก ชุดที่3ไกธรรมดาที่ไมหอดยกระดาษฟรอยด/และไมผานการใชชอนซอมจิ้มลงบนเนื้อไก ตัวแปรและสมมุติฐานของโครงงาน สมมุติฐาน วิธีการยางไกที่หอดวยกระดาษฟรอยด/จะทําใหไกสุกเร็วกวาการยางไกโดยใชชอนสอมจิ้มลง บนเนื้อไก และ การยางไกธรรมดาที่ไมหอดยกระดาษฟรอยด/และไมผานการใชชอนสอมจิ้มลงบนเนื้อไก ตัวแปร ตัวแปรอิสระ (ตัวแปรตน ) ไดแก วิธีการยางไก ตัวแปรตาม ไดแก ความสุก ระยะเวลาการยาง ตัวแปรควบคุม ไดแก ขนาดของไกยาง สายพันธุ/ของไก ขนาดของไมเสียบไก ระยะเวลาการหมัก ปริมาณ เครื่องปรุง โครงงานมีตัวแปรตอไปนี้ และแสดงแผนผังเหตุ-ผล ในรูปที่1 ยางไก ชนิดไก ไกยาง ความสุก เวลา เวลา ห่อไก่แล้วย่าง ทําให้ไก่เป็นรูพรุนแล้วค่อยย่าง ย่างแบบธรรมดา
  • 32. 31 แนวคิดและทฤษฏีที่เกี่ยวข*อง ไกยาง เป<นอาหารยอดนิยมของคนไทย ใชรับประทานไดตั้งแตอาหารจานหลัก อาหารวาง อาหารเรียก น้ํายอย หรือกับแกลม ซึ่งในแตละพื้นที่จะมีสูตรเฉพาะแตกตางกันออกไป แตสวนใหญมักจะนิยมทําใหหนัง กรอบ เนื้อนุม และมีความหอมจากเครื่องเทศ โดยรับประทานกับขาวเหนียว นอกจากนี้อาจมีการปรุงรส เพิ่มเติม เชน ทาไกดวยขมิ้น หรือทําเป<น ไกยางนมสด ไกยางน้ําผึ้ง เป<นตน ข*อมูลเกี่ยวกับไก)ย)าง ขนาด: สวนใหญจะมีน้ําหนักประมาณ2-3 กิโลกรัมและตัวโตเต็มที่ 25-30 เซนติเมตร สี: มีหลากหลายสี เชน สีแดง สีขาว สีเขียว อาหาร: สวนใหญแลวจะรับประทานอาหารอาทิเชน ขาวปลาย รํา และผักเป<นตน สถานที่อยูอาศัย: พบไดตามบริเวณทั่วไป การขยายพันธุ/: เป<นการปฏิสนธิซึ่งไกสามารถมีลูกไดตลอดป= การนําไปใชประโยชน/: -เลี้ยงเพื่อความเพลิดเพลิน -ใชสําหรับนํามาเป<นอาหาร -ใชในการประกอบพิธีกรรมตามความเชื่อของชาวบาน อุปกรณ/และวิธีการทดลอง -ไมหนีบไก2ชิ้น ยาว30ซ.ม. เสนผาศูนย/กลาง 1.5 -นาฬิกาจับเวลา 1 อัน -ไก1ตัว น้ําหนัก1.5 ก.ก. -เครื่องชั่งน้ําหนัก วิธีการทํา 1.นําไกไปหมัก 2.นําไกไปยาง(โดยเสียบไมเสียบไกแลว) 2.1.นําไกไปยางโดยหอดวยกระดาษฟรอยด/ 2.2 นําไกไปยางโดยทําใหไกเป<นรูพรุนทําใหไกเป<นรูพรุน 2.3นําไกไปยางโดยยางแบบธรรมดา 3.นําไกที่เตรียมไวทั้ง3มายาง 4.จับเวลาในการยาง
  • 33. 32 ผลการวิจัย จากการทดลอง วิธีการยางไกที่เหมาะสมที่สุดคือ วิธีการยางไกชุดที่1 การยางไกแบบหอดวยกระดาษ ฟรอยด/ เนื่องจากกระดาษฟรอยด/เก็บความรอนไดดี จึงทําใหไกสุกภายในเวลา 15นาที ซึ่งใชเวลาในการยาง นอยกวาชุดที่2และ3 สรุปตาราง : วิธีการย)างไก) เวลาการยางไก (นาที) ผลการทดลองที่สังเกตได ชุดที่1 ชุดที่2 ชุดที่3 15นาที จากเดิมกระดาษฟรอยด/มีสีเงิน จากนั้นไดทําการเริ่มยางผานไป 15 นาที กระดาษฟรอยด/เริ่มมีการ เปลี่ยนเป<นสีขาวพอเปeดกระดาฟรอย ดืออกดูปรากฏวาไกมีสีเหลืองออน มี น้ํามันของไกที่ซึมออกมาอยูใน กระดาษฟรอยด/ จากนั้นใชมีดแล และใชมือกดดูปรากฏวาไมมีเลือดซึม ออกมา น้ํามันไกเริ่มออกไกมีการ เปลี่ยนสีนาตาลอมสม หนังไกเริ่มเกรียมแตพอ แลเนื้อแลวใชมือจิ้มดู ปรากฏวายังมีเลือดซึม อยูเล็กนอย ไกเริ่มเปลี่ยนเป<นสี น้ําตาลออน จากนั้นได ทําการแลเนื้อแลวใช มือจิ้มปรากฏวายังมี เลือดซึมออกมา 30นาที ไกมีสีเหลืองออกน้ําตาลและสุกพอดี ไกเปลี่ยนเป<นสีน้ําตาล และสุกในที่สุด ไกมีการเปลี่ยนเป<นสี น้ําตาลเขมและสุกใน ที่สุด *หมายเหตุ 1.การยางไกโดยการหอดวยกระดาษฟรอยด/ (ชุดที่1) 2.การยางโดยการใชชอนซอมจิ้มลงบนเนื้อไกให เป<นรูพรุน (ชุดที่2) 3.การยางไกแบบธรรมดา โดยที่ไมหอกระดาษฟรอยด/และไมผานการใชชอนซอมจิ้มลงบนเนื้อ ไกใหเป<นรูพรุน(ชุดที่3)
  • 34. 33 กราฟ วิธีการย)างไก)ชุดที่ 1 คือ การยางไกโดยการหอดวยกระดาษฟรอยด/ *หมายเหตุ2 แกนYคือ การเปลี่ยนแปลงสีบนเนื้อไก หมายเลข 1 คือ สีขาว หมายเลข 2 คือ สีเหลืองน้ําตาล หมายเลข 3 คือ สีน้ําตาลออน หมายเลข 4 คือ สีน้ําตาลสม หมายเลข 5 คือ สีน้ําตาลเขม 15 นาที 30 นาที 0 0.5 1 1.5 2 2.5 ชุดที 1 ชุดที1 1
  • 35. 34 ชุดที่ 2 คือ การยางโดยการใชชอนซอมจิ้มลงบนเนื้อไกใหเป<นรูพรุน *หมายเหตุ2 แกนYคือ การเปลี่ยนแปลงสีบนเนื้อไก หมายเลข 1 คือ สีขาว หมายเลข 2 คือ สีเหลืองน้ําตาล หมายเลข 3 คือ สีน้ําตาลออน หมายเลข 4 คือ สีน้ําตาลสม หมายเลข 5 คือ สีน้ําตาลเขม 15 นาที 30 นาที 0 1 2 3 4 5 6 ชุดที 2 ชุดที1 2
  • 36. 35 ชุดที่ 3 คือ การยางไกแบบธรรมดา โดยที่ไมหอกระดาษฟรอยด/และไมผานการใชชอนซอมจิ้มลงบนเนื้อไกให เป<นรูพรุน *หมายเหตุ2 แกนYคือ การเปลี่ยนแปลงสีบนเนื้อไก หมายเลข 1 คือ สีขาว หมายเลข 2 คือ สีเหลืองน้ําตาล หมายเลข 3 คือ สีน้ําตาลออน หมายเลข 4 คือ สีน้ําตาลสม หมายเลข 5 คือ สีน้ําตาลเขม 15 นาที 30 นาที 0 1 2 3 4 5 6 ชุดที 3 ชุดที1 3
  • 37. 36 สรุปการเปลียบเทียบทั้ง 3ชุด กราฟเปลียบเทียบการย)างไก)แต)ละชุด *หมายเหตุ1 ชุดที่ 1 คือ การยางไกโดยการหอดวยกระดาษฟรอยด/ ชุดที่ 2 คือ การยางโดยการใชชอนซอมจิ้มลงบนเนื้อไกให เป<นรูพรุน ชุดที่ 3 คือ การยางไกแบบธรรมดา โดยที่ไมหอกระดาษฟรอยด/และไมผานการใชชอนซอมจิ้ม ลงบนเนื้อไกใหเป<นรูพรุน *หมายเหตุ2 แกนYคือ การเปลี่ยนแปลงสีบนเนื้อไก หมายเลข 1 คือ สีขาว หมายเลข 2 คือ สีเหลืองน้ําตาล หมายเลข 3 คือ สีน้ําตาลออน หมายเลข 4 คือ สีน้ําตาลสม หมายเลข 5 คือ สีน้ําตาลเขม 0 1 2 3 4 5 6 15 นาที 30 นาที ชุดที1 1 ชุดที1 2 ชุดที1 3