SlideShare a Scribd company logo
นางสาวสุพัตรากาวิจันทร์
สาขาการสอนสังคม55040131
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น
การตั้งถิ่นฐานและการเติบโตของชุมชน
“เมืองระยอง”
การตั้งถิ่นฐาน
ชนเผ่าชอง เป็นชาวพื้นเมืองดั้งเดิมเผ่าหนึ่งซึ่งตั้งถิ่นฐานอยู่แถวอาณาบริเวณชายทะเลภาคตะวันออกเฉียงใต้
ของประเทศไทยในท้องถิ่นของจังหวัดจันทบุรี และระยอง ในปัจจุบันนี้
ชนเผ่านี้ชอบอยู่และมีความชานาญในป่าเขาลาเนาไพรมีภาษาพูดของตนเองเป็นชนพื้นเมืองที่นิยมใช้ลูกปัดสีต่าง ๆ
และทองเหลืองเป็นเครื่องประดับ
ชาวชองมีถิ่นฐานดั้งเดิมอาศัยอยู่ตามป่าเขาและที่ราบที่เป็นป่า ระหว่างหุบเขาในภาคตะวันออกของประเทศ คือ
ในท้องถิ่นจังหวัดระยอง จันทบุรี ตราด ปราจีนบุรี และเลยเข้าไปในประเทศกัมพูชา
สาหรับชาวชองที่อาศัยอยู่ในประเทศไทย ปัจจุบันนี้ ตามกฎหมายยอมรับว่าเป็นคนไทย เชื้อชาติไทย และสัญชาติไทย
นับถือศาสนาพุทธ แต่ขณะเดียวกันชาวชองก็มีวัฒนธรรม ความเชื่อ ประเพณีบางอย่างที่เป็นชองอยู่
ปัจจุบันแทบไม่มีชนเผ่าชองเหลืออยู่ในท้องที่จังหวัดระยองแล้ว ไปมีหลงเหลืออยู่ตามแถมป่าเขาในเขตจังหวัดจันทบุรี
เพราะชนเผ่านี้ไม่ชอบอยู่ย่านชุมชนที่มีผู้คนอยู่กันพลุกพล่าน เมื่อบ้านเมืองเจริญพัฒนาเข้าสู่สมัยใหม่
พวกเขาก็ไม่อาจทนอยู่อีกต่อไปได้ ต้องอพยพถอยร่นบ่ายหน้าหันเข้าป่าอยู่เรื่อยไป
จนแทบหมดสิ้นเผ่าที่เคยอาศัยอยู่ในถิ่นนี้มาก่อนเก่า
ที่มาของคาว่าระยอง
คาว่า “ ระยอง ”ไม่มีปรากฏคาอธิบายอยู่ในพจนานุกรม เช่นเดียวกันกับชื่อบ้านนามเมืองในท้องที่ต่าง ๆ ในแถบนี้
อันได้แก่คาว่า แกลง ชะเมาเพเลฯลฯ ล้วนไม่มีคาแปลอยู่ในภาษาไทย สันนิษฐานกันว่าน่าจะเป็นภาษาของชอง
ผู้ยึดครองพื้นที่นี้มาแต่ดั้งเดิมและมีภาษาพูดเป็นของตนเองโดยเฉพาะ
คาว่า “ ระยอง ”นี้ที่ถูกออกเสียงว่า “ราย็อง ”หรือออกเสียง รา ให้ยาวหน่อยส่วน ย็อง
นั้นออกเสียงให้สั้นที่สุดเท่าที่จะทาได้“ราย็อง ”ภาษาชองแปลว่า “ เขตแดน” หมายถึง
เขตแดนหรือดินแดนที่พวกชองได้ตั้งรกรากอยู่แต่ภาษาพูดดังกล่าว เมื่อกาลเวลาผ่านไปก็ได้เพี้ยนกลายมาเป็น“ระยอง ”
ดังที่เป็นอยู่ในปัจจุบันทานองเดียวกันกับชื่อบ้านนามเมืองตามท้องที่ต่างๆ ของเราแต่ก่อน
ซึ่งบัดนี้ได้เพี้ยนแปรเปลี่ยนไปจากเดิมปรากฏหลักฐานให้เล่าขานสืบกันมาจนทุกวันนี้ ก็มีมาก เช่น“ แร่นอง ” กลายเป็น“
ระนอง ” “สามแสน ” กลายเป็ น “สามเสน ”“ สามร้อยรอด ”ก็กลายเป็น “ สามร้อยยอด ”เป็นต้น
นางสาวสุพัตรากาวิจันทร์
สาขาการสอนสังคม55040131
อีกนัยหนึ่งกล่าวกันว่า “ ราย็อง ”
ในภาษาชองนั้นแปลงว่า “เขตแดน” หรือ “ต้นประดู่ ”
เนื่องจากอาณาบริเวณที่ตั้งของตัวเมืองระยองในปัจจุบันอันเป็นถิ่นฐานของพวกชองมาตั้งแต่ดั้งเดิมนั้น
เต็มไปด้วยดงไม้ต้นประดู่ขึ้นเป็นป่าหนาแน่นปรากฏอยู่ทั่วไปจนเป็นลักษณะของท้องที่ ด้วยเหตุนี้ ท้องที่นี้จึงได้เรียกชื่อว่า
“ ราย็อง ” ครั้นต่อมา เมื่อคนไทยได้เข้ายึดพื้นที่อาณาบริเวณเดียวกันก็ตั้งชื่อตาบลย่านนี้ว่า “ ท่าประดู่ ”
ที่บ่งบอกถึงความเป็นดินแดนอันอุดมสมบูรณ์ไปด้วยต้น ประดู่อย่างชัดแจ้ง
รวมความว่าคาว่า “ ระยอง ”น่าจะมาจากภาษาชองที่แปลว่า ดินแดน หรือต้นประดู่ ป่าประดู่
อันเป็นไม้พื้นเมืองที่ทารายได้ให้แก่ชาวระยองและเมืองระยองเป็นอันมากในสมัยบรรพบุรุษของเรา
นอกจากนี้ ยังมีคาบอกเล่าสืบต่อกันมา ทานองตานานของบ้านเมืองนี้ว่า ในสมัยโบราณนานมาแล้วนั้น ได้มี “ ยายยอง”
มาตั้งหลักแหล่งทาไร่ ไถนาทามาหากินอยู่ในถิ่นแถบนี้มาก่อน จนชื่อเสียงลือกระฉ่อนเป็นที่รู้จักกันดีโดยทั่วไป
จึงเรียกท้องที่บริเวณนี้กันว่า “ ไร่ยายยอง“หรือ“ นายายยอง”แล้วก็เพี้ยนกลายมาเป็น“ ระยอง ”ในที่สุด
การสร้างเมือง
จากสภาพแวดล้อมและหลักฐานทางประวัติศาสตร์ โบราณคดี
ทาให้เป็นที่เชื่อได้ว่าเมืองระยองนี้น่าจะได้ตั้งขึ้นแล้วในสมัยพุทธศตวรรษที่๑๖ คือ เมื่อประมาณ ๑,๐๐๐ปีมาแล้ว
อันเป็นสมัยที่ขอมกาลังเรืองอานาจครอบครอง (ไทยเรียกกันหลายชื่อเช่นนครหลวง และยโสธร ดูรายละเอียดได้จาก
นิราศนครวร พระราชนิพนธ์ของสมเด็จพระยาดารงราชานุภาพ
เป็นราชธานีได้แผ่อานุภาพเข้ามาครอบครองถึงอาณาจักรทวาราวดี (
คือดินแดนส่วนใหญ่ที่เป็นภาคกลางของประเทศไทยในปัจจุบัน )แทนที่พวกมอญ
โดยขอมได้ตั้งอุปราชเข้ามาปกครองดูแลดินแดนแถบนี้อยู่ที่เมืองลพบุรี ลพบุรีจึงเป็นเมืองสาคัญ
เป็นศูนย์บัญชาการสาหรับควบคุมดูแลดินแดนส่วนนี้ในสมัยนั้นในส่วนดินแดนภาคอื่น ๆ
ได้แก่ภาคตะวันออกและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยเราในทุกวันนี้นั้น ขอมได้เข้ามาปกครองโดยตรง เช่น
ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือขอมได้สร้างนครพนม เป็นเมืองหน้าด่านแรกมีเมืองพิมายเป็นเมืองอุปราช
ทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ขอมได้สร้างเมืองจันทบูร( จันทบุรี )
เป็นเมืองหน้าด่านเสมือนปราการด้านตะวันออกเฉียงใต้ของนครธม ด้วยเหตุนี้
จึงได้ปรากฏโบราณสถานและโบราณวัตถุที่สร้างขึ้นในสมัยลพบุรี กระจายอยู่ทั่วไปในพื้นที่บริเวณนี้กว่า ๑๐จังหวัด
ที่เป็นอาณาจักรไทยในปัจจุบัน
นางสาวสุพัตรากาวิจันทร์
สาขาการสอนสังคม55040131
เมื่อเมืองจันทบูรเป็นเมืองหน้าด่าน
เป็นเมืองสาคัญที่ขอมใช้เป็นศูนย์บัญชาการควบคุมดูแลจากการที่ได้แผ่อานุภาพเข้ามาปกครองดินแดนภาคตะวันออกของป
ระเทศไทยเมืองระยองซึ่งตั้งอยู่ใกล้ชิด มีอาณาเขตติดต่อกับจันทบูร อยู่ในเขตที่ขอมจะแผ่แสนยานุภาพ
ทั้งทางปกครองและอารยธรรมที่จะนาเข้ามาสู่อาณาจักรทวาราวดีเดิม จึงเชื่อได้ว่า
ระยองจะต้องเป็นเมืองหนึ่งซึ่งขอมได้สร้างขึ้นแต่ครั้งนั้นคูเมืองแนวคันดินที่น่าเป็นเชิงเทินหรือกาแพงเมืองที่ปรากฏอยู่
ซากศิลาแลง ซากโบราณวัตถุเป็นหินสลักรูปต่างๆ ที่พบ ณบ้านดอน อาเภอเมืองระยองและที่บ้านคลองยายล้า
ตาบลบ้านค่าย อาเภอบ้านค่าย ทุกวันนี้พอจะเป็นหลักฐานยืนยันถึงความเป็นเมืองเก่าแก่ถึงสมัยขอมลพบุรี
มีอายุราวพันปีล่วงมาแล้วของเมืองระยองได้เป็นอย่างดี
ระยองเริ่มมีชื่อปรากฏในอัยการตาแหน่งทหารหัวเมือง พ . ศ . ๑๙๙๘รัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
ระบุเมืองระยองเป็นหัวเมืองชั้นตรีมีเจ้าเมืองตาแหน่งออกพระราชภักดีสงคราม
สาหรับการปรากฏชื่อระยองในพงศาวดารเริ่มในรัชสมัยสมเด็จพระมหาธรรมราชาแห่งกรุงศรีอยุธยา ( พงศาวดารฉบับ
หลวงประเสริฐอักษรนิต์ ระบุ พ . ศ. ๒๑๑๓ฉบับพระราชหัตถเลขาของสมเด็จพระบรมวงศ์เธอ
กรมพระยาดารงราชานุภาพ พ . ศ. ๒๑๐๐ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิต์ ช้ากว่า ๑๓ปี )โดยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ
กรมพระยาดารงราชานุภาพ ( ๒๔๙๕: ๔๘-๕๑) ทรงอธิบายว่า
“ จุลศักราช ๙๑๙ปีมะเส็งนพศกเดือนยี่(พ . ศ . ๒๑๐๐)พระยาละแวกยกช้างมา รี้พลมาทางเมืองนครนายก
และไพร่พลพระยาละแวกมาคราวนั้นประมาณ ๓ หมื่นคนกรมการเมืองนครนายกบอกข่าวราชการเข้ามา ณกรุงฯ
มุขมนตรีจึงเอาหนังสือบอกขึ้นบังคมทูลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ
ครั้นตรัสทราบก็ให้ท้าวพระยาหัวเมืองมุขมนตรีทั้งหลายพิพากษาว่า เมื่อพระยาละแวกยกช้างมารี้พลดังนี้
ท้าวพระยาทั้งหลายจะคิดประการใด จึงพระยาเพทราชาผู้เป็นพระยาอินทรานครบาลทูล ว่า กรุงเทพมหานครไซร้
พึ่งเป็นอันตรายรี้พลบอบบางยังไม่ได้สมบูรณ์ และทหารซึ่งจะขั้นประจาหน้าที่รอบพระนครนั้นเห็นมิครบหน้าที่ อนึ่ง
ปืนใหญ่น้อยสาหรับพระนครนั้นสมเด็จพระเจ้าหงสาวดีก็ให้เอาไปเป็นอันมาก
และปืนซึ่งตั้งซ่องทั้งปวงนั้นเป็นอันน้อยนักทั้งกระสุนดินประสิว ก็ยังมิได้ประมูลไว้สาหรับที่จะกันพระนคร
และซึ่งจะตั้งพุ่งรบพุ่งป้องกันพระนครครั้งนี้เห็นเหลือกาลัง ขอเชิญเสด็จขึ้นไปยังเมืองพิษณุโลก
ให้พ้นราชศัตรูก่อนท้าวประยาพระหัวเมืองมุขทั้งหลายก็ลงเป็นคาเดียวด้วย พระยาเพทราชา
สมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวก็ตรัสบัญชาตามท้าวพระยาทั้งหลาย จึงมีพระราชโองการตรัสสั่งแก่ขุนเทพอรชุน
ให้แต่งเรือพระที่นั่งและเรือประเทียบทั้งปวงให้สรรพ ในขณะนั้นพระเพชรรัตน์เจ้าเมืองเพชรบูรณ์มีความผิด (
พระราชพงศาวดารกรุงสยาม จากต้นฉบับของปริติชชมิวเซียมว่า เจ้าเมืองเพชรบุรี)ทรงพระกรุณาให้ยกออกเสียจากที่
พระเพชรรัตน์ ก็คิดเป็นกบฏและซ่องสุมชาวนอกทั้งปวงได้มากแล้ว คิดจะปล้นทัพหลวง เมื่อจะเสด็จขึ้นไปนั้น
สมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวตรัสถามขุนเทพอรชุนด้วยเรือพระที่นั่งทั้งปวงแล้วตรัสถามว่า
พระยาละแวกยกมาคราวนี้มิได้เป็นศึกใหญ่ ของทรงพระกรุณาเสด็จอยู่และให้รบพุ่งป้องกันพระนคร ให้รู้จักกาลังศึกก่อน
ครั้นจะด่วนละพระนครเสียไซร้พระเจ้าหงสาวดีจะตรัสติเตียนได้
สมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวตรัสเห็นชอบด้วยก็มีพระราชโองการตรัสสั่งขุนเทพอรชุน
ให้เตรียมเรือพระที่นั่งและตรวจจัดพลสาหรับเรือพระที่นั่งไว้ให้สรรพ
นางสาวสุพัตรากาวิจันทร์
สาขาการสอนสังคม55040131
ฝ่ายพระยาละแวกก็ยกทัพมาถึงกรุงพระนครศรีอยุธยา และให้จัดตั้งทัพตาบลบ้านกระทุ่ม
ขณะนั้นสมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวก็ตรัสให้เมืองนครพรหมและพลชาวหงสาวดีสามพันอยู่ประจาหน้าที่ในชื่อหน้า
แล้วให้ท้าวพระยาพระหัวเมืองทั้งหลายตรวจจัดพลทหารขึ้นประจาหร้า ที่กาแพงและรายกันอยู่รอบ ๆ พระนคร
พระยาละแวกยกพลขึ้นมายืนช่างในวัดสามพิหารและพลข้าศึกรายกันมาถึงวัดโรงฆ้องและวัดกุฎีทอง
แล้วเอาช้างยืนในวัดพระเมรุราชิการามประมาณสามสิบช้างพลประมาณสี่พัน
พระยาละแวกให้พลทหารลงเรือห้าลาข้ามมาปล้นในมุมเจ้าสนุก
สมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวเสด็จไปยืนพระราชยานและให้พลทหารขึ้นรบพุ่งข้าศึกก็พ่ายออกไป
จึงตรัสให้ยิงปืนจ่ารงค์เอาช้างข้าศึก ซึ่งยืนอยู่ในวัดสามพิหารนั้นต้องพระจาปาธิราชซึ่งเป็นกองหน้าตายกับคอช้าง
พระยาละแวกก็ล่าทัพกลับไป จึงกวาดเอาครัวตาบลบ้านนาและเมืองนครนายกไปเมืองละแวก
จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์แสดงว่า ระยองเป็นเมืองหนึ่งที่ต้องถูกเขมรถือโอกาสเข้ามารุกรานย่ายีในครั้งนั้น
หลังจากเสียกรุงศรีอยุธยาแก่พม่าครั้งที่ ๑ เพียงปีเดียว
และชาวระยองได้สูญเสียผู้คนพลเมืองญาติพี่น้องต้องตกเป็นเชลยให้เขมรกวาดต้อนเอาไปเป็นจานวนมิใช่น้อย
อ้างอิง
http://www.m-
culture.go.th/rayong/index.php/%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B9%8C%E0%B8%84
%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89-
3/%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B9%8C%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2
%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89-
%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%94/it
em/%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B9%8C%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B
2%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89-1-
%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%A5%E0%B8%95%
E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87-
copy-4
http://maridaohugkem.blogspot.com/
นางสาวสุพัตรากาวิจันทร์
สาขาการสอนสังคม55040131
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%
B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A2%E0%B8%
AD%E0%B8%87

More Related Content

What's hot

การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนkrupornpana55
 
การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)Fair Kung Nattaput
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4Ngamsiri Prasertkul
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt10846
 
พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 Saipanya school
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมจตุรพล ชานันโท
 
ใบความรู้เรื่อง การเปรียบเทียบ Comparison
ใบความรู้เรื่อง การเปรียบเทียบ Comparison ใบความรู้เรื่อง การเปรียบเทียบ Comparison
ใบความรู้เรื่อง การเปรียบเทียบ Comparison สมใจ จันสุกสี
 
ป้ายสัญลักษณ์จาราจร
ป้ายสัญลักษณ์จาราจรป้ายสัญลักษณ์จาราจร
ป้ายสัญลักษณ์จาราจรpingpingmum
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธาSantichon Islamic School
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำsedwong Pam
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์Kapom K.S.
 
หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว
หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว
หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว Terapong Piriyapan
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7ekroojaja
 
การประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติการประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติNU
 
แบบทดสอบ เรื่อง Tens present simple tense ภาษาอังกฤษ อ่าน เขียนเฉลย
แบบทดสอบ เรื่อง Tens   present simple tense ภาษาอังกฤษ อ่าน เขียนเฉลยแบบทดสอบ เรื่อง Tens   present simple tense ภาษาอังกฤษ อ่าน เขียนเฉลย
แบบทดสอบ เรื่อง Tens present simple tense ภาษาอังกฤษ อ่าน เขียนเฉลยpeter dontoom
 
ความหลากหลายของระบบนิเวศ
ความหลากหลายของระบบนิเวศความหลากหลายของระบบนิเวศ
ความหลากหลายของระบบนิเวศKittiya GenEnjoy
 

What's hot (20)

การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
 
โครงการ
โครงการโครงการ
โครงการ
 
การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
 
Handwriting A-Z
Handwriting A-ZHandwriting A-Z
Handwriting A-Z
 
พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
 
ใบความรู้เรื่อง การเปรียบเทียบ Comparison
ใบความรู้เรื่อง การเปรียบเทียบ Comparison ใบความรู้เรื่อง การเปรียบเทียบ Comparison
ใบความรู้เรื่อง การเปรียบเทียบ Comparison
 
ป้ายสัญลักษณ์จาราจร
ป้ายสัญลักษณ์จาราจรป้ายสัญลักษณ์จาราจร
ป้ายสัญลักษณ์จาราจร
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
 
หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว
หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว
หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
 
การประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติการประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติ
 
แบบทดสอบ เรื่อง Tens present simple tense ภาษาอังกฤษ อ่าน เขียนเฉลย
แบบทดสอบ เรื่อง Tens   present simple tense ภาษาอังกฤษ อ่าน เขียนเฉลยแบบทดสอบ เรื่อง Tens   present simple tense ภาษาอังกฤษ อ่าน เขียนเฉลย
แบบทดสอบ เรื่อง Tens present simple tense ภาษาอังกฤษ อ่าน เขียนเฉลย
 
ความหลากหลายของระบบนิเวศ
ความหลากหลายของระบบนิเวศความหลากหลายของระบบนิเวศ
ความหลากหลายของระบบนิเวศ
 

Similar to ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เมืองระยอง

ชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วยชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วย0857226950bb
 
ชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วยชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วย0857226950bb
 
หนังสือส่งเสริมการอ่าน ร่วมรักษ์ ร่วมสืบสานจากบ้านสู่เมือง กลุ่มสาระการเรียนร...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน ร่วมรักษ์ ร่วมสืบสานจากบ้านสู่เมือง กลุ่มสาระการเรียนร...หนังสือส่งเสริมการอ่าน ร่วมรักษ์ ร่วมสืบสานจากบ้านสู่เมือง กลุ่มสาระการเรียนร...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน ร่วมรักษ์ ร่วมสืบสานจากบ้านสู่เมือง กลุ่มสาระการเรียนร...Jee Ja
 
เล่มที่ 7เพื่อนบ้าน
เล่มที่ 7เพื่อนบ้านเล่มที่ 7เพื่อนบ้าน
เล่มที่ 7เพื่อนบ้านหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรมเล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรมหรร 'ษๅ
 
รู้จักคนในชุมชนเมืองน่าน
รู้จักคนในชุมชนเมืองน่านรู้จักคนในชุมชนเมืองน่าน
รู้จักคนในชุมชนเมืองน่านkrunoony
 
ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่า
ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่าประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่า
ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่าnongtaoschool
 

Similar to ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เมืองระยอง (10)

File
FileFile
File
 
ชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วยชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วย
 
ชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วยชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วย
 
7
77
7
 
หนังสือส่งเสริมการอ่าน ร่วมรักษ์ ร่วมสืบสานจากบ้านสู่เมือง กลุ่มสาระการเรียนร...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน ร่วมรักษ์ ร่วมสืบสานจากบ้านสู่เมือง กลุ่มสาระการเรียนร...หนังสือส่งเสริมการอ่าน ร่วมรักษ์ ร่วมสืบสานจากบ้านสู่เมือง กลุ่มสาระการเรียนร...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน ร่วมรักษ์ ร่วมสืบสานจากบ้านสู่เมือง กลุ่มสาระการเรียนร...
 
5
55
5
 
เล่มที่ 7เพื่อนบ้าน
เล่มที่ 7เพื่อนบ้านเล่มที่ 7เพื่อนบ้าน
เล่มที่ 7เพื่อนบ้าน
 
เล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรมเล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรม
 
รู้จักคนในชุมชนเมืองน่าน
รู้จักคนในชุมชนเมืองน่านรู้จักคนในชุมชนเมืองน่าน
รู้จักคนในชุมชนเมืองน่าน
 
ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่า
ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่าประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่า
ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่า
 

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เมืองระยอง

  • 1. นางสาวสุพัตรากาวิจันทร์ สาขาการสอนสังคม55040131 ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น การตั้งถิ่นฐานและการเติบโตของชุมชน “เมืองระยอง” การตั้งถิ่นฐาน ชนเผ่าชอง เป็นชาวพื้นเมืองดั้งเดิมเผ่าหนึ่งซึ่งตั้งถิ่นฐานอยู่แถวอาณาบริเวณชายทะเลภาคตะวันออกเฉียงใต้ ของประเทศไทยในท้องถิ่นของจังหวัดจันทบุรี และระยอง ในปัจจุบันนี้ ชนเผ่านี้ชอบอยู่และมีความชานาญในป่าเขาลาเนาไพรมีภาษาพูดของตนเองเป็นชนพื้นเมืองที่นิยมใช้ลูกปัดสีต่าง ๆ และทองเหลืองเป็นเครื่องประดับ ชาวชองมีถิ่นฐานดั้งเดิมอาศัยอยู่ตามป่าเขาและที่ราบที่เป็นป่า ระหว่างหุบเขาในภาคตะวันออกของประเทศ คือ ในท้องถิ่นจังหวัดระยอง จันทบุรี ตราด ปราจีนบุรี และเลยเข้าไปในประเทศกัมพูชา สาหรับชาวชองที่อาศัยอยู่ในประเทศไทย ปัจจุบันนี้ ตามกฎหมายยอมรับว่าเป็นคนไทย เชื้อชาติไทย และสัญชาติไทย นับถือศาสนาพุทธ แต่ขณะเดียวกันชาวชองก็มีวัฒนธรรม ความเชื่อ ประเพณีบางอย่างที่เป็นชองอยู่ ปัจจุบันแทบไม่มีชนเผ่าชองเหลืออยู่ในท้องที่จังหวัดระยองแล้ว ไปมีหลงเหลืออยู่ตามแถมป่าเขาในเขตจังหวัดจันทบุรี เพราะชนเผ่านี้ไม่ชอบอยู่ย่านชุมชนที่มีผู้คนอยู่กันพลุกพล่าน เมื่อบ้านเมืองเจริญพัฒนาเข้าสู่สมัยใหม่ พวกเขาก็ไม่อาจทนอยู่อีกต่อไปได้ ต้องอพยพถอยร่นบ่ายหน้าหันเข้าป่าอยู่เรื่อยไป จนแทบหมดสิ้นเผ่าที่เคยอาศัยอยู่ในถิ่นนี้มาก่อนเก่า ที่มาของคาว่าระยอง คาว่า “ ระยอง ”ไม่มีปรากฏคาอธิบายอยู่ในพจนานุกรม เช่นเดียวกันกับชื่อบ้านนามเมืองในท้องที่ต่าง ๆ ในแถบนี้ อันได้แก่คาว่า แกลง ชะเมาเพเลฯลฯ ล้วนไม่มีคาแปลอยู่ในภาษาไทย สันนิษฐานกันว่าน่าจะเป็นภาษาของชอง ผู้ยึดครองพื้นที่นี้มาแต่ดั้งเดิมและมีภาษาพูดเป็นของตนเองโดยเฉพาะ คาว่า “ ระยอง ”นี้ที่ถูกออกเสียงว่า “ราย็อง ”หรือออกเสียง รา ให้ยาวหน่อยส่วน ย็อง นั้นออกเสียงให้สั้นที่สุดเท่าที่จะทาได้“ราย็อง ”ภาษาชองแปลว่า “ เขตแดน” หมายถึง เขตแดนหรือดินแดนที่พวกชองได้ตั้งรกรากอยู่แต่ภาษาพูดดังกล่าว เมื่อกาลเวลาผ่านไปก็ได้เพี้ยนกลายมาเป็น“ระยอง ” ดังที่เป็นอยู่ในปัจจุบันทานองเดียวกันกับชื่อบ้านนามเมืองตามท้องที่ต่างๆ ของเราแต่ก่อน ซึ่งบัดนี้ได้เพี้ยนแปรเปลี่ยนไปจากเดิมปรากฏหลักฐานให้เล่าขานสืบกันมาจนทุกวันนี้ ก็มีมาก เช่น“ แร่นอง ” กลายเป็น“ ระนอง ” “สามแสน ” กลายเป็ น “สามเสน ”“ สามร้อยรอด ”ก็กลายเป็น “ สามร้อยยอด ”เป็นต้น
  • 2. นางสาวสุพัตรากาวิจันทร์ สาขาการสอนสังคม55040131 อีกนัยหนึ่งกล่าวกันว่า “ ราย็อง ” ในภาษาชองนั้นแปลงว่า “เขตแดน” หรือ “ต้นประดู่ ” เนื่องจากอาณาบริเวณที่ตั้งของตัวเมืองระยองในปัจจุบันอันเป็นถิ่นฐานของพวกชองมาตั้งแต่ดั้งเดิมนั้น เต็มไปด้วยดงไม้ต้นประดู่ขึ้นเป็นป่าหนาแน่นปรากฏอยู่ทั่วไปจนเป็นลักษณะของท้องที่ ด้วยเหตุนี้ ท้องที่นี้จึงได้เรียกชื่อว่า “ ราย็อง ” ครั้นต่อมา เมื่อคนไทยได้เข้ายึดพื้นที่อาณาบริเวณเดียวกันก็ตั้งชื่อตาบลย่านนี้ว่า “ ท่าประดู่ ” ที่บ่งบอกถึงความเป็นดินแดนอันอุดมสมบูรณ์ไปด้วยต้น ประดู่อย่างชัดแจ้ง รวมความว่าคาว่า “ ระยอง ”น่าจะมาจากภาษาชองที่แปลว่า ดินแดน หรือต้นประดู่ ป่าประดู่ อันเป็นไม้พื้นเมืองที่ทารายได้ให้แก่ชาวระยองและเมืองระยองเป็นอันมากในสมัยบรรพบุรุษของเรา นอกจากนี้ ยังมีคาบอกเล่าสืบต่อกันมา ทานองตานานของบ้านเมืองนี้ว่า ในสมัยโบราณนานมาแล้วนั้น ได้มี “ ยายยอง” มาตั้งหลักแหล่งทาไร่ ไถนาทามาหากินอยู่ในถิ่นแถบนี้มาก่อน จนชื่อเสียงลือกระฉ่อนเป็นที่รู้จักกันดีโดยทั่วไป จึงเรียกท้องที่บริเวณนี้กันว่า “ ไร่ยายยอง“หรือ“ นายายยอง”แล้วก็เพี้ยนกลายมาเป็น“ ระยอง ”ในที่สุด การสร้างเมือง จากสภาพแวดล้อมและหลักฐานทางประวัติศาสตร์ โบราณคดี ทาให้เป็นที่เชื่อได้ว่าเมืองระยองนี้น่าจะได้ตั้งขึ้นแล้วในสมัยพุทธศตวรรษที่๑๖ คือ เมื่อประมาณ ๑,๐๐๐ปีมาแล้ว อันเป็นสมัยที่ขอมกาลังเรืองอานาจครอบครอง (ไทยเรียกกันหลายชื่อเช่นนครหลวง และยโสธร ดูรายละเอียดได้จาก นิราศนครวร พระราชนิพนธ์ของสมเด็จพระยาดารงราชานุภาพ เป็นราชธานีได้แผ่อานุภาพเข้ามาครอบครองถึงอาณาจักรทวาราวดี ( คือดินแดนส่วนใหญ่ที่เป็นภาคกลางของประเทศไทยในปัจจุบัน )แทนที่พวกมอญ โดยขอมได้ตั้งอุปราชเข้ามาปกครองดูแลดินแดนแถบนี้อยู่ที่เมืองลพบุรี ลพบุรีจึงเป็นเมืองสาคัญ เป็นศูนย์บัญชาการสาหรับควบคุมดูแลดินแดนส่วนนี้ในสมัยนั้นในส่วนดินแดนภาคอื่น ๆ ได้แก่ภาคตะวันออกและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยเราในทุกวันนี้นั้น ขอมได้เข้ามาปกครองโดยตรง เช่น ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือขอมได้สร้างนครพนม เป็นเมืองหน้าด่านแรกมีเมืองพิมายเป็นเมืองอุปราช ทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ขอมได้สร้างเมืองจันทบูร( จันทบุรี ) เป็นเมืองหน้าด่านเสมือนปราการด้านตะวันออกเฉียงใต้ของนครธม ด้วยเหตุนี้ จึงได้ปรากฏโบราณสถานและโบราณวัตถุที่สร้างขึ้นในสมัยลพบุรี กระจายอยู่ทั่วไปในพื้นที่บริเวณนี้กว่า ๑๐จังหวัด ที่เป็นอาณาจักรไทยในปัจจุบัน
  • 3. นางสาวสุพัตรากาวิจันทร์ สาขาการสอนสังคม55040131 เมื่อเมืองจันทบูรเป็นเมืองหน้าด่าน เป็นเมืองสาคัญที่ขอมใช้เป็นศูนย์บัญชาการควบคุมดูแลจากการที่ได้แผ่อานุภาพเข้ามาปกครองดินแดนภาคตะวันออกของป ระเทศไทยเมืองระยองซึ่งตั้งอยู่ใกล้ชิด มีอาณาเขตติดต่อกับจันทบูร อยู่ในเขตที่ขอมจะแผ่แสนยานุภาพ ทั้งทางปกครองและอารยธรรมที่จะนาเข้ามาสู่อาณาจักรทวาราวดีเดิม จึงเชื่อได้ว่า ระยองจะต้องเป็นเมืองหนึ่งซึ่งขอมได้สร้างขึ้นแต่ครั้งนั้นคูเมืองแนวคันดินที่น่าเป็นเชิงเทินหรือกาแพงเมืองที่ปรากฏอยู่ ซากศิลาแลง ซากโบราณวัตถุเป็นหินสลักรูปต่างๆ ที่พบ ณบ้านดอน อาเภอเมืองระยองและที่บ้านคลองยายล้า ตาบลบ้านค่าย อาเภอบ้านค่าย ทุกวันนี้พอจะเป็นหลักฐานยืนยันถึงความเป็นเมืองเก่าแก่ถึงสมัยขอมลพบุรี มีอายุราวพันปีล่วงมาแล้วของเมืองระยองได้เป็นอย่างดี ระยองเริ่มมีชื่อปรากฏในอัยการตาแหน่งทหารหัวเมือง พ . ศ . ๑๙๙๘รัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ระบุเมืองระยองเป็นหัวเมืองชั้นตรีมีเจ้าเมืองตาแหน่งออกพระราชภักดีสงคราม สาหรับการปรากฏชื่อระยองในพงศาวดารเริ่มในรัชสมัยสมเด็จพระมหาธรรมราชาแห่งกรุงศรีอยุธยา ( พงศาวดารฉบับ หลวงประเสริฐอักษรนิต์ ระบุ พ . ศ. ๒๑๑๓ฉบับพระราชหัตถเลขาของสมเด็จพระบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพ พ . ศ. ๒๑๐๐ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิต์ ช้ากว่า ๑๓ปี )โดยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพ ( ๒๔๙๕: ๔๘-๕๑) ทรงอธิบายว่า “ จุลศักราช ๙๑๙ปีมะเส็งนพศกเดือนยี่(พ . ศ . ๒๑๐๐)พระยาละแวกยกช้างมา รี้พลมาทางเมืองนครนายก และไพร่พลพระยาละแวกมาคราวนั้นประมาณ ๓ หมื่นคนกรมการเมืองนครนายกบอกข่าวราชการเข้ามา ณกรุงฯ มุขมนตรีจึงเอาหนังสือบอกขึ้นบังคมทูลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ครั้นตรัสทราบก็ให้ท้าวพระยาหัวเมืองมุขมนตรีทั้งหลายพิพากษาว่า เมื่อพระยาละแวกยกช้างมารี้พลดังนี้ ท้าวพระยาทั้งหลายจะคิดประการใด จึงพระยาเพทราชาผู้เป็นพระยาอินทรานครบาลทูล ว่า กรุงเทพมหานครไซร้ พึ่งเป็นอันตรายรี้พลบอบบางยังไม่ได้สมบูรณ์ และทหารซึ่งจะขั้นประจาหน้าที่รอบพระนครนั้นเห็นมิครบหน้าที่ อนึ่ง ปืนใหญ่น้อยสาหรับพระนครนั้นสมเด็จพระเจ้าหงสาวดีก็ให้เอาไปเป็นอันมาก และปืนซึ่งตั้งซ่องทั้งปวงนั้นเป็นอันน้อยนักทั้งกระสุนดินประสิว ก็ยังมิได้ประมูลไว้สาหรับที่จะกันพระนคร และซึ่งจะตั้งพุ่งรบพุ่งป้องกันพระนครครั้งนี้เห็นเหลือกาลัง ขอเชิญเสด็จขึ้นไปยังเมืองพิษณุโลก ให้พ้นราชศัตรูก่อนท้าวประยาพระหัวเมืองมุขทั้งหลายก็ลงเป็นคาเดียวด้วย พระยาเพทราชา สมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวก็ตรัสบัญชาตามท้าวพระยาทั้งหลาย จึงมีพระราชโองการตรัสสั่งแก่ขุนเทพอรชุน ให้แต่งเรือพระที่นั่งและเรือประเทียบทั้งปวงให้สรรพ ในขณะนั้นพระเพชรรัตน์เจ้าเมืองเพชรบูรณ์มีความผิด ( พระราชพงศาวดารกรุงสยาม จากต้นฉบับของปริติชชมิวเซียมว่า เจ้าเมืองเพชรบุรี)ทรงพระกรุณาให้ยกออกเสียจากที่ พระเพชรรัตน์ ก็คิดเป็นกบฏและซ่องสุมชาวนอกทั้งปวงได้มากแล้ว คิดจะปล้นทัพหลวง เมื่อจะเสด็จขึ้นไปนั้น สมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวตรัสถามขุนเทพอรชุนด้วยเรือพระที่นั่งทั้งปวงแล้วตรัสถามว่า พระยาละแวกยกมาคราวนี้มิได้เป็นศึกใหญ่ ของทรงพระกรุณาเสด็จอยู่และให้รบพุ่งป้องกันพระนคร ให้รู้จักกาลังศึกก่อน ครั้นจะด่วนละพระนครเสียไซร้พระเจ้าหงสาวดีจะตรัสติเตียนได้ สมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวตรัสเห็นชอบด้วยก็มีพระราชโองการตรัสสั่งขุนเทพอรชุน ให้เตรียมเรือพระที่นั่งและตรวจจัดพลสาหรับเรือพระที่นั่งไว้ให้สรรพ
  • 4. นางสาวสุพัตรากาวิจันทร์ สาขาการสอนสังคม55040131 ฝ่ายพระยาละแวกก็ยกทัพมาถึงกรุงพระนครศรีอยุธยา และให้จัดตั้งทัพตาบลบ้านกระทุ่ม ขณะนั้นสมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวก็ตรัสให้เมืองนครพรหมและพลชาวหงสาวดีสามพันอยู่ประจาหน้าที่ในชื่อหน้า แล้วให้ท้าวพระยาพระหัวเมืองทั้งหลายตรวจจัดพลทหารขึ้นประจาหร้า ที่กาแพงและรายกันอยู่รอบ ๆ พระนคร พระยาละแวกยกพลขึ้นมายืนช่างในวัดสามพิหารและพลข้าศึกรายกันมาถึงวัดโรงฆ้องและวัดกุฎีทอง แล้วเอาช้างยืนในวัดพระเมรุราชิการามประมาณสามสิบช้างพลประมาณสี่พัน พระยาละแวกให้พลทหารลงเรือห้าลาข้ามมาปล้นในมุมเจ้าสนุก สมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวเสด็จไปยืนพระราชยานและให้พลทหารขึ้นรบพุ่งข้าศึกก็พ่ายออกไป จึงตรัสให้ยิงปืนจ่ารงค์เอาช้างข้าศึก ซึ่งยืนอยู่ในวัดสามพิหารนั้นต้องพระจาปาธิราชซึ่งเป็นกองหน้าตายกับคอช้าง พระยาละแวกก็ล่าทัพกลับไป จึงกวาดเอาครัวตาบลบ้านนาและเมืองนครนายกไปเมืองละแวก จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์แสดงว่า ระยองเป็นเมืองหนึ่งที่ต้องถูกเขมรถือโอกาสเข้ามารุกรานย่ายีในครั้งนั้น หลังจากเสียกรุงศรีอยุธยาแก่พม่าครั้งที่ ๑ เพียงปีเดียว และชาวระยองได้สูญเสียผู้คนพลเมืองญาติพี่น้องต้องตกเป็นเชลยให้เขมรกวาดต้อนเอาไปเป็นจานวนมิใช่น้อย อ้างอิง http://www.m- culture.go.th/rayong/index.php/%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B9%8C%E0%B8%84 %E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89- 3/%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B9%8C%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2 %E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89- %E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%94/it em/%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B9%8C%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B 2%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89-1- %E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%A5%E0%B8%95% E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87- copy-4 http://maridaohugkem.blogspot.com/