SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน
ภาพจาก facebook : ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน THE MAEHONGSON OLD HOUSE CLUB
สามารถ สุวรรณรัตน์
นักวิชาการอิสระ
แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง
ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
1
ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน
การทางานของภาคประชาสังคมเพื่อการพัฒนาเมืองแม่ฮ่องสอนเป็นอีกเมืองหนึ่งที่มีรูปแบบการ
ทางานเฉพาะและมีความน่าสนใจ โดยเฉพาะการอาศัยความเข้มแข็งของกลุ่มชุมชนในเขตเมือง หรือที่
เรียกว่า “ป๊อก” ซึ่งมีอยู่ทั้งหมดด้วยกัน 6 ชุมชน ( 6 ปีอก) ซึ่งจากการสัมภาษณ์ผู้บทบาทในการทางาน
ภาคประชาสังคมในเขตเมือง และตัวแทนชุมชนพบว่า ชุมชนทั้ง 6 ป๊อก ก่อนจะได้รับการจัดตั้งเป็น
ชุมชนในการรับรองของเทศบาล ชุมชนมีกลไกการจัดการทางสังคม และการดูแลชุมชน ผ่านสภาน้าชา
หรือสภาน้าเมี่ยง เป็นวงพูดคุยปรึกษาหารือกันของผู้มีอาวุโสในชุมชน และในกลุ่มชุมชนในเขตเมืองเพื่อ
ร่วมกันตัดสินใจเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับสาธารณประโยชน์ เรื่องที่เป็นปัญหาร่วม และเรื่องการจัดงานบุญ
ขนาดใหญ่ เช่นงานปอยส่างลอง ที่มีทาเนียมนิยมให้มีการเวียนให้ทุกชุมชนมีโอกาสได้เป็นเจ้าภาพ
กลไกและโครงสร้างทางสังคมดังกล่าว ถูกหยิบนามาใช้อย่างต่อเนื่องทั้งในกรอบการปกครอง
ภายใต้อานาจรัฐภายใต้การดูแลของเทศบาล โดยตัวแทนของชุมชนที่เข้ามารับตาแหน่งประธานชุมชนก็
ยังคงต้องรับฟังมติ หรือข้อคิดเห็นจากสภาน้าเมี่ยง และงานประเพณีใหญ่ๆ ที่ถือว่าเป็นจิตวิญาณของ
ประเพณีแม่ฮ่องสอน อย่างงานปอยส่างลอง หรืองานออกพีด (ออกพรรษา) ก็ยังคงใช้ระบบเดิม ขยาย
ไปถึงโครงสร้างการทางานแบบภาคประชาสังคมที่มีการจัดตั้งเป็นองค์กรชุมชนภายใต้องค์กรรัฐอย่าง
สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน องค์กรมหาชน (พอช.)ที่จะใช้โครงสร้างองค์กรชุมชนในการขับเคลื่อนงาน
ด้านการพัฒนาที่อยู่อาศัยก็ยังคงต้องพึงพา และใช้ประโยชน์จากโครงสร้างระบบอาวุโสที่มีมาเป็นจารีต
และขนบแต่ดั้งเดิมเช่นกัน
สาหรับการขับเคลื่อนงานพัฒนาเมืองโดยภาคประชาสังคมของเมืองแม่ฮ่องสอน การศึกษาครั้ง
นี้ได้ทาการคัดเลือก ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน เป็นตัวแทนภาคประชาสังคมเนื่องด้วยมีการที่
เห็นเป็นรูปธรรม และมีกลุ่มก้อนการทางานชัดเจน แม้ในปัจจุบันภาระงานดังกล่าวจะถูกถ่ายโอนไปสู่
เทศบาลเมืองแม่ฮ่องสอนเสียส่วนใหญ่ แต่ประสบการณ์ทางาน และผู้คนในพื้นที่ที่ยังคงดาเนินงานเรื่อง
นี้ก็ยังคงทางานดูแลความอาคารไม้บนถนนสิงหนาทบารุงอย่างสม่าเสมอ
จุดเริ่มต้น
ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน เกิดจากการรวมตัวของเจ้าของบ้านไม้เก่า ริมถนนสิงหนาท
บารุง และบ้านไม้เก่าในเขตเทศบาลเมืองแม่ฮ่องสอน ในช่วงปี 2552 -53 ด้วยมีทีมวิจัยจากโครงการของ
การเคหะแห่งชาติ เข้ามาสารวจบ้านเก่า เพื่อกาหนดคุณค่า และได้มีการประสานงานร่วมกับเทศบาล
เมืองแม่ฮ่องสอน โดยนายกเทศมนตรีเมืองแม่ฮ่องสอน ขณะนั้น คุณสุเทพ นุชทรวง (รูปที่ 1) ได้ให้
ความสนใจกับตัวโครงการเป็นอย่างมากและมีการประชุมร่วมกันกับชุมชนในเขตเมืองเก่าแม่ฮ่องสอน
หลายครั้ง โดยนายกสุเทพได้มีนโยบายในเรื่องการส่งเสริมการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมไทใหญ่ ใน
2
เขตเมืองเก่าแม่ฮ่องสอน องค์ประกอบร่วมทั้ง 2 ส่วนจึงทาให้เกิดการพูดคุยกันในหมู่เจ้าของบ้านเก่า
และผู้ที่สนใจ เกิดเป็นการประชุมที่วาระต่อเนื่องหลังจากโครงการวิจัยดังกล่าว นายนิรันดร์ วิชัยสกุล
เลขานุการชมรมบ้านเก่าฯและเจ้าของร้านปาด็อง ร้านจาหน่ายของที่ระลึก ที่อาศัยเช่าอาคารเก่าบริเวณ
ถนนสิงหนาทบารุงมาปรับปรุงเป็นร้านขายของ ได้กล่าวถึงมูลเหตุการณ์ตั้งชมรมไว้ว่า “แต่ก่อนนั้น
จริงๆก็มีการพูดคุยกันอยู่แล้วในกลุ่มเจ้าของบ้านเก่า ทั้งเรื่องการซ่อมแซม เรื่องความต้องการที่จะขาย
เรื่องการจะเก็บรักษา มันเป็นจังหวะพอดีกัน มีทั้งข้อมูลจากงานวิจัยที่ทาให้เราเห็นว่า บ้านไม้เก่า
เหลืออยู่เท่าไหร่ มีคุณค่าอย่างไร กลุ่มคนเจ้าของก็ตื่นตัวมากขึ้น กลุ่มคนที่สนใจอยากจะอนุรักษ์ มีกลุ่ม
จิตอาสาก็เข้ามาช่วยทางาน อย่างพี่โต้งสถาปนิกเทศบาล พี่เก่งร้านเรือนภาพ และที่สาคัญคือ เทศบาล
เองก็เข้ามาช่วยหนุน จึงทาให้เกิดการจัดตั้งชมรมและขึ้นทะเบียนรับรองโดยเทศบาลเมืองแม่ฮ่องสอน”
[คุณนิรันดร์ วิชัยสกุล และคุณตาบุญเลิศ วิรัตนาภรณ์,(สัมภาษณ์) 12 ธันวาคม 2558]
วัตถุประสงค์การจัดตั้งชมรม
วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งชมรมอนุรักษ์บ้านเก่า และการดาเนินโครงการ ได้แก่
1. เพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์บ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน
2. เพื่อส่งเสริมวิถีชีวิตของชุมชนเมืองแม่ฮ่องสอน
3. เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ สืบทอด รักษา สังคม ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิต ของเมือง
แม่ฮ่องสอน
รูปที่ 1 คุณสุเทพ นุชทรวง
3
รูปแบบการรวมตัว
ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน รวมตัวกันด้วยพื้นฐานจากกลุ่มเจ้าของบ้านเก่า และคนรักบ้าน
เก่า โดยอาศัยความสัมพันธ์ทางสังคมแบบการอยู่ร่วมกันในชุมชนขนาดเล็กเป็นสังคมที่คนท้องถิ่นจะ
รู้จัก กระบวนการดาเนินงาน จึงเป็นไปในรูปแบบให้ความสาคัญกับกระบวนการมีส่วนร่วมของคนใน
กลุ่ม ทั้งในการวางแผนการดาเนินงาน การตัดสินใจในประเด็นที่สาคัญ และการผสานความร่วมมือกับ
เครือข่ายในกลุ่มงานอื่นๆเพื่อร่วมกันผลักดันเป้าหมายที่มีร่วมกันในแต่ละงาน ตามวาระโอกาส ทาง
ชมรมมีการจัดตั้งโครงสร้างการทางานคือ มีประธาน เลขานุการ และคณะกรรมการ ไม่น้อยกว่า 5 คน
แต่ไม่เกิน 15 คน มีการประชุมตามวาระบางครั้งประชุมทุก 1 เดือน หรือ บางครั้ง 2-3 เดือนครั้ง และมี
การประชุมใหญ่ปีละ 1 ครั้ง รูปแบบการทางานเป็นแบบอาสาสมัคร แบ่งงานตามความสนใจ และ
ศักยภาพของแต่ละคน สมาชิกส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ และเป็นเจ้าของบ้าน มีคนรุ่นใหม่ที่มีจิตอาสาเข้า
ร่วมโครงการอยู่ราว 3-4 คน
การบริหารจัดการและงบประมาณ
การบริหารจัดการและงบประมาณที่ใช้ ในระยะแรกยังไม่มีองค์กรใดสนับสนุน อาศัยการใช้
งบประมาณจากทุนส่วนตัวเป็นค่าเดินทางและเอกสาร แต่ภายหลังได้รับการสนับสนุนจากเทศบาลเป็น
ประจาทุกปี จึงมีการจัดสรรงบประมาณแบ่งตามกิจกรรมชัดเจน โดยทุกปีชมรมจะต้องร่างโครงการใหม่
นาเสนอต่อเทศบาลในปีงบประมาณใหม่ หากมีการใช้งบประมาณเหลือ ต้องนาเงินส่งคืนให้เทศบาล
การทางานภาคปฏิบัติ เช่น การปรับปรุงอาคาร การทาสีอาคาร งานแรงงาน จะใช้งบประมาณที่มีในการ
จัดจ้างคนท้องถิ่น หรือนักเรียนนักศึกษาให้ร่วมทางาน สาหรับงบประมาณที่เคยได้รับ และดาเนินงานไป
แล้วมีดังนี้
1) การเคหะแห่งชาติสนับสนุนงบประมาณการวิจัยเก็บข้อมูลบ้านเก่า จานวน 6 ชุมชน รวม 142
หลัง จากโครงการการศึกษาแนวทางการพัฒนาที่อยู่อาศัยชุมชนดั้งเดิมและมรดกทางวัฒนธรรม
(สนับสนุนงบประมาณนักวิจัย และกระบวนการดาเนินงานของทีมวิจัย ไม่ได้สนับสนุนการทางาน
ของชมรมฯ) ดาเนินงานระหว่างปี 2553-2554
2) งบประมาณจากเทศบาลเมืองแม่ฮ่องสอน ปีละ 100,000 บาท เพื่อให้ชมรมฯดาเนินงานที่
เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์บ้านเก่า และงานด้านมรดกทางวัฒนธรรม (ปัจจุบันงบประมาณปี 2556-
57 เทศบาลลดจานวนเงินลงเหลือ 50,000 บาทต่อปี)
3) งบประมาณจากโครงการบ้านมั่นคง (เมืองอนุรักษ์) สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน องค์กร
มหาชน (พอช.) จานวน 500,000 บาท (ดาเนินงานเครือข่ายและงานอนุรักษ์บ้านเก่าบนถนนสิง
หนาทบารุง ในช่วงปี 2555-56)
4
ผลลัพท์การดาเนินโครงการ
จากการดาเนินงานที่ผ่านผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับเมืองแม่ฮ่องสอน คือ
1) จากกิจกรรมการสารวจบ้านเก่าในเขตเทศบาลเมืองแม่ฮ่องสอนของการเคหะแห่งชาติ ทาให้เกิด
ความตระหนักในคุณค่าของบ้านไม้เก่า และเกิดการจับกลุ่มพูดคุยกันของกลุ่มเจ้าของบ้านเก่า และ
กลุ่มคนรักบ้านเก่า การศึกษาครั้งนี้ถือได้ว่าเป็นอีกหนึ่งปัจจัยสนับสนุนที่ทาให้เกิดการรวมกลุ่ม
เป็นชมรมบ้านเก่าฯ และการผลักดันทั้งทางนโยบาย และการปฏิบัติในเวลาต่อมา
2) งบประมาณสนับสนุนจากเทศบาล ทาให้เกิดโครงการขนาดเล็กที่ดาเนินการโดยชมรมฯ และ
โครงการที่ชมรมเข้าไปสนับสนุน เช่น
- กิจกรรมการฟื้นฟูตลาดแสงเทียน กาดพีดเลิ่งสิบเอ็ด (ตลาดขายของแบนกับดินในช่วงค่าจนถึง
เช้าตรู่ของวันใหม่ จัดในช่วงใกล้วันออกพรรษา สถานที่จัด คือ บริเวณด้านหน้าตลาดสายหยุด
ไปจนถึงริมถนนสิงหนาทบารุงชมรมเข้าไปมีส่วนช่วยในการจัดกิจกรรมการแสดงทาง
วัฒนธรรม โดยการสนับสนุนกลุ่มเยาวชนที่มีความสามารถด้านการแสดงนาฏศิลป์ไทใหญ่ (ยัง
ดาเนินการทุกปี)
- กิจกรรมรวบรวมประวัติบ้าน และจัดทาป้ายประวัติและต๋อมน้าหน้าบ้าน จัดทาปีละ 10 หลัง
(ยังดาเนินการทุกปี)
- กิจกรรมย้อมเมืองเปลี่ยนผ้าใบอาคาร การสนับสนุนเจ้าของอาคารปูน หรือห้องแถวไม้ ที่ใช้
ผ้าใบกันแดดหลากสีให้เปลี่ยนเป็นสีน้าตาลครีม โดยทางชมรมฯสนับสนุนตามเงื่อนไขที่จูงใจให้
เจ้าของอาคารเข้าร่วมโครงการ เช่น หากเจ้าของบ้านมีโครงเหล็กสาหรับแขวนผ้าใบอยู่แล้ว
ทางชมรมจะช่วยสนับสนุนค่าใช้จ่ายสาหรับผ้าใบผืนใหม่ หากเจ้าของอาคารไม่มีเหล็ก ชมรมจะ
สนับสนุนค่าใช้จ่ายสาหรับเหล็ก และเจ้าของอาคารออกค่าใช้จ่ายสาหรับผ้าใบผืนใหม่ ปัจจุบัน
ชมรมฯร่วมกับเจ้าของอาคาร (ส่วนใหญ่อยู่บนถนนสิงหนาทบารุง) ได้ร่วมกันเปลี่ยนผ้าใบไป
แล้วประมาณ 20 กว่าหลัง
3) งบประมาณที่ได้สนับสนุนจาก สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.) จานวน 500,000 บาท
- การใช้งบประมาณถูกจาเพาะเจาะจงพื้นที่บนถนนสิงหนาทบารุง ถูกแบ่งเป็นสองส่วน ส่วนละ
250,000 บาท
- ส่วนแรกนาไปดาเนินกิจกรรมย้อมเมือง ผ่านกิจกรรมทาสีอาคาร โดยเฉพาะอาคารปูนที่มีสีสัน
ฉูดฉาด ให้เปลี่ยนสีเป็นสีน้าตาล โดยมีเงื่อนไขจูงใจสาหรับเจ้าของอาคารในการเปลี่ยนสี สาหรับ
อาคารที่สูงไม่เกิน 2 ชั้น ทางชมรมจะออกค่าจ้างแรงงานทาสีให้ ส่วนเจ้าของจะต้องออก
ค่าใช้จ่ายค่าสีทาบ้าน (แรงงาน คือ นักศึกษาจากวิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชินีแม่ฮ่องสอน)
สาหรับอาคารที่มีความสูงเกิน 2 ชั้น ทางชมรมฯจะเป็นผู้ออกค่าสี และเจ้าของอาคารจะเป็นผู้
ออกค่าใช้จ่ายค่าแรงงาน (ในวันที่สัมภาษณ์โครงการยังไม่เริ่มดาเนินการ,นักวิจัย)
5
- จานวนเงินอีกกึ่งหนึ่ง 250,000 บาท ทางชมรมได้วางแผนไว้แล้ว โดยจะใช้งบประมาณไปกับ
การอบรมนักเรียนนักศึกษา และผู้ที่สนใจศิลปะการตอก-ตัดปานสอย (สังกะสีฉลุลวดลายไทใหญ่
,นักวิจัย) (ในวันที่สัมภาษณ์โครงการยังไม่เริ่มดาเนินการ, ผู้วิจัย)
รูปที่ 2 – 3 บรรยากาศการประชุมชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอนที่ประชุมอาคาร รสพ. ถนนสิงหนาทบารุง
รูปที่ 3 – 4 ผ้าใบสีน้าตาลครีมสนับสนุนโดยชมรมบ้านแม่ฮ่องสอน
รูปที่ 5 ภาพกิจกรรมย้อมเมือง การเปลี่ยนสีอาคารจากสีสันที่แตกต่างเป็นสีน้าตาลให้กลมกลืนกับอาคารเก่า
6
จุดแข็งของกลุ่ม
หากพิจารณาในแง่มุมของการดาเนินงานอนุรักษ์โดยภาคประชาชนจุดเด่นของการพัฒนาเมือง
แม่ฮ่องสอนภายใต้ประเด็นดังกล่าว คือ การมีชุมชน และเครือข่ายชุมชนที่เข้มแข็ง เป็นกลุ่มก้อนที่มี
มโนทัศน์การพัฒนา การเป็นอยู่ของเมืองแม่ฮ่องสอนที่ชัดเจน ผ่านเครือข่ายสมาชิกป๊อก(ชุมชน)
และกลไกสภาน้าชา (น้าเมี่ยง) ที่ช่วยทาให้การเคลื่อนงานเป็นเอกภาพ ไม่ว่าจะเป็นงานด้านการฟื้นฟู
วัฒนธรรม จารีตประเพณี การทางานร่วมกับองค์กรภายนอกเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างโครงการ Living
Museum แม่ฮ่องสอน การก่อตั้งสถาบันไทใหญ่ศึกษา หรือแม้แต่การทางานของชมรมบ้านเก่าเมือง
แม่ฮ่องสอน ซึ่งความสาเร็จของโครงการทั้งหมดต่างเป็นเครื่องยืนยันและเน้นย้าว่า โครงสร้างทางสังคม
แบบดั้งเดิมของแม่ฮ่องสอน เปรียบได้กับกระดูสันหลังของสังคมที่ช่วยกาหนดให้ร่างกาย(เมือง)
สามารถพัฒนาไปในทิศทางที่ตรงกับความต้องการของคนในชุมชนอย่างแท้จริง เพียงแต่มโนทัศน์
ดังกล่าวได้ถูกส่งผ่านเครื่องมืออย่างโครงการและกิจกรรมที่สร้างขึ้นใหม่อย่างต่อเนื่องเท่านั้นเอง
บุคลากรรู้ดาเนินงานชมรมบ้านเก่าแม่ฮ่องสอน แบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ
- กลุ่มที่ 1 คือ กลุ่มคนรุ่นใหม่ ซึ่งมีความซาบซึ้งกับความสวยงามและคุณค่าของบ้านเก่า รวมถึงมี
ความสนใจและต้องการอนุรักษ์บ้านเก่า คนกลุ่มนี้ไม่มีบ้านเก่า เพียงแต่ได้อาศัยบ้านเก่าในการทา
ธุรกิจ หรือบางคนไม่มีความเกี่ยวข้องใดๆเลยกับบ้านเก่า เป็นต้น
- กลุ่มที่ 2 คือ กลุ่มเจ้าของบ้านเก่า ที่รับรู้คุณค่าและต้องการที่จะเก็บรักษา ซ่อมแซมบ้านของตo
- กลุ่มที่ 3 คือ หน่วยงานภาครัฐ ได้แก่ เทศบาลเมืองแม่ฮ่องสอน สถาบันการศึกษา และองค์กร
อื่นๆ ที่ความสนใจและต้องการสนับสนุนการอนุรักษ์บ้านเข้ามามีส่วนร่วม ความหลากหลายของ
กลุ่มคนจะเห็นได้ว่า ได้สร้างองค์ประกอบการทางานที่ดี คือ มีแรงงานคนรุ่นใหม่ มีเจ้าของบ้านที่
เต็มใจร่วมกิจกรรม และรู้สึกต้องการผลักดันการอนุรักษ์บ้านเก่า และเทศบาล หรือองค์กรอื่นๆ
ที่มาพร้อมงบประมาณ เครื่องมือ และวิธีการอื่นๆที่ช่วยหนุนเสริมชมรมฯ เช่น การสนับสนุนงบ
จากเทศบาลให้กับชมรมประมาณปีละ100,000 บาท การสนับสนุนงบประมาณให้นักวิชาการเข้า
มาทางานวิจัยเรื่องบ้านเก่าในพื้นที่ของการเคหะ หรือการสนับสนุนงบประมาณในการทากิจกรรม
เปลี่ยนสีเมืองจากสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.) เป็นต้น สาหรับการบริหารจัดการการ
รูปที่ 6 – 7 ภาพกิจกรรมการอบรมการตัด-ตอกปานซอย(โลหะฉลุศิลปะไทใหญ่)
7
ดาเนินงานและงบประมาณ ทางชมรมได้การรวมสมาชิกทั้งเจ้าของบ้านเก่า คนรุ่นใหม่จิตอาสา
และเจ้าพนักงานในเทศบาลซึ่งเป็นสถาปนิก ที่ช่วยทั้งเรื่ององค์ความรู้ การระดมทุน และการ
เชื่อมโยงองค์กรทั้งภายในและภายนอก
เกิดเป็นการมีส่วนร่วมที่เป็นจุดแข็งของการดาเนินงานผ่านการเสนอความคิดเห็นและร่วม
เสนอแนะการทางานและกิจกรรมจากเจ้าของบ้านเก่า การได้รับคาแนะนาจากเจ้าหน้าที่เทศบาล พร้อม
การสนับสนุนงบประมาณ การออกแบบกิจกรรมไม้ว่าจะเป็นการเปลี่ยนสีอาคาร รวมไปถึงงานอบรมองค์
ความรู้ภูมิปัญญาไทใหญ่ หรือการรื้อพื้นงานกาดพีดเลิ่งสิบเอ็ด ล้วนแล้วแต่มีกระบวนการเปิดโอกาสให้
คนทั่วไปเข้ามามีส่วนร่วมในการเป็นเจ้าภาพร่วมจัดงาน หรือเข้าร่วมกิจกรรมในทุกๆครั้ง
จุดอ่อนการบริหารจัดการ
จุดอ่อนด้านการบริหารจัดการของชมรมฯเกิดจากปัญหาเรื่องการขาดแคลนบุคลากรเข้ามา
ทางาน และการบริหารจัดการในปัจจุบันถือได้ว่าเป็นภาระให้กับกลุ่มคนทางานที่มีอยู่จานวนจากัด และ
ไม่มีเวลาว่างมากพอสาหรับจัดการปริมาณงานทั้งหมดได้ อีกทั้งการบริหารจัดการให้ได้ผลงานตาม
โครงการที่เขียนไว้ก็มิได้เผื่องบประมาณในด้านการบริหารจัดการเรื่องการจ้างผู้จัดการโครงการที่ทางาน
เต็มเวลาแต่อย่างใด จึงทาให้ต้องคืนงบประมาณ เพราะไม่สามารถบริหารจัดการได้ทันเวลา อย่างไรก็ดี
ในช่วง 2 ปีที่ผ่านภายหลังการทางานของกลุ่มเริ่มมาถึงจุดเปลี่ยนเพราะขาดกาลังคน เทศบาลเมือง
แม่ฮ่องสอน และหน่วยงานระดับจังหวัดได้เข้ามามีส่วนร่วมในการทางานมากขึ้นเช่น การประชาสัมพันธ์
ภาพลักษณ์ และความสาคัญของบ้านเก่าในเขตเมืองแม่ฮ่องสอน การติดตั้งป้ายทองเหลืองให้ความรู้
เรื่องประวัติ และคุณค่าของบ้านเก่าบนถนนสิงหนาทบารุง เป็นต้น
1

More Related Content

What's hot

ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลา
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลาทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลา
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลาFURD_RSU
 
2554 ผลการดำเนินโครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
2554 ผลการดำเนินโครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต2554 ผลการดำเนินโครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
2554 ผลการดำเนินโครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโตmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชน
การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชนการพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชน
การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชนsoftganz
 
ผู้สูงอายุ60
ผู้สูงอายุ60ผู้สูงอายุ60
ผู้สูงอายุ60gel2onimal
 
แนวทางการกำหนดนโยบายพัฒนาเมืองบนฐานของทุนทางสังคม:
 แนวทางการกำหนดนโยบายพัฒนาเมืองบนฐานของทุนทางสังคม: แนวทางการกำหนดนโยบายพัฒนาเมืองบนฐานของทุนทางสังคม:
แนวทางการกำหนดนโยบายพัฒนาเมืองบนฐานของทุนทางสังคม:FURD_RSU
 
การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่
การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่
การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่FURD_RSU
 
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 52554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
2554 โครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
2554 โครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต2554 โครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
2554 โครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโตmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...
รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...
รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...Kanjana thong
 
เอกสารชุดที่ 1 การจัดการโครงการ
เอกสารชุดที่ 1 การจัดการโครงการเอกสารชุดที่ 1 การจัดการโครงการ
เอกสารชุดที่ 1 การจัดการโครงการmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
กองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพgel2onimal
 
โรงเรียนนครรังสิต รัตนโกสินทร์
โรงเรียนนครรังสิต รัตนโกสินทร์โรงเรียนนครรังสิต รัตนโกสินทร์
โรงเรียนนครรังสิต รัตนโกสินทร์yahapop
 
แผนการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560
แผนการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560แผนการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560
แผนการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560Kanjana thong
 
12.ส่วนที่ 8
12.ส่วนที่ 812.ส่วนที่ 8
12.ส่วนที่ 8Junior Bush
 
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2FURD_RSU
 
Uclg กับการเดินหน้าสร้างท้องถิ่นที่เข้มแข็งในระดับสากล
Uclg กับการเดินหน้าสร้างท้องถิ่นที่เข้มแข็งในระดับสากล Uclg กับการเดินหน้าสร้างท้องถิ่นที่เข้มแข็งในระดับสากล
Uclg กับการเดินหน้าสร้างท้องถิ่นที่เข้มแข็งในระดับสากล FURD_RSU
 
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ FURD_RSU
 

What's hot (18)

ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลา
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลาทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลา
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลา
 
2554 ผลการดำเนินโครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
2554 ผลการดำเนินโครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต2554 ผลการดำเนินโครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
2554 ผลการดำเนินโครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
 
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)
 
การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชน
การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชนการพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชน
การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชน
 
ผู้สูงอายุ60
ผู้สูงอายุ60ผู้สูงอายุ60
ผู้สูงอายุ60
 
แนวทางการกำหนดนโยบายพัฒนาเมืองบนฐานของทุนทางสังคม:
 แนวทางการกำหนดนโยบายพัฒนาเมืองบนฐานของทุนทางสังคม: แนวทางการกำหนดนโยบายพัฒนาเมืองบนฐานของทุนทางสังคม:
แนวทางการกำหนดนโยบายพัฒนาเมืองบนฐานของทุนทางสังคม:
 
การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่
การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่
การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่
 
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 52554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
 
2554 โครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
2554 โครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต2554 โครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
2554 โครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
 
รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...
รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...
รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...
 
เอกสารชุดที่ 1 การจัดการโครงการ
เอกสารชุดที่ 1 การจัดการโครงการเอกสารชุดที่ 1 การจัดการโครงการ
เอกสารชุดที่ 1 การจัดการโครงการ
 
กองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพ
 
โรงเรียนนครรังสิต รัตนโกสินทร์
โรงเรียนนครรังสิต รัตนโกสินทร์โรงเรียนนครรังสิต รัตนโกสินทร์
โรงเรียนนครรังสิต รัตนโกสินทร์
 
แผนการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560
แผนการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560แผนการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560
แผนการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560
 
12.ส่วนที่ 8
12.ส่วนที่ 812.ส่วนที่ 8
12.ส่วนที่ 8
 
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
 
Uclg กับการเดินหน้าสร้างท้องถิ่นที่เข้มแข็งในระดับสากล
Uclg กับการเดินหน้าสร้างท้องถิ่นที่เข้มแข็งในระดับสากล Uclg กับการเดินหน้าสร้างท้องถิ่นที่เข้มแข็งในระดับสากล
Uclg กับการเดินหน้าสร้างท้องถิ่นที่เข้มแข็งในระดับสากล
 
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ
 

Similar to ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน

สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่
สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่
สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่S-ruthai
 
รวมคู่มือ
รวมคู่มือรวมคู่มือ
รวมคู่มือboomlonely
 
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาค
โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาคโครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาค
โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาคSittisak Rungcharoensuksri
 
Kick off nrct
Kick off nrctKick off nrct
Kick off nrctrattapol
 
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชนหลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชนthanathip
 
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่นการวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่นKorawan Sangkakorn
 
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖Manoonpong Srivirat
 
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคมเมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคมFURD_RSU
 
เทศบาล5 สัณหจุฑา ทองศรีนวล
เทศบาล5   สัณหจุฑา ทองศรีนวลเทศบาล5   สัณหจุฑา ทองศรีนวล
เทศบาล5 สัณหจุฑา ทองศรีนวลsanhajutha
 
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559dnavaroj
 
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานีโครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานีMr-Dusit Kreachai
 
การพัฒนาตนเอง ชุมชน 31003
การพัฒนาตนเอง ชุมชน 31003การพัฒนาตนเอง ชุมชน 31003
การพัฒนาตนเอง ชุมชน 31003peter dontoom
 
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคตUrbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคตFURD_RSU
 

Similar to ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน (20)

สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่
สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่
สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่
 
รวมคู่มือ
รวมคู่มือรวมคู่มือ
รวมคู่มือ
 
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
 
การพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน
การพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน
การพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน
 
V 251
V 251V 251
V 251
 
โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาค
โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาคโครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาค
โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาค
 
Kick off nrct
Kick off nrctKick off nrct
Kick off nrct
 
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชนหลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
 
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่นการวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
 
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
 
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
 
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคมเมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม
 
เทศบาล5 สัณหจุฑา ทองศรีนวล
เทศบาล5   สัณหจุฑา ทองศรีนวลเทศบาล5   สัณหจุฑา ทองศรีนวล
เทศบาล5 สัณหจุฑา ทองศรีนวล
 
Japan reading policy
Japan reading policyJapan reading policy
Japan reading policy
 
996 File
996 File996 File
996 File
 
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
 
V 289
V 289V 289
V 289
 
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานีโครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
 
การพัฒนาตนเอง ชุมชน 31003
การพัฒนาตนเอง ชุมชน 31003การพัฒนาตนเอง ชุมชน 31003
การพัฒนาตนเอง ชุมชน 31003
 
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคตUrbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
 

More from FURD_RSU

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กFURD_RSU
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD_RSU
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลFURD_RSU
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมFURD_RSU
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมFURD_RSU
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD_RSU
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมFURD_RSU
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกFURD_RSU
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขFURD_RSU
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองFURD_RSU
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองFURD_RSU
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยFURD_RSU
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังFURD_RSU
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD_RSU
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD_RSU
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...FURD_RSU
 

More from FURD_RSU (20)

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
 

ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน

  • 1. ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน ภาพจาก facebook : ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน THE MAEHONGSON OLD HOUSE CLUB สามารถ สุวรรณรัตน์ นักวิชาการอิสระ แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 2. 1 ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน การทางานของภาคประชาสังคมเพื่อการพัฒนาเมืองแม่ฮ่องสอนเป็นอีกเมืองหนึ่งที่มีรูปแบบการ ทางานเฉพาะและมีความน่าสนใจ โดยเฉพาะการอาศัยความเข้มแข็งของกลุ่มชุมชนในเขตเมือง หรือที่ เรียกว่า “ป๊อก” ซึ่งมีอยู่ทั้งหมดด้วยกัน 6 ชุมชน ( 6 ปีอก) ซึ่งจากการสัมภาษณ์ผู้บทบาทในการทางาน ภาคประชาสังคมในเขตเมือง และตัวแทนชุมชนพบว่า ชุมชนทั้ง 6 ป๊อก ก่อนจะได้รับการจัดตั้งเป็น ชุมชนในการรับรองของเทศบาล ชุมชนมีกลไกการจัดการทางสังคม และการดูแลชุมชน ผ่านสภาน้าชา หรือสภาน้าเมี่ยง เป็นวงพูดคุยปรึกษาหารือกันของผู้มีอาวุโสในชุมชน และในกลุ่มชุมชนในเขตเมืองเพื่อ ร่วมกันตัดสินใจเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับสาธารณประโยชน์ เรื่องที่เป็นปัญหาร่วม และเรื่องการจัดงานบุญ ขนาดใหญ่ เช่นงานปอยส่างลอง ที่มีทาเนียมนิยมให้มีการเวียนให้ทุกชุมชนมีโอกาสได้เป็นเจ้าภาพ กลไกและโครงสร้างทางสังคมดังกล่าว ถูกหยิบนามาใช้อย่างต่อเนื่องทั้งในกรอบการปกครอง ภายใต้อานาจรัฐภายใต้การดูแลของเทศบาล โดยตัวแทนของชุมชนที่เข้ามารับตาแหน่งประธานชุมชนก็ ยังคงต้องรับฟังมติ หรือข้อคิดเห็นจากสภาน้าเมี่ยง และงานประเพณีใหญ่ๆ ที่ถือว่าเป็นจิตวิญาณของ ประเพณีแม่ฮ่องสอน อย่างงานปอยส่างลอง หรืองานออกพีด (ออกพรรษา) ก็ยังคงใช้ระบบเดิม ขยาย ไปถึงโครงสร้างการทางานแบบภาคประชาสังคมที่มีการจัดตั้งเป็นองค์กรชุมชนภายใต้องค์กรรัฐอย่าง สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน องค์กรมหาชน (พอช.)ที่จะใช้โครงสร้างองค์กรชุมชนในการขับเคลื่อนงาน ด้านการพัฒนาที่อยู่อาศัยก็ยังคงต้องพึงพา และใช้ประโยชน์จากโครงสร้างระบบอาวุโสที่มีมาเป็นจารีต และขนบแต่ดั้งเดิมเช่นกัน สาหรับการขับเคลื่อนงานพัฒนาเมืองโดยภาคประชาสังคมของเมืองแม่ฮ่องสอน การศึกษาครั้ง นี้ได้ทาการคัดเลือก ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน เป็นตัวแทนภาคประชาสังคมเนื่องด้วยมีการที่ เห็นเป็นรูปธรรม และมีกลุ่มก้อนการทางานชัดเจน แม้ในปัจจุบันภาระงานดังกล่าวจะถูกถ่ายโอนไปสู่ เทศบาลเมืองแม่ฮ่องสอนเสียส่วนใหญ่ แต่ประสบการณ์ทางาน และผู้คนในพื้นที่ที่ยังคงดาเนินงานเรื่อง นี้ก็ยังคงทางานดูแลความอาคารไม้บนถนนสิงหนาทบารุงอย่างสม่าเสมอ จุดเริ่มต้น ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน เกิดจากการรวมตัวของเจ้าของบ้านไม้เก่า ริมถนนสิงหนาท บารุง และบ้านไม้เก่าในเขตเทศบาลเมืองแม่ฮ่องสอน ในช่วงปี 2552 -53 ด้วยมีทีมวิจัยจากโครงการของ การเคหะแห่งชาติ เข้ามาสารวจบ้านเก่า เพื่อกาหนดคุณค่า และได้มีการประสานงานร่วมกับเทศบาล เมืองแม่ฮ่องสอน โดยนายกเทศมนตรีเมืองแม่ฮ่องสอน ขณะนั้น คุณสุเทพ นุชทรวง (รูปที่ 1) ได้ให้ ความสนใจกับตัวโครงการเป็นอย่างมากและมีการประชุมร่วมกันกับชุมชนในเขตเมืองเก่าแม่ฮ่องสอน หลายครั้ง โดยนายกสุเทพได้มีนโยบายในเรื่องการส่งเสริมการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมไทใหญ่ ใน
  • 3. 2 เขตเมืองเก่าแม่ฮ่องสอน องค์ประกอบร่วมทั้ง 2 ส่วนจึงทาให้เกิดการพูดคุยกันในหมู่เจ้าของบ้านเก่า และผู้ที่สนใจ เกิดเป็นการประชุมที่วาระต่อเนื่องหลังจากโครงการวิจัยดังกล่าว นายนิรันดร์ วิชัยสกุล เลขานุการชมรมบ้านเก่าฯและเจ้าของร้านปาด็อง ร้านจาหน่ายของที่ระลึก ที่อาศัยเช่าอาคารเก่าบริเวณ ถนนสิงหนาทบารุงมาปรับปรุงเป็นร้านขายของ ได้กล่าวถึงมูลเหตุการณ์ตั้งชมรมไว้ว่า “แต่ก่อนนั้น จริงๆก็มีการพูดคุยกันอยู่แล้วในกลุ่มเจ้าของบ้านเก่า ทั้งเรื่องการซ่อมแซม เรื่องความต้องการที่จะขาย เรื่องการจะเก็บรักษา มันเป็นจังหวะพอดีกัน มีทั้งข้อมูลจากงานวิจัยที่ทาให้เราเห็นว่า บ้านไม้เก่า เหลืออยู่เท่าไหร่ มีคุณค่าอย่างไร กลุ่มคนเจ้าของก็ตื่นตัวมากขึ้น กลุ่มคนที่สนใจอยากจะอนุรักษ์ มีกลุ่ม จิตอาสาก็เข้ามาช่วยทางาน อย่างพี่โต้งสถาปนิกเทศบาล พี่เก่งร้านเรือนภาพ และที่สาคัญคือ เทศบาล เองก็เข้ามาช่วยหนุน จึงทาให้เกิดการจัดตั้งชมรมและขึ้นทะเบียนรับรองโดยเทศบาลเมืองแม่ฮ่องสอน” [คุณนิรันดร์ วิชัยสกุล และคุณตาบุญเลิศ วิรัตนาภรณ์,(สัมภาษณ์) 12 ธันวาคม 2558] วัตถุประสงค์การจัดตั้งชมรม วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งชมรมอนุรักษ์บ้านเก่า และการดาเนินโครงการ ได้แก่ 1. เพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์บ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน 2. เพื่อส่งเสริมวิถีชีวิตของชุมชนเมืองแม่ฮ่องสอน 3. เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ สืบทอด รักษา สังคม ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิต ของเมือง แม่ฮ่องสอน รูปที่ 1 คุณสุเทพ นุชทรวง
  • 4. 3 รูปแบบการรวมตัว ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน รวมตัวกันด้วยพื้นฐานจากกลุ่มเจ้าของบ้านเก่า และคนรักบ้าน เก่า โดยอาศัยความสัมพันธ์ทางสังคมแบบการอยู่ร่วมกันในชุมชนขนาดเล็กเป็นสังคมที่คนท้องถิ่นจะ รู้จัก กระบวนการดาเนินงาน จึงเป็นไปในรูปแบบให้ความสาคัญกับกระบวนการมีส่วนร่วมของคนใน กลุ่ม ทั้งในการวางแผนการดาเนินงาน การตัดสินใจในประเด็นที่สาคัญ และการผสานความร่วมมือกับ เครือข่ายในกลุ่มงานอื่นๆเพื่อร่วมกันผลักดันเป้าหมายที่มีร่วมกันในแต่ละงาน ตามวาระโอกาส ทาง ชมรมมีการจัดตั้งโครงสร้างการทางานคือ มีประธาน เลขานุการ และคณะกรรมการ ไม่น้อยกว่า 5 คน แต่ไม่เกิน 15 คน มีการประชุมตามวาระบางครั้งประชุมทุก 1 เดือน หรือ บางครั้ง 2-3 เดือนครั้ง และมี การประชุมใหญ่ปีละ 1 ครั้ง รูปแบบการทางานเป็นแบบอาสาสมัคร แบ่งงานตามความสนใจ และ ศักยภาพของแต่ละคน สมาชิกส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ และเป็นเจ้าของบ้าน มีคนรุ่นใหม่ที่มีจิตอาสาเข้า ร่วมโครงการอยู่ราว 3-4 คน การบริหารจัดการและงบประมาณ การบริหารจัดการและงบประมาณที่ใช้ ในระยะแรกยังไม่มีองค์กรใดสนับสนุน อาศัยการใช้ งบประมาณจากทุนส่วนตัวเป็นค่าเดินทางและเอกสาร แต่ภายหลังได้รับการสนับสนุนจากเทศบาลเป็น ประจาทุกปี จึงมีการจัดสรรงบประมาณแบ่งตามกิจกรรมชัดเจน โดยทุกปีชมรมจะต้องร่างโครงการใหม่ นาเสนอต่อเทศบาลในปีงบประมาณใหม่ หากมีการใช้งบประมาณเหลือ ต้องนาเงินส่งคืนให้เทศบาล การทางานภาคปฏิบัติ เช่น การปรับปรุงอาคาร การทาสีอาคาร งานแรงงาน จะใช้งบประมาณที่มีในการ จัดจ้างคนท้องถิ่น หรือนักเรียนนักศึกษาให้ร่วมทางาน สาหรับงบประมาณที่เคยได้รับ และดาเนินงานไป แล้วมีดังนี้ 1) การเคหะแห่งชาติสนับสนุนงบประมาณการวิจัยเก็บข้อมูลบ้านเก่า จานวน 6 ชุมชน รวม 142 หลัง จากโครงการการศึกษาแนวทางการพัฒนาที่อยู่อาศัยชุมชนดั้งเดิมและมรดกทางวัฒนธรรม (สนับสนุนงบประมาณนักวิจัย และกระบวนการดาเนินงานของทีมวิจัย ไม่ได้สนับสนุนการทางาน ของชมรมฯ) ดาเนินงานระหว่างปี 2553-2554 2) งบประมาณจากเทศบาลเมืองแม่ฮ่องสอน ปีละ 100,000 บาท เพื่อให้ชมรมฯดาเนินงานที่ เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์บ้านเก่า และงานด้านมรดกทางวัฒนธรรม (ปัจจุบันงบประมาณปี 2556- 57 เทศบาลลดจานวนเงินลงเหลือ 50,000 บาทต่อปี) 3) งบประมาณจากโครงการบ้านมั่นคง (เมืองอนุรักษ์) สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน องค์กร มหาชน (พอช.) จานวน 500,000 บาท (ดาเนินงานเครือข่ายและงานอนุรักษ์บ้านเก่าบนถนนสิง หนาทบารุง ในช่วงปี 2555-56)
  • 5. 4 ผลลัพท์การดาเนินโครงการ จากการดาเนินงานที่ผ่านผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับเมืองแม่ฮ่องสอน คือ 1) จากกิจกรรมการสารวจบ้านเก่าในเขตเทศบาลเมืองแม่ฮ่องสอนของการเคหะแห่งชาติ ทาให้เกิด ความตระหนักในคุณค่าของบ้านไม้เก่า และเกิดการจับกลุ่มพูดคุยกันของกลุ่มเจ้าของบ้านเก่า และ กลุ่มคนรักบ้านเก่า การศึกษาครั้งนี้ถือได้ว่าเป็นอีกหนึ่งปัจจัยสนับสนุนที่ทาให้เกิดการรวมกลุ่ม เป็นชมรมบ้านเก่าฯ และการผลักดันทั้งทางนโยบาย และการปฏิบัติในเวลาต่อมา 2) งบประมาณสนับสนุนจากเทศบาล ทาให้เกิดโครงการขนาดเล็กที่ดาเนินการโดยชมรมฯ และ โครงการที่ชมรมเข้าไปสนับสนุน เช่น - กิจกรรมการฟื้นฟูตลาดแสงเทียน กาดพีดเลิ่งสิบเอ็ด (ตลาดขายของแบนกับดินในช่วงค่าจนถึง เช้าตรู่ของวันใหม่ จัดในช่วงใกล้วันออกพรรษา สถานที่จัด คือ บริเวณด้านหน้าตลาดสายหยุด ไปจนถึงริมถนนสิงหนาทบารุงชมรมเข้าไปมีส่วนช่วยในการจัดกิจกรรมการแสดงทาง วัฒนธรรม โดยการสนับสนุนกลุ่มเยาวชนที่มีความสามารถด้านการแสดงนาฏศิลป์ไทใหญ่ (ยัง ดาเนินการทุกปี) - กิจกรรมรวบรวมประวัติบ้าน และจัดทาป้ายประวัติและต๋อมน้าหน้าบ้าน จัดทาปีละ 10 หลัง (ยังดาเนินการทุกปี) - กิจกรรมย้อมเมืองเปลี่ยนผ้าใบอาคาร การสนับสนุนเจ้าของอาคารปูน หรือห้องแถวไม้ ที่ใช้ ผ้าใบกันแดดหลากสีให้เปลี่ยนเป็นสีน้าตาลครีม โดยทางชมรมฯสนับสนุนตามเงื่อนไขที่จูงใจให้ เจ้าของอาคารเข้าร่วมโครงการ เช่น หากเจ้าของบ้านมีโครงเหล็กสาหรับแขวนผ้าใบอยู่แล้ว ทางชมรมจะช่วยสนับสนุนค่าใช้จ่ายสาหรับผ้าใบผืนใหม่ หากเจ้าของอาคารไม่มีเหล็ก ชมรมจะ สนับสนุนค่าใช้จ่ายสาหรับเหล็ก และเจ้าของอาคารออกค่าใช้จ่ายสาหรับผ้าใบผืนใหม่ ปัจจุบัน ชมรมฯร่วมกับเจ้าของอาคาร (ส่วนใหญ่อยู่บนถนนสิงหนาทบารุง) ได้ร่วมกันเปลี่ยนผ้าใบไป แล้วประมาณ 20 กว่าหลัง 3) งบประมาณที่ได้สนับสนุนจาก สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.) จานวน 500,000 บาท - การใช้งบประมาณถูกจาเพาะเจาะจงพื้นที่บนถนนสิงหนาทบารุง ถูกแบ่งเป็นสองส่วน ส่วนละ 250,000 บาท - ส่วนแรกนาไปดาเนินกิจกรรมย้อมเมือง ผ่านกิจกรรมทาสีอาคาร โดยเฉพาะอาคารปูนที่มีสีสัน ฉูดฉาด ให้เปลี่ยนสีเป็นสีน้าตาล โดยมีเงื่อนไขจูงใจสาหรับเจ้าของอาคารในการเปลี่ยนสี สาหรับ อาคารที่สูงไม่เกิน 2 ชั้น ทางชมรมจะออกค่าจ้างแรงงานทาสีให้ ส่วนเจ้าของจะต้องออก ค่าใช้จ่ายค่าสีทาบ้าน (แรงงาน คือ นักศึกษาจากวิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชินีแม่ฮ่องสอน) สาหรับอาคารที่มีความสูงเกิน 2 ชั้น ทางชมรมฯจะเป็นผู้ออกค่าสี และเจ้าของอาคารจะเป็นผู้ ออกค่าใช้จ่ายค่าแรงงาน (ในวันที่สัมภาษณ์โครงการยังไม่เริ่มดาเนินการ,นักวิจัย)
  • 6. 5 - จานวนเงินอีกกึ่งหนึ่ง 250,000 บาท ทางชมรมได้วางแผนไว้แล้ว โดยจะใช้งบประมาณไปกับ การอบรมนักเรียนนักศึกษา และผู้ที่สนใจศิลปะการตอก-ตัดปานสอย (สังกะสีฉลุลวดลายไทใหญ่ ,นักวิจัย) (ในวันที่สัมภาษณ์โครงการยังไม่เริ่มดาเนินการ, ผู้วิจัย) รูปที่ 2 – 3 บรรยากาศการประชุมชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอนที่ประชุมอาคาร รสพ. ถนนสิงหนาทบารุง รูปที่ 3 – 4 ผ้าใบสีน้าตาลครีมสนับสนุนโดยชมรมบ้านแม่ฮ่องสอน รูปที่ 5 ภาพกิจกรรมย้อมเมือง การเปลี่ยนสีอาคารจากสีสันที่แตกต่างเป็นสีน้าตาลให้กลมกลืนกับอาคารเก่า
  • 7. 6 จุดแข็งของกลุ่ม หากพิจารณาในแง่มุมของการดาเนินงานอนุรักษ์โดยภาคประชาชนจุดเด่นของการพัฒนาเมือง แม่ฮ่องสอนภายใต้ประเด็นดังกล่าว คือ การมีชุมชน และเครือข่ายชุมชนที่เข้มแข็ง เป็นกลุ่มก้อนที่มี มโนทัศน์การพัฒนา การเป็นอยู่ของเมืองแม่ฮ่องสอนที่ชัดเจน ผ่านเครือข่ายสมาชิกป๊อก(ชุมชน) และกลไกสภาน้าชา (น้าเมี่ยง) ที่ช่วยทาให้การเคลื่อนงานเป็นเอกภาพ ไม่ว่าจะเป็นงานด้านการฟื้นฟู วัฒนธรรม จารีตประเพณี การทางานร่วมกับองค์กรภายนอกเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างโครงการ Living Museum แม่ฮ่องสอน การก่อตั้งสถาบันไทใหญ่ศึกษา หรือแม้แต่การทางานของชมรมบ้านเก่าเมือง แม่ฮ่องสอน ซึ่งความสาเร็จของโครงการทั้งหมดต่างเป็นเครื่องยืนยันและเน้นย้าว่า โครงสร้างทางสังคม แบบดั้งเดิมของแม่ฮ่องสอน เปรียบได้กับกระดูสันหลังของสังคมที่ช่วยกาหนดให้ร่างกาย(เมือง) สามารถพัฒนาไปในทิศทางที่ตรงกับความต้องการของคนในชุมชนอย่างแท้จริง เพียงแต่มโนทัศน์ ดังกล่าวได้ถูกส่งผ่านเครื่องมืออย่างโครงการและกิจกรรมที่สร้างขึ้นใหม่อย่างต่อเนื่องเท่านั้นเอง บุคลากรรู้ดาเนินงานชมรมบ้านเก่าแม่ฮ่องสอน แบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ - กลุ่มที่ 1 คือ กลุ่มคนรุ่นใหม่ ซึ่งมีความซาบซึ้งกับความสวยงามและคุณค่าของบ้านเก่า รวมถึงมี ความสนใจและต้องการอนุรักษ์บ้านเก่า คนกลุ่มนี้ไม่มีบ้านเก่า เพียงแต่ได้อาศัยบ้านเก่าในการทา ธุรกิจ หรือบางคนไม่มีความเกี่ยวข้องใดๆเลยกับบ้านเก่า เป็นต้น - กลุ่มที่ 2 คือ กลุ่มเจ้าของบ้านเก่า ที่รับรู้คุณค่าและต้องการที่จะเก็บรักษา ซ่อมแซมบ้านของตo - กลุ่มที่ 3 คือ หน่วยงานภาครัฐ ได้แก่ เทศบาลเมืองแม่ฮ่องสอน สถาบันการศึกษา และองค์กร อื่นๆ ที่ความสนใจและต้องการสนับสนุนการอนุรักษ์บ้านเข้ามามีส่วนร่วม ความหลากหลายของ กลุ่มคนจะเห็นได้ว่า ได้สร้างองค์ประกอบการทางานที่ดี คือ มีแรงงานคนรุ่นใหม่ มีเจ้าของบ้านที่ เต็มใจร่วมกิจกรรม และรู้สึกต้องการผลักดันการอนุรักษ์บ้านเก่า และเทศบาล หรือองค์กรอื่นๆ ที่มาพร้อมงบประมาณ เครื่องมือ และวิธีการอื่นๆที่ช่วยหนุนเสริมชมรมฯ เช่น การสนับสนุนงบ จากเทศบาลให้กับชมรมประมาณปีละ100,000 บาท การสนับสนุนงบประมาณให้นักวิชาการเข้า มาทางานวิจัยเรื่องบ้านเก่าในพื้นที่ของการเคหะ หรือการสนับสนุนงบประมาณในการทากิจกรรม เปลี่ยนสีเมืองจากสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.) เป็นต้น สาหรับการบริหารจัดการการ รูปที่ 6 – 7 ภาพกิจกรรมการอบรมการตัด-ตอกปานซอย(โลหะฉลุศิลปะไทใหญ่)
  • 8. 7 ดาเนินงานและงบประมาณ ทางชมรมได้การรวมสมาชิกทั้งเจ้าของบ้านเก่า คนรุ่นใหม่จิตอาสา และเจ้าพนักงานในเทศบาลซึ่งเป็นสถาปนิก ที่ช่วยทั้งเรื่ององค์ความรู้ การระดมทุน และการ เชื่อมโยงองค์กรทั้งภายในและภายนอก เกิดเป็นการมีส่วนร่วมที่เป็นจุดแข็งของการดาเนินงานผ่านการเสนอความคิดเห็นและร่วม เสนอแนะการทางานและกิจกรรมจากเจ้าของบ้านเก่า การได้รับคาแนะนาจากเจ้าหน้าที่เทศบาล พร้อม การสนับสนุนงบประมาณ การออกแบบกิจกรรมไม้ว่าจะเป็นการเปลี่ยนสีอาคาร รวมไปถึงงานอบรมองค์ ความรู้ภูมิปัญญาไทใหญ่ หรือการรื้อพื้นงานกาดพีดเลิ่งสิบเอ็ด ล้วนแล้วแต่มีกระบวนการเปิดโอกาสให้ คนทั่วไปเข้ามามีส่วนร่วมในการเป็นเจ้าภาพร่วมจัดงาน หรือเข้าร่วมกิจกรรมในทุกๆครั้ง จุดอ่อนการบริหารจัดการ จุดอ่อนด้านการบริหารจัดการของชมรมฯเกิดจากปัญหาเรื่องการขาดแคลนบุคลากรเข้ามา ทางาน และการบริหารจัดการในปัจจุบันถือได้ว่าเป็นภาระให้กับกลุ่มคนทางานที่มีอยู่จานวนจากัด และ ไม่มีเวลาว่างมากพอสาหรับจัดการปริมาณงานทั้งหมดได้ อีกทั้งการบริหารจัดการให้ได้ผลงานตาม โครงการที่เขียนไว้ก็มิได้เผื่องบประมาณในด้านการบริหารจัดการเรื่องการจ้างผู้จัดการโครงการที่ทางาน เต็มเวลาแต่อย่างใด จึงทาให้ต้องคืนงบประมาณ เพราะไม่สามารถบริหารจัดการได้ทันเวลา อย่างไรก็ดี ในช่วง 2 ปีที่ผ่านภายหลังการทางานของกลุ่มเริ่มมาถึงจุดเปลี่ยนเพราะขาดกาลังคน เทศบาลเมือง แม่ฮ่องสอน และหน่วยงานระดับจังหวัดได้เข้ามามีส่วนร่วมในการทางานมากขึ้นเช่น การประชาสัมพันธ์ ภาพลักษณ์ และความสาคัญของบ้านเก่าในเขตเมืองแม่ฮ่องสอน การติดตั้งป้ายทองเหลืองให้ความรู้ เรื่องประวัติ และคุณค่าของบ้านเก่าบนถนนสิงหนาทบารุง เป็นต้น
  • 9. 1