SlideShare a Scribd company logo
ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง
นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
1
“เมือง” วันนี้นับว่ามีบทบาทสาคัญยิ่งต่อชีวิตของคนบนโลก
รวมทั้งประเทศไทย ความเป็นเมืองเป็นหนึ่งใน Megatrends และ
ถือว่าเป็นปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลกสูงที่สุด เมือง
เปรียบเสมือนเป็นแม่สื่อที่เชื่อมคนกับโอกาส สาหรับความเป็นเมือง
ของไทย ประเทศไทยก้าวเข้าสู่ความเป็นเมืองในปี 2014 มีสัดส่วน
พื้นที่เมือง 49% แล้ว ในปี 2050 ประเทศไทยจะมีพื้นที่เมืองสูงถึง
72%
ถ้ากล่าวถึงการพัฒนาเมืองของไทย หากใช้กรอบคิดทาง
นโยบาย โดยมองผ่านแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับ
ที่ 1 จนถึงปัจจุบัน นับรวมเกือบ 60 ปี จะเห็นว่า ช่วงแผนพัฒนาฯ
ฉบับที่ 5 (พ.ศ.2525-2529) เป็นช่วงที่เริ่มมีนโยบายการพัฒนาเมือง
และภูมิภาคชัดเจนเป็นจริงเป็นจัง โดยระบุเป็นมาตรการหนึ่งที่
สาคัญของแผนฯ คือ การพัฒนาพื้นที่เฉพาะและการพัฒนาเมือง
เพื่อต้องการกระจายความเจริญไปสู่ภูมิภาค และแผนพัฒนาฯ ฉบับ
ที่ 12 (พ.ศ.2560-2564) ที่เน้นหนัก นโยบายการพัฒนาเมืองมากขึ้น
อีกครั้ง อันมียุทธศาสตร์การพัฒนาภาค เมืองและพื้นที่เศรษฐกิจ
ประกอบกับมีการประกาศใช้ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี
(พ.ศ.2560-2579) เน้นการส่งเสริมและเปิดโอกาสให้เกิดการพัฒนา
เมืองอัจฉริยะ (Smart City) ที่กล่าวมานี้เป็นการชี้ให้เห็นถึง
แนวนโยบายการพัฒนาเมืองที่กาหนดจากส่วนกลางโดยภาพรวม
ยุวดี คาดการณ์ไกล
ผู้อานวยการศูนย์ศึกษามหานครและเมือง
2
ทีนี้ ลองปรับมุมมองการพัฒนาเมืองของไทย โดยมองจาก
พื้นที่หรือมองจากท้องถิ่นขึ้นมา เราจะเห็นการพัฒนาเมืองที่ริเริ่ม
จากพื้นที่ อาจนาโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคประชาสังคม
หรือภาคเอกชน และจะพบว่าในปัจจุบันหลายพื้นที่เริ่มมีความ
ตื่นตัวต่อการพัฒนาเมืองของตน มีข้อสังเกตว่า การพัฒนาเมืองที่
ริเริ่มจากพื้นที่นั้น ส่วนใหญ่จะกาหนดประเด็นการพัฒนาเมืองจาก
ปัญหาของพื้นที่เป็นหลักเพื่อหาแนวทางแบบใหม่อย่างสร้างสรรค์
ในการแก้ปัญหา มีการริเริ่มนวัตกรรมทางสังคมสาหรับสุขภาวะคน
เมืองเกิดขึ้นอย่างหลากหลายเพื่อตอบสนองความต้องการของคน
เมือง ไม่ว่าจะเป็นในด้านเศรษฐกิจเมือง สิ่งแวดล้อมเมือง
การจราจรในเมือง การศึกษา แหล่งเรียนรู้ของเมือง ฯลฯ
ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง ภายใต้การสนับสนุนของ
สสส.ได้ดาเนินโครงการศึกษาการพัฒนาเมืองกว่า 20 เมือง พบ
ปรากฏการณ์ความก้าวหน้าและความสร้างสรรค์การพัฒนาเมือง
ของไทยอย่างน่าสนใจ ดังนี้
 ผู้ริเริ่มสร้างสรรค์การพัฒนาเมือง ไม่ใช่หน่วยงานใด
หน่วยงานหนึ่งอีกต่อไป จะเห็นว่านอกจากเทศบาลแล้ว ภาค
ประชาสังคม ภาคธุรกิจเอกชน สถานศึกษา เริ่มมีบทบาทมาก
ขึ้น อย่างไรก็ตาม ส่วนใหญ่จะทางานเป็นภาคีเครือข่ายร่วมกัน
 ประเด็นที่หยิบยกมาขับเคลื่อนการพัฒนาเมือง มักจะเป็น
ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับชีวิตคนเมือง ที่คนเมืองต้องเผชิญใน
ปัจจุบัน แนวโน้มสาคัญพบว่า ผู้สูงอายุในเมืองมีมากขึ้นอายุ
ยืนขึ้น ปัญหาขาดแคลนนักบริบาลผู้สูงอายุ ปัญหาการดูแลเด็ก
เล็ก ปัญหาสิ่งแวดล้อมโดยเฉพาะการจัดการขยะและน้าเสีย
ปัญหาสังคมของวัยรุ่นติดยาเสพติด ปัญหาการจราจร ปัญหา
ความปลอดภัยของนักท่องเที่ยว ฯลฯ แต่ไม่ได้ใช้วิธีการแก้ไข
แบบงานประจา กลับใช้ความริเริ่มสรรค์ ออกแบบระบบการ
สร้างเสริมสุขภาพคนเมือง
3
 เกิดนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาสุขภาวะคนเมือง เกิดจากความคิดที่
ต้องการป้องกันและแก้ไขปัญหาในสิ่งที่เมืองของตนกาลังเผชิญ โดยมี
มุมมองเชิงบวกและใช้แนวทางที่เป็นไปได้ ประสานกับความรู้พื้นถิ่น
สร้างความร่วมมือในการดาเนินงานอย่างสร้างสรรค์ นาไปสู่ทางออก
แบบใหม่ของการแก้ไขปัญหา เมือง ดังกรณีตัวอย่างที่จะเห็นในเล่มนี้
หากการดาเนินโครงการการพัฒนาเมืองในพื้นที่ ริเริ่มมาจาก
หน่วยงานส่วนกลางหรือหน่วยงานที่เป็นองค์การระหว่างประเทศ ที่
เป็นเจ้าของงบประมาณ เมื่อโครงการดาเนินเสร็จสิ้น กระแสการ
พัฒนาเมืองตามวาระดังกล่าวก็มักหยุดลงไปด้วย เพราะเป็นการทา
ตามวาระที่คนอื่นกาหนด ในทางตรงกันข้าม เราจะเห็นว่าท้องถิ่นมี
ความสามารถกาหนดวาระการพัฒนาเมืองของตนได้ มีความ
สร้างสรรค์ มีนวัตกรรมที่นามาใช้ในการแก้ไขและขับเคลื่อนการพัฒนา
เมืองที่สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ได้มากกว่า
นับจากนี้ไป การบริหารเมืองยังต้องเผชิญกับความท้าทาย
มากขึ้นทั้งด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจและการเมือง ทั้งจาก
ปัจจัยภายในและภาคนอกประเทศ ทั้งจากความก้าวหน้าทาง
เทคโนโลยีสมัยใหม่ และเนื่องจากบทบาทและภารกิจใหม่กาลังถูก
ถ่ายโอนจากระดับชาติหรือระดับภูมิภาคลงมายังท้องถิ่นมากขึ้น
ขณะที่งบประมาณที่นามาใช้แก้ปัญหาก็กาลังหดตัว ในสภาพการณ์ที่
ยากลาบากเพิ่มขึ้นนี้ เราควรให้ความสาคัญ นวัตกรรมสังคม ถือเป็น
ทรัพย์สินอย่างหนึ่งของเมือง ภาคีเครือข่ายของเมืองในฐานะพลเมือง
กาลังมีความคิดริเริ่มกับสิ่งที่เป็นแนวโน้มใหม่ เขาเหล่านี้กาลังคิดหา
แนวทางแบบใหม่ในการแก้ไขปัญหาอย่างยั่งยืนและสอดคล้องกับ
บริบทของพื้นที่มากขึ้นด้วย พวกเขาคือ นวัตกรรมทางสังคม เป็น
ทรัพยากรที่ทรงคุณค่าของเมืองอย่างยิ่ง
4
THAI CITY CONCEPT
ผ
ทางออกประเทศไทย คาตอบอยู่ที่เมือง
ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
อธิการบดีวิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
โลกกาลังกลายเป็นเมือง ในอดีตเมืองเป็นเพียงพื้นที่เล็ก ๆ เท่านั้นและมีขนาด
เล็กกว่าพื้นที่ชนบท แต่เมื่อไม่นานมานี้เราจะเห็นได้ชัดว่าทั่วโลกกาลังกลายเป็นเมือง และ
เมืองก็มีขนาดใหญ่ขึ้นเรื่อย ๆ ประเทศไทยเพิ่งมีพื้นที่เมืองมากกว่าชนบทเมื่อ 2 - 3 ปีมานี้
เอง ถ้าเป็นเมืองที่มีขนาดใหญ่ เราจะเรียกว่า “นคร” หากเป็นเมืองที่มีขนาดใหญ่มาก เรา
จะเรียกว่า “มหานคร” เมืองของไทยแต่เดิมเป็นเพียงการรวมกลุ่มกันของประชากรที่
หนาแน่น มีการปกครองแบบรวมศูนย์ หมายความว่างบประมาณต่าง ๆ จะส่งมาอยู่ที่
ส่วนกลางและส่วนภูมิภาคเป็นส่วนใหญ่
เมืองนคร มหานคร สาคัญที่สุด บางครั้งมหานครนั้นมีก่อนที่จะมีรัฐเสีย
อีก มีก่อนที่จะมีอาณาจักรเสียอีก เรามักเข้าใจว่ามีรัฐก่อนมีเมือง แต่จริง ๆ แล้วเมืองมี
ก่อนรัฐ เป็นการปกครองแบบขอบเขตจากัดของเมือง แล้วเมืองก็แผ่อานาจออกไป ไป
กลืนเมืองที่มีขนาดกลางและขนาดเล็กกว่า แต่เมื่อเกิดลัทธิชาตินิยมแล้วก็ปกครองด้วย
ประเทศทั้งหมด โดยเมืองนคร มหานครกลายเป็นส่วนหนึ่งของประเทศ ทั้งที่ก่อนหน้า
นั้นเมืองนคร มหานครเป็นส่วนสาคัญของประเทศ ความเป็นเมืองนคร ความเป็นมหา
นคร นั้นไม่ใช่ของฝรั่ง ตะวันออกก็เป็นจุดเริ่มต้นของเมืองนคร มหานครที่ยิ่งใหญ่ ที่
งดงาม ที่เข้มแข็งมากมายมหาศาล เรามีขนบธรรมเนียมท้องถิ่น (Local Tradition)
แบบตะวันออกอยู่แล้ว เช่น เมืองพาราณสีอายุ 5,000 ปี เมืองปักกิ่ง 2,000 ปี เมือง
นานกิง 2,000 กว่าปี เมืองอันหยาง 3000 ปี เป็นต้น
5
การสร้างเมืองนิยม นครนิยม มหานครนิยม ประเทศไทยคุ้นเคยกับ
แนวความคิดชาตินิยมที่ปลุกระดมให้คนรักบ้านเมือง แต่ลืมคานึงไปว่าบ้านเมืองไม่ได้
หายถึงเพียงประเทศเท่านั้น แต่ยังรวมถึงท้องถิ่นอีกด้วย การสร้างเมืองนิยม นครนิยม
มหานครนิยม จังหวัดนิยม ภาคนิยม เป็นปัจจัยแห่งความสาเร็จในการพัฒนาเมืองที่
สาคัญ ควรมีการกระจายอานาจจากส่วนกลางหรือส่วนภูมิภาคมาสู่ท้องถิ่นให้มากขึ้น
เพราะท้องถิ่นเป็นส่วนที่สามารถทางานได้ดี มีความใกล้ชิดกับประชาชน เข้าใจใน
ภูมิศาสตร์ ภูมิวัฒนธรรม และความเป็นมาของเมือง การพัฒนาแบบไทย คือ การนา
งบประมาณมาลงที่ท้องถิ่น แล้วให้ท้องถิ่นประสานกับประชาชนในพื้นที่ ถึงแม้ว่าเราจะ
ไม่ได้เป็นเจ้าของแผน งบประมาณ และการกาหนดทิศทางอย่างจริงจังเหมือนดังการ
พัฒนาเมืองแบบฝรั่งหรือแบบจีน แต่ในทางพฤติกรรม ท้องถิ่นสามารถกาหนดทิศ
ทางการพัฒนาเมืองของตนเองได้ ท้องถิ่นควรเก่งกว่าส่วนกลาง เพราะท้องถิ่นมีความ
ใกล้ชิดกับเมืองมากกว่า การให้ความสาคัญและการศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เราควร
สร้างความภูมิใจในท้องถิ่นโดยอาศัยความรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นมา
สนับสนุน แต่ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นในประเทศไทยยังมีน้อยมาก จึงต้อง
อาศัยความร่วมมือจากนักวิชาการหลายท่านเพื่อสร้างชุดประวัติศาสตร์
ท้องถิ่นขึ้น เมื่อเรารู้ถึงประวัติศาสตร์ในท้องถิ่น จังหวัด เมืองนคร เมืองมหา
นครที่เราอยู่ เราก็จะเห็นความภาคภูมิใจในท้องถิ่นของเราเอง
คุณค่าของผู้สร้างบ้านแปงเมือง เราชื่นชมในสิ่งผู้ทางานท้องถิ่น
ทุกคน เห็นคุณค่าและผลประโยชน์ในสิ่งที่พวกท่านทา บ้านเมืองที่เป็นเมือง
นคร เมืองมหานครมันจะเดินไปได้ก็อยู่ที่พวกเราช่วยกัน ถ้าพวกเราช่วยกัน
สามัคคีกัน เป็นเครือข่ายกัน แลกเปลี่ยนความรู้กัน พึ่งตนเอง พึ่งกันเอง
บ้านเมืองก็จะไปได้อย่างแน่นอน
THAI CITY CONCEPT
ทางออกประเทศไทย คาตอบอยู่ที่เมือง
5
6
TRENDS IN THAI WELLNESS CITY
แนวโน้มเมืองสุขภาวะของไทย
ในปี 2019 ศูนย์ศึกษามหานครและเมืองได้สารวจความเป็น
เมืองสุขภาวะของเมือง 10 เมืองในประเทศไทย ได้แก่ เมืองป่าตอง
เมืองแม่มอก เมืองอุดรธานี เมืองเชียงราย เมืองทุ่งสง เมืองกาฬสินธุ์
เมืองร้อยเอ็ด เมืองยะลา เมืองตรัง และเมืองหนองป่าครั่ง ผ่านตัวชี้วัด
เมืองสุขภาวะ 9 ด้าน ดังนี้ การรีไซเคิลและการใช้วัสดุที่เป็นมิตรต่อ
สิ่งแวดล้อม การจัดกิจกรรมการปฏิบัติธรรมและกิจกรรมการฝึกจิต
พื้นที่ธรรมชาติในเมือง แหล่งอาหารปลอดภัย ธุรกิจเพื่อสังคมและ
สุขภาพ สถานที่ออกกาลังกายในเมือง การขนส่งสาธารณะ กลุ่มทาง
สังคมและกลุ่มจิตอาสา และแหล่งเรียนรู้ของเมือง
7
ผลการสารวจโดยสังเขป ทุก ๆ เมืองมีการดาเนินการ
จัดการในรูปแบบที่เหมาะสมกับเมืองของตนเอง โดยมีเทศบาลเป็นผู้นา
และทางานร่วมกับสมาชิกในชุมชนเป็นเครือข่าย ยกตัวอย่างความโดด
เด่นได้ ดังนี้
ในด้านสิ่งแวดล้อม เมืองทุ่งสง เทศบาลร่วมกับ
บริษัทเอกชน ชุมชน ทาโครงการ “พลิกถุงพลิกโลก” ที่สามารถแปรรูป
ขยะให้เป็นขยะเชื้อเพลิง ลดปริมาณขยะและสร้างรายได้กลับคืนมา เมือง
กาฬสินธุ์ ริเริ่มกิจกรรมการคัดแยกถุงพลาสติกในชุมชนผ่านการรวมกลุ่ม
ชื่อว่า “กลุ่มคนรักถุง” นาถุงพลาสติกที่คัดแยกได้มาล้างแล้วจาหน่าย
ให้กับผู้รับซื้อเพื่อนาไปทาเป็นเม็ดพลาสติกต่อไป เมืองยะลา สร้างพื้นที่สี
เขียวทั่วเมือง มีสวนสาธารณะ 6 สวน สร้างอากาศที่ดี และลดอุณหภูมิ
ของเมืองได้ เป็นต้น
TRENDS IN THAI WELLNESS CITY
แนวโน้มเมืองสุขภาวะของไทย
ในด้านสุขภาพกายและสังคม มี เมืองแม่มอก สร้างแหล่งอาหารปลอดภัยใน
เมืองโดยการรวมกลุ่มของเครือข่ายเกษตรอินทรีย์ เพื่อผลิตผลผลิตทางการเกษตรที่
ปลอดภัย ผลิตข้าวอินทรีย์ กระเทียมอินทรีย์ ถั่วเหลืองอินทรีย์ และสมุนไพรอินทรีย์
เมืองหนองป่าครั่ง ที่มีการจัดการของชมรมนวดแผนไทยที่เป็นระบบและยอดเยี่ยม
เมืองเชียงราย ที่มีการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ในชุมชนโดยคานึงถึงกลุ่มผู้สูงอายุเป็น
สาคัญ เกิดเป็น “มหาวิทยาลัยวัยที่สามนครเชียงราย” ซึ่งเป็นแหล่งเรียนรู้สาหรับ
การจัดหลักสูตรตามอัธยาศัยให้แก่นักศึกษากลุ่มผู้สูงอายุ
สาหรับการพัฒนาด้านขนส่งสาธารณะ เมืองอุดรธานี ที่ริเริ่มโครงการ City
Bus (บริษัท อุดรธานีพัฒนาเมือง จากัด) เป็นการเริ่มต้นให้ภาคเอกชนลงทุนและ
ดาเนินการพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะ โดยการใช้รถบัสปรับอากาศที่เป็นสมาร์ทบัส
สามารถตรวจสอบตาแหน่งของรถและประเมินเวลาในการเดินทางได้ เพื่อความ
สะดวกและความปลอดภัยของผู้โดยสาร
8
จากผลการสารวจทั้งหมด เราจะเห็นได้ว่าทิศทางของการพัฒนา
เมืองสุขภาวะจากเมือง 10 เมือง มีการพัฒนาค่อนข้างหลากหลายตาม
แนวคิดของผู้บริหารและบริบทพื้นฐานเมืองนั้น ๆ ข้อสังเกตที่น่าสนใจ
คือ เมืองส่วนใหญ่ตื่นตัวและให้ความสาคัญกับการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม
มาก ทุกเมืองมีการดาเนินการเพื่อลดปัญหาขยะในชุมชน และมีหลาย
เมืองที่มีการดาเนินการที่โดดเด่นและยั่งยืน รวมถึงมีการรวมกลุ่มทาง
สังคมและจิตอาสา มีการเกิดการรวมกลุ่มทางสังคมที่หลากหลาย การ
รวมกลุ่มของสมาชิกในชุมชนเหล่านี้ช่วยส่งผลดีต่อสุขภาวะในด้านอื่น ๆ
ของเมืองด้วย เนื่องจากกลุ่มทางสังคมและจิตอาสาเหล่านี้เป็นกาลังที่ช่วย
ส่งเสริมการพัฒนาเมืองให้สามารถพัฒนาไปได้อย่างยั่งยืนและตอบโจทย์
ความต้องการของคนในชุมชน รวมถึงช่วยส่งเสริมงานของเทศบาล
ที่มา : https://www.busandtruckmedia.com/11672/
TRENDS IN THAI WELLNESS CITY
แนวโน้มเมืองสุขภาวะของไทย
ส่วนในด้านอื่น ๆ เช่น การขนส่งสาธารณะและแหล่ง
เรียนรู้ภายในเมือง ยังเป็นด้านที่ไม่ได้รับความสนใจในการพัฒนามากนัก
มีเพียงบางเมืองที่พัฒนาสุขภาวะในทั้งสองด้านนี้อย่างจริงจัง เมืองส่วน
ใหญ่ยังไม่มีความตื่นตัวมากนัก นอกจากนี้ ปัจจัยแห่งความสาเร็จการ
สร้างเมืองสุขภาวะของไทย มีจุดร่วมคล้ายกัน คือ การทางานร่วมกันทุก
ภาคส่วน ได้แก่ ภาครัฐ ภาคประชาชน ภาคการศึกษา และภาคเอกชน
ซึ่งทั้งสี่องค์ประกอบนี้ ช่วยส่งเสริมเกิดการพัฒนากิจกรรมและโครงการ
ต่าง ๆ ที่ช่วยทาให้เมืองของไทยก้าวเข้าสู่เมืองสุขภาวะอย่างยั่งยืน
9
นวัตกรรมเมืองสุขภาวะเพื่อผู้สูงอายุ
SOCIAL INNOVATION FOR URBAN HEALTH
แนวโน้มสังคมผู้สูงอายุเกิดขึ้นในทุกเมือง ในเมืองของไทย
ท้องถิ่นหลายแห่งได้วางแผน รับมือกับสังคมผู้สูงอายุ จนเกิดเป็น
นวัตกรรมทางสังคม คือ นวัตกรรมสร้างการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้แก่
ผู้สูงอายุ ผ่านรูปแบบโรงเรียนผู้สูงอายุ เน้นการมีส่วนร่วมกับภาค
ประชาชน ให้ผู้สูงอายุบริหารและออกแบบกิจกรรมที่สนใจและมี
ความสาคัญต่อการดาเนินชีวิต ใช้วิทยากรจิตอาสาหรือจากหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้อง ขณะเดียวกันก็เป็นพื้นที่ที่ผู้สูงอายุจะได้แสดงศักยภาพ โดย
การถ่ายทอดภูมิความรู้ประสบการณ์แก่คนอื่น โรงเรียนผู้สูงอายุ
สามารถมีรูปแบบและกิจกรรมที่หลากหลาย ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับบริบทของ
พื้นที่ ความต้องการของผู้สูงอายุ ขณะนี้หลายเมืองในไทยใช้โรงเรียน
ผู้สูงอายุเป็นพื้นที่การเรียนรู้
ที่มา : https://www.bltbangkok.com
10
นวัตกรรมเมืองสุขภาวะเพื่อผู้สูงอายุ
SOCIAL INNOVATION FOR URBAN HEALTH
โรงเรียนผู้สูงอายุมีหลักสูตรประกอบไปด้วย 4 ชุดการเรียนรู้ รวม
ทั้งสิ้น 116 ชั่วโมง มีผู้สูงอายุอายุเรียนจานวน 65 คนต่อรุ่น โรงเรียน
ผู้สูงอายุจึงเป็นเครื่องมือหนึ่งในการแก้ไขปัญหาเชิงพื้นที่และสังคมที่มี
ผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้น สร้างแรงกระตุ้น สร้างความจรรโลงใจ และการ
รวมกลุ่ม สร้างกระบวนการการมีส่วนร่วมและการมีจิตสาธารณะ สาหรับ
ผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง ได้แก่ กลุ่มติดบ้านและติดเตียงได้นา
เทคโนโลยีเข้ามาช่วย เช่น ควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในบ้านด้วยรีโมท
ระบบขอความช่วยเหลือฉุกเฉิน พร้อมสร้างโครงสร้างพื้นฐานที่จาเป็น
บริการรถรับ-ส่ง ไปโรงพยาบาล ให้ยืมอุปกรณ์ทางการแพทย์ การสร้าง
บุคลากรจานวนหนึ่งเพื่อไปเยี่ยมและดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน (Care Giver)
คุณจีระนันท์ ปิติฤกษ์
พยาบาลวิชาชีพชานาญการ เทศบาลนครรังสิต
รังสิตในวันนี้เป็นเมืองขนาดใหญ่ ผลจากการขยายตัวของกรุงเทพ และการ
ลงทุนของภาคเอกชน ทาให้รังสิตเต็มไปด้วยแหล่งที่อยู่อาศัย มหาวิทยาลัย การค้า
การบริการ รังสิตมีจานวนประชากรและผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นในทุก ๆ ปี ปัจจุบันเทศบาล
นครรังสิตเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างเต็มรูปแบบแล้ว เทศบาลนครรังสิตได้มีโอกาสไป
ศึกษาดูงานด้านการพัฒนาผู้สูงอายุหลายแห่ง จึงเกิดความคิดในการจัดทาโรงเรียนขึ้น
นาแกนนาผู้สูงอายุแต่ละชมรมมาพัฒนาศักยภาพ
เมืองรังสิต
ต้นแบบการดูแลผู้สูงอายุครบทุกวงจร
11
นวัตกรรมเมืองสุขภาวะเพื่อผู้สูงอายุ
SOCIAL INNOVATION FOR URBAN HEALTH
นนทบุรี เป็นเขตปริมณฑลของกรุงเทพฯ นนทบุรีเป็นเขตเมืองที่มีประชากร
มากที่สุดในประเทศไทย และเป็นเมืองที่มีสัดส่วนจานวนผู้สูงอายุสูงอายุมากที่สุด
เทศบาลนครนนทบุรีได้สร้าง “ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ” เป็นอาคารหลัง
ใหญ่ ลักษณะเป็นศูนย์รวม/สโมสรสาหรับจัดกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อให้ผู้สูงอายุเผยแพร่
และแลกเปลี่ยนความรู้กับคนอื่น ๆ ให้ผู้สูงอายุมีพื้นที่สาหรับประกอบกิจกรรม
คุณกชกร เงินบารุง
ผู้อานวยการส่วนส่งเสริมการสาธารณสุข เทศบาลนครนนทบุรี
เมืองนนทบุรี
ศูนย์พัฒนาผู้สูงอายุเทศบาลนนทบุรี
ศูนย์ดังกล่าวเน้นกิจกรรมด้านการส่งเสริมป้องกันมากกว่าด้านการรักษาแก้ไข
เช่น ออกกาลังกาย เล่นหมากรุก การปฏิบัติธรรม การดูหนังฟังเพลง โดยไม่เสีย
ค่าใช้จ่ายใด ๆ ปัจจุบันศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ได้รับความนิยมจากผู้สูงอายุทั้ง
ในเขตและนอกเขตเทศบาลฯ จนมีสมาชิกกว่า 6,000 คน เฉลี่ยผู้มาใช้บริการ 500 คน
ต่อวัน มีชมรมภายในศูนย์ 40 ชมรม และมีครูฝึกสอนจิตอาสาทั้งหมด 158 คน ผู้สูงอายุ
สุขภาพแข็งแรงขึ้น 40 เปอร์เซ็นต์ มีรอบเอวที่ลดลง 30 เปอร์เซ็นต์ มีน้าหนักตัวลดลง
และอีกกว่า 20 เปอร์เซ็นต์ มีค่าความดันโลหิตลดลง ซึ่งตัวเลขเหล่านี้เป็นหลักฐานเชิง
ประจักษ์ที่ยืนยันว่าการเข้าร่วมกิจกรรมที่ศูนย์ส่งผลดีอย่างมากต่อตัวผู้สูงอายุในด้าน
สุขภาพ
12
ในเขตเทศบาลนครเชียงราย มี 64 ชุมชน ประชากรประมาณ 70,000 คน
มีผู้สูงอายุประมาณ 13,000 คน คิดเป็นเกือบ 17 เปอร์เซ็นต์ของเมือง ทาง
เทศบาลจึงขับเคลื่อนงานร่วมกับตัวแทนผู้สูงอายุทั้ง 64 ชุมชน ซึ่งทุกคนมีความ
ประสงค์อยากสร้างพื้นที่กลางแห่งการเรียนรู้ของผู้สูงอายุที่เหมาะกับผู้สูงอายุ จึง
จัดตั้งมหาวิทยาลัยวัยที่สาม ซึ่งคล้ายกับโรงเรียนผู้สูงอายุ มีโครงสร้างบริหารงาน
คล้ายกับมหาวิทยาลัย โดยให้ภาคประชาชนเป็นประธาน เรียนตั้งแต่วันจันทร์ ถึง
วันเสาร์
นวัตกรรมเมืองสุขภาวะเพื่อผู้สูงอายุ
SOCIAL INNOVATION FOR URBAN HEALTH
คุณพรทิพย์ จันทร์ตระกูล
พยาบาลวิชาชีพชานาญการพิเศษ
รักษาราชการแทนผู้อานวยการกองการแพทย์ เทศบาลนครเชียงราย
เมืองเชียงราย มหาวิทยาลัยวัยที่สาม
การพัฒนาผู้สูงอายุสู่การพัฒนาเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว
มหาวิทยาลัยวัยที่สามมีหลักสูตรที่หลากหลาย ผู้เข้าเรียนรุ่นละ 500 คน ข้อ
โดดเดนของการพัฒนาผู้สูงอายุเชียงราย คือ มหาวิทยาลัยดังกล่าวไม่ได้มีจุดเดียว มี
การกระจายสาขาย่อยของมหาวิทยาลัยวัยที่สามให้ทั่วนครเชียงราย 5 จุด พัฒนา
แบบบูรณาการ การดูแลสุขภาพสู่การพัฒนาเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว ไม่เพียง
แค่ให้ผู้สูงอายุมาเรียนเท่านั้น แต่ยังต้องการต่อยอดเป็นอาชีพ สร้างรายได้และพัฒนา
เศรษฐกิจในพื้นที่ได้ด้วย ศูนย์การเรียนรู้ ทั้ง 5 โซนย่อย ต้องมีการฝึกอาชีพให้มี
ผลิตภัณฑ์ของแต่ละโซนก็แตกต่างกัน โดยมีมักคุเทศน์ผู้สูงอายุถูกฝึกมาเพื่อบรรยาย
จุดเด่นของแต่ละศูนย์ คาดหวังว่าหากนักท่องเที่ยวมีมาเยี่ยมเยียนตลอดก็จะซื้อสินค้า
ของนักเรียนผู้สูงอายุที่ผลิตออกมา สร้างงาน สร้างอาชีพได้ แม้กระทั่งผู้สูงอายุที่
ผลิตสินค้าในบ้าน ไม่มีแหล่งขาย ก็สามารถนามาวางจาหน่ายตามศูนย์ต่างๆ ได้ เป็น
อีกหนึ่งแรงจูงใจในการรวมกลุ่มอาชีพของคนในเมือง
13
SOCIAL INNOVATION FOR URBAN HEALTH
นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อมเมือง
งบประมาณนั้นมาจากรายได้ของเทศบาล และรายได้อื่น ๆ เช่น จากการกู้ยืมธนาคาร
รวมถึงหน่วยงานทั้งในและต่างประเทศ แต่ทั้งนี้ต้องอาศัยความตั้งใจทางานของ
ผู้บริหาร วิธีดังกล่าวลดปริมาณขยะลงจาก 25,000 หมื่นกิโลกรัม เหลือเพียง 15,000
กิโลกรัมในปัจจุบัน
เมืองแห่งต้นไม้ : เทศบาลเมืองพนัสนิคมได้ขับเคลื่อนให้มีการขึ้นทะเบียนต้นไม้เพื่อ
ดูแลต้นไม้ใหญ่ที่อยู่ในพื้นที่ และเพิ่มปริมาณต้นไม้ใหญ่ให้ได้มากที่สุด ในการบริหาร
จัดการต้นไม้ในชุมชน เทศบาลฯเป็นผู้รับผิดชอบดูแลต้นไม้ในพื้นที่สาธารณะ ส่วน
ชุมชนจะต้องเป็นผู้ดูแลต้นไม้ในพื้นที่ของชุมชน
เมืองไร้มลพิษ : การลดปริมาณขยะในเมือง ด้วยปริมาณขยะถึง 25,000 กิโลกรัมต่อ
วัน เทศบาลเมืองพนัสนิคมใช้เจรจาสร้างข้อตกลงกับประชาชนในพื้นที่เพื่อขอยกเลิก
การให้บริการถังขยะขนาด 200 ลิตร เป็น 20 ลิตร จานวน 3 ใบ แบ่งสีตามประเภท
ของขยะ แจกจ่ายไปตามบ้านเรือน พร้อมกาหนดเวลาเก็บขยะ จนมีผลให้แต่ละบ้าน
รู้จักคัดแยก หากบ้านใครไม่ยอมแยกขยะ รถเก็บขยะจะไม่เก็บขยะบ้านนั้น
คุณวิจัย อัมราลิขิต
นายกเทศมนตรีเมืองพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี
เมืองพนัสนิคม
ต้นแบบเมืองจัดการสิ่งแวดล้อมยั่งยืน
เมืองพนัสนิคมเป็นเมืองที่ได้รับการยอมรับว่าเป็นเมืองต้นแบบด้าน
สิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืนในระดับภูมิภาคอาเซียน เป็น 1 ใน 1,000 เมืองระดับโลกที่ช่วย
รณรงค์ด้านการพิทักษ์ชีวิตและสุขภาพของคนเมือง และเป็นเทศบาลเมืองที่มีค่าดัชนี
ความน่าอยู่สูงสุดเป็นอันดับ 1 ของประเทศ อะไรทาให้เมืองแห่งนี้เป็นเมืองที่ได้รับ
การยกย่องว่าเป็นต้นแบบด้านสิ่งแวดล้อมยั่งยืน เทศบาลเมืองพนัสนิคมพัฒนาเมือง
ตามแนวความคิด เมืองแห่งต้นไม้ เมืองไร้มลพิษ และเมืองพิชิตพลังงาน สาหรับ
14
SOCIAL INNOVATION FOR URBAN HEALTH
นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อมเมือง
เมืองสิ่งแวดล้อมดี : เทศบาลเน้นสร้างเมืองสีเขียวมีสวนสาธารณะและลาน
กีฬาขนาดใหญ่ เช่น สระว่ายน้า สนามเทนนิส สนามฟุตบอล สนามเปตอง สนาม
บาสเกตบอล และหอประชุมที่ใหญ่ที่สุดในจังหวัดชลบุรี
เมืองพิชิตพลังงาน: การส่งเสริมการใช้รถจักรยานยนต์ มีการรวมกลุ่มกัน
ของชาวเมืองเกิดเป็นชมรมจักรยานเมืองพนัสนิคม และได้เคลื่อนไหวจัดกิจกรรม
ต่าง ๆ เพื่อผลักดันให้เกิดเป็นชมรมจักรยานในพนัสนิคม
“การทาเมืองให้เกิดเป็ นภาพความสาเร็จ ทาให้
ประชาชนเปลี่ยนแปลงวิธีคิด เกิดศรัทธาเชื่อมั่นในผู้บริหาร
ซึ่งยืนยันที่จะทาสิ่งดี ๆ และกระตือรือร้นที่จะอยู่กันอย่างมี
ความสุข ทุกอย่างมันเดินไปในทิศทางเดียวกัน”
15
ทุ่งสง เมืองแห่งการจัดการขยะ
ด้วยทุ่งสงเป็นเมืองขนาดใหญ่ มีประชากรในเมืองกว่า 30,000
คน ทาให้มีขยะในเมืองกว่าวันละ 50 ตัน เทศบาลเมืองทุ่งสงพยายาม
แก้ปัญหาขยะ ปฏิบัติตามตัวชี้วัดมาตลอด จนเทศบาลได้รางวัลชนะเลิศ
ด้านสิ่งแวดล้อมระดับประเทศหลายครั้ง แต่ขยะในเมืองทุ่งสงก็ไม่ลดลง
“พลิกถุง พลิกโลก” เป็นนวัตกรรมที่พยายามดาเนินการกาจัดขยะแบบ
ครบวงจรตั้งแต่พ.ศ.2558 ขยะที่เทศบาลเล็งเห็นว่าเป็นปัญหาอันดับต้นๆ
คือ ถุงพลาสติกและโฟม เทศบาลใช้วิธีนาถุงพลาสติกมาพลิกล้างทั้งสอง
ด้านแล้วเอาไปตากแดดขจัดความชื้น โดยเริ่มต้นกระบวนพลิกถุงจาก
พนักงานองค์กรบริหารส่วนท้องถิ่น โรงเรียนในสังกัดเทศบาล และขยายสู่
ครัวเรือนและชุมชนอย่างต่อเนื่อง เทศบาลเมืองทุ่งสงสร้างความร่วมมือ
กับบริษัทเอกชนในพื้นที่ ส่งพลาสติกตากแห้งทั้งหมดนาไปแปรรูปให้เป็น
ขยะเชื้อเพลิง (Refuse Derived Fuel; RDF) แล้วส่งต่อให้โรงโม่ปูน
บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จากัด (มหาชน) หรือ SCG เพื่อนาไปทาเป็น
เชื้อเพลิงต่อไป นอกจากนี้ยังมีการนาขยะมาแปรรูปโดยกระบวนการต่าง
ๆ เช่น นาขยะอินทรีย์มาใช้เลี้ยงไส้เดือนหรือหมักเป็นน้าหมักชีวภาพ นา
เศษไม้และกะลามะพร้าวมาเผาทาเป็นฟืนหรือถ่านอัดแท่ง ทากระดาษสา
จากการะดาษเหลือใช้ ทากระถางต้นไม้จากกระดาษสา เป็นต้น
SOCIAL INNOVATION FOR URBAN HEALTH
นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อมเมือง
คุณกษิดิศ แสงจันทร์
รักษาการผู้อานวยการกองช่างสุขาภิบาล เทศบาลเมืองทุ่งสง
16
ในระยะเวลา 8 เดือน เทศบาลสามารถลดปริมาณขยะไปได้มากกว่า
ร้อยละ 50 ขยะที่เคยมีวันละ 50 ตัน เหลือเพียง 25 ตันต่อวัน เทศบาลต้อง
เสียค่าฝังกลบขยะ 50 ตันต่อวันเป็นมูลค่ากว่า 4.8 ล้านบาทต่อปี แต่
ปัจจุบันเสียแค่ 1.2 ล้านบาทต่อปีเท่านั้น ข้อมูลจากทางสาธารณสุขอาเภอ
ยังทาให้ทราบว่าปริมาณผู้ป่วยด้วยโรคต่าง ๆ ที่มีสาเหตุมาจากขยะและสิ่ง
สกปรกได้ลดลงไปอย่างมีนัยยะสาคัญ นอกจากนี้ ยังสามารถหารายได้จาก
การขายขยะได้ถึงประมาณ 1 ล้าน 2 แสนบาทต่อปี ซึ่งจานวนเงินเหล่านี้
สามารถนาไปใช้สร้างประโยชน์ในชุมชนได้จานวนมาก
SOCIAL INNOVATION FOR URBAN HEALTH
นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อมเมือง
17
นวัตกรรมสร้างสังคมเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด
อาสาสมัครสร้างสังคมเกื้อกูล
บางคูรัดเป็นชุมชนหมู่บ้านจัดสรรขนาดใหญ่ เฉพาะหมู่บ้านพฤกษามี
บ้านจานวน 7,500 กว่าหลัง ประชากรราว 20,000 คน ประชาชนใน
หมู่บ้านพฤกษามีปัญหาคุณภาพชีวิตทั้งด้านสภาพแวดล้อม มีการทะเลาะ
วิวาท ด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน มีโจรขโมยเข้าบ้าน มีความ
รุนแรงในครอบครัว และปัญหาสุขภาพ โดยเฉพาะผู้สูงอายุ ผู้ป่วยและผู้
พิการที่ถูกทอดทิ้ง หมู่บ้านจัดสรรที่ไม่มีหน่วยงานใดเข้ามาดูแลแก้ไข นาไปสู่
การแสวงหา/รวบรวมจิตอาสาเพื่อช่วยแก้ไขสถานการณ์ มีการรวมกลุ่มจิต
อาสา จัดหาสถานที่เป็นศูนย์กลางการดาเนินงาน ได้แก่
“เพิงสังกะสี” เป็นเหมือนศูนย์ร้องทุกข์ ร้องเรียน แจ้งปัญหา ให้คนใน
กลุ่มไปช่วยแก้ไข มีการคิดค้นเครื่องมือนวัตกรรมง่าย ๆ ในการทางาน และ
เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ อาทิ ไม้หยอดทรายอะเบทใส่แหล่งน้าเพื่อไม่ให้
เกิดลูกน้ายุงลาย ไม้จับงู เป็นต้น เมื่อลงมือทาอย่างจริงจัง เห็นผล ชาวบ้าน
จึงเริ่มไว้วางใจ จากที่เคยหมางเมิน ต่างคนต่างอยู่ตามวิสัยของชุมชนหมู่บ้าน
จัดสรร ก็เกิดเป็นความร่วมมือ ความเกื้อกูลช่วยเหลือกันในเรื่องอื่น ๆ มาก
ยิ่งขึ้น อย่างเช่น เรื่องการบริจาคยา การยืม คืนอุปกรณ์ และเครื่องมือ
ทางการแพทย์มือสอง หมุนเวียนทั้งคนในคนนอกหมู่บ้าน
SOCIAL INNOVATION FOR URBAN HEALTH
คุณนฤพนธ์ ชโยปถัมป์
ประธานอาสาสมัครตาบลบางคูรัด
18
เมืองตรัง นวัตกรรมพื้นที่ที่สาม
พื้นที่ที่สาม เป็นแนวคิดใหม่ในการอธิบายพฤติกรรมคนรุ่น
ใหม่ในเมืองตรัง ที่ชอบรวมกลุ่มในที่ที่ไม่ใช่บ้านและที่ทางาน เช่น
สวนสาธารณะ คาเฟ่ ร้านกาแฟ ร้านหนังสือ บาร์ เป็นต้น
นอกเหนือจากพื้นที่ที่หนึ่งและพื้นที่ที่สองแล้ว มนุษย์ก็ยังต้องการที่ที่
สามเพื่อเติมเต็มรูปแบบความสัมพันธ์อย่างไม่เป็นทางการให้กับ
ชีวิตอีกด้วย
ที่ที่สามทางกายภาพในท้องถิ่น มีความจาเป็นมากกว่ายุคอื่นใด
เพื่อที่จะเติมเต็มมิติของการปฏิสัมพันธ์ของมนุษย์ให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น
โดยเฉพาะร้านกาแฟเป็นสถานที่รวมตัวอย่างไม่เป็นทางการซึ่งร้าน
กาแฟที่มีรูปลักษณ์และสิ่งอานวยความสะดวกที่แตกต่างไปจากเดิม
อย่างสิ้นเชิง กิจกรรมที่เกิดขึ้นมีตั้งแต่การพบปะสังสรรค์ในหมู่เพื่อน
การนั่งทางานโดยใช้คอมพิวเตอร์พกพา การทักทายขาประจา การ
ประชุมหารือ การเจรจาธุรกิจ การไปดื่มกาแฟและกินขนม เป็นต้น
นวัตกรรมสร้างสังคมเกื้อกูล
เมืองของไทยทุกเมืองมีพื้นที่ที่สามทั้งสิ้น สาหรับภาคใต้เมืองที่มีพื้นที่ที่
สามที่โดดเด่น คือ เมืองตรัง ตรังมีพื้นที่ที่สามมาตั้งแต่ในอดีต แต่เราอาจจะ
ไม่ได้เรียกสถานที่เหล่านี้มาพื้นที่ที่สาม ในมิติของบริบทของเมืองตรังมีการใช้
ชีวิตในพื้นที่สาธารณะที่ชัดเจนมาก ในอดีตคนเมืองตรังเกี่ยวพันกับ ร้านกาแฟ
และงานศพ ทาให้เกิดพื้นที่ทางสังคมที่มีชีวิตชีวามากในอดีต ในเมืองตรังนั้นมี
ร้านกาแฟที่ขายกาแฟตั้งแต่เช้าไปจนถึงตอนค่าอยู่เป็นจานวนมาก การใช้ร้าน
กาแฟเป็นสถานที่นัดพบเพื่อวัตถุประสงค์ต่าง ๆ เช่น การแลกเปลี่ยนข้อมูล
ข่าวสาร การเจรจาธุรกิจ ในส่วนของงานศพก็ถือเป็นประเพณีที่สร้างพื้นที่รวม
ตัวอย่างไม่เป็นทางการของคนตรัง จนกลายเป็นพื้นที่รวมตัวของคนจานวนมาก
SOCIAL INNOVATION FOR URBAN HEALTH
คุณอภชิญา โออินทร์
นักวิจัยออิสระ
19
นวัตกรรมสร้างสังคมเกื้อกูล
SOCIAL INNOVATION FOR URBAN HEALTH
ในปัจจุบันวิถีการนั่งร้านกาแฟยังคงดารงอยู่ แต่เปลี่ยนไปตามยุคสมัย สิ่งที่
น่าสนใจคือ พื้นที่ที่สามในเมืองตรังได้เปลี่ยนไป กลุ่มคนรุ่นใหม่ที่เป็นผู้ประกอบการขนาด
เล็กจานวนหนึ่งมีความต้องการสร้างชุมชนทางวัฒนธรรม ทาให้เกิดกิจกรรมและบทสนทนา
ที่หลากหลาย มีขาประจา ผู้มาเยือนมีโอกาสพบปะเพื่อนหรือเครือข่ายของคนทางานใน
สายงานเดียวกันที่อยู่ในเมืองตรังได้เสมอ ตัวอย่างเช่น Tubtieng Old Town Café ซึ่ง
ตั้งอยู่ในย่านเมืองเก่า ที่เจ้าของร้านมีแนวคิดที่พยายามสร้างพื้นที่เพื่อเชื่อมระหว่างคนรุ่น
เก่าและคนรุ่นใหม่ ผ่านภาพถ่ายแขวนอยู่ตามผนังซึ่งจะเป็นสื่อในการสร้างบทสนทนา
ระหว่างคนสองรุ่น ร้าน 3rd
Place Coffee ร้านกาแฟและสถานที่สาหรับตลาดจาหน่าย
สินค้าทามือและใช้ตึกเก่าทาเป็นหอศิลป์เพื่อใช้เป็นสถานที่จัดนิทรรศการหมุนเวียน
20
และยังเป็นสถานที่ไว้เรียนรู้งานศิลปะแขนง ต่าง ๆ อีกด้วย และร้าน
The Tree Sleep | Space ที่เปิดพื้นที่ Co-working Space หรือใน
บางครั้งก็มีการจัดกิจกรรมเชิงปฏิบัติการ (Workshop) นอกจากร้าน
กาแฟแล้ว ตรังยังมีพื้นที่ที่สามอื่น ๆ ได้รับความนิยมในหมู่คนรุ่นใหม่ เช่น
ห้องสมุดซึ่งเป็นพื้นที่ที่บริหารโดยเทศบาล ตลาดถนนคนเดิน
สวนสาธารณะที่อดีตเคยเป็นเรือนจา และลานวัฒนธรรมใกล้ตลาดซึ่งเป็น
ลานโล่ง มีเวทีและเก้าอี้นั่ง บ้านจริงจิตรและตรอกโกเต็งที่ถูกใช้จัดงาน
Trang Street Art โดยช่างภาพและสถาปนิกรุ่นใหม่ เป็นต้น
นครตรังจึงเป็นพื้นที่ที่โดดเด่นในเรื่องพื้นที่ที่สาม ด้วยการใช้วิถี
ชีวิตสาธารณะของคนตรังตั้งแต่ดั้งเดิม แม้ปัจจุบันจะมีสื่อใหม่มากมาย
แต่คนตรังไม่ว่ารุ่นไหนก็ยังคงออกมาใช้ชีวิตนอกบ้าน สร้างชีวิตชีวาให้กับ
เมือง โดยเฉพาะอย่างยิ่งตามร้านกาแฟที่เพิ่มขึ้นจานวนมากในรอบห้าปีที่
ผ่านมา ดังนั้น ไม่ว่าจะเป็นพื้นที่ของรัฐหรือเอกชนจะมีชีวิตชีวาได้ขึ้นอยู่
กับลักษณะการใช้ชีวิตของปัจเจกบุคคลในเมืองตรัง แต่การจะทาให้คนเข้า
ไปใช้พื้นที่ใด ๆ เพื่อให้เกิดความมีชีวิตชีวานั้นอาจจะมีความจาเป็นที่
จะต้องเป็นการร่วมมือกันระหว่างภาคีอื่น ๆ ที่สามารถร่วมกระบวนการจัด
กิจกรรมได้ เป็นต้น ดังนั้นท้องถิ่นควรออกแบบพื้นที่ที่สามให้เหมาะสม
สาหรับกิจกรรมและความต้องการที่หลากหลาย พร้อมทั้งยืดหยุ่น เพื่อ
เอื้ออานวยให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มในเมือง ๆ หนึ่ง
ที่มา : http://thailandscanme.com/trg001
นวัตกรรมสร้างสังคมเกื้อกูล
SOCIAL INNOVATION FOR URBAN HEALTH
21
อุดรธานี นวัตกรรมการมีส่วนร่วมใน
พื้นที่สาธารณะ
อุดรธานีเป็นหนึ่งเมืองที่น่าจับตามองอย่างยิ่งในภาคอีสาน ในช่วง
2-3 ปีที่ผ่านมา อุดรธานีมีการเคลื่อนไหวรวมตัวของผู้คนจากหลายภาคส่วนใน
เมือง เพื่อสร้างกิจกรรมใหม่ให้เกิดขึ้นในเมืองอยู่ตลอดเวลา
อุดรธานีเป็นไปด้วยกลุ่มผู้ประกอบการเพื่อสังคมที่มีประเด็น
ของตนเองมากมายในเมือง แต่ที่ผ่านมาการมีส่วนร่วมระหว่างกลุ่มนั้นยัง
ไม่บูรณาการเท่าที่ควร กลุ่มมาดีอีสาน ในฐานะกลุ่มการรวมตัวของ
ผู้ประกอบการรุ่นใหม่ในท้องถิ่น เห็นความสาคัญของการมีส่วนร่วมบน
พื้นที่สาธารณะ ทาหน้าที่เชื่อมโยงจุดเล็ก ๆ ในพื้นที่ภาคอีสานให้มาเจอ
กัน ให้ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม เข้ามามีส่วนร่วมสร้างสรรค์
สิ่งใหม่เพื่อเมืองโดยไม่ติดเงื่อนไขใด ๆ พวกเขามุ่งหน้าค้นหารูปแบบ
ต่าง ๆ เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมให้เกิดขึ้น
นวัตกรรมสร้างสังคมเกื้อกูล
SOCIAL INNOVATION FOR URBAN HEALTH
ผศ.ดร.พิชัย เอื้อมธุรพจน์
ผู้อานวยการศูนย์สร้างสรรค์การประกอบการเพื่อสังคม
22
กลุ่มมาดี อีสานใช้ประเด็นใหม่ ๆ รูปแบบและเทคนิคต่าง ๆ สร้าง
กิจกรรมในพื้นที่กลาง ดึงการมีส่วนร่วม ทาให้อุดรธานีมีกิจกรรมที่สร้างการมีส่วน
ร่วมของคนเมืองเกิดขึ้นจานวนมากในพื้นที่สาธารณะของเมือง เช่น เวที Social
Enterprise Esan Forum เวทีใหญ่ระดับเมืองที่ใช้ชื่อ “ไป่ นา กั๋น” ชวนคน
อุดรคุยเรื่องต่าง ๆ วิ่งด้วยกัน งานวิ่งครั้งใหญ่ของคนอุดรธานี ด้วยแนวคิด วิ่ง
ด้วยกันทั้งคนพิการ และไม่พิการ วิ่งรอบสวนสาธารณะหนองประจักษ์ พบว่า มี
ผู้สนใจเข้าร่วมกว่า 4,000 คน Udon 2029 เมืองอุดรธานีจะเป็นอย่างไรใน
อนาคต เป็นต้น สร้างรูปแบบการรวมตัวใหม่ ๆ กลายเป็นปรากฏการณ์ทางสังคม
ของคนเมืองอย่างไม่รู้จบ
เมื่อไม่ใช่คนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเป็นเจ้าของ แล้วมาด้วยแนวคิดใหม่ที่ใส่ใจ
หลายกลุ่ม และเดินไปด้วยกัน ก็ทาให้เกิดการรวมตัวที่ปราศจากเงื่อนไขใดใด ๆ
ได้ ทั้งหมดนี้สะท้อนการทางานโดยเข้าใจถึงความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในสังคม
และพยายามปรับตัวให้ทันตามยุคสมัยที่เปลี่ยนไป ไม่จากัดรูปแบบการ
บริหารงานไว้ภายใต้กรอบความคิดแบบเดิม แต่ยึดมั่นแนวคิดการร่วมมือกัน
ระหว่างทุกภาค ภายใต้ความคิดที่ว่า ภาครัฐเอื้อ ภาคเอกชนลงมือทา ภาค
การศึกษาเข้ามาเติมเต็ม เป็นหัวใจสาคัญของการสร้างการมีส่วนร่วมของคน
ในเมือง
นวัตกรรมสร้างสังคมเกื้อกูล
SOCIAL INNOVATION FOR URBAN HEALTH
23
นวัตกรรมการบริหารจัดการเมืองสุขภาวะ
พื้นที่รอบอุตสาหกรรมแหลมฉบัง
การบริหารแบบ 3 ประสาน ในการดูแลสุขภาพชุมชน
พื้นที่รอบโรงกลั่นเครือไทยออยล์ ต.ทุ่งสุขลา อ.ศรีราชา บริษัทไทย
ออยล์ ในฐานะสถานประกอบการในเขตนั้นมีหน้าที่ต้องลดผลกระทบจาก
สังคม สิ่งแวดล้อม และพัฒนาชุมชนรอบเขตนั้นให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น บริษัท
ไทยออยล์ จึงสร้างศูนย์สุขภาพและการเรียนรู้เครือไทยออยล์เพื่อชุมชน
ทางานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ดูแลคนในชุมชน 10 ชุมชน ราว
15,000 คน โดยมีจุดเด่นสร้างนวัตกรรมการบริหารจัดการสุขภาพชุมชน
ด้วย ระบบและกลไกการดูแลสุขภาพ แบบการจัดการ 3
ประสาน การจัดการ 3 ประสาน คือ บริษัทไทยออยล์ เป็นหน่วยงาน
ประสานหลัก ร่วมกับเทศบาล โรงพยาบาล และชุมชน มีผลงานรูปธรรม
คือทาคลินิกทันตกรรม ให้บริการดูแลฟันและช่องปากให้กับเด็กนักเรียน
8 โรงเรียนรอบโรงกลั่น สร้างเด็กแหลมฉบังเป็นแชมป์กระโดดเชือก และ
ที่สาคัญสามารถสร้างระบบฐานข้อมูลสุขภาวะชุมชน (Family and
Community Assessment Program: FAP) ใช้เครือข่ายเพิ่มเติมคือ
ร่วมกับมหาวิทยาลัยในพื้นที่ ให้นักศึกษามาฝึกปฏิบัติงานเก็บข้อมูลใน
พื้นที่ ทาให้สามารถสร้างระบบฐานข้อมูลได้สาเร็จในเรื่อง แฟ้มสุขภาพ
ครอบครัว โรคเมตาบอริค เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง
คัดกรองผู้สูงอายุ ข้อมูลนี้เก็บอย่างต่อเนื่องมา 5 ปีแล้ว
คุณชัยชนะ หะริณธนาวุฒิ
อดีตที่ปรึกษาศูนย์สุขภาพและการเรียนรู้เครือไทยออยล์เพื่อชุมชน
SOCIAL INNOVATION FOR URBAN HEALTH
24
นวัตกรรมการบริหารจัดการเมืองสุขภาวะ
เมืองแม่มอก
นวัตกรรมวิสาหกิจชุมชน (Community Enterprise) ด้านสุขภาพ
กับการสร้างอาชีพนักบริบาลผู้แลผู้สูงอายุ ด้วยภาคประชาสังคม
การสร้างนักบริบาล (Care Giver) เพื่อดูแลผู้ป่วยในชุมชน ไม่ใช่
เรื่องใหม่ หลายเมืองล้วนแต่มีนักบริบาลทั้งสิ้น แต่ที่เมืองแม่มอก จังหวัด
ลาปาง มีความโดดเด่น คือ แกนนาไม่ใช่จากเจ้าหน้าที่ภาครัฐ แต่นาโดยภาค
ประชาสังคมในแม่มอก ซึ่งไม่เพียงแค่พัฒนานักบริบาลผู้สูงอายุ เพื่อให้การ
ดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุในเมืองให้เกิดการเกื้อกูลกันในสังคม แต่ยังสร้างเป็น
อาชีพอย่างจริงจัง ส่งออกนักบริบาลผู้สูงอายุให้กับลูกค้าที่มีความต้องการ
เช่น โรงพยาบาล หรือครอบครัวที่มีผู้ป่วย
SOCIAL INNOVATION FOR URBAN HEALTH
คุณอุดม สุวรรณพิมพ์
ประธานกลุ่มแม่มอกหลั่นล้าอีโคโนมี่
การบริหารจัดการใช้แนวคิดวิสาหกิจชุมชน มีการบริหารจัดการแบบกลุ่ม
มีการสร้างกองทุนนักบริบาลแม่มอกเป็นตัวกลางคอยจัดหางานให้
นักบริบาล ทุกการจ้างงานจะมีการแบ่ง 10 เปอร์เซ็นต์จากรายได้ เพื่อ
เข้ากองทุนใช้ในการบริหารสร้างนักบริบาลรุ่นใหม่ จัดอบรมนักบริบาลรุ่นแรก
70 คน ผลงานที่เกิดขึ้น นักบริบาลจานวนหนึ่งที่ได้รับการจ้างงานประจาจาก
โรงพยาบาล บางส่วนสามารถรับงานบริบาลชั่วคราว งานบริการนักบริบาลถึงที่
(Delivery) ทุกการจ้างงานจะมีการแบ่ง 10 เปอร์เซ็นต์จากรายได้ เพื่อเข้ากองทุน
ใช้ในการบริหารสร้างนักบริบาลรุ่นใหม่ แก้ปัญหาเรื่องการดูแลผู้สูงอายุและต่อ
ยอดสร้างรายได้พัฒนาเศรษฐกิจในเมืองต่อไป
25
เมืองหนองป่าครั่ง เมืองแห่งสวัสดิการ
เมืองหนองป่าครั่ง ตั้งอยู่ในอาเภอเมืองเชียงใหม่ อยู่ห่างจากตัว
เมืองเชียงใหม่ ประมาณ 10 กิโลเมตร มีประชากรในทะเบียนบ้านทั้งตาบล
ประมาณ 7,000 คน เป็นพื้นที่ชานเมือง ไม่มีเกษตรกรรมแล้ว หนองป่า
ครั่ง มีความโดดเด่นการสร้างสุขภาวะ คือ การเป็นเมืองสวัสดิการ ดูแล
ประชาชนตั้งแต่เกิดจนแก่ตัวอย่างครบวงจร นาโดยเทศบาลตาบลหนองป่า
ครั่ง ห่วงโซ่สวัสดิการเมืองหนองป่าครั้ง สามารถสรุปได้ดังนี้
- เมื่อมีคนเกิด เทศบาลฯ รับเลี้ยงเด็กฟรีตั้งแต่ 2 เดือน ถึงเตรียม
อนุบาล ด้วยพี่เลี้ยงทีผ่านการอบรมอย่างดี
- เมื่อเริ่มเรียนหนังสือ เทศบาลฯ จ่ายค่าเทอมให้ พร้อมจัดรถ
รับส่งพาเด็กๆ ไปเรียนในอาเภอเมืองเชียงใหม่
- เมื่อทางาน ส่งเสริมอาชีพและการรวมกลุ่ม เทศบาลฯ เป็นที่
ปรึกษาการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบให้กับกลุ่มหมอนวด และจัดตั้ง
ศูนย์นวดแผนไทย จนปัจจุบันมีหมอนวดในตาบลกว่า 50 คน มีรายได้เฉลี่ย
วันละ 700-800 บาท และทุกปีมีโบนัสให้อีกคนละ 2-3 หมื่นบาท
- เมื่อเจ็บป่วย ประชาชนรักษาฟรี มีโรงพยาบาลเป็นของตนเอง
- เมื่อแก่ตัวหรือพิการ : กายภาพบาบัดและฟื้นฟูสภาพฟรี จัดตั้ง
คลินิกชุมชนอบอุ่น ห้องฟื้นฟูสมรรถนะ ให้กับผู้ป่วยที่ต้องได้รับการฟื้นฟู
โดยเฉพาะคนพิการและผู้สูงอายุที่ติดเตียง
SOCIAL INNOVATION FOR URBAN HEALTH
คุณเสาวนีย์ คาปวน
ผอ.กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาล
ตาบลหนองป่าครั่ง
26
แล้วงบประมาณมาจากที่ไหน สิ่งที่น่าประหลาดใจ พบว่า
งบประมาณที่ใช้ในการจัดสวัสดิการนั้น ไม่ได้พิเศษแต่อย่างไร งบประมาณ
ประกอบไปด้วย เงิน 3 ส่วน ส่วนที่ 1 คือ งบประมาณของเทศบาลตาบล
หนองป่าครั้ง ได้รับจากเงินภาษี เงินอุดหนุน ประมาณ 100 กว่าล้านบาท
ต่อปี ส่วนที่ 2 คือ งบประมาณจากหน่วยงานภายนอก เช่น กองทุน
สุขภาพตาบล ของสปสช. (ซึ่งได้ทุกตาบลในประเทศไทย) ส่วนที่ 3 คือ
งบประมาณจากภาคประชาชน ในแต่ละปี จะมีเงินบริจาคเข้ามาที่เทศบาล
ราว 3-4 แสนบาท ทั้งเงินและสิ่งของ เช่น ของเล่น อุปกรณ์แพทย์
นอกจากนี้ ทุก ๆ 4 ปี ประชาชนหนองป่าครั่งจะระดมผ้าป่าจัดตั้งเป็น
กองทุนมอบให้เทศบาลฯ ใช้ในการดาเนินการเพิ่มเติมในยามฉุกเฉินด้วย
หนองป่าครั่งแสดงให้เห็นว่า หากรัฐของพวกเขาแปรเปลี่ยนเงิน
เพื่อมาดูแลประชาชน พวกเขาก็พร้อมจ่ายและยังระดมทุนช่วยเหลือให้กับ
รัฐของพวกเขาด้วย ที่หนองป่าครั่งเลยเปรียบเสมือนกับดินแดนในฝันเล็ก ๆ
ที่เชื่อว่าใครได้ฟังคงอยากให้ประเทศไทยเป็นแบบนี้บ้าง สิ่งหนึ่งที่หนองป่า
ครั้งแสดงให้เห็นว่า ภายใต้อานาจที่จากัด เมืองแห่งนี้ก็สามารถทาสวัสดิการ
มากมายเพื่อประชาชน “รัฐสวัสดิการ” ที่ เมืองเล็ก ๆ แห่งนี้ก็น่าจะจุด
ประกายและเป็นบทเรียนเรื่องการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนเมืองได้อีก
มากมาย
SOCIAL INNOVATION FOR URBAN HEALTH
27
28
เมือง ย้อนคิด มุ่งสู่อนาคต
ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง
พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์
เมืองขวางน้า
ศ. กิตติคุณ เดชา บุญค้า
ชุดหนังสือเมือง
วิธีการสั่งซื้อ
1. Inbox ทาง Page Facebook : ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง ตลอด 24 ชั่วโมง
2. ติดต่อเบอร์ 02-938-8826 ในเวลาราชการ
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง
ศ.ดร. อานันท์ กาญจนพันธุ์
สัมผัส เมืองสายบุรี (Waso Telubae)
ยุวดี คาดการณ์ไกล
29
ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง หรือ Future Urban Development (FURD) ร่วมกับมูลนิธิส่งเสริมปัญญาสาธารณะ (CPWI)
โดยการสนับสนุนของ สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ทางแผนงานฯ มีความสนใจด้านการพัฒนาเมือง คลังปัญญาเรื่องเมือง
สร้างเครือข่ายการพัฒนาเมือง อีกทั้งมีการสื่อสารความรู้ที่ทางแผนงานฯได้ทาการศึกษา วิจัยสู่สาธารณะ
โลโก้ของแผนงานฯ ยังได้สื่อถึงความเป็นแผนงานฯและทิศทางการทางานได้อย่างชัดเจน โดย F U R D ที่ปรากฏในโลโก้นั้นเป็นอักษรย่อของ
Future Urban Development เมื่อพิจารณาถึงสีโลโก้ที่ปรากฏสีเขียวสื่อถึงการงอกงามตามธรรมชาติ และสีน้าตาลสื่อความหมายถึงผืนดินอัน
อุดมสมบูรณ์ เป็นการคาดหวังที่ต้องการเห็นการพัฒนาเมืองที่ไม่เพียงรุดหน้าในทางวัตถุเท่านั้น หากยังต้องใส่ใจถึงการพัฒนามิติอื่น ๆ ไปพร้อมกัน เพื่อ
มุ่งสู่เมืองที่สมดุล สร้างความสุขแก่ผู้คนอย่างยั่งยืน
นอกจากนี้ ที่ตัวอักษร D ของโลโก้นั้นถูกออกแบบให้มีลักษณะคล้าย “ลูกยางนา” เพื่อสื่อความหมายถึงความสามารถในการเจริญงอกงามใน
ยามที่เมล็ดลูกยางทอดลงบนผืนดิน การเติบโตดังกล่าวเปรียบเสมือนกับการทางานของแผนงานฯ ที่มุ่งเน้นด้านการพัฒนาเมือง มุ่งมั่นหว่านเมล็ดพันธุ์
แห่งความรู้จากงานวิจัยสู่สังคม ด้วยความเชื่อมั่นถึงศักยภาพของท้องถิ่น ที่แต่ละแห่งนั้นอุดมไปด้วยความรุ่มรวยในมิติต่างๆอันเป็นเอกลักษณ์
นอกจากนี้ทางแผนงานฯยังขอร่วมเชิดชูความรักความภาคภูมิใจในท้องถิ่น ให้ผลิหน่อจากผืนดินของท้องถิ่น ก่อนเบ่งบานเป็น “ผู้สร้างบ้านแปงเมือง”
ที่แกล้วกล้า ให้ร่มเงาและความผาสุกกับผู้คนในที่แห่งนั้น
ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง
30
Thai Cities Reviews
www.furd.in.th
31
ผู้อำนวยกำรศูนย์ศึกษำมหำนครและเมือง : ยุวดี คาดการณ์ไกล
บรรณำธิกำร: ยุวดี คาดการณ์ไกล
เรียบเรียง: ณัฐธิดา เย็นบารุง มณฑิภรณ์ ปัญญา
รูปเล่ม: มณฑิภรณ์ ปัญญา
ปีที่เผยแพร่: สิงหาคม 2562
ที่อยู่ติดต่อ
ศูนย์ศึกษำมหำนครและเมือง
637/1 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 ถนนลาดพร้าว แขวงจอมพล
เขตจตุจักร กทม. 10900
www.facebook.com/furd.rsu
@furd_rsu
FURD RSU
02-938-8826
02-938-8864
Furd.rsu

More Related Content

What's hot

Urbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคต
Urbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคตUrbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคต
Urbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคต
FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD_RSU
 
การกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน
การกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดนการกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน
การกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน
FURD_RSU
 
Plan dev12 2
Plan  dev12 2Plan  dev12 2
Plan dev12 2Nus Venus
 
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดาการพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
FURD_RSU
 
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
FURD_RSU
 
ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา
ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลาทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา
ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา
FURD_RSU
 
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัลบทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
FURD_RSU
 

What's hot (8)

Urbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคต
Urbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคตUrbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคต
Urbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคต
 
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
 
การกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน
การกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดนการกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน
การกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน
 
Plan dev12 2
Plan  dev12 2Plan  dev12 2
Plan dev12 2
 
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดาการพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
 
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
 
ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา
ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลาทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา
ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา
 
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัลบทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
 

Similar to FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ

FURD SUMMIT 2016 REPORT
FURD SUMMIT 2016 REPORTFURD SUMMIT 2016 REPORT
FURD SUMMIT 2016 REPORT
FURD_RSU
 
การศึกษาการขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
การศึกษาการขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียวการศึกษาการขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
การศึกษาการขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
FURD_RSU
 
The Future of urban delopment initiative: Dalian Zhangjiakou champion city st...
The Future of urban delopment initiative: Dalian Zhangjiakou champion city st...The Future of urban delopment initiative: Dalian Zhangjiakou champion city st...
The Future of urban delopment initiative: Dalian Zhangjiakou champion city st...
FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special Issue
FURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special IssueFURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special Issue
FURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special Issue
FURD_RSU
 
นคราภิวัตน์กับการปฏิรูปการเมือง (ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์)
นคราภิวัตน์กับการปฏิรูปการเมือง (ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์)นคราภิวัตน์กับการปฏิรูปการเมือง (ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์)
นคราภิวัตน์กับการปฏิรูปการเมือง (ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์)
FURD_RSU
 
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุนแบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุนสำเร็จ นางสีคุณ
 
ภาษาพาเราก้าวไกล
ภาษาพาเราก้าวไกลภาษาพาเราก้าวไกล
ภาษาพาเราก้าวไกล
Freesia Gardenia
 
Asean cities2
Asean cities2Asean cities2
Asean cities2imdnmu
 
ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1Taraya Srivilas
 
ไอเอส1
ไอเอส1ไอเอส1
ไอเอส10866589628
 
Random 140804044059-phpapp02
Random 140804044059-phpapp02Random 140804044059-phpapp02
Random 140804044059-phpapp02
BeeEM2
 
Tic 1
Tic  1Tic  1
Tic 1
BTNHO
 
ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...
ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล  กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล  กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...
ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...
FURD_RSU
 
การระดมสมอง เรื่อง นคราภิวัตน์กับการปฏฺิรูปประเทศ
การระดมสมอง เรื่อง นคราภิวัตน์กับการปฏฺิรูปประเทศการระดมสมอง เรื่อง นคราภิวัตน์กับการปฏฺิรูปประเทศ
การระดมสมอง เรื่อง นคราภิวัตน์กับการปฏฺิรูปประเทศ
FURD_RSU
 
0 บทที่ 1
0 บทที่ 10 บทที่ 1
0 บทที่ 1Pala333
 
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
องค์การบริหารส่วนตำบล ห้วยยาง
 
รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...
รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...
รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...
Kanjana thong
 
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรีเมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
FURD_RSU
 
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคมสภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคมdomwitlism
 

Similar to FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ (20)

FURD SUMMIT 2016 REPORT
FURD SUMMIT 2016 REPORTFURD SUMMIT 2016 REPORT
FURD SUMMIT 2016 REPORT
 
การศึกษาการขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
การศึกษาการขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียวการศึกษาการขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
การศึกษาการขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
 
The Future of urban delopment initiative: Dalian Zhangjiakou champion city st...
The Future of urban delopment initiative: Dalian Zhangjiakou champion city st...The Future of urban delopment initiative: Dalian Zhangjiakou champion city st...
The Future of urban delopment initiative: Dalian Zhangjiakou champion city st...
 
FURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special Issue
FURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special IssueFURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special Issue
FURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special Issue
 
นคราภิวัตน์กับการปฏิรูปการเมือง (ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์)
นคราภิวัตน์กับการปฏิรูปการเมือง (ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์)นคราภิวัตน์กับการปฏิรูปการเมือง (ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์)
นคราภิวัตน์กับการปฏิรูปการเมือง (ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์)
 
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุนแบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
 
ภาษาพาเราก้าวไกล
ภาษาพาเราก้าวไกลภาษาพาเราก้าวไกล
ภาษาพาเราก้าวไกล
 
Asean cities2
Asean cities2Asean cities2
Asean cities2
 
ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1
 
ไอเอส1
ไอเอส1ไอเอส1
ไอเอส1
 
5
55
5
 
Random 140804044059-phpapp02
Random 140804044059-phpapp02Random 140804044059-phpapp02
Random 140804044059-phpapp02
 
Tic 1
Tic  1Tic  1
Tic 1
 
ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...
ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล  กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล  กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...
ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...
 
การระดมสมอง เรื่อง นคราภิวัตน์กับการปฏฺิรูปประเทศ
การระดมสมอง เรื่อง นคราภิวัตน์กับการปฏฺิรูปประเทศการระดมสมอง เรื่อง นคราภิวัตน์กับการปฏฺิรูปประเทศ
การระดมสมอง เรื่อง นคราภิวัตน์กับการปฏฺิรูปประเทศ
 
0 บทที่ 1
0 บทที่ 10 บทที่ 1
0 บทที่ 1
 
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...
รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...
รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...
 
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรีเมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
 
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคมสภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม
 

More from FURD_RSU

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
FURD_RSU
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
FURD_RSU
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
FURD_RSU
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
FURD_RSU
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD_RSU
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
FURD_RSU
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
FURD_RSU
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
FURD_RSU
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
FURD_RSU
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
FURD_RSU
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
FURD_RSU
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
FURD_RSU
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
FURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD_RSU
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
FURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD_RSU
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
FURD_RSU
 
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
FURD_RSU
 

More from FURD_RSU (20)

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
 
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
 

FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ

  • 2.
  • 3. 1 “เมือง” วันนี้นับว่ามีบทบาทสาคัญยิ่งต่อชีวิตของคนบนโลก รวมทั้งประเทศไทย ความเป็นเมืองเป็นหนึ่งใน Megatrends และ ถือว่าเป็นปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลกสูงที่สุด เมือง เปรียบเสมือนเป็นแม่สื่อที่เชื่อมคนกับโอกาส สาหรับความเป็นเมือง ของไทย ประเทศไทยก้าวเข้าสู่ความเป็นเมืองในปี 2014 มีสัดส่วน พื้นที่เมือง 49% แล้ว ในปี 2050 ประเทศไทยจะมีพื้นที่เมืองสูงถึง 72% ถ้ากล่าวถึงการพัฒนาเมืองของไทย หากใช้กรอบคิดทาง นโยบาย โดยมองผ่านแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับ ที่ 1 จนถึงปัจจุบัน นับรวมเกือบ 60 ปี จะเห็นว่า ช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 5 (พ.ศ.2525-2529) เป็นช่วงที่เริ่มมีนโยบายการพัฒนาเมือง และภูมิภาคชัดเจนเป็นจริงเป็นจัง โดยระบุเป็นมาตรการหนึ่งที่ สาคัญของแผนฯ คือ การพัฒนาพื้นที่เฉพาะและการพัฒนาเมือง เพื่อต้องการกระจายความเจริญไปสู่ภูมิภาค และแผนพัฒนาฯ ฉบับ ที่ 12 (พ.ศ.2560-2564) ที่เน้นหนัก นโยบายการพัฒนาเมืองมากขึ้น อีกครั้ง อันมียุทธศาสตร์การพัฒนาภาค เมืองและพื้นที่เศรษฐกิจ ประกอบกับมีการประกาศใช้ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) เน้นการส่งเสริมและเปิดโอกาสให้เกิดการพัฒนา เมืองอัจฉริยะ (Smart City) ที่กล่าวมานี้เป็นการชี้ให้เห็นถึง แนวนโยบายการพัฒนาเมืองที่กาหนดจากส่วนกลางโดยภาพรวม ยุวดี คาดการณ์ไกล ผู้อานวยการศูนย์ศึกษามหานครและเมือง
  • 4. 2 ทีนี้ ลองปรับมุมมองการพัฒนาเมืองของไทย โดยมองจาก พื้นที่หรือมองจากท้องถิ่นขึ้นมา เราจะเห็นการพัฒนาเมืองที่ริเริ่ม จากพื้นที่ อาจนาโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคประชาสังคม หรือภาคเอกชน และจะพบว่าในปัจจุบันหลายพื้นที่เริ่มมีความ ตื่นตัวต่อการพัฒนาเมืองของตน มีข้อสังเกตว่า การพัฒนาเมืองที่ ริเริ่มจากพื้นที่นั้น ส่วนใหญ่จะกาหนดประเด็นการพัฒนาเมืองจาก ปัญหาของพื้นที่เป็นหลักเพื่อหาแนวทางแบบใหม่อย่างสร้างสรรค์ ในการแก้ปัญหา มีการริเริ่มนวัตกรรมทางสังคมสาหรับสุขภาวะคน เมืองเกิดขึ้นอย่างหลากหลายเพื่อตอบสนองความต้องการของคน เมือง ไม่ว่าจะเป็นในด้านเศรษฐกิจเมือง สิ่งแวดล้อมเมือง การจราจรในเมือง การศึกษา แหล่งเรียนรู้ของเมือง ฯลฯ ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง ภายใต้การสนับสนุนของ สสส.ได้ดาเนินโครงการศึกษาการพัฒนาเมืองกว่า 20 เมือง พบ ปรากฏการณ์ความก้าวหน้าและความสร้างสรรค์การพัฒนาเมือง ของไทยอย่างน่าสนใจ ดังนี้  ผู้ริเริ่มสร้างสรรค์การพัฒนาเมือง ไม่ใช่หน่วยงานใด หน่วยงานหนึ่งอีกต่อไป จะเห็นว่านอกจากเทศบาลแล้ว ภาค ประชาสังคม ภาคธุรกิจเอกชน สถานศึกษา เริ่มมีบทบาทมาก ขึ้น อย่างไรก็ตาม ส่วนใหญ่จะทางานเป็นภาคีเครือข่ายร่วมกัน  ประเด็นที่หยิบยกมาขับเคลื่อนการพัฒนาเมือง มักจะเป็น ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับชีวิตคนเมือง ที่คนเมืองต้องเผชิญใน ปัจจุบัน แนวโน้มสาคัญพบว่า ผู้สูงอายุในเมืองมีมากขึ้นอายุ ยืนขึ้น ปัญหาขาดแคลนนักบริบาลผู้สูงอายุ ปัญหาการดูแลเด็ก เล็ก ปัญหาสิ่งแวดล้อมโดยเฉพาะการจัดการขยะและน้าเสีย ปัญหาสังคมของวัยรุ่นติดยาเสพติด ปัญหาการจราจร ปัญหา ความปลอดภัยของนักท่องเที่ยว ฯลฯ แต่ไม่ได้ใช้วิธีการแก้ไข แบบงานประจา กลับใช้ความริเริ่มสรรค์ ออกแบบระบบการ สร้างเสริมสุขภาพคนเมือง
  • 5. 3  เกิดนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาสุขภาวะคนเมือง เกิดจากความคิดที่ ต้องการป้องกันและแก้ไขปัญหาในสิ่งที่เมืองของตนกาลังเผชิญ โดยมี มุมมองเชิงบวกและใช้แนวทางที่เป็นไปได้ ประสานกับความรู้พื้นถิ่น สร้างความร่วมมือในการดาเนินงานอย่างสร้างสรรค์ นาไปสู่ทางออก แบบใหม่ของการแก้ไขปัญหา เมือง ดังกรณีตัวอย่างที่จะเห็นในเล่มนี้ หากการดาเนินโครงการการพัฒนาเมืองในพื้นที่ ริเริ่มมาจาก หน่วยงานส่วนกลางหรือหน่วยงานที่เป็นองค์การระหว่างประเทศ ที่ เป็นเจ้าของงบประมาณ เมื่อโครงการดาเนินเสร็จสิ้น กระแสการ พัฒนาเมืองตามวาระดังกล่าวก็มักหยุดลงไปด้วย เพราะเป็นการทา ตามวาระที่คนอื่นกาหนด ในทางตรงกันข้าม เราจะเห็นว่าท้องถิ่นมี ความสามารถกาหนดวาระการพัฒนาเมืองของตนได้ มีความ สร้างสรรค์ มีนวัตกรรมที่นามาใช้ในการแก้ไขและขับเคลื่อนการพัฒนา เมืองที่สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ได้มากกว่า นับจากนี้ไป การบริหารเมืองยังต้องเผชิญกับความท้าทาย มากขึ้นทั้งด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจและการเมือง ทั้งจาก ปัจจัยภายในและภาคนอกประเทศ ทั้งจากความก้าวหน้าทาง เทคโนโลยีสมัยใหม่ และเนื่องจากบทบาทและภารกิจใหม่กาลังถูก ถ่ายโอนจากระดับชาติหรือระดับภูมิภาคลงมายังท้องถิ่นมากขึ้น ขณะที่งบประมาณที่นามาใช้แก้ปัญหาก็กาลังหดตัว ในสภาพการณ์ที่ ยากลาบากเพิ่มขึ้นนี้ เราควรให้ความสาคัญ นวัตกรรมสังคม ถือเป็น ทรัพย์สินอย่างหนึ่งของเมือง ภาคีเครือข่ายของเมืองในฐานะพลเมือง กาลังมีความคิดริเริ่มกับสิ่งที่เป็นแนวโน้มใหม่ เขาเหล่านี้กาลังคิดหา แนวทางแบบใหม่ในการแก้ไขปัญหาอย่างยั่งยืนและสอดคล้องกับ บริบทของพื้นที่มากขึ้นด้วย พวกเขาคือ นวัตกรรมทางสังคม เป็น ทรัพยากรที่ทรงคุณค่าของเมืองอย่างยิ่ง
  • 6. 4 THAI CITY CONCEPT ผ ทางออกประเทศไทย คาตอบอยู่ที่เมือง ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ อธิการบดีวิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต โลกกาลังกลายเป็นเมือง ในอดีตเมืองเป็นเพียงพื้นที่เล็ก ๆ เท่านั้นและมีขนาด เล็กกว่าพื้นที่ชนบท แต่เมื่อไม่นานมานี้เราจะเห็นได้ชัดว่าทั่วโลกกาลังกลายเป็นเมือง และ เมืองก็มีขนาดใหญ่ขึ้นเรื่อย ๆ ประเทศไทยเพิ่งมีพื้นที่เมืองมากกว่าชนบทเมื่อ 2 - 3 ปีมานี้ เอง ถ้าเป็นเมืองที่มีขนาดใหญ่ เราจะเรียกว่า “นคร” หากเป็นเมืองที่มีขนาดใหญ่มาก เรา จะเรียกว่า “มหานคร” เมืองของไทยแต่เดิมเป็นเพียงการรวมกลุ่มกันของประชากรที่ หนาแน่น มีการปกครองแบบรวมศูนย์ หมายความว่างบประมาณต่าง ๆ จะส่งมาอยู่ที่ ส่วนกลางและส่วนภูมิภาคเป็นส่วนใหญ่ เมืองนคร มหานคร สาคัญที่สุด บางครั้งมหานครนั้นมีก่อนที่จะมีรัฐเสีย อีก มีก่อนที่จะมีอาณาจักรเสียอีก เรามักเข้าใจว่ามีรัฐก่อนมีเมือง แต่จริง ๆ แล้วเมืองมี ก่อนรัฐ เป็นการปกครองแบบขอบเขตจากัดของเมือง แล้วเมืองก็แผ่อานาจออกไป ไป กลืนเมืองที่มีขนาดกลางและขนาดเล็กกว่า แต่เมื่อเกิดลัทธิชาตินิยมแล้วก็ปกครองด้วย ประเทศทั้งหมด โดยเมืองนคร มหานครกลายเป็นส่วนหนึ่งของประเทศ ทั้งที่ก่อนหน้า นั้นเมืองนคร มหานครเป็นส่วนสาคัญของประเทศ ความเป็นเมืองนคร ความเป็นมหา นคร นั้นไม่ใช่ของฝรั่ง ตะวันออกก็เป็นจุดเริ่มต้นของเมืองนคร มหานครที่ยิ่งใหญ่ ที่ งดงาม ที่เข้มแข็งมากมายมหาศาล เรามีขนบธรรมเนียมท้องถิ่น (Local Tradition) แบบตะวันออกอยู่แล้ว เช่น เมืองพาราณสีอายุ 5,000 ปี เมืองปักกิ่ง 2,000 ปี เมือง นานกิง 2,000 กว่าปี เมืองอันหยาง 3000 ปี เป็นต้น
  • 7. 5 การสร้างเมืองนิยม นครนิยม มหานครนิยม ประเทศไทยคุ้นเคยกับ แนวความคิดชาตินิยมที่ปลุกระดมให้คนรักบ้านเมือง แต่ลืมคานึงไปว่าบ้านเมืองไม่ได้ หายถึงเพียงประเทศเท่านั้น แต่ยังรวมถึงท้องถิ่นอีกด้วย การสร้างเมืองนิยม นครนิยม มหานครนิยม จังหวัดนิยม ภาคนิยม เป็นปัจจัยแห่งความสาเร็จในการพัฒนาเมืองที่ สาคัญ ควรมีการกระจายอานาจจากส่วนกลางหรือส่วนภูมิภาคมาสู่ท้องถิ่นให้มากขึ้น เพราะท้องถิ่นเป็นส่วนที่สามารถทางานได้ดี มีความใกล้ชิดกับประชาชน เข้าใจใน ภูมิศาสตร์ ภูมิวัฒนธรรม และความเป็นมาของเมือง การพัฒนาแบบไทย คือ การนา งบประมาณมาลงที่ท้องถิ่น แล้วให้ท้องถิ่นประสานกับประชาชนในพื้นที่ ถึงแม้ว่าเราจะ ไม่ได้เป็นเจ้าของแผน งบประมาณ และการกาหนดทิศทางอย่างจริงจังเหมือนดังการ พัฒนาเมืองแบบฝรั่งหรือแบบจีน แต่ในทางพฤติกรรม ท้องถิ่นสามารถกาหนดทิศ ทางการพัฒนาเมืองของตนเองได้ ท้องถิ่นควรเก่งกว่าส่วนกลาง เพราะท้องถิ่นมีความ ใกล้ชิดกับเมืองมากกว่า การให้ความสาคัญและการศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เราควร สร้างความภูมิใจในท้องถิ่นโดยอาศัยความรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นมา สนับสนุน แต่ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นในประเทศไทยยังมีน้อยมาก จึงต้อง อาศัยความร่วมมือจากนักวิชาการหลายท่านเพื่อสร้างชุดประวัติศาสตร์ ท้องถิ่นขึ้น เมื่อเรารู้ถึงประวัติศาสตร์ในท้องถิ่น จังหวัด เมืองนคร เมืองมหา นครที่เราอยู่ เราก็จะเห็นความภาคภูมิใจในท้องถิ่นของเราเอง คุณค่าของผู้สร้างบ้านแปงเมือง เราชื่นชมในสิ่งผู้ทางานท้องถิ่น ทุกคน เห็นคุณค่าและผลประโยชน์ในสิ่งที่พวกท่านทา บ้านเมืองที่เป็นเมือง นคร เมืองมหานครมันจะเดินไปได้ก็อยู่ที่พวกเราช่วยกัน ถ้าพวกเราช่วยกัน สามัคคีกัน เป็นเครือข่ายกัน แลกเปลี่ยนความรู้กัน พึ่งตนเอง พึ่งกันเอง บ้านเมืองก็จะไปได้อย่างแน่นอน THAI CITY CONCEPT ทางออกประเทศไทย คาตอบอยู่ที่เมือง 5
  • 8. 6 TRENDS IN THAI WELLNESS CITY แนวโน้มเมืองสุขภาวะของไทย ในปี 2019 ศูนย์ศึกษามหานครและเมืองได้สารวจความเป็น เมืองสุขภาวะของเมือง 10 เมืองในประเทศไทย ได้แก่ เมืองป่าตอง เมืองแม่มอก เมืองอุดรธานี เมืองเชียงราย เมืองทุ่งสง เมืองกาฬสินธุ์ เมืองร้อยเอ็ด เมืองยะลา เมืองตรัง และเมืองหนองป่าครั่ง ผ่านตัวชี้วัด เมืองสุขภาวะ 9 ด้าน ดังนี้ การรีไซเคิลและการใช้วัสดุที่เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม การจัดกิจกรรมการปฏิบัติธรรมและกิจกรรมการฝึกจิต พื้นที่ธรรมชาติในเมือง แหล่งอาหารปลอดภัย ธุรกิจเพื่อสังคมและ สุขภาพ สถานที่ออกกาลังกายในเมือง การขนส่งสาธารณะ กลุ่มทาง สังคมและกลุ่มจิตอาสา และแหล่งเรียนรู้ของเมือง
  • 9. 7 ผลการสารวจโดยสังเขป ทุก ๆ เมืองมีการดาเนินการ จัดการในรูปแบบที่เหมาะสมกับเมืองของตนเอง โดยมีเทศบาลเป็นผู้นา และทางานร่วมกับสมาชิกในชุมชนเป็นเครือข่าย ยกตัวอย่างความโดด เด่นได้ ดังนี้ ในด้านสิ่งแวดล้อม เมืองทุ่งสง เทศบาลร่วมกับ บริษัทเอกชน ชุมชน ทาโครงการ “พลิกถุงพลิกโลก” ที่สามารถแปรรูป ขยะให้เป็นขยะเชื้อเพลิง ลดปริมาณขยะและสร้างรายได้กลับคืนมา เมือง กาฬสินธุ์ ริเริ่มกิจกรรมการคัดแยกถุงพลาสติกในชุมชนผ่านการรวมกลุ่ม ชื่อว่า “กลุ่มคนรักถุง” นาถุงพลาสติกที่คัดแยกได้มาล้างแล้วจาหน่าย ให้กับผู้รับซื้อเพื่อนาไปทาเป็นเม็ดพลาสติกต่อไป เมืองยะลา สร้างพื้นที่สี เขียวทั่วเมือง มีสวนสาธารณะ 6 สวน สร้างอากาศที่ดี และลดอุณหภูมิ ของเมืองได้ เป็นต้น TRENDS IN THAI WELLNESS CITY แนวโน้มเมืองสุขภาวะของไทย ในด้านสุขภาพกายและสังคม มี เมืองแม่มอก สร้างแหล่งอาหารปลอดภัยใน เมืองโดยการรวมกลุ่มของเครือข่ายเกษตรอินทรีย์ เพื่อผลิตผลผลิตทางการเกษตรที่ ปลอดภัย ผลิตข้าวอินทรีย์ กระเทียมอินทรีย์ ถั่วเหลืองอินทรีย์ และสมุนไพรอินทรีย์ เมืองหนองป่าครั่ง ที่มีการจัดการของชมรมนวดแผนไทยที่เป็นระบบและยอดเยี่ยม เมืองเชียงราย ที่มีการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ในชุมชนโดยคานึงถึงกลุ่มผู้สูงอายุเป็น สาคัญ เกิดเป็น “มหาวิทยาลัยวัยที่สามนครเชียงราย” ซึ่งเป็นแหล่งเรียนรู้สาหรับ การจัดหลักสูตรตามอัธยาศัยให้แก่นักศึกษากลุ่มผู้สูงอายุ สาหรับการพัฒนาด้านขนส่งสาธารณะ เมืองอุดรธานี ที่ริเริ่มโครงการ City Bus (บริษัท อุดรธานีพัฒนาเมือง จากัด) เป็นการเริ่มต้นให้ภาคเอกชนลงทุนและ ดาเนินการพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะ โดยการใช้รถบัสปรับอากาศที่เป็นสมาร์ทบัส สามารถตรวจสอบตาแหน่งของรถและประเมินเวลาในการเดินทางได้ เพื่อความ สะดวกและความปลอดภัยของผู้โดยสาร
  • 10. 8 จากผลการสารวจทั้งหมด เราจะเห็นได้ว่าทิศทางของการพัฒนา เมืองสุขภาวะจากเมือง 10 เมือง มีการพัฒนาค่อนข้างหลากหลายตาม แนวคิดของผู้บริหารและบริบทพื้นฐานเมืองนั้น ๆ ข้อสังเกตที่น่าสนใจ คือ เมืองส่วนใหญ่ตื่นตัวและให้ความสาคัญกับการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม มาก ทุกเมืองมีการดาเนินการเพื่อลดปัญหาขยะในชุมชน และมีหลาย เมืองที่มีการดาเนินการที่โดดเด่นและยั่งยืน รวมถึงมีการรวมกลุ่มทาง สังคมและจิตอาสา มีการเกิดการรวมกลุ่มทางสังคมที่หลากหลาย การ รวมกลุ่มของสมาชิกในชุมชนเหล่านี้ช่วยส่งผลดีต่อสุขภาวะในด้านอื่น ๆ ของเมืองด้วย เนื่องจากกลุ่มทางสังคมและจิตอาสาเหล่านี้เป็นกาลังที่ช่วย ส่งเสริมการพัฒนาเมืองให้สามารถพัฒนาไปได้อย่างยั่งยืนและตอบโจทย์ ความต้องการของคนในชุมชน รวมถึงช่วยส่งเสริมงานของเทศบาล ที่มา : https://www.busandtruckmedia.com/11672/ TRENDS IN THAI WELLNESS CITY แนวโน้มเมืองสุขภาวะของไทย ส่วนในด้านอื่น ๆ เช่น การขนส่งสาธารณะและแหล่ง เรียนรู้ภายในเมือง ยังเป็นด้านที่ไม่ได้รับความสนใจในการพัฒนามากนัก มีเพียงบางเมืองที่พัฒนาสุขภาวะในทั้งสองด้านนี้อย่างจริงจัง เมืองส่วน ใหญ่ยังไม่มีความตื่นตัวมากนัก นอกจากนี้ ปัจจัยแห่งความสาเร็จการ สร้างเมืองสุขภาวะของไทย มีจุดร่วมคล้ายกัน คือ การทางานร่วมกันทุก ภาคส่วน ได้แก่ ภาครัฐ ภาคประชาชน ภาคการศึกษา และภาคเอกชน ซึ่งทั้งสี่องค์ประกอบนี้ ช่วยส่งเสริมเกิดการพัฒนากิจกรรมและโครงการ ต่าง ๆ ที่ช่วยทาให้เมืองของไทยก้าวเข้าสู่เมืองสุขภาวะอย่างยั่งยืน
  • 11. 9 นวัตกรรมเมืองสุขภาวะเพื่อผู้สูงอายุ SOCIAL INNOVATION FOR URBAN HEALTH แนวโน้มสังคมผู้สูงอายุเกิดขึ้นในทุกเมือง ในเมืองของไทย ท้องถิ่นหลายแห่งได้วางแผน รับมือกับสังคมผู้สูงอายุ จนเกิดเป็น นวัตกรรมทางสังคม คือ นวัตกรรมสร้างการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้แก่ ผู้สูงอายุ ผ่านรูปแบบโรงเรียนผู้สูงอายุ เน้นการมีส่วนร่วมกับภาค ประชาชน ให้ผู้สูงอายุบริหารและออกแบบกิจกรรมที่สนใจและมี ความสาคัญต่อการดาเนินชีวิต ใช้วิทยากรจิตอาสาหรือจากหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง ขณะเดียวกันก็เป็นพื้นที่ที่ผู้สูงอายุจะได้แสดงศักยภาพ โดย การถ่ายทอดภูมิความรู้ประสบการณ์แก่คนอื่น โรงเรียนผู้สูงอายุ สามารถมีรูปแบบและกิจกรรมที่หลากหลาย ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับบริบทของ พื้นที่ ความต้องการของผู้สูงอายุ ขณะนี้หลายเมืองในไทยใช้โรงเรียน ผู้สูงอายุเป็นพื้นที่การเรียนรู้ ที่มา : https://www.bltbangkok.com
  • 12. 10 นวัตกรรมเมืองสุขภาวะเพื่อผู้สูงอายุ SOCIAL INNOVATION FOR URBAN HEALTH โรงเรียนผู้สูงอายุมีหลักสูตรประกอบไปด้วย 4 ชุดการเรียนรู้ รวม ทั้งสิ้น 116 ชั่วโมง มีผู้สูงอายุอายุเรียนจานวน 65 คนต่อรุ่น โรงเรียน ผู้สูงอายุจึงเป็นเครื่องมือหนึ่งในการแก้ไขปัญหาเชิงพื้นที่และสังคมที่มี ผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้น สร้างแรงกระตุ้น สร้างความจรรโลงใจ และการ รวมกลุ่ม สร้างกระบวนการการมีส่วนร่วมและการมีจิตสาธารณะ สาหรับ ผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง ได้แก่ กลุ่มติดบ้านและติดเตียงได้นา เทคโนโลยีเข้ามาช่วย เช่น ควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในบ้านด้วยรีโมท ระบบขอความช่วยเหลือฉุกเฉิน พร้อมสร้างโครงสร้างพื้นฐานที่จาเป็น บริการรถรับ-ส่ง ไปโรงพยาบาล ให้ยืมอุปกรณ์ทางการแพทย์ การสร้าง บุคลากรจานวนหนึ่งเพื่อไปเยี่ยมและดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน (Care Giver) คุณจีระนันท์ ปิติฤกษ์ พยาบาลวิชาชีพชานาญการ เทศบาลนครรังสิต รังสิตในวันนี้เป็นเมืองขนาดใหญ่ ผลจากการขยายตัวของกรุงเทพ และการ ลงทุนของภาคเอกชน ทาให้รังสิตเต็มไปด้วยแหล่งที่อยู่อาศัย มหาวิทยาลัย การค้า การบริการ รังสิตมีจานวนประชากรและผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นในทุก ๆ ปี ปัจจุบันเทศบาล นครรังสิตเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างเต็มรูปแบบแล้ว เทศบาลนครรังสิตได้มีโอกาสไป ศึกษาดูงานด้านการพัฒนาผู้สูงอายุหลายแห่ง จึงเกิดความคิดในการจัดทาโรงเรียนขึ้น นาแกนนาผู้สูงอายุแต่ละชมรมมาพัฒนาศักยภาพ เมืองรังสิต ต้นแบบการดูแลผู้สูงอายุครบทุกวงจร
  • 13. 11 นวัตกรรมเมืองสุขภาวะเพื่อผู้สูงอายุ SOCIAL INNOVATION FOR URBAN HEALTH นนทบุรี เป็นเขตปริมณฑลของกรุงเทพฯ นนทบุรีเป็นเขตเมืองที่มีประชากร มากที่สุดในประเทศไทย และเป็นเมืองที่มีสัดส่วนจานวนผู้สูงอายุสูงอายุมากที่สุด เทศบาลนครนนทบุรีได้สร้าง “ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ” เป็นอาคารหลัง ใหญ่ ลักษณะเป็นศูนย์รวม/สโมสรสาหรับจัดกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อให้ผู้สูงอายุเผยแพร่ และแลกเปลี่ยนความรู้กับคนอื่น ๆ ให้ผู้สูงอายุมีพื้นที่สาหรับประกอบกิจกรรม คุณกชกร เงินบารุง ผู้อานวยการส่วนส่งเสริมการสาธารณสุข เทศบาลนครนนทบุรี เมืองนนทบุรี ศูนย์พัฒนาผู้สูงอายุเทศบาลนนทบุรี ศูนย์ดังกล่าวเน้นกิจกรรมด้านการส่งเสริมป้องกันมากกว่าด้านการรักษาแก้ไข เช่น ออกกาลังกาย เล่นหมากรุก การปฏิบัติธรรม การดูหนังฟังเพลง โดยไม่เสีย ค่าใช้จ่ายใด ๆ ปัจจุบันศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ได้รับความนิยมจากผู้สูงอายุทั้ง ในเขตและนอกเขตเทศบาลฯ จนมีสมาชิกกว่า 6,000 คน เฉลี่ยผู้มาใช้บริการ 500 คน ต่อวัน มีชมรมภายในศูนย์ 40 ชมรม และมีครูฝึกสอนจิตอาสาทั้งหมด 158 คน ผู้สูงอายุ สุขภาพแข็งแรงขึ้น 40 เปอร์เซ็นต์ มีรอบเอวที่ลดลง 30 เปอร์เซ็นต์ มีน้าหนักตัวลดลง และอีกกว่า 20 เปอร์เซ็นต์ มีค่าความดันโลหิตลดลง ซึ่งตัวเลขเหล่านี้เป็นหลักฐานเชิง ประจักษ์ที่ยืนยันว่าการเข้าร่วมกิจกรรมที่ศูนย์ส่งผลดีอย่างมากต่อตัวผู้สูงอายุในด้าน สุขภาพ
  • 14. 12 ในเขตเทศบาลนครเชียงราย มี 64 ชุมชน ประชากรประมาณ 70,000 คน มีผู้สูงอายุประมาณ 13,000 คน คิดเป็นเกือบ 17 เปอร์เซ็นต์ของเมือง ทาง เทศบาลจึงขับเคลื่อนงานร่วมกับตัวแทนผู้สูงอายุทั้ง 64 ชุมชน ซึ่งทุกคนมีความ ประสงค์อยากสร้างพื้นที่กลางแห่งการเรียนรู้ของผู้สูงอายุที่เหมาะกับผู้สูงอายุ จึง จัดตั้งมหาวิทยาลัยวัยที่สาม ซึ่งคล้ายกับโรงเรียนผู้สูงอายุ มีโครงสร้างบริหารงาน คล้ายกับมหาวิทยาลัย โดยให้ภาคประชาชนเป็นประธาน เรียนตั้งแต่วันจันทร์ ถึง วันเสาร์ นวัตกรรมเมืองสุขภาวะเพื่อผู้สูงอายุ SOCIAL INNOVATION FOR URBAN HEALTH คุณพรทิพย์ จันทร์ตระกูล พยาบาลวิชาชีพชานาญการพิเศษ รักษาราชการแทนผู้อานวยการกองการแพทย์ เทศบาลนครเชียงราย เมืองเชียงราย มหาวิทยาลัยวัยที่สาม การพัฒนาผู้สูงอายุสู่การพัฒนาเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยวัยที่สามมีหลักสูตรที่หลากหลาย ผู้เข้าเรียนรุ่นละ 500 คน ข้อ โดดเดนของการพัฒนาผู้สูงอายุเชียงราย คือ มหาวิทยาลัยดังกล่าวไม่ได้มีจุดเดียว มี การกระจายสาขาย่อยของมหาวิทยาลัยวัยที่สามให้ทั่วนครเชียงราย 5 จุด พัฒนา แบบบูรณาการ การดูแลสุขภาพสู่การพัฒนาเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว ไม่เพียง แค่ให้ผู้สูงอายุมาเรียนเท่านั้น แต่ยังต้องการต่อยอดเป็นอาชีพ สร้างรายได้และพัฒนา เศรษฐกิจในพื้นที่ได้ด้วย ศูนย์การเรียนรู้ ทั้ง 5 โซนย่อย ต้องมีการฝึกอาชีพให้มี ผลิตภัณฑ์ของแต่ละโซนก็แตกต่างกัน โดยมีมักคุเทศน์ผู้สูงอายุถูกฝึกมาเพื่อบรรยาย จุดเด่นของแต่ละศูนย์ คาดหวังว่าหากนักท่องเที่ยวมีมาเยี่ยมเยียนตลอดก็จะซื้อสินค้า ของนักเรียนผู้สูงอายุที่ผลิตออกมา สร้างงาน สร้างอาชีพได้ แม้กระทั่งผู้สูงอายุที่ ผลิตสินค้าในบ้าน ไม่มีแหล่งขาย ก็สามารถนามาวางจาหน่ายตามศูนย์ต่างๆ ได้ เป็น อีกหนึ่งแรงจูงใจในการรวมกลุ่มอาชีพของคนในเมือง
  • 15. 13 SOCIAL INNOVATION FOR URBAN HEALTH นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อมเมือง งบประมาณนั้นมาจากรายได้ของเทศบาล และรายได้อื่น ๆ เช่น จากการกู้ยืมธนาคาร รวมถึงหน่วยงานทั้งในและต่างประเทศ แต่ทั้งนี้ต้องอาศัยความตั้งใจทางานของ ผู้บริหาร วิธีดังกล่าวลดปริมาณขยะลงจาก 25,000 หมื่นกิโลกรัม เหลือเพียง 15,000 กิโลกรัมในปัจจุบัน เมืองแห่งต้นไม้ : เทศบาลเมืองพนัสนิคมได้ขับเคลื่อนให้มีการขึ้นทะเบียนต้นไม้เพื่อ ดูแลต้นไม้ใหญ่ที่อยู่ในพื้นที่ และเพิ่มปริมาณต้นไม้ใหญ่ให้ได้มากที่สุด ในการบริหาร จัดการต้นไม้ในชุมชน เทศบาลฯเป็นผู้รับผิดชอบดูแลต้นไม้ในพื้นที่สาธารณะ ส่วน ชุมชนจะต้องเป็นผู้ดูแลต้นไม้ในพื้นที่ของชุมชน เมืองไร้มลพิษ : การลดปริมาณขยะในเมือง ด้วยปริมาณขยะถึง 25,000 กิโลกรัมต่อ วัน เทศบาลเมืองพนัสนิคมใช้เจรจาสร้างข้อตกลงกับประชาชนในพื้นที่เพื่อขอยกเลิก การให้บริการถังขยะขนาด 200 ลิตร เป็น 20 ลิตร จานวน 3 ใบ แบ่งสีตามประเภท ของขยะ แจกจ่ายไปตามบ้านเรือน พร้อมกาหนดเวลาเก็บขยะ จนมีผลให้แต่ละบ้าน รู้จักคัดแยก หากบ้านใครไม่ยอมแยกขยะ รถเก็บขยะจะไม่เก็บขยะบ้านนั้น คุณวิจัย อัมราลิขิต นายกเทศมนตรีเมืองพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี เมืองพนัสนิคม ต้นแบบเมืองจัดการสิ่งแวดล้อมยั่งยืน เมืองพนัสนิคมเป็นเมืองที่ได้รับการยอมรับว่าเป็นเมืองต้นแบบด้าน สิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืนในระดับภูมิภาคอาเซียน เป็น 1 ใน 1,000 เมืองระดับโลกที่ช่วย รณรงค์ด้านการพิทักษ์ชีวิตและสุขภาพของคนเมือง และเป็นเทศบาลเมืองที่มีค่าดัชนี ความน่าอยู่สูงสุดเป็นอันดับ 1 ของประเทศ อะไรทาให้เมืองแห่งนี้เป็นเมืองที่ได้รับ การยกย่องว่าเป็นต้นแบบด้านสิ่งแวดล้อมยั่งยืน เทศบาลเมืองพนัสนิคมพัฒนาเมือง ตามแนวความคิด เมืองแห่งต้นไม้ เมืองไร้มลพิษ และเมืองพิชิตพลังงาน สาหรับ
  • 16. 14 SOCIAL INNOVATION FOR URBAN HEALTH นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อมเมือง เมืองสิ่งแวดล้อมดี : เทศบาลเน้นสร้างเมืองสีเขียวมีสวนสาธารณะและลาน กีฬาขนาดใหญ่ เช่น สระว่ายน้า สนามเทนนิส สนามฟุตบอล สนามเปตอง สนาม บาสเกตบอล และหอประชุมที่ใหญ่ที่สุดในจังหวัดชลบุรี เมืองพิชิตพลังงาน: การส่งเสริมการใช้รถจักรยานยนต์ มีการรวมกลุ่มกัน ของชาวเมืองเกิดเป็นชมรมจักรยานเมืองพนัสนิคม และได้เคลื่อนไหวจัดกิจกรรม ต่าง ๆ เพื่อผลักดันให้เกิดเป็นชมรมจักรยานในพนัสนิคม “การทาเมืองให้เกิดเป็ นภาพความสาเร็จ ทาให้ ประชาชนเปลี่ยนแปลงวิธีคิด เกิดศรัทธาเชื่อมั่นในผู้บริหาร ซึ่งยืนยันที่จะทาสิ่งดี ๆ และกระตือรือร้นที่จะอยู่กันอย่างมี ความสุข ทุกอย่างมันเดินไปในทิศทางเดียวกัน”
  • 17. 15 ทุ่งสง เมืองแห่งการจัดการขยะ ด้วยทุ่งสงเป็นเมืองขนาดใหญ่ มีประชากรในเมืองกว่า 30,000 คน ทาให้มีขยะในเมืองกว่าวันละ 50 ตัน เทศบาลเมืองทุ่งสงพยายาม แก้ปัญหาขยะ ปฏิบัติตามตัวชี้วัดมาตลอด จนเทศบาลได้รางวัลชนะเลิศ ด้านสิ่งแวดล้อมระดับประเทศหลายครั้ง แต่ขยะในเมืองทุ่งสงก็ไม่ลดลง “พลิกถุง พลิกโลก” เป็นนวัตกรรมที่พยายามดาเนินการกาจัดขยะแบบ ครบวงจรตั้งแต่พ.ศ.2558 ขยะที่เทศบาลเล็งเห็นว่าเป็นปัญหาอันดับต้นๆ คือ ถุงพลาสติกและโฟม เทศบาลใช้วิธีนาถุงพลาสติกมาพลิกล้างทั้งสอง ด้านแล้วเอาไปตากแดดขจัดความชื้น โดยเริ่มต้นกระบวนพลิกถุงจาก พนักงานองค์กรบริหารส่วนท้องถิ่น โรงเรียนในสังกัดเทศบาล และขยายสู่ ครัวเรือนและชุมชนอย่างต่อเนื่อง เทศบาลเมืองทุ่งสงสร้างความร่วมมือ กับบริษัทเอกชนในพื้นที่ ส่งพลาสติกตากแห้งทั้งหมดนาไปแปรรูปให้เป็น ขยะเชื้อเพลิง (Refuse Derived Fuel; RDF) แล้วส่งต่อให้โรงโม่ปูน บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จากัด (มหาชน) หรือ SCG เพื่อนาไปทาเป็น เชื้อเพลิงต่อไป นอกจากนี้ยังมีการนาขยะมาแปรรูปโดยกระบวนการต่าง ๆ เช่น นาขยะอินทรีย์มาใช้เลี้ยงไส้เดือนหรือหมักเป็นน้าหมักชีวภาพ นา เศษไม้และกะลามะพร้าวมาเผาทาเป็นฟืนหรือถ่านอัดแท่ง ทากระดาษสา จากการะดาษเหลือใช้ ทากระถางต้นไม้จากกระดาษสา เป็นต้น SOCIAL INNOVATION FOR URBAN HEALTH นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อมเมือง คุณกษิดิศ แสงจันทร์ รักษาการผู้อานวยการกองช่างสุขาภิบาล เทศบาลเมืองทุ่งสง
  • 18. 16 ในระยะเวลา 8 เดือน เทศบาลสามารถลดปริมาณขยะไปได้มากกว่า ร้อยละ 50 ขยะที่เคยมีวันละ 50 ตัน เหลือเพียง 25 ตันต่อวัน เทศบาลต้อง เสียค่าฝังกลบขยะ 50 ตันต่อวันเป็นมูลค่ากว่า 4.8 ล้านบาทต่อปี แต่ ปัจจุบันเสียแค่ 1.2 ล้านบาทต่อปีเท่านั้น ข้อมูลจากทางสาธารณสุขอาเภอ ยังทาให้ทราบว่าปริมาณผู้ป่วยด้วยโรคต่าง ๆ ที่มีสาเหตุมาจากขยะและสิ่ง สกปรกได้ลดลงไปอย่างมีนัยยะสาคัญ นอกจากนี้ ยังสามารถหารายได้จาก การขายขยะได้ถึงประมาณ 1 ล้าน 2 แสนบาทต่อปี ซึ่งจานวนเงินเหล่านี้ สามารถนาไปใช้สร้างประโยชน์ในชุมชนได้จานวนมาก SOCIAL INNOVATION FOR URBAN HEALTH นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อมเมือง
  • 19. 17 นวัตกรรมสร้างสังคมเกื้อกูล เมืองบางคูรัด อาสาสมัครสร้างสังคมเกื้อกูล บางคูรัดเป็นชุมชนหมู่บ้านจัดสรรขนาดใหญ่ เฉพาะหมู่บ้านพฤกษามี บ้านจานวน 7,500 กว่าหลัง ประชากรราว 20,000 คน ประชาชนใน หมู่บ้านพฤกษามีปัญหาคุณภาพชีวิตทั้งด้านสภาพแวดล้อม มีการทะเลาะ วิวาท ด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน มีโจรขโมยเข้าบ้าน มีความ รุนแรงในครอบครัว และปัญหาสุขภาพ โดยเฉพาะผู้สูงอายุ ผู้ป่วยและผู้ พิการที่ถูกทอดทิ้ง หมู่บ้านจัดสรรที่ไม่มีหน่วยงานใดเข้ามาดูแลแก้ไข นาไปสู่ การแสวงหา/รวบรวมจิตอาสาเพื่อช่วยแก้ไขสถานการณ์ มีการรวมกลุ่มจิต อาสา จัดหาสถานที่เป็นศูนย์กลางการดาเนินงาน ได้แก่ “เพิงสังกะสี” เป็นเหมือนศูนย์ร้องทุกข์ ร้องเรียน แจ้งปัญหา ให้คนใน กลุ่มไปช่วยแก้ไข มีการคิดค้นเครื่องมือนวัตกรรมง่าย ๆ ในการทางาน และ เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ อาทิ ไม้หยอดทรายอะเบทใส่แหล่งน้าเพื่อไม่ให้ เกิดลูกน้ายุงลาย ไม้จับงู เป็นต้น เมื่อลงมือทาอย่างจริงจัง เห็นผล ชาวบ้าน จึงเริ่มไว้วางใจ จากที่เคยหมางเมิน ต่างคนต่างอยู่ตามวิสัยของชุมชนหมู่บ้าน จัดสรร ก็เกิดเป็นความร่วมมือ ความเกื้อกูลช่วยเหลือกันในเรื่องอื่น ๆ มาก ยิ่งขึ้น อย่างเช่น เรื่องการบริจาคยา การยืม คืนอุปกรณ์ และเครื่องมือ ทางการแพทย์มือสอง หมุนเวียนทั้งคนในคนนอกหมู่บ้าน SOCIAL INNOVATION FOR URBAN HEALTH คุณนฤพนธ์ ชโยปถัมป์ ประธานอาสาสมัครตาบลบางคูรัด
  • 20. 18 เมืองตรัง นวัตกรรมพื้นที่ที่สาม พื้นที่ที่สาม เป็นแนวคิดใหม่ในการอธิบายพฤติกรรมคนรุ่น ใหม่ในเมืองตรัง ที่ชอบรวมกลุ่มในที่ที่ไม่ใช่บ้านและที่ทางาน เช่น สวนสาธารณะ คาเฟ่ ร้านกาแฟ ร้านหนังสือ บาร์ เป็นต้น นอกเหนือจากพื้นที่ที่หนึ่งและพื้นที่ที่สองแล้ว มนุษย์ก็ยังต้องการที่ที่ สามเพื่อเติมเต็มรูปแบบความสัมพันธ์อย่างไม่เป็นทางการให้กับ ชีวิตอีกด้วย ที่ที่สามทางกายภาพในท้องถิ่น มีความจาเป็นมากกว่ายุคอื่นใด เพื่อที่จะเติมเต็มมิติของการปฏิสัมพันธ์ของมนุษย์ให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น โดยเฉพาะร้านกาแฟเป็นสถานที่รวมตัวอย่างไม่เป็นทางการซึ่งร้าน กาแฟที่มีรูปลักษณ์และสิ่งอานวยความสะดวกที่แตกต่างไปจากเดิม อย่างสิ้นเชิง กิจกรรมที่เกิดขึ้นมีตั้งแต่การพบปะสังสรรค์ในหมู่เพื่อน การนั่งทางานโดยใช้คอมพิวเตอร์พกพา การทักทายขาประจา การ ประชุมหารือ การเจรจาธุรกิจ การไปดื่มกาแฟและกินขนม เป็นต้น นวัตกรรมสร้างสังคมเกื้อกูล เมืองของไทยทุกเมืองมีพื้นที่ที่สามทั้งสิ้น สาหรับภาคใต้เมืองที่มีพื้นที่ที่ สามที่โดดเด่น คือ เมืองตรัง ตรังมีพื้นที่ที่สามมาตั้งแต่ในอดีต แต่เราอาจจะ ไม่ได้เรียกสถานที่เหล่านี้มาพื้นที่ที่สาม ในมิติของบริบทของเมืองตรังมีการใช้ ชีวิตในพื้นที่สาธารณะที่ชัดเจนมาก ในอดีตคนเมืองตรังเกี่ยวพันกับ ร้านกาแฟ และงานศพ ทาให้เกิดพื้นที่ทางสังคมที่มีชีวิตชีวามากในอดีต ในเมืองตรังนั้นมี ร้านกาแฟที่ขายกาแฟตั้งแต่เช้าไปจนถึงตอนค่าอยู่เป็นจานวนมาก การใช้ร้าน กาแฟเป็นสถานที่นัดพบเพื่อวัตถุประสงค์ต่าง ๆ เช่น การแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสาร การเจรจาธุรกิจ ในส่วนของงานศพก็ถือเป็นประเพณีที่สร้างพื้นที่รวม ตัวอย่างไม่เป็นทางการของคนตรัง จนกลายเป็นพื้นที่รวมตัวของคนจานวนมาก SOCIAL INNOVATION FOR URBAN HEALTH คุณอภชิญา โออินทร์ นักวิจัยออิสระ
  • 21. 19 นวัตกรรมสร้างสังคมเกื้อกูล SOCIAL INNOVATION FOR URBAN HEALTH ในปัจจุบันวิถีการนั่งร้านกาแฟยังคงดารงอยู่ แต่เปลี่ยนไปตามยุคสมัย สิ่งที่ น่าสนใจคือ พื้นที่ที่สามในเมืองตรังได้เปลี่ยนไป กลุ่มคนรุ่นใหม่ที่เป็นผู้ประกอบการขนาด เล็กจานวนหนึ่งมีความต้องการสร้างชุมชนทางวัฒนธรรม ทาให้เกิดกิจกรรมและบทสนทนา ที่หลากหลาย มีขาประจา ผู้มาเยือนมีโอกาสพบปะเพื่อนหรือเครือข่ายของคนทางานใน สายงานเดียวกันที่อยู่ในเมืองตรังได้เสมอ ตัวอย่างเช่น Tubtieng Old Town Café ซึ่ง ตั้งอยู่ในย่านเมืองเก่า ที่เจ้าของร้านมีแนวคิดที่พยายามสร้างพื้นที่เพื่อเชื่อมระหว่างคนรุ่น เก่าและคนรุ่นใหม่ ผ่านภาพถ่ายแขวนอยู่ตามผนังซึ่งจะเป็นสื่อในการสร้างบทสนทนา ระหว่างคนสองรุ่น ร้าน 3rd Place Coffee ร้านกาแฟและสถานที่สาหรับตลาดจาหน่าย สินค้าทามือและใช้ตึกเก่าทาเป็นหอศิลป์เพื่อใช้เป็นสถานที่จัดนิทรรศการหมุนเวียน
  • 22. 20 และยังเป็นสถานที่ไว้เรียนรู้งานศิลปะแขนง ต่าง ๆ อีกด้วย และร้าน The Tree Sleep | Space ที่เปิดพื้นที่ Co-working Space หรือใน บางครั้งก็มีการจัดกิจกรรมเชิงปฏิบัติการ (Workshop) นอกจากร้าน กาแฟแล้ว ตรังยังมีพื้นที่ที่สามอื่น ๆ ได้รับความนิยมในหมู่คนรุ่นใหม่ เช่น ห้องสมุดซึ่งเป็นพื้นที่ที่บริหารโดยเทศบาล ตลาดถนนคนเดิน สวนสาธารณะที่อดีตเคยเป็นเรือนจา และลานวัฒนธรรมใกล้ตลาดซึ่งเป็น ลานโล่ง มีเวทีและเก้าอี้นั่ง บ้านจริงจิตรและตรอกโกเต็งที่ถูกใช้จัดงาน Trang Street Art โดยช่างภาพและสถาปนิกรุ่นใหม่ เป็นต้น นครตรังจึงเป็นพื้นที่ที่โดดเด่นในเรื่องพื้นที่ที่สาม ด้วยการใช้วิถี ชีวิตสาธารณะของคนตรังตั้งแต่ดั้งเดิม แม้ปัจจุบันจะมีสื่อใหม่มากมาย แต่คนตรังไม่ว่ารุ่นไหนก็ยังคงออกมาใช้ชีวิตนอกบ้าน สร้างชีวิตชีวาให้กับ เมือง โดยเฉพาะอย่างยิ่งตามร้านกาแฟที่เพิ่มขึ้นจานวนมากในรอบห้าปีที่ ผ่านมา ดังนั้น ไม่ว่าจะเป็นพื้นที่ของรัฐหรือเอกชนจะมีชีวิตชีวาได้ขึ้นอยู่ กับลักษณะการใช้ชีวิตของปัจเจกบุคคลในเมืองตรัง แต่การจะทาให้คนเข้า ไปใช้พื้นที่ใด ๆ เพื่อให้เกิดความมีชีวิตชีวานั้นอาจจะมีความจาเป็นที่ จะต้องเป็นการร่วมมือกันระหว่างภาคีอื่น ๆ ที่สามารถร่วมกระบวนการจัด กิจกรรมได้ เป็นต้น ดังนั้นท้องถิ่นควรออกแบบพื้นที่ที่สามให้เหมาะสม สาหรับกิจกรรมและความต้องการที่หลากหลาย พร้อมทั้งยืดหยุ่น เพื่อ เอื้ออานวยให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มในเมือง ๆ หนึ่ง ที่มา : http://thailandscanme.com/trg001 นวัตกรรมสร้างสังคมเกื้อกูล SOCIAL INNOVATION FOR URBAN HEALTH
  • 23. 21 อุดรธานี นวัตกรรมการมีส่วนร่วมใน พื้นที่สาธารณะ อุดรธานีเป็นหนึ่งเมืองที่น่าจับตามองอย่างยิ่งในภาคอีสาน ในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา อุดรธานีมีการเคลื่อนไหวรวมตัวของผู้คนจากหลายภาคส่วนใน เมือง เพื่อสร้างกิจกรรมใหม่ให้เกิดขึ้นในเมืองอยู่ตลอดเวลา อุดรธานีเป็นไปด้วยกลุ่มผู้ประกอบการเพื่อสังคมที่มีประเด็น ของตนเองมากมายในเมือง แต่ที่ผ่านมาการมีส่วนร่วมระหว่างกลุ่มนั้นยัง ไม่บูรณาการเท่าที่ควร กลุ่มมาดีอีสาน ในฐานะกลุ่มการรวมตัวของ ผู้ประกอบการรุ่นใหม่ในท้องถิ่น เห็นความสาคัญของการมีส่วนร่วมบน พื้นที่สาธารณะ ทาหน้าที่เชื่อมโยงจุดเล็ก ๆ ในพื้นที่ภาคอีสานให้มาเจอ กัน ให้ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม เข้ามามีส่วนร่วมสร้างสรรค์ สิ่งใหม่เพื่อเมืองโดยไม่ติดเงื่อนไขใด ๆ พวกเขามุ่งหน้าค้นหารูปแบบ ต่าง ๆ เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมให้เกิดขึ้น นวัตกรรมสร้างสังคมเกื้อกูล SOCIAL INNOVATION FOR URBAN HEALTH ผศ.ดร.พิชัย เอื้อมธุรพจน์ ผู้อานวยการศูนย์สร้างสรรค์การประกอบการเพื่อสังคม
  • 24. 22 กลุ่มมาดี อีสานใช้ประเด็นใหม่ ๆ รูปแบบและเทคนิคต่าง ๆ สร้าง กิจกรรมในพื้นที่กลาง ดึงการมีส่วนร่วม ทาให้อุดรธานีมีกิจกรรมที่สร้างการมีส่วน ร่วมของคนเมืองเกิดขึ้นจานวนมากในพื้นที่สาธารณะของเมือง เช่น เวที Social Enterprise Esan Forum เวทีใหญ่ระดับเมืองที่ใช้ชื่อ “ไป่ นา กั๋น” ชวนคน อุดรคุยเรื่องต่าง ๆ วิ่งด้วยกัน งานวิ่งครั้งใหญ่ของคนอุดรธานี ด้วยแนวคิด วิ่ง ด้วยกันทั้งคนพิการ และไม่พิการ วิ่งรอบสวนสาธารณะหนองประจักษ์ พบว่า มี ผู้สนใจเข้าร่วมกว่า 4,000 คน Udon 2029 เมืองอุดรธานีจะเป็นอย่างไรใน อนาคต เป็นต้น สร้างรูปแบบการรวมตัวใหม่ ๆ กลายเป็นปรากฏการณ์ทางสังคม ของคนเมืองอย่างไม่รู้จบ เมื่อไม่ใช่คนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเป็นเจ้าของ แล้วมาด้วยแนวคิดใหม่ที่ใส่ใจ หลายกลุ่ม และเดินไปด้วยกัน ก็ทาให้เกิดการรวมตัวที่ปราศจากเงื่อนไขใดใด ๆ ได้ ทั้งหมดนี้สะท้อนการทางานโดยเข้าใจถึงความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในสังคม และพยายามปรับตัวให้ทันตามยุคสมัยที่เปลี่ยนไป ไม่จากัดรูปแบบการ บริหารงานไว้ภายใต้กรอบความคิดแบบเดิม แต่ยึดมั่นแนวคิดการร่วมมือกัน ระหว่างทุกภาค ภายใต้ความคิดที่ว่า ภาครัฐเอื้อ ภาคเอกชนลงมือทา ภาค การศึกษาเข้ามาเติมเต็ม เป็นหัวใจสาคัญของการสร้างการมีส่วนร่วมของคน ในเมือง นวัตกรรมสร้างสังคมเกื้อกูล SOCIAL INNOVATION FOR URBAN HEALTH
  • 25. 23 นวัตกรรมการบริหารจัดการเมืองสุขภาวะ พื้นที่รอบอุตสาหกรรมแหลมฉบัง การบริหารแบบ 3 ประสาน ในการดูแลสุขภาพชุมชน พื้นที่รอบโรงกลั่นเครือไทยออยล์ ต.ทุ่งสุขลา อ.ศรีราชา บริษัทไทย ออยล์ ในฐานะสถานประกอบการในเขตนั้นมีหน้าที่ต้องลดผลกระทบจาก สังคม สิ่งแวดล้อม และพัฒนาชุมชนรอบเขตนั้นให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น บริษัท ไทยออยล์ จึงสร้างศูนย์สุขภาพและการเรียนรู้เครือไทยออยล์เพื่อชุมชน ทางานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ดูแลคนในชุมชน 10 ชุมชน ราว 15,000 คน โดยมีจุดเด่นสร้างนวัตกรรมการบริหารจัดการสุขภาพชุมชน ด้วย ระบบและกลไกการดูแลสุขภาพ แบบการจัดการ 3 ประสาน การจัดการ 3 ประสาน คือ บริษัทไทยออยล์ เป็นหน่วยงาน ประสานหลัก ร่วมกับเทศบาล โรงพยาบาล และชุมชน มีผลงานรูปธรรม คือทาคลินิกทันตกรรม ให้บริการดูแลฟันและช่องปากให้กับเด็กนักเรียน 8 โรงเรียนรอบโรงกลั่น สร้างเด็กแหลมฉบังเป็นแชมป์กระโดดเชือก และ ที่สาคัญสามารถสร้างระบบฐานข้อมูลสุขภาวะชุมชน (Family and Community Assessment Program: FAP) ใช้เครือข่ายเพิ่มเติมคือ ร่วมกับมหาวิทยาลัยในพื้นที่ ให้นักศึกษามาฝึกปฏิบัติงานเก็บข้อมูลใน พื้นที่ ทาให้สามารถสร้างระบบฐานข้อมูลได้สาเร็จในเรื่อง แฟ้มสุขภาพ ครอบครัว โรคเมตาบอริค เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง คัดกรองผู้สูงอายุ ข้อมูลนี้เก็บอย่างต่อเนื่องมา 5 ปีแล้ว คุณชัยชนะ หะริณธนาวุฒิ อดีตที่ปรึกษาศูนย์สุขภาพและการเรียนรู้เครือไทยออยล์เพื่อชุมชน SOCIAL INNOVATION FOR URBAN HEALTH
  • 26. 24 นวัตกรรมการบริหารจัดการเมืองสุขภาวะ เมืองแม่มอก นวัตกรรมวิสาหกิจชุมชน (Community Enterprise) ด้านสุขภาพ กับการสร้างอาชีพนักบริบาลผู้แลผู้สูงอายุ ด้วยภาคประชาสังคม การสร้างนักบริบาล (Care Giver) เพื่อดูแลผู้ป่วยในชุมชน ไม่ใช่ เรื่องใหม่ หลายเมืองล้วนแต่มีนักบริบาลทั้งสิ้น แต่ที่เมืองแม่มอก จังหวัด ลาปาง มีความโดดเด่น คือ แกนนาไม่ใช่จากเจ้าหน้าที่ภาครัฐ แต่นาโดยภาค ประชาสังคมในแม่มอก ซึ่งไม่เพียงแค่พัฒนานักบริบาลผู้สูงอายุ เพื่อให้การ ดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุในเมืองให้เกิดการเกื้อกูลกันในสังคม แต่ยังสร้างเป็น อาชีพอย่างจริงจัง ส่งออกนักบริบาลผู้สูงอายุให้กับลูกค้าที่มีความต้องการ เช่น โรงพยาบาล หรือครอบครัวที่มีผู้ป่วย SOCIAL INNOVATION FOR URBAN HEALTH คุณอุดม สุวรรณพิมพ์ ประธานกลุ่มแม่มอกหลั่นล้าอีโคโนมี่ การบริหารจัดการใช้แนวคิดวิสาหกิจชุมชน มีการบริหารจัดการแบบกลุ่ม มีการสร้างกองทุนนักบริบาลแม่มอกเป็นตัวกลางคอยจัดหางานให้ นักบริบาล ทุกการจ้างงานจะมีการแบ่ง 10 เปอร์เซ็นต์จากรายได้ เพื่อ เข้ากองทุนใช้ในการบริหารสร้างนักบริบาลรุ่นใหม่ จัดอบรมนักบริบาลรุ่นแรก 70 คน ผลงานที่เกิดขึ้น นักบริบาลจานวนหนึ่งที่ได้รับการจ้างงานประจาจาก โรงพยาบาล บางส่วนสามารถรับงานบริบาลชั่วคราว งานบริการนักบริบาลถึงที่ (Delivery) ทุกการจ้างงานจะมีการแบ่ง 10 เปอร์เซ็นต์จากรายได้ เพื่อเข้ากองทุน ใช้ในการบริหารสร้างนักบริบาลรุ่นใหม่ แก้ปัญหาเรื่องการดูแลผู้สูงอายุและต่อ ยอดสร้างรายได้พัฒนาเศรษฐกิจในเมืองต่อไป
  • 27. 25 เมืองหนองป่าครั่ง เมืองแห่งสวัสดิการ เมืองหนองป่าครั่ง ตั้งอยู่ในอาเภอเมืองเชียงใหม่ อยู่ห่างจากตัว เมืองเชียงใหม่ ประมาณ 10 กิโลเมตร มีประชากรในทะเบียนบ้านทั้งตาบล ประมาณ 7,000 คน เป็นพื้นที่ชานเมือง ไม่มีเกษตรกรรมแล้ว หนองป่า ครั่ง มีความโดดเด่นการสร้างสุขภาวะ คือ การเป็นเมืองสวัสดิการ ดูแล ประชาชนตั้งแต่เกิดจนแก่ตัวอย่างครบวงจร นาโดยเทศบาลตาบลหนองป่า ครั่ง ห่วงโซ่สวัสดิการเมืองหนองป่าครั้ง สามารถสรุปได้ดังนี้ - เมื่อมีคนเกิด เทศบาลฯ รับเลี้ยงเด็กฟรีตั้งแต่ 2 เดือน ถึงเตรียม อนุบาล ด้วยพี่เลี้ยงทีผ่านการอบรมอย่างดี - เมื่อเริ่มเรียนหนังสือ เทศบาลฯ จ่ายค่าเทอมให้ พร้อมจัดรถ รับส่งพาเด็กๆ ไปเรียนในอาเภอเมืองเชียงใหม่ - เมื่อทางาน ส่งเสริมอาชีพและการรวมกลุ่ม เทศบาลฯ เป็นที่ ปรึกษาการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบให้กับกลุ่มหมอนวด และจัดตั้ง ศูนย์นวดแผนไทย จนปัจจุบันมีหมอนวดในตาบลกว่า 50 คน มีรายได้เฉลี่ย วันละ 700-800 บาท และทุกปีมีโบนัสให้อีกคนละ 2-3 หมื่นบาท - เมื่อเจ็บป่วย ประชาชนรักษาฟรี มีโรงพยาบาลเป็นของตนเอง - เมื่อแก่ตัวหรือพิการ : กายภาพบาบัดและฟื้นฟูสภาพฟรี จัดตั้ง คลินิกชุมชนอบอุ่น ห้องฟื้นฟูสมรรถนะ ให้กับผู้ป่วยที่ต้องได้รับการฟื้นฟู โดยเฉพาะคนพิการและผู้สูงอายุที่ติดเตียง SOCIAL INNOVATION FOR URBAN HEALTH คุณเสาวนีย์ คาปวน ผอ.กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาล ตาบลหนองป่าครั่ง
  • 28. 26 แล้วงบประมาณมาจากที่ไหน สิ่งที่น่าประหลาดใจ พบว่า งบประมาณที่ใช้ในการจัดสวัสดิการนั้น ไม่ได้พิเศษแต่อย่างไร งบประมาณ ประกอบไปด้วย เงิน 3 ส่วน ส่วนที่ 1 คือ งบประมาณของเทศบาลตาบล หนองป่าครั้ง ได้รับจากเงินภาษี เงินอุดหนุน ประมาณ 100 กว่าล้านบาท ต่อปี ส่วนที่ 2 คือ งบประมาณจากหน่วยงานภายนอก เช่น กองทุน สุขภาพตาบล ของสปสช. (ซึ่งได้ทุกตาบลในประเทศไทย) ส่วนที่ 3 คือ งบประมาณจากภาคประชาชน ในแต่ละปี จะมีเงินบริจาคเข้ามาที่เทศบาล ราว 3-4 แสนบาท ทั้งเงินและสิ่งของ เช่น ของเล่น อุปกรณ์แพทย์ นอกจากนี้ ทุก ๆ 4 ปี ประชาชนหนองป่าครั่งจะระดมผ้าป่าจัดตั้งเป็น กองทุนมอบให้เทศบาลฯ ใช้ในการดาเนินการเพิ่มเติมในยามฉุกเฉินด้วย หนองป่าครั่งแสดงให้เห็นว่า หากรัฐของพวกเขาแปรเปลี่ยนเงิน เพื่อมาดูแลประชาชน พวกเขาก็พร้อมจ่ายและยังระดมทุนช่วยเหลือให้กับ รัฐของพวกเขาด้วย ที่หนองป่าครั่งเลยเปรียบเสมือนกับดินแดนในฝันเล็ก ๆ ที่เชื่อว่าใครได้ฟังคงอยากให้ประเทศไทยเป็นแบบนี้บ้าง สิ่งหนึ่งที่หนองป่า ครั้งแสดงให้เห็นว่า ภายใต้อานาจที่จากัด เมืองแห่งนี้ก็สามารถทาสวัสดิการ มากมายเพื่อประชาชน “รัฐสวัสดิการ” ที่ เมืองเล็ก ๆ แห่งนี้ก็น่าจะจุด ประกายและเป็นบทเรียนเรื่องการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนเมืองได้อีก มากมาย SOCIAL INNOVATION FOR URBAN HEALTH
  • 29. 27
  • 30. 28 เมือง ย้อนคิด มุ่งสู่อนาคต ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์ เมืองขวางน้า ศ. กิตติคุณ เดชา บุญค้า ชุดหนังสือเมือง วิธีการสั่งซื้อ 1. Inbox ทาง Page Facebook : ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง ตลอด 24 ชั่วโมง 2. ติดต่อเบอร์ 02-938-8826 ในเวลาราชการ ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง ศ.ดร. อานันท์ กาญจนพันธุ์ สัมผัส เมืองสายบุรี (Waso Telubae) ยุวดี คาดการณ์ไกล
  • 31. 29 ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง หรือ Future Urban Development (FURD) ร่วมกับมูลนิธิส่งเสริมปัญญาสาธารณะ (CPWI) โดยการสนับสนุนของ สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ทางแผนงานฯ มีความสนใจด้านการพัฒนาเมือง คลังปัญญาเรื่องเมือง สร้างเครือข่ายการพัฒนาเมือง อีกทั้งมีการสื่อสารความรู้ที่ทางแผนงานฯได้ทาการศึกษา วิจัยสู่สาธารณะ โลโก้ของแผนงานฯ ยังได้สื่อถึงความเป็นแผนงานฯและทิศทางการทางานได้อย่างชัดเจน โดย F U R D ที่ปรากฏในโลโก้นั้นเป็นอักษรย่อของ Future Urban Development เมื่อพิจารณาถึงสีโลโก้ที่ปรากฏสีเขียวสื่อถึงการงอกงามตามธรรมชาติ และสีน้าตาลสื่อความหมายถึงผืนดินอัน อุดมสมบูรณ์ เป็นการคาดหวังที่ต้องการเห็นการพัฒนาเมืองที่ไม่เพียงรุดหน้าในทางวัตถุเท่านั้น หากยังต้องใส่ใจถึงการพัฒนามิติอื่น ๆ ไปพร้อมกัน เพื่อ มุ่งสู่เมืองที่สมดุล สร้างความสุขแก่ผู้คนอย่างยั่งยืน นอกจากนี้ ที่ตัวอักษร D ของโลโก้นั้นถูกออกแบบให้มีลักษณะคล้าย “ลูกยางนา” เพื่อสื่อความหมายถึงความสามารถในการเจริญงอกงามใน ยามที่เมล็ดลูกยางทอดลงบนผืนดิน การเติบโตดังกล่าวเปรียบเสมือนกับการทางานของแผนงานฯ ที่มุ่งเน้นด้านการพัฒนาเมือง มุ่งมั่นหว่านเมล็ดพันธุ์ แห่งความรู้จากงานวิจัยสู่สังคม ด้วยความเชื่อมั่นถึงศักยภาพของท้องถิ่น ที่แต่ละแห่งนั้นอุดมไปด้วยความรุ่มรวยในมิติต่างๆอันเป็นเอกลักษณ์ นอกจากนี้ทางแผนงานฯยังขอร่วมเชิดชูความรักความภาคภูมิใจในท้องถิ่น ให้ผลิหน่อจากผืนดินของท้องถิ่น ก่อนเบ่งบานเป็น “ผู้สร้างบ้านแปงเมือง” ที่แกล้วกล้า ให้ร่มเงาและความผาสุกกับผู้คนในที่แห่งนั้น ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง
  • 33. 31 ผู้อำนวยกำรศูนย์ศึกษำมหำนครและเมือง : ยุวดี คาดการณ์ไกล บรรณำธิกำร: ยุวดี คาดการณ์ไกล เรียบเรียง: ณัฐธิดา เย็นบารุง มณฑิภรณ์ ปัญญา รูปเล่ม: มณฑิภรณ์ ปัญญา ปีที่เผยแพร่: สิงหาคม 2562 ที่อยู่ติดต่อ ศูนย์ศึกษำมหำนครและเมือง 637/1 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 ถนนลาดพร้าว แขวงจอมพล เขตจตุจักร กทม. 10900 www.facebook.com/furd.rsu @furd_rsu FURD RSU 02-938-8826 02-938-8864 Furd.rsu