SlideShare a Scribd company logo
1
ภาพรวมของบทเรียน
ระบบหมุนเวียนเลือดในร่างกายมนุษย์มีความเกี่ยวข้องระหว่าง หัวใจและเส้นเลือด การบีบและคลาย
ตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ ทาให้เกิดความดันเลือดเพื่อส่งไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกาย เรียกว่า ความดันเลือด
(Blood pressure) หมายถึงความดันในเส้นเลือดแดงหัวใจเต้น 1 ครั้ง ประกอบด้วย หัวใจบีบตัวเรียกว่า
systole และคลายตัวเรียกว่า diastole ค่าความดันเลือดวัดโดยใช้มาตรความดันเลือดร่วมกับสเต็ทโทสโคป
ค่าปกติอยู่ที่ 120/80 มิลิเมตรปรอท ชีพจร (pulse) คือการหดและคลายตัวของหลอดเลือดแดงในจังหวะ
เดียวกับการหดและคลายตัวของหัวใจ หรือหมายถึงอัตราการเต้นของหัวใจนั่นเองวัดจากหลอดเลือดที่อยู่ตื้นๆ
ใต้ผิวหนัง เช่น ข้อมือซอกคอขาหนีบ อัตราปกติคือ 60-100 ครั้ง/นาที จากความรู้ดังกล่าว นักเรียนสามารถ
วัดชีพจรโดยใช้วิธีการนับจานวนการเต้นของชีพจรใน 1 นาทีที่บริเวณข้อมือ และใช้ Application ต่างๆ เช่น
Heartbeat rate และการอ่านค่า Electrocardiogram ได้ จากนั้นนาความรู้ไปออกแบบเพื่อแก้ปัญหาหรือ
อธิบายสถานการณ์ที่กาหนดให้ได้
แนวคิดเกี่ยวกับสะเต็ม
อธิบายแนวคิดรวมของวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมและคณิตศาสตร์ที่ใช้ในการออกแบบเพื่อ
ตอบคาถามว่า “ดนตรีมีผลต่อการเต้นของหัวใจหรือไม่ อย่างไร” หลักการของวิทยาศาสตร์คือความดันเลือด
และชีพจร วิศวกรรมคือการออกแบบอุปกรณ์หรือวิธีการที่เหมาะสม คณิตศาสตร์คือวิธีคิดและการคานวณ
ค่าเฉลี่ยของข้อมูล เทคโนโลยีคือเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
ทักษะสาคัญที่เน้น
1. กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
2. ทักษะการคิดแก้ปัญหา
ผลการเรียนรู้
1. อธิบายความหมายของความดันและชีพจรได้
2. สาธิตการวัดชีพจรและความดันได้
3. สามารออกแบบโดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เพื่อสร้างคาอธิบายหรือแก้ปัญหาที่
กาหนดให้ได้
การบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ความพอประมาณ
1. นักเรียนสามารถปรับใช้อุปกรณ์อย่างคุ้มค่า
แผนการจัดการเรียนรู้ STEM
สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมปลาย หน่วยการเรียนรู้ การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
วิชา : ชีววิทยา (เพิ่มเติม) รหัส ว32242
แผนที่ 4 ดนตรีมีผลต่อการเต้นของหัวใจ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 จานวน 3 ชั่วโมง
2
ความมีเหตุผล
1. นักเรียนสามารถอธิบายโครงสร้างและหน้าที่สเตทโตสโคปที่สร้างขึ้นได้อย่างเป็นเหตุ
เป็นผล
มีภูมิคุ้มกัน
1. สามารถนาความรู้ไปใช้ดูแลตนเองได้ มีความคิดสร้างสรรค์ในการผลิตอุปกรณ์อย่างง่าย
เงื่อนไขความรู้
1. เรื่องชีพจรและอัตราการเต้นของหัวใจและความประหยัด
เงื่อนไขคุณธรรม
1. ความมุ่งมั่นในการเรียนรู้และการเลือกใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้
มิติ
วัตถุ- การเลือกใช้อุปกรณ์
สังคม- ด้านการดูแลสุขภาพ
อุปกรณ์ที่ต้องเตรียมล่วงหน้า
1. โปรแกรมการวัดชีพจร Heartbeat rate
2. วิดีโอเรื่อง อัตราการเต้นของหัวใจ
https://www.youtube.com/watch?v=31s4C6xufFA
3. ใบงานเรื่อง อัตราการเต้นของหัวใจ
4. อุปกรณ์การทา stethoscope อย่างง่าย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นการสอน กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ/วัสดุอุปกรณ์
บทบาทครู บทบาทนักเรียน
ขั้นตรวจสอบ
ความรู้เดิม
(10 นาที)
1. ครูใช้โปรแกรม Plickers
ในการวัดความรู้เดิมจานวน
5 ข้อ (สอดแทรกเรื่องความ
ซื่อสัตย์ในการสอบ)
1. นักเรียนตอบคาถาม จัดทาข้อสอบใน
โปรแกรม
Plickers
ขั้นสืบเสาะหา
ความรู้ทาง
วิทยาศาสตร์
(1 ชั่วโมง)
1. ครูแจกใบงานเรื่องอัตรา
การเต้นของหัวใจและเปิด
วิดีโอเรื่องอัตราการเต้นของ
หัวใจ
1. นักเรียนศึกษาเรื่องอัตรา
การเต้นของหัวใจและตอบ
คาถาม
2. ทดลองเพื่อหาอัตราการ
เต้นของหัวใจและทา
1. วิดีโอเรื่อง
อัตราการเต้นของ
หัวใจ
3
ขั้นการสอน กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ/อุปกรณ์
บทบาทครู บทบาทนักเรียน
2. ครูให้นักเรียนทดลองจับ
ชีพจรและนับจานวนการเต้น
ของชีพจรใน 1 นาที
3. ครูแนะนา Application
ที่ใช้ในการวัดชีพจร ตั้ง
คาถามว่าวิธีการใดน่าเชื่อถือ
กว่ากัน เพราะเหตุใด
จากนั้นครูอธิบายคาว่า
“เทคโนโลยี” จะช่วยลด
ความอคติและความเคลื่อน
จากผู้ใช้งาน
4. ครูตั้งคาถามว่า “นักเรียน
คิดว่าดนตรีมีผลต่อการเต้น
ของหัวใจหรือไม่ อย่างไร”
stethoscope อย่างง่าย
3. นักเรียนทดลองใช้
Application เปรียบเทียบ
ระหว่างการนับจานวนชีพจร
และการใช้โปรแกรม
4. นักเรียนในแต่ละกลุ่ม
ออกแบบเก็บรวบรวมข้อมูล
เพื่อตอบคาถาม
https://www.yo
utube.com/wat
ch?v=31s4C6xu
fFA
2. ใบงานเรื่อง
อัตราการเต้นของ
หัวใจ
3. Application
Heartbeat
แนวคิดในการ
ออกแบบ
นักเรียนอาจ
ทดลองโดย
เปรียบเทียบอัตรา
การเต้นของหัวใจ
เมื่อฟังเพลงเร็ว
และเพลงช้า
ฟังเพลงรักและ
เพลงอกหัก
ขั้นอภิปราย
(20 นาที)
1. อานวยความสะดวกใน
การนาเสนอและนาอภิปราย
1. นักเรียนทดสอบตามที่ได้
ออกแบบวางแผนและนาเสนอ
ผลการทดสอบ
2. นักเรียนแสดงความคิดเห็น
และอภิปรายในประเด็นต่างๆ
ร่วมกัน
4
ขั้นการสอน กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ/อุปกรณ์
บทบาทครู บทบาทนักเรียน
ขั้นสะท้อนผล
(20 นาที)
1. ครูตั้งคาถาม “กิจกรรมที่
นักเรียนลงมือปฏิบัติใช้
ความรู้ วิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และ
วิศวกรรม
อย่างไร
1. สรุปกิจกรรมว่าใช้ความรู้ที่
เกี่ยวข้องกับ STEM อย่างไร
บ้าง
2. นักเรียนสามารถนาความรู้
ไปใช้ในชีวิตประจาวันอย่างไร
การวัดและการประเมินผล
ผลการเรียนรู้ เครื่องมือ เกณฑ์
1. อธิบายความหมายของความดันและชีพ
จรได้
ใบงานอัตราการเต้นของหัวใจ ผ่านร้อยละ 80
2. สาธิตการวัดชีพจรและความดันได้ แบบประเมินการนาเสนอ
(Application Classdojo)
ระดับ 2 ขึ้นไปผ่าน
3. สามารออกแบบโดยอาศัยกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์เพื่อสร้างคาอธิบายหรือ
แก้ปัญหาที่กาหนดให้ได้
แบบประเมินกระบวนการ
ทางาน
(Application ClassDojo)
ระดับ 2 ขึ้นไปผ่าน
เกณฑ์การประเมินผลการเรียนรู้ข้อที่ 2
รายการ
ประเมิน
คะแนน
3 2 1
การจับจุด
ชีพจร
สามารถจับจุดชีพจร
นับจานวนครั้งและบอก
หน่วย อธิบายแนวคิดและ
หลักการได้ถูกต้อง สมบูรณ์
สามารถจับจุดชีพจร
นับจานวนครั้งและบอก
หน่วย อธิบายแนวคิดและ
หลักการได้ถูกต้องแต่ยังไม่
สมบูรณ์
สามารถจับจุดชีพจรได้
นับจานวนครั้งและบอก
หน่วย แต่ยังไม่สามารถ
อธิบายแนวคิดและ
หลักการได้ถูกต้อง
5
เกณฑ์การแบบประเมินผลการเรียนรู้ข้อที่ 3
เกณฑ์ประเมินกระบวนการ
คะแนน เกณฑ์
3 1. ตั้งคาถาม/สมมติฐานชัดเจน
2. ออกแบบการเก็บข้อมูลตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
3. สร้างคาอธิบายโดยใช้ข้อมูลในข้อ 2 และเชื่อมโยงกับความรู้ทางวิทยาศาสตร์
โดยปฏิบัติทั้ง 3 ข้อได้อย่างถูกต้อง
2 ทาข้อใดข้อหนึ่งได้ไม่ถูกต้อง
1 2/3 เกณฑ์ไม่ถูกต้อง
สื่อ/อุปกรณ์/ใบความรู้/ใบกิจกรรม
1. ความรู้เรื่องอัตราการเต้นของหัวใจ
2. ใบงานเรื่องอัตราการเต้นของหัวใจ
บันทึกผลหลังการสอน แผนที่ 4 เรื่องดนตรีมีผลต่อการเต้นของหัวใจ
รายการบันทึก ผลการจัดการเรียนรู้
ผลการประเมิน
นักเรียน
ผลการเรียนรู้ข้อที่ 1 ผ่าน......................คน คิดเป็น...............%
ไม่ผ่าน..................คน คิดเป็น................%
ผลการเรียนรู้ข้อที่ 3 ผ่าน......................คน คิดเป็น...............%
ไม่ผ่าน..................คน คิดเป็น................%
ผลการเรียนรู้ข้อที่ 3 ผ่าน......................คน คิดเป็น...............%
ไม่ผ่าน..................คน คิดเป็น................%
ขั้นตรวจสอบ
ความรู้เดิม เป็นไปตามที่แผนการจัดการเรียนรู้
ไม่เป็นไปตามที่แผนการจัดการเรียนรู้เนื่องจาก....................................
...........................................................................................................................
แนวทางการแก้ไข...............................................................................................
...........................................................................................................................
...........................................................................................................................
6
รายการบันทึก ผลการจัดการเรียนรู้
ขั้นสืบเสาะหาความรู้
ทางวิทยาศาสตร์
(20 นาที)
เป็นไปตามที่แผนการจัดการเรียนรู้
ไม่เป็นไปตามที่แผนการจัดการเรียนรู้เนื่องจาก....................................
...........................................................................................................................
แนวทางการแก้ไข...............................................................................................
...........................................................................................................................
ขั้นอภิปราย
(20 นาที) เป็นไปตามที่แผนการจัดการเรียนรู้
ไม่เป็นไปตามที่แผนการจัดการเรียนรู้เนื่องจาก....................................
...........................................................................................................................
แนวทางการแก้ไข...............................................................................................
...........................................................................................................................
ขั้นสะท้อนผล
(10 นาที) เป็นไปตามที่ผลการเรียนรู้
ไม่เป็นไปตามผลการเรียนรู้เนื่องจาก....................................................
...........................................................................................................................
แนวทางการแก้ไข...............................................................................................
..........................................................................................................................
ความคิดเห็นอื่นๆ
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
ลงชื่อ.............................................ผู้สอนกก
(นางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลี)
ความคิดเห็นอื่นๆ
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
ลงชื่อ.............................................หัวหน้าวิชาการ
(นางสมจิต สีหะวงษ์)กก
กก
7
ความคิดเห็น
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
ลงชื่อ.............................................รองผู้อานวยการโรงเรียน
(นายวิชัย เรืองจารัส)กกกก
ความคิดเห็น
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
ลงชื่อ.............................................ผู้อานวยการโรงเรียน
(นายสุรธี เครือบคนโท)กกกก
8
ความดันเลือด (Blood Pressure)
ความดันเลือดเกิดจากผลการบีบตัวของหัวใจคาวาความดันเลือด มักจะหมายถึงความดัน
เลือดแดง (arterial pressure) ซึ่งตามความเปนจริงเราสามารถวัดความดันเลือดที่อื่นไดดวย เชน
ความดันเลือดดา (venous pressure) และความดันในหองหัวใจ (cardiac chamber) ความดันเลือดใน
สวนตางๆ ของอวัยวะในรางกายของระบบไหลเวียนเลือดไมเท่ากันทุกจุด โดยทั่วไปความดันเลือดแดงที่สงจาก
หัวใจจุดแรกจะมีความดันสูงสุด ตอจากนั้นจะคอยๆ ลดลงจนถึงหลอดเลือดดาใหญที่จะเขาสูหัวใจซึ่งจะมี
ความดันต่าที่สุด
ภาพแสดงความดันเลือด
ความดันเลือดแดงมีลักษณะเปน pulsatile คือสูงสุดขณะหัวใจบีบตัว ( systole) และต่าสุด
ขณะหัวใจคลายตัว ( diastole) แตตอไปเมื่อถึงหลอดเลือดเล็กๆ ลักษณะของการเกิด pulsatile จะ
คอยๆ ลดลงและหมดไปทีละนอยอันเกิดจากการยืดหยุนและความตานทานของหลอดเลือดการที่หลอดเลือด
ตองมีความดันก็เพราะ หลอดเลือดมีหนาที่เปนทอสงหรือทอลาเลียงเลือดที่สงออกจากหัวใจไปเลี้ยงอวัยวะ
ตางๆทั่วรางกาย ความดันเลือดแดงในระบบไหลเวียนทั่วรางกายสูงกวาระบบไหลเวียนผานปอด (pulmonary
circulation) ถึง 5 เทาคาความดันเลือดตางๆ ค่าความดันเลือดวัดโดยใช้มาตรความดันเลือดร่วมกับ
สเต็ทโทสโคป ค่าปกติอยู่ที่ 120/80 มิลิเมตรปรอท
ใบความรู้เรื่องอัตราการเต้นของหัวใจ
หน่วยการเรียนรู้การรักษาดุลยภาพ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
แผนที่ 4
เรื่องดนตรีมีผลต่อ
การเต้นของหัวใจ
9
ภาพแสดงความดัดเลือดแบบ ซิสโทลิกและไดแอสโทลิก
ภาพแสดงค่าความดันเลือด 120/80 มิลลิเมตรปรอท
ชีพจร (Pulse)
ชีพจร เป็นการหดและขยายตัวของผนังหลอดเลือด ซึ่งเกิดจากการบีบตัวของหัวใจ ทาให้คลื่นความ
ดันโลหิตไปดันผนังเส้นเลือดแดงให้ขยายออกเป็นจังหวะ ในขณะที่เลือดไหลผ่านไปตามเส้นเลือด จังหวะการ
เต้นของเส้นเลือดจะสัมพันธ์กับการเต้นของหัวใจโดยตรง ชีพจรสามารถคลาพบได้ทั้งเส้นเลือดแดงและเส้น
เลือดดา แต่นิยมคลาที่ตาแหน่งเส้นเลือดแดงมากกว่า เพราะจะคลาได้ชัดเจน หาตาแหน่งการคลาได้ง่าย
บริเวณที่สามารถคลาชีพจรได้คือ ส่วนผิวของร่างกายที่มีหลอดเลือดแดงผ่านเหนือหรือข้างๆ กระดูก โดยมาก
เรียกชื่อชีพจรตามตาแหน่งของหลอดเลือดที่จับได้ ดังนี้
1. ชีพจรเท็มพอรัล (temporal pulse) จับที่เหนือและข้างๆ ตา ซึ่งหลอดเลือดแดงเท็มพอรัลทอด
ผ่านเหนือกระดูกเท็มพอรัลของศีรษะ
2. ชีพจรคาโรทิด (carotid pulse) อยู่ด้านข้างของคอคลาได้ชัดเจนที่สุดบริเวณมุมขากรรไกรล่าง
3. ชีพจรเบรเคียล (brachial pulse) อยู่ด้านในของกล้ามเนื้อไบเซ็พซ์ (bicep)คลาได้ที่บริเวณข้อพับ
แขนด้านใน เป็นตาแหน่งที่คลาเมื่อจะวัดความดันโลหิต
120/80
10
4. ชีพจรเรเดียล (radial pulse) อยู่ที่ข้อมือด้านใน บริเวณกระดูกปลายแขนด้านนอกหรือด้านหัวแม่
มือ เป็นตาแหน่งที่นิยมจับชีพจรมากที่สุด เพราะเป็นที่ที่จับได้ง่ายและไม่รบกวนผู้ป่วย
5. ชีพจรแอ็พพิคัล (apical pulse) อยู่ที่ยอดของหัวใจ หน้าอกด้านซ้ายบริเวณที่ตั้งของหัวใจ มักใช้
กับเด็กทารกและเด็กเล็กๆ ที่อายุต่ากว่า 2-3 ขวบ
ภาพแสดงการวัดชีพจร
ตารางแสดงอัตราการเต้นของหัวใจ
อายุ การเต้นของหัวใจต่อนาที
(Beats per minute : bpm)
ทารก-1 ขวบ 100-160
1 ขวบขึ้นไป – 10 ปี 60-140
10 ขึ้นไป – ผู้ใหญ่ 60-100
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อชีพจร
- อายุ เมืjออายุเพิ่มขึ้นอัตราการเต้นของชีพจรจะลดลง ในผู้ใหญ่อัตราการเต้นของชีพจร 60-100
(เฉลี่ย 80 b/m)
- เพศ หลังวัยรุ่น ค่าเฉลี่ยของอัตราการเต้นของชีพจรของผู้ชายจะต่ากว่าหญิงเล็กน้อย
- การออกกาลังกายอัตราการเต้นของชีพจรจะเพิ่มขึ้นเมื่อออกกาลังกาย
- ไข้ อัตราการเต้นของชีพจรเพิ่มขึ้น เพื่อปรับตัวให้เข้ากับความดันเลือดที่ต่าลง ซึ่งเป็นผลมาจากเส้น
เลือดส่วนปลายขยายตัวทาให้อุณหภูมิร่างกายสูงขึ้น (เพิ่ม metabolic rate)
- ยายาบางชนิด ลดอัตราการเต้นของชีพจร เช่น ยาโรคหัวใจ เช่น digitalis ลดอัตราการเต้นของ
ชีพจร (กระตุ้น parasympathetic)
- Hemorrhage การสูญเสียเลือดจะมีผลทาให้เพิÉมการกระตุ้นระบบประสาทซิมพาธิติค ทาให้อัตรา
การเต้นของชีพจรสูงขึ้น, ในผู้ใหญ่มีเลือดประมาณ 5 ลิตรการสูญเสียเลือดไป <10% จึงจะปราศจาก
ผลข้างเคียง
- ความเครียด เมื่อเครียดจะกระตุ้น sympathetic nervous เพิ่ม การเต้นของชีพจร ความกลัว,
ความวิตกกังวล และอาการเจ็บปวด กระตุ้นระบบประสาทซิมพาธิติค
- ท่าทาง เมื่ออยู่ในท่ายืนหรือนั่งชีพจรจะเต้นเพิ่มขึ้น (เร็วขึ้น) ท่านอนชีพจรจะลดลง (ช้า)
11
จงตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
1. การวัดชีพจร หมายถึง..............................................................................................................................
2. เจมส์จับชีพจรบริเวณ......................................................................................................................................
3. อัตราการเต้นของหัวใจ (เสียงตุ๊บตุ๊บ) หมายถึง................................................................................................
4. การวัดชีพจร เกี่ยวข้องกับระบบ.....................................................................................................................
5. การวัดชีพจรมีวัตถุประสงค์เพื่อ.....................................................................................................................
6. เครื่องมือที่ใช้ในการวัดชีพจรเรียกว่า ............................................................................................................
7. คุณหมอวัดชีพจรที่บริเวณข้อมือ โดยมีหลักการคือ ........................................................................................
...................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
8. เพราะเหตุใดจึงนิยมวัดชีพจรบริเวณเส้นเลือดที่อยู่บริเวณข้อมือด้านหน้า เพราะ.......................................
....................................................................................................................................................................
9. การเต้นของชีพจรขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ เช่น ............................................................................................
10. ถ้าอุณหภูมิร่างกายสูงขึ้น 1 องศาฟาเรนไฮต์ การเต้นของหัวใจจะเพิ่มขึ้นประมาณ..............................ครั้ง
ใบงานเรื่องอัตราการเต้นของหัวใจ
หน่วยการเรียนรู้การรักษาดุลยภาพ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
แผนที่ 4
เรื่องดนตรีมีผลต่อ
การเต้นของหัวใจ
12
จงตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
1. การวัดชีพจร หมายถึงอัตราการเต้นของหัวใจ
2. เจมส์จับชีพจรบริเวณหน้าอก
3. อัตราการเต้นของหัวใจ (เสียงตุ๊บตุ๊บ) หมายถึง จังหวะที่หัวใจบีบและคลายตัว เพื่อสูบฉีดเลือด
4. การวัดชีพจร เกี่ยวข้องกับระบบหมุนเวียนเลือด
5. การวัดชีพจรมีวัตถุประสงค์เพื่อ รู้อัตราการเต้นของหัวใจในหนึ่งหน่วยนาที
6. เครื่องมือที่ใช้ในการวัดชีพจรเรียกว่า stethoscope
7. คุณหมอวัดชีพจรที่บริเวณข้อมือ โดยมีหลักการคือ วางข้อมือที่ต้องการวัดหงายขึ้น จากนั้นวางนิ้วชี้ กลาง
นาง และก้อย บริเวณข้อมือ ส่วนนิ้วหัวแม่มือวางด้านหลัง เพื่อป้องกันความสับสนระหว่างชีพจรของข้อมือ
และชีพจรของนิ้วหัวแม่โป้ง
8. เพราะเหตุใดจึงนิยมวัดชีพจรบริเวณเส้นเลือดที่อยู่บริเวณข้อมือด้านหน้า เพราะสามารถรับรู้แรงของการบีบ
และขยายตัวของหลอดเลือดได้มากที่สุด
9. การเต้นของชีพจรขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ เช่น อายุ อาการตื่นเต้น กลัว อาหารการออกกาลังกาย และโรค
10. ถ้าอุณหภูมิร่างกายสูงขึ้น 1 องศาฟาเรนไฮต์ การเต้นของหัวใจจะเพิ่มขึ้นประมาณ 10 ครั้ง
เฉลยใบงานเรื่องอัตราการเต้นของหัวใจ
หน่วยการเรียนรู้การรักษาดุลยภาพ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
แผนที่ 4
เรื่องดนตรีมีผลต่อ
การเต้นของหัวใจ
13
1. การวัดชีพจร หมายถึง..............................................................................................................................
2. เจมส์จับชีพจรบริเวณ......................................................................................................................................
3. อัตราการเต้นของหัวใจ (เสียงตุ๊บตุ๊บ) หมายถึง................................................................................................
4. การวัดชีพจร เกี่ยวข้องกับระบบ.....................................................................................................................
5. การวัดชีพจรมีวัตถุประสงค์เพื่อ.....................................................................................................................
6. เครื่องมือที่ใช้ในการวัดชีพจรเรียกว่า ............................................................................................................
7. คุณหมอวัดชีพจรที่บริเวณข้อมือ โดยมีหลักการคือ ........................................................................................
...................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
8. เพราะเหตุใดจึงนิยมวัดชีพจรบริเวณเส้นเลือดที่อยู่บริเวณข้อมือด้านหน้า เพราะ.......................................
....................................................................................................................................................................
9. การเต้นของชีพจรขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ เช่น ............................................................................................
10. ถ้าอุณหภูมิร่างกายสูงขึ้น 1 องศาฟาเรนไฮต์ การเต้นของหัวใจจะเพิ่มขึ้นประมาณ..............................ครั้ง
1. การวัดชีพจร หมายถึง..............................................................................................................................
2. เจมส์จับชีพจรบริเวณ......................................................................................................................................
3. อัตราการเต้นของหัวใจ (เสียงตุ๊บตุ๊บ) หมายถึง................................................................................................
4. การวัดชีพจร เกี่ยวข้องกับระบบ.....................................................................................................................
5. การวัดชีพจรมีวัตถุประสงค์เพื่อ.....................................................................................................................
6. เครื่องมือที่ใช้ในการวัดชีพจรเรียกว่า ............................................................................................................
7. คุณหมอวัดชีพจรที่บริเวณข้อมือ โดยมีหลักการคือ ........................................................................................
...................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
8. เพราะเหตุใดจึงนิยมวัดชีพจรบริเวณเส้นเลือดที่อยู่บริเวณข้อมือด้านหน้า เพราะ.......................................
....................................................................................................................................................................
9. การเต้นของชีพจรขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ เช่น ............................................................................................
10. ถ้าอุณหภูมิร่างกายสูงขึ้น 1 องศาฟาเรนไฮต์ การเต้นของหัวใจจะเพิ่มขึ้นประมาณ..............................ครั้ง
ตัดแจกในห้องเรียน

More Related Content

What's hot

แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
KruKaiNui
 
เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)
Thitaree Samphao
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
Wuttipong Tubkrathok
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
somdetpittayakom school
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
oraneehussem
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
Khemjira_P
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
Thitaree Samphao
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
sukanya petin
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืช
Thanyamon Chat.
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
sukanya petin
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
Pinutchaya Nakchumroon
 

What's hot (20)

แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1
 
เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืช
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 

Similar to ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา

โครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือด
โครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือดโครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือด
โครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือด
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
Shock (Thai)
Shock (Thai)Shock (Thai)
Shock (Thai)
Narenthorn EMS Center
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดkrutoyou
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือด
tuiye
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือด
tuiye
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
joongka3332
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
kasidid20309
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจWan Ngamwongwan
 
Rehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for ElderlyRehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for Elderlytaem
 
โรคหัวใจตีบ
โรคหัวใจตีบโรคหัวใจตีบ
โรคหัวใจตีบWan Ngamwongwan
 
สุภาพร ชินโพธิ์คลัง
สุภาพร  ชินโพธิ์คลังสุภาพร  ชินโพธิ์คลัง
สุภาพร ชินโพธิ์คลังsupaporn90
 
เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)
เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)
เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)Wan Ngamwongwan
 

Similar to ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา (16)

โครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือด
โครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือดโครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือด
โครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือด
 
ชีพจร
ชีพจรชีพจร
ชีพจร
 
ความดันโลหิตสูง
ความดันโลหิตสูงความดันโลหิตสูง
ความดันโลหิตสูง
 
Shock (Thai)
Shock (Thai)Shock (Thai)
Shock (Thai)
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือด
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือด
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือด
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
 
Rehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for ElderlyRehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for Elderly
 
Powp08
Powp08Powp08
Powp08
 
หัวใจคน
หัวใจคนหัวใจคน
หัวใจคน
 
โรคหัวใจตีบ
โรคหัวใจตีบโรคหัวใจตีบ
โรคหัวใจตีบ
 
สุภาพร ชินโพธิ์คลัง
สุภาพร  ชินโพธิ์คลังสุภาพร  ชินโพธิ์คลัง
สุภาพร ชินโพธิ์คลัง
 
เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)
เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)
เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)
 

More from กมลรัตน์ ฉิมพาลี

Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ
Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ
Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบเอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์
TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์
TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
แกมจิ๊กซอกล้องจุลทรรศน์
แกมจิ๊กซอกล้องจุลทรรศน์แกมจิ๊กซอกล้องจุลทรรศน์
แกมจิ๊กซอกล้องจุลทรรศน์
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
หลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคม
หลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคมหลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคม
หลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคม
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกลเล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังเล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
เทคนิคการจำ Division พืช
เทคนิคการจำ Division พืชเทคนิคการจำ Division พืช
เทคนิคการจำ Division พืช
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
เซลล์พืช 1
เซลล์พืช 1 เซลล์พืช 1
เม็ดเลือดขาว
เม็ดเลือดขาวเม็ดเลือดขาว
เม็ดเลือดขาว
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
การออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศ
การออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศการออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศ
การออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศ
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
Poster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆ
Poster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆPoster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆ
Poster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆ
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
Poster โรงเรียนสุจริต
Poster โรงเรียนสุจริตPoster โรงเรียนสุจริต
Poster โรงเรียนสุจริต
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
Mind mapping genetics
Mind mapping geneticsMind mapping genetics

More from กมลรัตน์ ฉิมพาลี (20)

Classroom observation day1
Classroom observation day1Classroom observation day1
Classroom observation day1
 
Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ
Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ
Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ
 
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
 
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบเอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
 
TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์
TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์
TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์
 
แกมจิ๊กซอกล้องจุลทรรศน์
แกมจิ๊กซอกล้องจุลทรรศน์แกมจิ๊กซอกล้องจุลทรรศน์
แกมจิ๊กซอกล้องจุลทรรศน์
 
หลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคม
หลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคมหลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคม
หลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคม
 
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
 
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกลเล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
 
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
 
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังเล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
 
เทคนิคการจำ Division พืช
เทคนิคการจำ Division พืชเทคนิคการจำ Division พืช
เทคนิคการจำ Division พืช
 
เซลล์พืช 1
เซลล์พืช 1 เซลล์พืช 1
เซลล์พืช 1
 
เม็ดเลือดขาว
เม็ดเลือดขาวเม็ดเลือดขาว
เม็ดเลือดขาว
 
การออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศ
การออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศการออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศ
การออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศ
 
Poster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆ
Poster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆPoster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆ
Poster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆ
 
Poster โรงเรียนสุจริต
Poster โรงเรียนสุจริตPoster โรงเรียนสุจริต
Poster โรงเรียนสุจริต
 
Mind mapping genetics
Mind mapping geneticsMind mapping genetics
Mind mapping genetics
 

Recently uploaded

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 

ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา

  • 1. 1 ภาพรวมของบทเรียน ระบบหมุนเวียนเลือดในร่างกายมนุษย์มีความเกี่ยวข้องระหว่าง หัวใจและเส้นเลือด การบีบและคลาย ตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ ทาให้เกิดความดันเลือดเพื่อส่งไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกาย เรียกว่า ความดันเลือด (Blood pressure) หมายถึงความดันในเส้นเลือดแดงหัวใจเต้น 1 ครั้ง ประกอบด้วย หัวใจบีบตัวเรียกว่า systole และคลายตัวเรียกว่า diastole ค่าความดันเลือดวัดโดยใช้มาตรความดันเลือดร่วมกับสเต็ทโทสโคป ค่าปกติอยู่ที่ 120/80 มิลิเมตรปรอท ชีพจร (pulse) คือการหดและคลายตัวของหลอดเลือดแดงในจังหวะ เดียวกับการหดและคลายตัวของหัวใจ หรือหมายถึงอัตราการเต้นของหัวใจนั่นเองวัดจากหลอดเลือดที่อยู่ตื้นๆ ใต้ผิวหนัง เช่น ข้อมือซอกคอขาหนีบ อัตราปกติคือ 60-100 ครั้ง/นาที จากความรู้ดังกล่าว นักเรียนสามารถ วัดชีพจรโดยใช้วิธีการนับจานวนการเต้นของชีพจรใน 1 นาทีที่บริเวณข้อมือ และใช้ Application ต่างๆ เช่น Heartbeat rate และการอ่านค่า Electrocardiogram ได้ จากนั้นนาความรู้ไปออกแบบเพื่อแก้ปัญหาหรือ อธิบายสถานการณ์ที่กาหนดให้ได้ แนวคิดเกี่ยวกับสะเต็ม อธิบายแนวคิดรวมของวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมและคณิตศาสตร์ที่ใช้ในการออกแบบเพื่อ ตอบคาถามว่า “ดนตรีมีผลต่อการเต้นของหัวใจหรือไม่ อย่างไร” หลักการของวิทยาศาสตร์คือความดันเลือด และชีพจร วิศวกรรมคือการออกแบบอุปกรณ์หรือวิธีการที่เหมาะสม คณิตศาสตร์คือวิธีคิดและการคานวณ ค่าเฉลี่ยของข้อมูล เทคโนโลยีคือเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ทักษะสาคัญที่เน้น 1. กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 2. ทักษะการคิดแก้ปัญหา ผลการเรียนรู้ 1. อธิบายความหมายของความดันและชีพจรได้ 2. สาธิตการวัดชีพจรและความดันได้ 3. สามารออกแบบโดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เพื่อสร้างคาอธิบายหรือแก้ปัญหาที่ กาหนดให้ได้ การบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ความพอประมาณ 1. นักเรียนสามารถปรับใช้อุปกรณ์อย่างคุ้มค่า แผนการจัดการเรียนรู้ STEM สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมปลาย หน่วยการเรียนรู้ การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต วิชา : ชีววิทยา (เพิ่มเติม) รหัส ว32242 แผนที่ 4 ดนตรีมีผลต่อการเต้นของหัวใจ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 จานวน 3 ชั่วโมง
  • 2. 2 ความมีเหตุผล 1. นักเรียนสามารถอธิบายโครงสร้างและหน้าที่สเตทโตสโคปที่สร้างขึ้นได้อย่างเป็นเหตุ เป็นผล มีภูมิคุ้มกัน 1. สามารถนาความรู้ไปใช้ดูแลตนเองได้ มีความคิดสร้างสรรค์ในการผลิตอุปกรณ์อย่างง่าย เงื่อนไขความรู้ 1. เรื่องชีพจรและอัตราการเต้นของหัวใจและความประหยัด เงื่อนไขคุณธรรม 1. ความมุ่งมั่นในการเรียนรู้และการเลือกใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้ มิติ วัตถุ- การเลือกใช้อุปกรณ์ สังคม- ด้านการดูแลสุขภาพ อุปกรณ์ที่ต้องเตรียมล่วงหน้า 1. โปรแกรมการวัดชีพจร Heartbeat rate 2. วิดีโอเรื่อง อัตราการเต้นของหัวใจ https://www.youtube.com/watch?v=31s4C6xufFA 3. ใบงานเรื่อง อัตราการเต้นของหัวใจ 4. อุปกรณ์การทา stethoscope อย่างง่าย การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นการสอน กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ/วัสดุอุปกรณ์ บทบาทครู บทบาทนักเรียน ขั้นตรวจสอบ ความรู้เดิม (10 นาที) 1. ครูใช้โปรแกรม Plickers ในการวัดความรู้เดิมจานวน 5 ข้อ (สอดแทรกเรื่องความ ซื่อสัตย์ในการสอบ) 1. นักเรียนตอบคาถาม จัดทาข้อสอบใน โปรแกรม Plickers ขั้นสืบเสาะหา ความรู้ทาง วิทยาศาสตร์ (1 ชั่วโมง) 1. ครูแจกใบงานเรื่องอัตรา การเต้นของหัวใจและเปิด วิดีโอเรื่องอัตราการเต้นของ หัวใจ 1. นักเรียนศึกษาเรื่องอัตรา การเต้นของหัวใจและตอบ คาถาม 2. ทดลองเพื่อหาอัตราการ เต้นของหัวใจและทา 1. วิดีโอเรื่อง อัตราการเต้นของ หัวใจ
  • 3. 3 ขั้นการสอน กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ/อุปกรณ์ บทบาทครู บทบาทนักเรียน 2. ครูให้นักเรียนทดลองจับ ชีพจรและนับจานวนการเต้น ของชีพจรใน 1 นาที 3. ครูแนะนา Application ที่ใช้ในการวัดชีพจร ตั้ง คาถามว่าวิธีการใดน่าเชื่อถือ กว่ากัน เพราะเหตุใด จากนั้นครูอธิบายคาว่า “เทคโนโลยี” จะช่วยลด ความอคติและความเคลื่อน จากผู้ใช้งาน 4. ครูตั้งคาถามว่า “นักเรียน คิดว่าดนตรีมีผลต่อการเต้น ของหัวใจหรือไม่ อย่างไร” stethoscope อย่างง่าย 3. นักเรียนทดลองใช้ Application เปรียบเทียบ ระหว่างการนับจานวนชีพจร และการใช้โปรแกรม 4. นักเรียนในแต่ละกลุ่ม ออกแบบเก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อตอบคาถาม https://www.yo utube.com/wat ch?v=31s4C6xu fFA 2. ใบงานเรื่อง อัตราการเต้นของ หัวใจ 3. Application Heartbeat แนวคิดในการ ออกแบบ นักเรียนอาจ ทดลองโดย เปรียบเทียบอัตรา การเต้นของหัวใจ เมื่อฟังเพลงเร็ว และเพลงช้า ฟังเพลงรักและ เพลงอกหัก ขั้นอภิปราย (20 นาที) 1. อานวยความสะดวกใน การนาเสนอและนาอภิปราย 1. นักเรียนทดสอบตามที่ได้ ออกแบบวางแผนและนาเสนอ ผลการทดสอบ 2. นักเรียนแสดงความคิดเห็น และอภิปรายในประเด็นต่างๆ ร่วมกัน
  • 4. 4 ขั้นการสอน กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ/อุปกรณ์ บทบาทครู บทบาทนักเรียน ขั้นสะท้อนผล (20 นาที) 1. ครูตั้งคาถาม “กิจกรรมที่ นักเรียนลงมือปฏิบัติใช้ ความรู้ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และ วิศวกรรม อย่างไร 1. สรุปกิจกรรมว่าใช้ความรู้ที่ เกี่ยวข้องกับ STEM อย่างไร บ้าง 2. นักเรียนสามารถนาความรู้ ไปใช้ในชีวิตประจาวันอย่างไร การวัดและการประเมินผล ผลการเรียนรู้ เครื่องมือ เกณฑ์ 1. อธิบายความหมายของความดันและชีพ จรได้ ใบงานอัตราการเต้นของหัวใจ ผ่านร้อยละ 80 2. สาธิตการวัดชีพจรและความดันได้ แบบประเมินการนาเสนอ (Application Classdojo) ระดับ 2 ขึ้นไปผ่าน 3. สามารออกแบบโดยอาศัยกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์เพื่อสร้างคาอธิบายหรือ แก้ปัญหาที่กาหนดให้ได้ แบบประเมินกระบวนการ ทางาน (Application ClassDojo) ระดับ 2 ขึ้นไปผ่าน เกณฑ์การประเมินผลการเรียนรู้ข้อที่ 2 รายการ ประเมิน คะแนน 3 2 1 การจับจุด ชีพจร สามารถจับจุดชีพจร นับจานวนครั้งและบอก หน่วย อธิบายแนวคิดและ หลักการได้ถูกต้อง สมบูรณ์ สามารถจับจุดชีพจร นับจานวนครั้งและบอก หน่วย อธิบายแนวคิดและ หลักการได้ถูกต้องแต่ยังไม่ สมบูรณ์ สามารถจับจุดชีพจรได้ นับจานวนครั้งและบอก หน่วย แต่ยังไม่สามารถ อธิบายแนวคิดและ หลักการได้ถูกต้อง
  • 5. 5 เกณฑ์การแบบประเมินผลการเรียนรู้ข้อที่ 3 เกณฑ์ประเมินกระบวนการ คะแนน เกณฑ์ 3 1. ตั้งคาถาม/สมมติฐานชัดเจน 2. ออกแบบการเก็บข้อมูลตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 3. สร้างคาอธิบายโดยใช้ข้อมูลในข้อ 2 และเชื่อมโยงกับความรู้ทางวิทยาศาสตร์ โดยปฏิบัติทั้ง 3 ข้อได้อย่างถูกต้อง 2 ทาข้อใดข้อหนึ่งได้ไม่ถูกต้อง 1 2/3 เกณฑ์ไม่ถูกต้อง สื่อ/อุปกรณ์/ใบความรู้/ใบกิจกรรม 1. ความรู้เรื่องอัตราการเต้นของหัวใจ 2. ใบงานเรื่องอัตราการเต้นของหัวใจ บันทึกผลหลังการสอน แผนที่ 4 เรื่องดนตรีมีผลต่อการเต้นของหัวใจ รายการบันทึก ผลการจัดการเรียนรู้ ผลการประเมิน นักเรียน ผลการเรียนรู้ข้อที่ 1 ผ่าน......................คน คิดเป็น...............% ไม่ผ่าน..................คน คิดเป็น................% ผลการเรียนรู้ข้อที่ 3 ผ่าน......................คน คิดเป็น...............% ไม่ผ่าน..................คน คิดเป็น................% ผลการเรียนรู้ข้อที่ 3 ผ่าน......................คน คิดเป็น...............% ไม่ผ่าน..................คน คิดเป็น................% ขั้นตรวจสอบ ความรู้เดิม เป็นไปตามที่แผนการจัดการเรียนรู้ ไม่เป็นไปตามที่แผนการจัดการเรียนรู้เนื่องจาก.................................... ........................................................................................................................... แนวทางการแก้ไข............................................................................................... ........................................................................................................................... ...........................................................................................................................
  • 6. 6 รายการบันทึก ผลการจัดการเรียนรู้ ขั้นสืบเสาะหาความรู้ ทางวิทยาศาสตร์ (20 นาที) เป็นไปตามที่แผนการจัดการเรียนรู้ ไม่เป็นไปตามที่แผนการจัดการเรียนรู้เนื่องจาก.................................... ........................................................................................................................... แนวทางการแก้ไข............................................................................................... ........................................................................................................................... ขั้นอภิปราย (20 นาที) เป็นไปตามที่แผนการจัดการเรียนรู้ ไม่เป็นไปตามที่แผนการจัดการเรียนรู้เนื่องจาก.................................... ........................................................................................................................... แนวทางการแก้ไข............................................................................................... ........................................................................................................................... ขั้นสะท้อนผล (10 นาที) เป็นไปตามที่ผลการเรียนรู้ ไม่เป็นไปตามผลการเรียนรู้เนื่องจาก.................................................... ........................................................................................................................... แนวทางการแก้ไข............................................................................................... .......................................................................................................................... ความคิดเห็นอื่นๆ ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ลงชื่อ.............................................ผู้สอนกก (นางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลี) ความคิดเห็นอื่นๆ ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ลงชื่อ.............................................หัวหน้าวิชาการ (นางสมจิต สีหะวงษ์)กก กก
  • 7. 7 ความคิดเห็น ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ลงชื่อ.............................................รองผู้อานวยการโรงเรียน (นายวิชัย เรืองจารัส)กกกก ความคิดเห็น ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ลงชื่อ.............................................ผู้อานวยการโรงเรียน (นายสุรธี เครือบคนโท)กกกก
  • 8. 8 ความดันเลือด (Blood Pressure) ความดันเลือดเกิดจากผลการบีบตัวของหัวใจคาวาความดันเลือด มักจะหมายถึงความดัน เลือดแดง (arterial pressure) ซึ่งตามความเปนจริงเราสามารถวัดความดันเลือดที่อื่นไดดวย เชน ความดันเลือดดา (venous pressure) และความดันในหองหัวใจ (cardiac chamber) ความดันเลือดใน สวนตางๆ ของอวัยวะในรางกายของระบบไหลเวียนเลือดไมเท่ากันทุกจุด โดยทั่วไปความดันเลือดแดงที่สงจาก หัวใจจุดแรกจะมีความดันสูงสุด ตอจากนั้นจะคอยๆ ลดลงจนถึงหลอดเลือดดาใหญที่จะเขาสูหัวใจซึ่งจะมี ความดันต่าที่สุด ภาพแสดงความดันเลือด ความดันเลือดแดงมีลักษณะเปน pulsatile คือสูงสุดขณะหัวใจบีบตัว ( systole) และต่าสุด ขณะหัวใจคลายตัว ( diastole) แตตอไปเมื่อถึงหลอดเลือดเล็กๆ ลักษณะของการเกิด pulsatile จะ คอยๆ ลดลงและหมดไปทีละนอยอันเกิดจากการยืดหยุนและความตานทานของหลอดเลือดการที่หลอดเลือด ตองมีความดันก็เพราะ หลอดเลือดมีหนาที่เปนทอสงหรือทอลาเลียงเลือดที่สงออกจากหัวใจไปเลี้ยงอวัยวะ ตางๆทั่วรางกาย ความดันเลือดแดงในระบบไหลเวียนทั่วรางกายสูงกวาระบบไหลเวียนผานปอด (pulmonary circulation) ถึง 5 เทาคาความดันเลือดตางๆ ค่าความดันเลือดวัดโดยใช้มาตรความดันเลือดร่วมกับ สเต็ทโทสโคป ค่าปกติอยู่ที่ 120/80 มิลิเมตรปรอท ใบความรู้เรื่องอัตราการเต้นของหัวใจ หน่วยการเรียนรู้การรักษาดุลยภาพ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 แผนที่ 4 เรื่องดนตรีมีผลต่อ การเต้นของหัวใจ
  • 9. 9 ภาพแสดงความดัดเลือดแบบ ซิสโทลิกและไดแอสโทลิก ภาพแสดงค่าความดันเลือด 120/80 มิลลิเมตรปรอท ชีพจร (Pulse) ชีพจร เป็นการหดและขยายตัวของผนังหลอดเลือด ซึ่งเกิดจากการบีบตัวของหัวใจ ทาให้คลื่นความ ดันโลหิตไปดันผนังเส้นเลือดแดงให้ขยายออกเป็นจังหวะ ในขณะที่เลือดไหลผ่านไปตามเส้นเลือด จังหวะการ เต้นของเส้นเลือดจะสัมพันธ์กับการเต้นของหัวใจโดยตรง ชีพจรสามารถคลาพบได้ทั้งเส้นเลือดแดงและเส้น เลือดดา แต่นิยมคลาที่ตาแหน่งเส้นเลือดแดงมากกว่า เพราะจะคลาได้ชัดเจน หาตาแหน่งการคลาได้ง่าย บริเวณที่สามารถคลาชีพจรได้คือ ส่วนผิวของร่างกายที่มีหลอดเลือดแดงผ่านเหนือหรือข้างๆ กระดูก โดยมาก เรียกชื่อชีพจรตามตาแหน่งของหลอดเลือดที่จับได้ ดังนี้ 1. ชีพจรเท็มพอรัล (temporal pulse) จับที่เหนือและข้างๆ ตา ซึ่งหลอดเลือดแดงเท็มพอรัลทอด ผ่านเหนือกระดูกเท็มพอรัลของศีรษะ 2. ชีพจรคาโรทิด (carotid pulse) อยู่ด้านข้างของคอคลาได้ชัดเจนที่สุดบริเวณมุมขากรรไกรล่าง 3. ชีพจรเบรเคียล (brachial pulse) อยู่ด้านในของกล้ามเนื้อไบเซ็พซ์ (bicep)คลาได้ที่บริเวณข้อพับ แขนด้านใน เป็นตาแหน่งที่คลาเมื่อจะวัดความดันโลหิต 120/80
  • 10. 10 4. ชีพจรเรเดียล (radial pulse) อยู่ที่ข้อมือด้านใน บริเวณกระดูกปลายแขนด้านนอกหรือด้านหัวแม่ มือ เป็นตาแหน่งที่นิยมจับชีพจรมากที่สุด เพราะเป็นที่ที่จับได้ง่ายและไม่รบกวนผู้ป่วย 5. ชีพจรแอ็พพิคัล (apical pulse) อยู่ที่ยอดของหัวใจ หน้าอกด้านซ้ายบริเวณที่ตั้งของหัวใจ มักใช้ กับเด็กทารกและเด็กเล็กๆ ที่อายุต่ากว่า 2-3 ขวบ ภาพแสดงการวัดชีพจร ตารางแสดงอัตราการเต้นของหัวใจ อายุ การเต้นของหัวใจต่อนาที (Beats per minute : bpm) ทารก-1 ขวบ 100-160 1 ขวบขึ้นไป – 10 ปี 60-140 10 ขึ้นไป – ผู้ใหญ่ 60-100 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อชีพจร - อายุ เมืjออายุเพิ่มขึ้นอัตราการเต้นของชีพจรจะลดลง ในผู้ใหญ่อัตราการเต้นของชีพจร 60-100 (เฉลี่ย 80 b/m) - เพศ หลังวัยรุ่น ค่าเฉลี่ยของอัตราการเต้นของชีพจรของผู้ชายจะต่ากว่าหญิงเล็กน้อย - การออกกาลังกายอัตราการเต้นของชีพจรจะเพิ่มขึ้นเมื่อออกกาลังกาย - ไข้ อัตราการเต้นของชีพจรเพิ่มขึ้น เพื่อปรับตัวให้เข้ากับความดันเลือดที่ต่าลง ซึ่งเป็นผลมาจากเส้น เลือดส่วนปลายขยายตัวทาให้อุณหภูมิร่างกายสูงขึ้น (เพิ่ม metabolic rate) - ยายาบางชนิด ลดอัตราการเต้นของชีพจร เช่น ยาโรคหัวใจ เช่น digitalis ลดอัตราการเต้นของ ชีพจร (กระตุ้น parasympathetic) - Hemorrhage การสูญเสียเลือดจะมีผลทาให้เพิÉมการกระตุ้นระบบประสาทซิมพาธิติค ทาให้อัตรา การเต้นของชีพจรสูงขึ้น, ในผู้ใหญ่มีเลือดประมาณ 5 ลิตรการสูญเสียเลือดไป <10% จึงจะปราศจาก ผลข้างเคียง - ความเครียด เมื่อเครียดจะกระตุ้น sympathetic nervous เพิ่ม การเต้นของชีพจร ความกลัว, ความวิตกกังวล และอาการเจ็บปวด กระตุ้นระบบประสาทซิมพาธิติค - ท่าทาง เมื่ออยู่ในท่ายืนหรือนั่งชีพจรจะเต้นเพิ่มขึ้น (เร็วขึ้น) ท่านอนชีพจรจะลดลง (ช้า)
  • 11. 11 จงตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง 1. การวัดชีพจร หมายถึง.............................................................................................................................. 2. เจมส์จับชีพจรบริเวณ...................................................................................................................................... 3. อัตราการเต้นของหัวใจ (เสียงตุ๊บตุ๊บ) หมายถึง................................................................................................ 4. การวัดชีพจร เกี่ยวข้องกับระบบ..................................................................................................................... 5. การวัดชีพจรมีวัตถุประสงค์เพื่อ..................................................................................................................... 6. เครื่องมือที่ใช้ในการวัดชีพจรเรียกว่า ............................................................................................................ 7. คุณหมอวัดชีพจรที่บริเวณข้อมือ โดยมีหลักการคือ ........................................................................................ ................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... 8. เพราะเหตุใดจึงนิยมวัดชีพจรบริเวณเส้นเลือดที่อยู่บริเวณข้อมือด้านหน้า เพราะ....................................... .................................................................................................................................................................... 9. การเต้นของชีพจรขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ เช่น ............................................................................................ 10. ถ้าอุณหภูมิร่างกายสูงขึ้น 1 องศาฟาเรนไฮต์ การเต้นของหัวใจจะเพิ่มขึ้นประมาณ..............................ครั้ง ใบงานเรื่องอัตราการเต้นของหัวใจ หน่วยการเรียนรู้การรักษาดุลยภาพ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 แผนที่ 4 เรื่องดนตรีมีผลต่อ การเต้นของหัวใจ
  • 12. 12 จงตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง 1. การวัดชีพจร หมายถึงอัตราการเต้นของหัวใจ 2. เจมส์จับชีพจรบริเวณหน้าอก 3. อัตราการเต้นของหัวใจ (เสียงตุ๊บตุ๊บ) หมายถึง จังหวะที่หัวใจบีบและคลายตัว เพื่อสูบฉีดเลือด 4. การวัดชีพจร เกี่ยวข้องกับระบบหมุนเวียนเลือด 5. การวัดชีพจรมีวัตถุประสงค์เพื่อ รู้อัตราการเต้นของหัวใจในหนึ่งหน่วยนาที 6. เครื่องมือที่ใช้ในการวัดชีพจรเรียกว่า stethoscope 7. คุณหมอวัดชีพจรที่บริเวณข้อมือ โดยมีหลักการคือ วางข้อมือที่ต้องการวัดหงายขึ้น จากนั้นวางนิ้วชี้ กลาง นาง และก้อย บริเวณข้อมือ ส่วนนิ้วหัวแม่มือวางด้านหลัง เพื่อป้องกันความสับสนระหว่างชีพจรของข้อมือ และชีพจรของนิ้วหัวแม่โป้ง 8. เพราะเหตุใดจึงนิยมวัดชีพจรบริเวณเส้นเลือดที่อยู่บริเวณข้อมือด้านหน้า เพราะสามารถรับรู้แรงของการบีบ และขยายตัวของหลอดเลือดได้มากที่สุด 9. การเต้นของชีพจรขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ เช่น อายุ อาการตื่นเต้น กลัว อาหารการออกกาลังกาย และโรค 10. ถ้าอุณหภูมิร่างกายสูงขึ้น 1 องศาฟาเรนไฮต์ การเต้นของหัวใจจะเพิ่มขึ้นประมาณ 10 ครั้ง เฉลยใบงานเรื่องอัตราการเต้นของหัวใจ หน่วยการเรียนรู้การรักษาดุลยภาพ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 แผนที่ 4 เรื่องดนตรีมีผลต่อ การเต้นของหัวใจ
  • 13. 13 1. การวัดชีพจร หมายถึง.............................................................................................................................. 2. เจมส์จับชีพจรบริเวณ...................................................................................................................................... 3. อัตราการเต้นของหัวใจ (เสียงตุ๊บตุ๊บ) หมายถึง................................................................................................ 4. การวัดชีพจร เกี่ยวข้องกับระบบ..................................................................................................................... 5. การวัดชีพจรมีวัตถุประสงค์เพื่อ..................................................................................................................... 6. เครื่องมือที่ใช้ในการวัดชีพจรเรียกว่า ............................................................................................................ 7. คุณหมอวัดชีพจรที่บริเวณข้อมือ โดยมีหลักการคือ ........................................................................................ ................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... 8. เพราะเหตุใดจึงนิยมวัดชีพจรบริเวณเส้นเลือดที่อยู่บริเวณข้อมือด้านหน้า เพราะ....................................... .................................................................................................................................................................... 9. การเต้นของชีพจรขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ เช่น ............................................................................................ 10. ถ้าอุณหภูมิร่างกายสูงขึ้น 1 องศาฟาเรนไฮต์ การเต้นของหัวใจจะเพิ่มขึ้นประมาณ..............................ครั้ง 1. การวัดชีพจร หมายถึง.............................................................................................................................. 2. เจมส์จับชีพจรบริเวณ...................................................................................................................................... 3. อัตราการเต้นของหัวใจ (เสียงตุ๊บตุ๊บ) หมายถึง................................................................................................ 4. การวัดชีพจร เกี่ยวข้องกับระบบ..................................................................................................................... 5. การวัดชีพจรมีวัตถุประสงค์เพื่อ..................................................................................................................... 6. เครื่องมือที่ใช้ในการวัดชีพจรเรียกว่า ............................................................................................................ 7. คุณหมอวัดชีพจรที่บริเวณข้อมือ โดยมีหลักการคือ ........................................................................................ ................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... 8. เพราะเหตุใดจึงนิยมวัดชีพจรบริเวณเส้นเลือดที่อยู่บริเวณข้อมือด้านหน้า เพราะ....................................... .................................................................................................................................................................... 9. การเต้นของชีพจรขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ เช่น ............................................................................................ 10. ถ้าอุณหภูมิร่างกายสูงขึ้น 1 องศาฟาเรนไฮต์ การเต้นของหัวใจจะเพิ่มขึ้นประมาณ..............................ครั้ง ตัดแจกในห้องเรียน