SlideShare a Scribd company logo
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกน
กลาง
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา
และพลศึกษา
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
สำานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
๑๔ กรกฎาคม ๒๕๕๑
สารบัญ
ห
น้
า
คำานำา
ทำาไมต้องเรียนสุขศึกษาและพลศึกษา ๑
เรียนรู้อะไรในสุขศึกษาและพลศึกษา ๑
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ๒
คุณภาพผู้เรียน ๓
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ๖
สาระที่ ๑ การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ ๖
สาระที่ ๒ ชีวิตและครอบครัว ๙
สาระที่ ๓ การเคลื่อนไหว การออกกำาลังกาย การเล่น
เกม กีฬาไทยและกีฬาสากล
๑
๔
สาระที่ ๔ การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการ
ป้องกันโรค
๒
๔
สาระที่ ๕ ความปลอดภัยในชีวิต ๓
๐
อภิธานศัพท์ ๓
๕
คณะผู้จัดทำา ๔
๔
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
ทำาไมต้องเรียนสุขศึกษาและพลศึกษา
สุขภาพ หรือ สุขภาวะ หมายถึง ภาวะของมนุษย์ที่สมบูรณ์
ทั้งทางกาย ทางจิต ทางสังคม และทางปัญญาหรือจิตวิญญาณ
สุขภาพหรือสุขภาวะจึงเป็นเรื่องสำาคัญ เพราะเกี่ยวโยงกับทุกมิติ
ของชีวิต ซึ่งทุกคนควรจะได้เรียนรู้เรื่องสุขภาพ เพื่อจะได้มีความรู้
ความเข้าใจที่ถูกต้อง มีเจตคติ คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม
รวมทั้งมีทักษะปฏิบัติด้านสุขภาพจนเป็นกิจนิสัย อันจะส่งผลให้
สังคมโดยรวมมีคุณภาพ
เรียนรู้อะไรในสุขศึกษาและพลศึกษา
สุขศึกษาและพลศึกษาเป็นการศึกษาด้านสุขภาพที่มีเป้าหมาย
เพื่อการดำารงสุขภาพ การสร้างเสริมสุขภาพและการพัฒนาคุณภาพ
ชีวิตของบุคคล ครอบครัว และชุมชนให้ยั่งยืน
สุขศึกษา มุ่งเน้นให้ผู้เรียนพัฒนาพฤติกรรมด้านความรู้
เจตคติ คุณธรรม ค่านิยม และ การปฏิบัติเกี่ยวกับ
สุขภาพควบคู่ไปด้วยกัน
พลศึกษา มุ่งเน้นให้ผู้เรียนใช้กิจกรรมการเคลื่อนไหว การ
ออกกำาลังกาย การเล่นเกมและกีฬา เป็นเครื่องมือในการพัฒนา
โดยรวมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญา รวม
ทั้งสมรรถภาพเพื่อสุขภาพและกีฬา
สาระที่เป็นกรอบเนื้อหาหรือขอบข่ายองค์ความรู้ของกลุ่มสาระ
การเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาประกอบด้วย
• การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ ผู้เรียนจะ
ได้เรียนรู้เรื่องธรรมชาติของการเจริญเติบโตและพัฒนาการของ
มนุษย์ ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโต ความสัมพันธ์เชื่อมโยงใน
การทำางานของระบบต่างๆของร่างกาย รวมถึงวิธีปฏิบัติตนเพื่อให้
เจริญเติบโตและมีพัฒนาการที่สมวัย
• ชีวิตและครอบครัว ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เรื่องคุณค่าของ
ตนเองและครอบครัว การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย
จิตใจ อารมณ์ความรู้สึกทางเพศ การสร้างและรักษาสัมพันธภาพกับ
ผู้อื่น สุขปฏิบัติทางเพศ และทักษะในการดำาเนินชีวิต
• การเคลื่อนไหว การออกกำาลังกาย การเล่นเกม กีฬา
ไทย และกีฬาสากล ผู้เรียนได้เรียนรู้เรื่องการเคลื่อนไหวในรูป
แบบต่าง ๆ การเข้าร่วมกิจกรรมทางกายและกีฬา ทั้งประเภทบุคคล
และประเภททีมอย่างหลากหลายทั้งไทยและสากล การปฏิบัติตาม
กฎ กติกา ระเบียบ และข้อตกลงในการเข้าร่วมกิจกรรมทางกาย
และกีฬา และความมีนำ้าใจนักกีฬา
• การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพ และการป้องกัน
โรค ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับหลักและวิธีการเลือกบริโภคอาหาร
ผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพ การสร้างเสริมสมรรถภาพเพื่อ
สุขภาพ และการป้องกันโรคทั้งโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ
• ความปลอ ด ภัยใ นชีวิต ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เรื่องการ
ป้องกันตนเองจากพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ ทั้งความเสี่ยงต่อ
สุขภาพ อุบัติเหตุ ความรุนแรง อันตรายจากการใช้ยาและสารเสพ
ติด รวมถึงแนวทางในการสร้างเสริมความปลอดภัยในชีวิต
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ ๑ การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์
มาตรฐาน พ ๑.๑ เข้าใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและ
พัฒนาการของมนุษย์
สาระที่ ๒ ชีวิตและครอบครัว
มาตรฐาน พ ๒.๑ เข้าใจและเห็นคุณค่าตนเอง ครอบครัว เพศ
ศึกษา และมีทักษะในการดำาเนินชีวิต
สาระที่ ๓ การเคลื่อนไหว การออกกำาลังกาย การเล่นเกม
กีฬาไทย และกีฬาสากล
มาตรฐาน พ ๓.๑ เข้าใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรม
ทางกาย การเล่นเกม และกีฬา
มาตรฐาน พ ๓.๒ รักการออกกำาลังกาย การเล่นเกม และการเล่น
กีฬา ปฏิบัติเป็นประจำาอย่างสมำ่าเสมอ มีวินัย เคารพ
สิทธิ กฎ กติกา มีนำ้าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการ
แข่งขัน และชื่นชมในสุนทรียภาพของการกีฬา
สาระที่ ๔ การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการ
ป้องกันโรค
มาตรฐาน พ ๔.๑ เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริมสุข
ภาพ การดำารงสุขภาพ การป้องกันโรคและการสร้าง
เสริมสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ
สาระที่ ๕ ความปลอดภัยในชีวิต
มาตรฐาน พ ๕.๑ ป้องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรม
เสี่ยงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ การใช้ยา สารเสพติด
และความรุนแรง
คุณภาพผู้เรียน
จบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓
• มีความรู้ และเข้าใจในเรื่องการเจริญเติบโตและพัฒนาการ
ของมนุษย์ ปัจจัยที่มีผลต่อ การเจริญเติบโตและพัฒนาการ
วิธีการสร้างสัมพันธภาพในครอบครัวและกลุ่มเพื่อน
• มีสุขนิสัยที่ดีในเรื่องการกิน การพักผ่อนนอนหลับ การ
รักษาความสะอาดอวัยวะทุกส่วนของร่างกาย การเล่นและการออก
กำาลังกาย
• ป้องกันตนเองจากพฤติกรรมที่อาจนำาไปสู่การใช้สารเสพติด
การล่วงละเมิดทางเพศและรู้จักปฏิเสธในเรื่องที่ไม่เหมาะสม
• ควบคุมการเคลื่อนไหวของตนเองได้ตามพัฒนาการใน
แต่ละช่วงอายุ มีทักษะ การเคลื่อนไหวขั้นพื้นฐานและมี
ส่วนร่วมในกิจกรรมทางกาย กิจกรรมสร้างเสริมสมรรถภาพทาง
กายเพื่อสุขภาพ และเกม ได้อย่างสนุกสนาน และปลอดภัย
• มีทักษะในการเลือกบริโภคอาหาร ของเล่น ของใช้ ที่มี
ผลดีต่อสุขภาพ หลีกเลี่ยงและป้องกันตนเองจากอุบัติเหตุได้
• ปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องเหมาะสมเมื่อมีปัญหาทางอารมณ์
และปัญหาสุขภาพ
• ปฏิบัติตนตามกฎ ระเบียบข้อตกลง คำาแนะนำา และขั้น
ตอนต่างๆ และให้ความร่วมมือกับผู้อื่นด้วยความเต็มใจจนงาน
ประสบความสำาเร็จ
• ปฏิบัติตามสิทธิของตนเองและเคารพสิทธิของผู้อื่นในการ
เล่นเป็นกลุ่ม
จบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
• เข้าใจความสัมพันธ์เชื่อมโยงในการทำางานของระบบต่าง ๆ
ของร่างกาย และรู้จักดูแลอวัยวะที่สำาคัญของระบบนั้น ๆ
• เข้าใจธรรมชาติการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ
อารมณ์และสังคม แรงขับทางเพศของชายหญิง เมื่อย่างเข้าสู่วัย
แรกรุ่นและวัยรุ่น สามารถปรับตัวและจัดการได้อย่างเหมาะสม
• เข้าใจและเห็นคุณค่าของการมีชีวิตและครอบครัวที่อบอุ่น
และเป็นสุข
• ภูมิใจและเห็นคุณค่าในเพศของตน ปฏิบัติสุขอนามัยทาง
เพศได้ถูกต้องเหมาะสม
• ป้องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ
และการเกิดโรค อุบัติเหตุ ความรุนแรง สารเสพติดและการล่วง
ละเมิดทางเพศ
• มีทักษะการเคลื่อนไหวพื้นฐานและการควบคุมตนเองในการ
เคลื่อนไหวแบบผสมผสาน
• รู้หลักการเคลื่อนไหวและสามารถเลือกเข้าร่วมกิจกรรมทาง
กาย เกม การละเล่นพื้นเมือง กีฬาไทย กีฬาสากลได้อย่าง
ปลอดภัยและสนุกสนาน มีนำ้าใจนักกีฬา โดยปฏิบัติตามกฎ กติกา
สิทธิ และหน้าที่ของตนเอง จนงานสำาเร็จลุล่วง
• วางแผนและปฏิบัติกิจกรรมทางกาย กิจกรรมสร้างเสริม
สมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพได้ตามความเหมาะสมและความ
ต้องการเป็นประจำา
• จัดการกับอารมณ์ ความเครียด และปัญหาสุขภาพได้
อย่างเหมาะสม
• มีทักษะในการแสวงหาความรู้ ข้อมูลข่าวสารเพื่อใช้สร้าง
เสริมสุขภาพ
จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
• เข้าใจและเห็นความสำาคัญของปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการ
เจริญเติบโตและพัฒนาการที่มีต่อสุขภาพและชีวิตในช่วงวัยต่าง ๆ
• เข้าใจ ยอมรับ และสามารถปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลง
ทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ ความรู้สึกทางเพศ ความเสมอภาค
ทางเพศ สร้างและรักษาสัมพันธภาพกับผู้อื่น และตัดสินใจแก้
ปัญหาชีวิตด้วยวิธีการที่เหมาะสม
• เลือกกินอาหารที่เหมาะสม ได้สัดส่วน ส่งผลดีต่อการเจริญ
เติบโตและพัฒนาการตามวัย
• มีทักษะในการประเมินอิทธิพลของเพศ เพื่อน ครอบครัว
ชุมชนและวัฒนธรรมที่มีต่อเจตคติ ค่านิยมเกี่ยวกับสุขภาพและชีวิต
และสามารถจัดการได้อย่างเหมาะสม
• ป้องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ
และการเกิดโรค อุบัติเหตุ การใช้ยา สารเสพติด และความ
รุนแรง รู้จักสร้างเสริมความปลอดภัยให้แก่ตนเอง ครอบครัว และ
ชุมชน
• เข้าร่วมกิจกรรมทางกาย กิจกรรมกีฬา กิจกรรม
นันทนาการ กิจกรรมสร้างเสริมสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ
โดยนำาหลักการของทักษะกลไกมาใช้ได้อย่างปลอดภัย สนุกสนาน
และปฏิบัติเป็นประจำาสมำ่าเสมอตามความถนัดและความสนใจ
• แสดงความตระหนักในความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรม
สุขภาพ การป้องกันโรค การดำารงสุขภาพ การจัดการกับอารมณ์
และความเครียด การออกกำาลังกายและการเล่นกีฬากับการมีวิถี
ชีวิตที่มีสุขภาพดี
• สำานึกในคุณค่า ศักยภาพและความเป็นตัวของตัวเอง
• ปฏิบัติตามกฎ กติกา หน้าที่ความรับผิดชอบ เคารพสิทธิ
ของตนเองและผู้อื่น ให้ความร่วมมือในการแข่งขันกีฬาและการ
ทำางานเป็นทีมอย่างเป็นระบบ ด้วยความมุ่งมั่นและมีนำ้าใจนักกีฬา
จนประสบความสำาเร็จตามเป้าหมายด้วยความชื่นชม และสนุกสนาน
จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖
• สามารถดูแลสุขภาพ สร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค หลีก
เลี่ยงปัจจัยเสี่ยง และพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ การใช้
ยา สารเสพติด และความรุนแรงได้อย่างมีประสิทธิภาพด้วยการ
วางแผนอย่างเป็นระบบ
• แสดงออกถึงความรัก ความเอื้ออาทร ความเข้าใจใน
อิทธิพลของครอบครัว เพื่อน สังคม และวัฒนธรรมที่มีต่อ
พฤติกรรมทางเพศ การดำาเนินชีวิต และวิถีชีวิตที่มีสุขภาพดี
• ออกกำาลังกาย เล่นกีฬา เข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการ
กิจกรรมสร้างเสริมสมรรถภาพ เพื่อสุขภาพโดยนำาหลักการ
ของทักษะกลไกมาใช้ได้อย่างถูกต้อง สมำ่าเสมอด้วยความชื่นชม
และสนุกสนาน
• แสดงความรับผิดชอบ ให้ความร่วมมือและปฏิบัติตามกฎ
กติกา สิทธิ หลักความปลอดภัยในการเข้าร่วมกิจกรรมทางกาย
และเล่นกีฬาจนประสบความสำาเร็จตามเป้าหมายของตนเองและทีม
• แสดงออกถึงการมีมารยาทในการดู การเล่น และการ
แข่งขัน ด้วยความมีนำ้าใจนักกีฬาและนำาไปปฏิบัติในทุกโอกาสจน
เป็นบุคลิกภาพที่ดี
• วิเคราะห์และประเมินสุขภาพส่วนบุคคลเพื่อกำาหนดกลวิธีลด
ความเสี่ยง สร้างเสริมสุขภาพ ดำารงสุขภาพ การป้องกันโรค และ
การจัดการกับอารมณ์และความเครียดได้ถูกต้องและเหมาะสม
• ใช้กระบวนการทางประชาสังคม สร้างเสริมให้ชุมชนเข้ม
แข็งปลอดภัย และมีวิถีชีวิตที่ดี
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
สาระที่ ๑ การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์
มาตรฐาน พ ๑.๑ เข้าใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและ
พัฒนาการของมนุษย์
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.๑ 1. อธิบายลักษณะและ
หน้าที่ ของอวัยวะ
ภายนอก
 ลักษณะและหน้าที่ของอวัยวะ
ภายนอกที่มีการเจริญเติบโต
และพัฒนาการไปตามวัย
- ตา หู คอ จมูก ผม มือ
เท้า เล็บ ผิวหนัง ฯลฯ
- อวัยวะในช่องปาก (ปาก ลิ้น
ฟัน เหงือก)
2. อธิบายวิธีดูแลรักษา
อวัยวะภายนอก
 การดูแลรักษาอวัยวะ
ภายนอก
- ตา หู คอ จมูก ปาก ลิ้น
ฟัน ผม มือ เท้า เล็บ
ผิวหนัง ฯลฯ
- อวัยวะในช่องปาก (ปาก
ลิ้น ฟัน เหงือก)
ป. ๒ 1. อธิบายลักษณะ และ
หน้าที่ของอวัยวะภายใน
 ลักษณะ และหน้าที่ของ
อวัยวะภายในที่มีการเจริญ
เติบโตและพัฒนาการไปตาม
วัย (สมอง หัวใจ ตับ ไต
ปอด กระเพาะอาหาร ลำาไส้
ฯลฯ)
2. อธิบายวิธีดูแลรักษา
อวัยวะภายใน
 การดูแลรักษาอวัยวะภายใน
- การระมัดระวังการกระแทก
- การออกกำาลังกาย
- การกินอาหาร
3. อธิบายธรรมชาติของ
ชีวิตมนุษย์
 ธรรมชาติของชีวิตมนุษย์
ตั้งแต่เกิดจนตาย
ป.๓ ๑. อธิบายลักษณะและ
การเจริญเติบโตของ
ร่างกายมนุษย์
 ลักษณะการเจริญเติบโตของ
ร่างกายมนุษย์ ที่มีความ
แตกต่างกันในแต่ละบุคคล
- ลักษณะรูปร่าง
- นำ้าหนัก
- ส่วนสูง
๒. เปรียบเทียบการ
เจริญเติบโตของตนเอง
กับเกณฑ์มาตรฐาน
 เกณฑ์มาตรฐานการเจริญ
เติบโต ของเด็กไทย
๓. ระบุปัจจัยที่มีผลต่อ  ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญ
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
การเจริญเติบโต เติบโต
- อาหาร
- การออกกำาลังกาย
- การพักผ่อน
ป. ๔ 1. อธิบายการเจริญ
เติบโตและพัฒนาการ
ของร่างกายและจิตใจ
ตามวัย
 การเจริญเติบโตและ
พัฒนาการของร่างกายและ
จิตใจ ตามวัย (ในช่วงอายุ ๙
– ๑๒ ปี)
2. อธิบายความสำาคัญ
ของกล้ามเนื้อ กระดูก
และข้อที่มีผลต่อสุขภาพ
การเจริญเติบโตและ
พัฒนาการ
 ความสำาคัญของกล้ามเนื้อ
กระดูกและข้อ ที่มีผลต่อ
สุขภาพ การเจริญเติบโตและ
พัฒนาการ
3. อธิบายวิธีดูแลกล้าม
เนื้อ กระดูก และข้อ
ให้ทำางานอย่างมี
ประสิทธิภาพ
 วิธีดูแลรักษากล้ามเนื้อ
กระดูกและข้อให้ทำางานอย่างมี
ประสิทธิภาพ
ป. ๕ ๑. อธิบายความสำาคัญ
ของระบบย่อยอาหาร
และระบบขับถ่ายที่มีผล
ต่อสุขภาพ การเจริญ
เติบโต และพัฒนาการ
 ความสำาคัญของระบบย่อย
อาหารและระบบขับถ่ายที่มีผล
ต่อสุขภาพ การเจริญเติบโต
และพัฒนาการ
๒. อธิบายวิธีดูแลระบบ
ย่อยอาหารและระบบขับ
ถ่ายให้ทำางานตามปกติ
 วิธีดูแลรักษาระบบย่อย
อาหารและระบบขับถ่ายให้
ทำางานตามปกติ
ป.๖ 1. อธิบายความสำาคัญ
ของระบบสืบพันธุ์ ระบบ
ไหลเวียนโลหิตและระบบ
หายใจ ที่มีผลต่อ
สุขภาพ การเจริญ
เติบโตและพัฒนาการ
 ความสำาคัญของระบบ
สืบพันธุ์ ระบบไหลเวียนโลหิต
และระบบหายใจที่มีผลต่อ
สุขภาพ การเจริญเติบโตและ
พัฒนาการ
2. อธิบายวิธีการดูแล
รักษาระบบสืบพันธุ์
ระบบไหลเวียนโลหิต
 วิธีดูแลรักษาระบบสืบพันธุ์
ระบบไหลเวียนโลหิต และ
ระบบหายใจให้ทำางานตาม
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
และระบบหายใจให้
ทำางานตามปกติ
ปกติ
ม.๑ 1. อธิบายความสำาคัญ
ของระบบประสาท และ
ระบบต่อมไร้ท่อที่มีผลต่อ
สุขภาพ การเจริญ
เติบโต และพัฒนาการ
ของวัยรุ่น
 ความสำาคัญของระบบ
ประสาท และระบบต่อมไร้ท่อ
ที่มีผลต่อสุขภาพ การเจริญ
เติบโต และพัฒนาการของวัย
รุ่น
2. อธิบายวิธีดูแลรักษา
ระบบประสาท และระบบ
ต่อมไร้ท่อให้ทำางานตาม
ปกติ
 วิธีดูแลรักษาระบบประสาท
และระบบต่อมไร้ท่อ ให้ทำางาน
ตามปกติ
๓. วิเคราะห์ภาวะการ
เจริญเติบโตทางร่างกาย
ของตนเองกับเกณฑ์
มาตรฐาน
 การวิเคราะห์ภาวะการเจริญ
เติบโต
ตามเกณฑ์มาตรฐานและปัจจัย
ที่เกี่ยวข้อง
๔. แสวงหาแนวทางใน
การพัฒนาตนเองให้
เจริญเติบโตสมวัย
 แนวทางในการพัฒนา
ตนเองให้เจริญเติบโตสมวัย
ม. ๒ 1. อธิบายการ
เปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย
จิตใจ อารมณ์ สังคม
และสติปัญญาในวัยรุ่น
 การเปลี่ยนแปลงด้าน
ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม
และสติปัญญาในวัยรุ่น
2. ระบุปัจจัยที่มีผลก
ระทบต่อการเจริญเติบโต
และพัฒนาการด้าน
ร่างกาย จิตใจ อารมณ์
สังคม และสติปัญญา ใน
วัยรุ่น
 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการ
เจริญเติบโตและพัฒนาการ
ด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์
สังคม และสติปัญญา
- พันธุกรรม
- สิ่งแวดล้อม
- การอบรมเลี้ยงดู
ม. ๓ 1. เปรียบเทียบการ
เปลี่ยนแปลงทางด้าน
ร่างกาย จิตใจ อารมณ์
 การเปลี่ยนแปลง ด้าน
ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม
และสติปัญญาในแต่ละวัย
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
สังคม และสติปัญญา
แต่ละช่วง ของชีวิต
- วัยทารก
- วัยก่อนเรียน
- วัยเรียน
- วัยรุ่น
- วัยผู้ใหญ่
- วัยสูงอายุ
2. วิเคราะห์อิทธิพลและ
ความคาดหวังของสังคม
ต่อการเปลี่ยนแปลงของ
วัยรุ่น
 อิทธิพลและความคาดหวัง
ของสังคมที่มีต่อการ
เปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น
3. วิเคราะห์ สื่อ
โฆษณา ที่มีอิทธิพลต่อ
การเจริญเติบโตและ
พัฒนาการของวัยรุ่น
 สื่อ โฆษณา ที่มีอิทธิพลต่อ
การเจริญเติบโตและพัฒนาการ
ของวัยรุ่น
- โทรทัศน์ - วิทยุ
- สื่อสิ่งพิมพ์ -
อินเทอร์เน็ต
ม.๔–
ม.๖
1. อธิบายกระบวนการ
สร้างเสริมและดำารง
ประสิทธิภาพการทำางาน
ของระบบอวัยวะต่าง ๆ
 กระบวนการสร้างเสริมและ
ดำารงประสิทธิภาพการทำางาน
ของระบบอวัยวะ
ต่าง ๆ
- การทำางานของระบบอวัยวะ
ต่างๆ
- การสร้างเสริมและดำารง
ประสิทธิภาพของอวัยวะต่างๆ
(อาหาร การออกกำาลังกาย
นันทนาการ การตรวจสุขภาพ
ฯลฯ)
2. วางแผนดูแลสุขภาพ
ตามภาวะการเจริญ
เติบโตและพัฒนาการ
ของตนเองและบุคคลใน
ครอบครัว
 การวางแผนดูแลสุขภาพ
ของตนเองและบุคคลใน
ครอบครัว
สาระที่ ๒ ชีวิตและครอบครัว
มาตรฐาน พ ๒.๑ เข้าใจและเห็นคุณค่าตนเอง ครอบครัว เพศ
ศึกษา และมีทักษะในการดำาเนินชีวิต
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป. ๑ 1. ระบุสมาชิกใน
ครอบครัวและความรัก
ความผูกพันของสมาชิก
ที่มีต่อกัน
 สมาชิกในครอบครัว
 ความรักความผูกพันของ
สมาชิกในครอบครัว
2. บอกสิ่งที่ชื่นชอบ และ
ภาคภูมิใจในตนเอง
 สิ่งที่ชื่นชอบและความภาค
ภูมิใจ
ในตนเอง (จุดเด่น จุดด้อยของ
ตนเอง)
3. บอกลักษณะความ
แตกต่างระหว่างเพศชาย
และเพศหญิง
 ลักษณะความแตกต่างของ
เพศชาย เพศหญิง
- ร่างกาย
- อารมณ์
- ลักษณะนิสัย
ป. ๒ 1. ระบุบทบาทหน้าที่
ของตนเอง และสมาชิก
ในครอบครัว
 บทบาทหน้าที่ของสมาชิกใน
ครอบครัว
- ตนเอง
- พ่อ แม่
- พี่น้อง
- ญาติ
2. บอกความสำาคัญของ
เพื่อน
 ความสำาคัญของเพื่อน (เช่น
พูดคุย ปรึกษา เล่น ฯลฯ)
3. ระบุพฤติกรรมที่
เหมาะสมกับเพศ
 พฤติกรรมที่เหมาะสมกับเพศ
- ความเป็นสุภาพบุรุษ
- ความเป็นสุภาพสตรี
4. อธิบายความภาค
ภูมิใจในความเป็นเพศ
หญิง หรือเพศชาย
 ความภาคภูมิใจในเพศหญิง
หรือเพศชาย
ป. ๓ 1. อธิบายความสำาคัญ
และความแตกต่างของ
ครอบครัวที่มีต่อตนเอง
 ความสำาคัญของครอบครัว
ความแตกต่างของแต่ละ
ครอบครัว
- เศรษฐกิจ
- สังคม
- การศึกษา
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
2. อธิบายวิธีสร้าง
สัมพันธภาพในครอบครัว
และกลุ่มเพื่อน
 วิธีการสร้างสัมพันธภาพใน
ครอบครัวและกลุ่มเพื่อน
3. บอกวิธีหลีกเลี่ยง
พฤติกรรมที่นำาไปสู่การ
ล่วงละเมิดทางเพศ
 พฤติกรรมที่นำาไปสู่การล่วง
ละเมิดทางเพศ (การแต่งกาย
การเที่ยวกลางคืน การคบ
เพื่อน การเสพสารเสพติด
ฯลฯ)
 วิธีหลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่
นำาไปสู่การล่วงละเมิดทางเพศ
(ทักษะปฏิเสธและอื่น ๆ )
ป. ๔ 1. อธิบายคุณลักษณะ
ของความเป็นเพื่อนและ
สมาชิกที่ดีของครอบครัว
 คุณลักษณะของความเป็น
เพื่อนและสมาชิกที่ดีของ
ครอบครัว
2. แสดงพฤติกรรมที่
เหมาะสมกับเพศของตน
ตามวัฒนธรรมไทย
 พฤติกรรมที่เหมาะสมกับเพศ
ของตนตามวัฒนธรรมไทย
3. ยกตัวอย่างวิธีการ
ปฏิเสธการกระทำาที่เป็น
อันตรายและไม่เหมาะ
สมในเรื่องเพศ
 วิธีการปฏิเสธการกระทำาที่
เป็นอันตรายและไม่เหมาะ
สมในเรื่องเพศ
ป. ๕ 1. อธิบายการ
เปลี่ยนแปลงทางเพศ
และปฏิบัติตนได้เหมาะ
สม
 การเปลี่ยนแปลงทางเพศ
การดูแลตนเอง
 การวางตัวที่เหมาะสมกับ
เพศตามวัฒนธรรมไทย
2. อธิบายความสำาคัญ
ของการมีครอบครัวที่
อบอุ่นตามวัฒนธรรมไทย
 ลักษณะของครอบครัวที่
อบอุ่นตามวัฒนธรรมไทย
(ครอบครัวขยาย การนับถือ
ญาติ)
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
3. ระบุพฤติกรรมที่พึง
ประสงค์ และไม่พึง
ประสงค์ในการแก้ไข
ปัญหาความขัดแย้งใน
ครอบครัวและกลุ่มเพื่อน
 พฤติกรรมที่พึงประสงค์และ
ไม่พึงประสงค์
ในการแก้ไขปัญหาความขัด
แย้งในครอบครัว
ป. ๖ 1. อธิบายความสำาคัญ
ของการสร้างและรักษา
สัมพันธภาพกับผู้อื่น
 ความสำาคัญของการสร้าง
และรักษาสัมพันธภาพกับผู้อื่น
 ปัจจัยที่ช่วยให้การทำางาน
กลุ่มประสบความสำาเร็จ
- ความสามารถส่วนบุคคล
- บทบาทหน้าที่ของสมาชิกใน
กลุ่ม
- การยอมรับความคิดเห็น
และความแตกต่างระหว่าง
บุคคล
- ความรับผิดชอบ
2. วิเคราะห์พฤติกรรม
เสี่ยงที่อาจนำาไปสู่การมี
เพศสัมพันธ์ การติดเชื้อ
เอดส์ และการตั้งครรภ์
ก่อนวัยอันควร
 พฤติกรรมเสี่ยงที่นำาไปสู่การ
มีเพศสัมพันธ์ การติดเชื้อเอดส์
และการตั้งครรภ์ก่อนวัย
อันควร
ม. ๑ 1. อธิบายวิธีการปรับตัว
ต่อการเปลี่ยนแปลงทาง
ร่างกายจิตใจ อารมณ์
และพัฒนาการทางเพศ
อย่างเหมาะสม
 การเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย
จิตใจ อารมณ์ และ
พัฒนาการทางเพศ
- ลักษณะการเปลี่ยนแปลงทาง
ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และ
พัฒนาการทางเพศ
- การยอมรับและการปรับตัว
ต่อการเปลี่ยนแปลงทาง
ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และ
พัฒนาการทางเพศ
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
- การเบี่ยงเบนทางเพศ
2. แสดงทักษะการ
ปฏิเสธเพื่อป้องกันตนเอง
จากการถูกล่วงละเมิด
ทางเพศ
 ทักษะปฏิเสธเพื่อป้องกันการ
ถูกล่วงละเมิดทางเพศ
ม. ๒ 1. วิเคราะห์ปัจจัยที่มี
อิทธิพลต่อ เจตคติใน
เรื่องเพศ
 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อเจตคติ
ในเรื่องเพศ
- ครอบครัว -
วัฒนธรรม
- เพื่อน - สื่อ
2. วิเคราะห์ปัญหาและ
ผลกระทบที่เกิดจากการมี
เพศสัมพันธ์ในวัยเรียน
 ปัญหาและผลกระทบที่เกิด
จากการมีเพศสัมพันธ์ในวัย
เรียน
3. อธิบายวิธีป้องกัน
ตนเองและหลีกเลี่ยงจาก
โรคติดต่อทางเพศ
สัมพันธ์ เอดส์ และการ
ตั้งครรภ์โดยไม่พึง
ประสงค์
 โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
 โรคเอดส์
 การตั้งครรภ์โดยไม่พึง
ประสงค์
4. อธิบายความสำาคัญ
ของความเสมอภาคทาง
เพศ และวางตัวได้อย่าง
เหมาะสม
 ความสำาคัญของความเสมอ
ภาคทางเพศ
 การวางตัวต่อเพศตรงข้าม
 ปัญหาทางเพศ
 แนวทางการแก้ไขปัญหา
ทางเพศ
ม.๓ 1. อธิบายอนามัยแม่และ
เด็ก การวางแผน
ครอบครัว และวิธีการ
ปฏิบัติตนที่เหมาะสม
 องค์ประกอบของอนามัย
เจริญพันธุ์
- อนามัยแม่และเด็ก
- การวางแผนครอบครัว
2. วิเคราะห์ปัจจัยที่มี
ผลกระทบต่อการตั้ง
 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการ
ตั้งครรภ์
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ครรภ์ - แอลกอฮอล์
- สารเสพติด
- บุหรี่
- สภาพแวดล้อม
- การติดเชื้อ
- โรคที่เกิดจากภาวะการตั้ง
ครรภ์
3. วิเคราะห์สาเหตุ และ
เสนอแนวทางป้องกัน
แก้ไขความขัดแย้งใน
ครอบครัว
 สาเหตุความขัดแย้งใน
ครอบครัว
 แนวทางป้องกัน แก้ไข
ความขัดแย้งในครอบครัว
ม.๔–
ม.๖
1. วิเคราะห์อิทธิพลของ
ครอบครัว เพื่อน สังคม
และวัฒนธรรมที่มีผลต่อ
พฤติกรรมทางเพศและ
การดำาเนินชีวิต
 อิทธิพลของครอบครัว
เพื่อน สังคม และวัฒนธรรมที่มี
ต่อพฤติกรรมทางเพศ และการ
ดำาเนินชีวิต
2. วิเคราะห์ค่านิยมใน
เรื่องเพศ ตามวัฒนธรรม
ไทยและวัฒนธรรม อื่น ๆ
 ค่านิยมในเรื่องเพศตาม
วัฒนธรรมไทย และวัฒนธรรม
อื่น ๆ
3. เลือกใช้ทักษะที่
เหมาะสมในการป้องกัน
ลดความขัดแย้งและแก้
ปัญหาเรื่องเพศและ
ครอบครัว
 แนวทางในการเลือกใช้
ทักษะต่าง ๆ ในการป้องกัน
ลดความขัดแย้ง และแก้ปัญหา
เรื่องเพศ และครอบครัว
- ทักษะการสื่อสารและสร้าง
สัมพันธภาพ
- ทักษะการต่อรอง
- ทักษะการปฏิเสธ
- ทักษะการคิดวิเคราะห์
- ทักษะการตัดสินใจ และ
แก้ไขปัญหา
ฯลฯ
4. วิเคราะห์สาเหตุและ
ผลของความขัดแย้งที่
 ความขัดแย้งที่อาจเกิดขึ้น
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
อาจเกิดขึ้นระหว่าง
นักเรียน หรือเยาวชน
ในชุมชน และเสนอ
แนวทางแก้ไขปัญหา
ระหว่างนักเรียนหรือเยาวชน
ในชุมชน
- สาเหตุของความขัดแย้ง
- ผลกระทบที่เกิดจากความขัด
แย้งระหว่างนักเรียน หรือ
เยาวชนในชุมชน
- แนวทางในการแก้ปัญหาที่
อาจเกิดจากความขัดแย้งของ
นักเรียนหรือเยาวชนในชุมชน
สาระที่ ๓ การเคลื่อนไหว การออกกำาลังกาย การเล่น
เกม กีฬาไทย และกีฬาสากล
มาตรฐาน พ ๓.๑ เข้าใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทาง
กาย การเล่นเกม และกีฬา
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.๑ 1. เคลื่อนไหวร่างกาย
ขณะอยู่กับที่ เคลื่อนที่
และใช้อุปกรณ์ประกอบ
 ธรรมชาติของการ
เคลื่อนไหวร่างกายในชีวิต
ประจำาวัน
- แบบอยู่กับที่ เช่น นั่ง ยืน
ก้มเงย เอียง ซ้าย ขวา
เคลื่อนไหวข้อมือ ข้อเท้า
แขน ขา
- แบบเคลื่อนที่ เช่น เดิน วิ่ง
กระโดด กลิ้งตัว
- แบบใช้อุปกรณ์ประกอบ
เช่น จับ โยน เตะ เคาะ
2. เล่นเกมเบ็ดเตล็ดและ
เข้าร่วมกิจกรรมทางกาย
ที่ใช้การเคลื่อนไหวตาม
ธรรมชาติ
 กิจกรรมทางกายที่ใช้ในการ
เคลื่อนไหวตามธรรมชาติ
- การเล่นเกมเบ็ดเตล็ด
ป. ๒ 1. ควบคุมการ
เคลื่อนไหวร่างกาย
ขณะอยู่กับที่ เคลื่อนที่
และใช้อุปกรณ์ประกอบ
 ลักษณะและวิธีการของ
การเคลื่อนไหวร่างกาย แบบ
อยู่กับที่ เช่น กระโดด บิดตัว
ดึง ผลัก แบบเคลื่อนที่ เช่น
กระโดดเขย่ง ก้าวชิดก้าว วิ่ง
ตามทิศทางที่กำาหนด และแบบ
ใช้อุปกรณ์ประกอบ เช่น คีบ
ขว้าง ตี
2. เล่มเกมเบ็ดเตล็ดและ
เข้าร่วมกิจกรรมทางกาย
ที่วิธีเล่น อาศัยการ
เคลื่อนไหวเบื้องต้นทั้ง
แบบอยู่กับที่ เคลื่อนที่
และใช้อุปกรณ์ประกอบ
 การเล่นเกมเบ็ดเตล็ด และ
เข้าร่วมกิจกรรมทางกายที่วิธี
เล่นอาศัยการเคลื่อนไหวเบื้อง
ต้นทั้งแบบอยู่กับที่ เคลื่อนที่
และใช้อุปกรณ์ประกอบ
ป. ๓ 1. ควบคุมการ  การเคลื่อนไหวร่างกาย
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
เคลื่อนไหวร่างกาย
ขณะอยู่กับที่ เคลื่อนที่
และใช้อุปกรณ์ประกอบ
อย่างมีทิศทาง
แบบอยู่กับที่
เช่น ย่อยืด เขย่ง พับตัว
เคลื่อนไหวลำาตัว การ
เคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่ เช่น
เดินต่อเท้า เดินถอย-หลัง
กระโจน และแบบใช้อุปกรณ์
ประกอบโดยมีการบังคับ
ทิศทาง เช่น ดีด ขว้าง โยน
และรับ
 วิธีการควบคุมการ
เคลื่อนไหวร่างกายแบบต่างๆ
อย่างมีทิศทาง
2. เคลื่อนไหวร่างกายที่
ใช้ทักษะการเคลื่อนไหว
แบบบังคับทิศทาง ใน
การเล่นเกมเบ็ดเตล็ด
 กิจกรรมทางกายที่ใช้
ทักษะการเคลื่อนไหวแบบ
บังคับทิศทาง ในการเล่นเกม
เบ็ดเตล็ด
ป. ๔ 1. ควบคุมตนเองเมื่อใช้
ทักษะ การ
เคลื่อนไหวในลักษณะ
ผสมผสานได้ทั้งแบบอยู่
กับที่ เคลื่อนที่ และใช้
อุปกรณ์ประกอบ
 การเคลื่อนไหวร่างกาย
แบบผสมผสานทั้งแบบอยู่กับที่
เช่น กระโดดหมุนตัว กระโดด-
เหยียดตัว แบบเคลื่อนที่ เช่น
ซิกแซ็ก วิ่งเปลี่ยนทิศทาง
ควบม้า และแบบใช้อุปกรณ์
ประกอบ เช่น บอล เชือก
2. ฝึกกายบริหารท่ามือ
เปล่าประกอบจังหวะ
 กายบริหารท่ามือเปล่าประกอบ
จังหวะ
3. เล่นเกมเลียนแบบและ
กิจกรรมแบบผลัด
 เกมเลียนแบบและกิจกรรม
แบบผลัด
๔. เล่นกีฬาพื้นฐานได้
อย่างน้อย ๑
ชนิด
 กีฬาพื้นฐาน เช่น แชร์บอล
แฮนด์บอล ห่วงข้าม
ตาข่าย
ป. ๕ 1. จัดรูปแบบการ
เคลื่อนไหว แบบ
ผสมผสาน และควบคุม
ตนเองเมื่อใช้ทักษะการ
 การจัดรูปแบบการ
เคลื่อนไหวร่างกาย แบบผสม
ผสาน และการปฏิบัติกิจกรรม
ทางกายทั้งแบบอยู่กับที่
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
เคลื่อนไหว ตาม
แบบที่กำาหนด
เคลื่อนที่ และใช้อุปกรณ์
ประกอบตามแบบที่กำาหนด เช่น
การฝึกกายบริหาร ยืดหยุ่นขั้น
พื้นฐาน เป็นต้น
2. เล่มเกมนำาไปสู่กีฬาที่
เลือกและกิจกรรมการ
เคลื่อนไหวแบบผลัด
 เกมนำาไปสู่กีฬาและกิจกรรม
แบบผลัดที่มีการตี เขี่ย รับ –
ส่งสิ่งของ ขว้าง และวิ่ง
3. ควบคุมการ
เคลื่อนไหวในเรื่องการ
รับแรง การใช้แรงและ
ความสมดุล
 การเคลื่อนไหวในเรื่องการรับ
แรง การใช้แรงและความสมดุล
4. แสดงทักษะกลไกใน
การปฏิบัติกิจกรรมทาง
กายและเล่นกีฬา
 ทักษะกลไกที่ส่งผลต่อการ
ปฏิบัติกิจกรรมทางกายและเล่น
กีฬา
5. เล่นกีฬาไทย และ
กีฬาสากลประเภทบุคคล
และประเภททีมได้อย่าง
ละ ๑ ชนิด
 การเล่นกีฬาไทย เช่น
ตะกร้อวง วิ่งชักธง และกีฬา
สากล เช่น กรีฑาประเภทลู่
แบดมินตัน เปตอง ฟุตบอล
เทเบิลเทนนิส ว่ายนำ้า
6. อธิบายหลักการ และ
เข้าร่วมกิจกรรม
นันทนาการ อย่างน้อย
๑ กิจกรรม
 หลักการและกิจกรรม
นันทนาการ
ป. ๖ 1. แสดงทักษะการ
เคลื่อนไหวร่วมกับผู้อื่น
ในลักษณะแบบผลัดและ
แบบผสมผสานได้ตาม
ลำาดับทั้งแบบอยู่กับที่
เคลื่อนที่ และใช้อุปกรณ์
ประกอบ และการ
เคลื่อนไหวประกอบเพลง
 การเคลื่อนไหวร่วมกับผู้อื่น
แบบผลัดในลักษณะผสมผสาน
ในการร่วมกิจกรรมทางกาย
เช่น กิจกรรมแบบผลัด กาย
บริหารประกอบเพลง ยืดหยุ่น
ขั้นพื้นฐานที่ใช้ท่าต่อเนื่อง และ
การต่อตัวท่าง่าย ๆ
2. จำาแนกหลักการ
เคลื่อนไหวในเรื่องการรับ
 การเคลื่อนไหวในเรื่องการ
รับแรง การใช้แรง และความ
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
แรง การใช้แรง และ
ความสมดุลในการ
เคลื่อนไหวร่างกายใน
การเล่นเกม เล่นกีฬา
และนำาผลมาปรับปรุง
เพิ่มพูนวิธีปฏิบัติของตนและ
ผููู้อื่น
สมดุลกับการพัฒนาทักษะการ
เคลื่อนไหว ในการเล่นเกมและ
กีฬา
3. เล่นกีฬาไทย กีฬา
สากลประเภทบุคคลและ
ประเภททีมได้อย่างละ ๑
ชนิด
 การเล่นกีฬาไทย กีฬา
สากล ประเภทบุคคลและ
ประเภททีม เช่น กรีฑาประเภท
ลู่ และลาน เปตอง ว่าย
นำ้า เทเบิลเทนนิส วอลเลย์บอล
ฟุตบอล ตะกร้อวง
4. ใช้ทักษะกลไก เพื่อ
ปรับปรุงเพิ่มพูนความ
สามารถของตนและผู้อื่น
ในการเล่นกีฬา
 การใช้ข้อมูลด้านทักษะ
กลไกเพื่อปรับปรุงและเพิ่มพูน
ความสามารถในการปฏิบัติ
กิจกรรมทางกาย และเล่นกีฬา
๕. ร่วมกิจกรรม
นันทนาการอย่างน้อย ๑
กิจกรรม แล้วนำาความรู้
และหลักการที่ได้ไปใช้
เป็นฐานการศึกษา
หาความรู้เรื่องอื่น ๆ
 การนำาความรู้และหลักการ
ของกิจกรรมนันทนาการไปใช้
เป็นฐานการศึกษาหาความรู้
ม. ๑ 1. เพิ่มพูนความสามารถ
ของตน ตามหลักการ
เคลื่อนไหวที่ใช้ทักษะ
กลไกและทักษะพื้นฐานที่
นำาไปสู่การพัฒนาทักษะ
การเล่นกีฬา
 หลักการเพิ่มพูนความ
สามารถในการเคลื่อนไหวที่ใช้
ทักษะกลไกและทักษะพื้นฐานที่
นำาไปสู่การพัฒนาทักษะการเล่น
กีฬา
2. เล่นกีฬาไทยและกีฬา
สากลประเภทบุคคลและ
ทีมโดยใช้ทักษะพื้นฐาน
 การเล่นกีฬาไทย และกีฬา
สากลที่เลือก เช่น กรีฑา
ประเภทลู่และลาน บาสเกตบอล
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตามชนิดกีฬา อย่างละ
๑ ชนิด
กระบี่ เทเบิลเทนนิส เทนนิส
ว่ายนำ้า
3. ร่วมกิจกรรม
นันทนาการอย่างน้อย ๑
กิจกรรมและนำาหลัก
ความรู้ที่ได้ไปเชื่อมโยง
สัมพันธ์กับวิชาอื่น
 การนำาความรู้และหลักการ
ของกิจกรรมนันทนาการไปใช้
เชื่อมโยงสัมพันธ์กับวิชาอื่น
ม. ๒ 1. นำาผลการปฏิบัติตน
เกี่ยวกับทักษะกลไกและ
ทักษะการเคลื่อนไหวใน
การเล่นกีฬาจากแหล่ง
ข้อมูลที่หลากหลายมา
สรุปเป็นวิธีที่เหมาะสมใน
บริบทของตนเอง
 การนำาผลการปฏิบัติตนเกี่ยว
กับทักษะกลไกและทักษะการ
เคลื่อนไหวในการเล่นกีฬาจาก
แหล่งข้อมูลที่หลากหลายมาสรุป
เป็นวิธีที่เหมาะสมในบริบทของ
ตนเองในการเล่นกีฬา
2. เล่นกีฬาไทยและกีฬา
สากล ทั้ง
ประเภทบุคคลและทีมได้
อย่างละ ๑ ชนิด
 การเล่นกีฬาไทย กีฬา
สากลตามชนิดกีฬาที่เลือก เช่น
กรีฑาประเภทลู่และลาน
บาสเกตบอล กระบี่ เทนนิส
ตระกร้อลอดบ่วง ฟุตซอล
ว่ายนำ้า เทควันโด
3. เปรียบเทียบ
ประสิทธิภาพของรูปแบบ
การเคลื่อนไหวที่ส่งผล
ต่อการเล่นกีฬาและ
กิจกรรมในชีวิตประจำา
วัน
 ประสิทธิภาพของรูปแบบ
การเคลื่อนไหวที่ส่งผลต่อการ
เล่นกีฬาและกิจกรรมในชีวิต
ประจำาวัน
4. ร่วมกิจกรรม
นันทนาการอย่างน้อย ๑
กิจกรรม และนำาความรู้
และหลักการที่ได้ไปปรับ
ใช้ในชีวิตประจำาวัน
 การนำาประสบการณ์จาก
การร่วมกิจกรรมนันทนาการไป
ปรับใช้ในชีวิตประจำาวัน
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
อย่างเป็นระบบ
ม. ๓ ๑. เล่นกีฬาไทยและ
กีฬาสากล ได้
อย่างละ ๑ ชนิดโดยใช้
เทคนิค ที่เหมาะ
สมกับตนเองและทีม
 เทคนิคและวิธีการเล่น กีฬา
ไทยและกีฬาสากลที่เลือก เช่น
กรีฑาประเภทลู่และลาน
วอลเลย์บอล บาสเกตบอล
ดาบสองมือ เทนนิส ตะกร้อข้าม
ตาข่าย ฟุตบอล
๒. นำาหลักการ ความรู้
และทักษะ ในการ
เคลื่อนไหว กิจกรรมทาง
กาย การเล่นกม และ
การเล่นกีฬาไปใช้
สร้างเสริมสุขภาพอย่าง
ต่อเนื่อง เป็นระบบ
 การนำาหลักการ ความรู้
ทักษะในการเคลื่อนไหว
กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม
การเล่นกีฬาไปใช้เป็นระบบ
สร้างเสริมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง
๓. ร่วมกิจกรรม
นันทนาการอย่างน้อย ๑
กิจกรรมและนำาหลัก
ความรู้วิธีการไปขยายผล
การเรียนรู้ให้กับผู้อื่น
 การจัดกิจกรรมนันทนาการ
แก่ผู้อื่น
ม.๔–
ม.๖
1. วิเคราะห์ความคิดรวบ
ยอดเกี่ยวกับการ
เคลื่อนไหวรูปแบบต่างๆ
ในการเล่นกีฬา
 ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับ
การเคลื่อนไหวรูปแบบต่าง ๆ
ในการเล่นกีฬา
 การวิเคราะห์ความคิดรวบ
ยอดเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวรูป
แบบต่างๆ ในการเล่นกีฬา
2. ใช้ความสามารถของ
ตน เพื่อเพิ่ม
ศักยภาพของทีม คำานึง
ถึงผล ที่เกิดต่อผู้
อื่นและสังคม
 การใช้ความสามารถของ
ตนในการเล่นกีฬา เพื่อเพิ่ม
ศักยภาพของทีม โดยคำานึงถึง
ผลที่เกิดต่อผู้อื่นและสังคม
3. เล่นกีฬาไทย กีฬา
สากลประเภทบุคคล / คู่
กีฬาประเภททีมได้อย่าง
น้อย ๑ ชนิด
 กีฬาประเภทบุคคล / คู่
ประเภททีม เช่น ฟุตซอล
รักบี้ฟุตบอล ยิมนาสติก
ลีลาศ ซอฟท์บอล
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
เทนนิส เซปักตะกร้อ
มวยไทย กระบี่กระบอง
พลอง ง้าว
๔. แสดงการเคลื่อนไหว
ได้อย่างสร้างสรรค์
 การเคลื่อนไหวที่
สร้างสรรค์ เช่น กิจกรรมเข้า
จังหวะ เชียร์ลีดเดอร์
๕. เข้าร่วมกิจกรรม
นันทนาการนอกโรงเรียน
และนำาหลักการแนวคิด
ไปปรับปรุงและพัฒนา
คุณภาพชีวิตของตนและ
สังคม
 การนำาหลักการและ
แนวคิดของกิจกรรม
นันทนาการไปปรับปรุงและ
พัฒนาคุณภาพชีวิตของตน
และสังคม
สาระที่ ๓ การเคลื่อนไหว การออกกำาลังกาย การเล่น
เกม กีฬาไทย และกีฬาสากล
มาตรฐาน พ ๓.๒ รักการออกกำาลังกาย การเล่นเกม และการเล่น
กีฬา ปฏิบัติเป็นประจำาอย่างสมำ่าเสมอ
มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีนำ้าใจนักกีฬา มีจิต
วิญญาณในการแข่งขัน และชื่นชม ในสุนทรียภาพของ
การกีฬา
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.๑ 1. ออกกำาลังกาย และ  การออกกำาลังกาย และการ
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
เล่นเกม ตามคำาแนะนำา
อย่างสนุกสนาน
เล่นเกมเบ็ดเตล็ด
2. ปฏิบัติตนตามกฎ
กติกา ข้อตกลงในการ
เล่นเกมตามคำาแนะนำา
 กฎ กติกา ข้อตกลงใน
การเล่นเกมเบ็ดเตล็ด
ป.๒ 1. ออกกำาลังกาย และ
เล่นเกม ได้ด้วยตนเอง
อย่างสนุกสนาน
 การออกกำาลังกาย และเล่น
เกมเบ็ดเตล็ด
 ประโยชน์ของการออก
กำาลังกายและการเล่นเกม
2. ปฏิบัติตามกฎ กติกา
และข้อตกลงในการเล่น
เกมเป็นกลุ่ม
 กฎ กติกา ข้อตกลงในการ
เล่นเกมเป็นกลุ่ม
ป. ๓ 1. เลือกออกกำาลังกาย
การละเล่นพื้นเมือง และ
เล่นเกม ที่เหมาะสม
กับจุดเด่น จุดด้อย และ
ข้อจำากัดของตนเอง
 แนวทางการเลือกออก
กำาลังกาย การละเล่นพื้นเมือง
และเล่นเกมที่เหมาะสมกับจุด
เด่น จุดด้อยและข้อจำากัด
ของแต่ละบุคคล
2. ปฏิบัติตามกฎ กติกา
และข้อตกลงของการ
ออกกำาลังกาย การเล่น
เกม การละเล่นพื้นเมือง
ได้ด้วยตนเอง
 การออกกำาลังกาย เกม
และการละเล่นพื้นเมือง
 กฎ กติกาและข้อตกลงใน
การออกกำาลังกาย การเล่น
เกม และการละเล่นพื้นเมือง
ป. ๔ 1. ออกกำาลังกาย เล่น
เกม และกีฬาที่ตนเอง
ชอบและมีความสามารถ
ในการวิเคราะห์
ผลพัฒนาการของตนเอง
ตามตัวอย่างและแบบ
ปฏิบัติของผู้อื่น
 การออกกำาลังกาย เล่น
เกม ตามความชอบของตนเอง
และเล่นกีฬาพื้นฐานร่วมกับผู้
อื่น
 การวิเคราะห์ผลพัฒนาการ
ของตนเองในการออกกำาลัง
กาย เล่นเกมและเล่นกีฬา
ตามตัวอย่างและแบบปฏิบัติ
ของผู้อื่น
 คุณค่าของการออกกำาลัง
กาย เล่นเกม และเล่นกีฬา
ที่มีต่อสุขภาพ
2. ปฏิบัติตามกฎ กติกา
การเล่นกีฬาพื้นฐาน
- การปฏิบัติตามกฎ กติกา
การเล่นกีฬาพื้นฐาน ตามชนิด
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตามชนิดกีฬาที่เล่น กีฬาที่เล่น
ป. ๕ 1. ออกกำาลังกายอย่างมี
รูปแบบ เล่นเกมที่ใช้
ทักษะการคิดและตัดสิน
ใจ
 หลักการและรูปแบบการ
ออกกำาลังกาย
 การออกกำาลังกาย และ
การเล่นเกม เช่น เกมเบ็ดเตล็ด
เกมเลียนแบบ เกมนำา และ
การละเล่นพื้นเมือง
2. เล่นกีฬาที่ตนเองชอบ
อย่างสมำ่าเสมอ โดย
สร้างทางเลือกในวิธี
ปฏิบัติของตนเองอย่าง
หลากหลาย และมีนำ้าใจ
นักกีฬา
 การเล่นกีฬาไทย และกีฬา
สากลประเภทบุคคลและทีมที่
เหมาะสมกับวัยอย่างสมำ่าเสมอ
 การสร้างทางเลือกในวิธี
ปฏิบัติในการเล่นกีฬาอย่าง
หลากหลาย และมีนำ้าใจ
นักกีฬา
3. ปฏิบัติตามกฎกติกา
การเล่นเกม กีฬาไทย
และกีฬาสากล ตามชนิด
กีฬาที่เล่น
 กฎ กติกาในการเล่นเกม
กีฬาไทยและกีฬาสากลตาม
ชนิดกีฬาที่เล่น
 วิธีการรุกและวิธีป้องกันใน
การเล่นกีฬาไทยและกีฬาสากล
ที่เล่น
4. ปฏิบัติตนตามสิทธิ
ของตนเอง ไม่ละเมิด
สิทธิผู้อื่นและยอมรับใน
ความแตกต่างระหว่าง
บุคคลในการเล่นเกม
และกีฬาไทย กีฬาสากล
 สิทธิของตนเองและผู้อื่นใน
การเล่นเกมและกีฬา
 ความแตกต่างระหว่าง
บุคคลในการเล่นเกม และกีฬา
ป. ๖ 1. อธิบายประโยชน์และ
หลักการออกกำาลังกาย
เพื่อสุขภาพ สมรรถภาพ
ทางกายและการสร้าง
เสริมบุคลิกภาพ
 ประโยชน์และหลักการ
ออกกำาลังกายเพื่อสุขภาพ
สมรรถภาพทางกายและการ
สร้างเสริมบุคลิกภาพ
2. เล่นเกมที่ใช้ทักษะ
การวางแผน และ
สามารถเพิ่มพูนทักษะ
การออกกำาลังกายและ
 การเล่นเกมที่ใช้ทักษะการ
วางแผน
 การเพิ่มพูนทักษะการออก
กำาลังกายและการเคลื่อนไหว
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
เคลื่อนไหวอย่างเป็น
ระบบ
อย่างเป็นระบบ
3. เล่นกีฬาที่ตนเองชื่น
ชอบและสามารถประเมิน
ทักษะการเล่นของตนเป็น
ประจำา
 การเล่นกีฬาประเภทบุคคล
และประเภททีมที่ชื่นชอบ
 การประเมินทักษะการเล่น
กีฬาของตน
4. ปฏิบัติตามกฎ กติกา
ตามชนิดกีฬาที่เล่น โดย
คำานึงถึงความปลอดภัย
ของตนเองและผู้อื่น
 กฎ กติกาในการเล่นกีฬา
ไทย กีฬาสากลตามชนิดกีฬา
ที่เล่น
5. จำาแนกกลวิธีการรุก
การป้องกัน และนำาไป
ใช้ในการเล่นกีฬา
 กลวิธีการรุก การป้องกัน
ในการเล่นกีฬา
6. เล่นเกมและกีฬา
ด้วยความสามัคคีและมี
นำ้าใจนักกีฬา
 การสร้างความสามัคคีและ
ความมีนำ้าใจนักกีฬาในการ
เล่นเกมและกีฬา
ม. ๑ 1. อธิบายความสำาคัญ
ของการออกกำาลังกาย
และเล่นกีฬา จนเป็นวิถี
ชีวิตที่มีสุขภาพดี
2. ออกกำาลังกายและ
เลือกเข้าร่วมเล่นกีฬา
ตามความถนัด ความ
สนใจอย่างเต็มความ
สามารถ พร้อมทั้งมีการ
ประเมินการเล่นของตน
และผู้อื่น
 ความสำาคัญของการออก
กำาลังกายและเล่นกีฬา จนเป็น
วิถีชีวิตที่มีสุขภาพดี
 การออกกำาลังกาย เช่น
กายบริหาร
แบบต่างๆ เต้นแอโรบิก โยคะ
รำามวยจีน
 การเล่นกีฬาไทย และกีฬา
สากล
ทั้งประเภทบุคคลและทีม
 การประเมินการเล่นกีฬา
ของตนเองและผู้อื่น
3. ปฏิบัติตามกฎ กติกา
และข้อตกลงตามชนิด
กีฬาที่เลือกเล่น
 กฎ กติกา การเล่นเกมและ
การแข่งขันกีฬาที่เลือกเล่น
4. วางแผนการรุกและ
การป้องกันในการเล่น
กีฬาที่เลือกและนำาไปใช้
ในการเล่นอย่างเป็น
ระบบ
 รูปแบบ วิธีการรุกและ
ป้องกันในการเล่นกีฬาที่เลือก
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
5. ร่วมมือในการเล่น
กีฬา และการทำางานเป็น
ทีมอย่างสนุกสนาน
 การเล่น การแข่งขันกีฬา
และการทำางานเป็นทีม
6. วิเคราะห์เปรียบเทียบ
และยอมรับความแตกต่าง
ระหว่างวิธีการเล่นกีฬา
ของตนเองกับผู้อื่น
 การยอมรับความสามารถ
และความแตกต่างระหว่าง
บุคคลในการเล่นกีฬา
ม. ๒ 1. อธิบายสาเหตุการ
เปลี่ยนแปลงทางกาย
จิตใจ อารมณ์ สังคม
และสติปัญญา ที่เกิดจาก
การ ออกกำาลัง
กาย และเล่นกีฬาเป็น
ประจำาจนเป็นวิถีชีวิต
 สาเหตุการเปลี่ยนแปลง
ทางด้านร่างกาย จิตใจ
อารมณ์ สังคม และสติปัญญา
จากการออกกำาลังกายและการ
เล่นกีฬาอย่างสมำ่าเสมอ
จนเป็นวิถีชีวิต
 การสร้างวิถีชีวิตที่มี
สุขภาพดี โดยการออกกำาลัง
กายและเล่นกีฬาเป็นประจำา
2. เลือกเข้าร่วมกิจกรรม
การออกกำาลังกาย เล่น
กีฬาตาม ความ
ถนัดและความสนใจ
พร้อมทั้งวิเคราะห์ความ
แตกต่างระหว่างบุคคล
เพื่อเป็นแนวทางในการ
พัฒนาตนเอง
 การออกกำาลังกายและการ
เล่นกีฬาไทย กีฬาสากลทั้ง
ประเภทบุคคลและประเภททีม
 การวิเคราะห์ความแตก
ต่างระหว่างบุคคลเพื่อเป็น
แนวทางในการพัฒนาการร่วม
กิจกรรมการออกกำาลังกายและ
เล่นกีฬา
3. มีวินัย ปฏิบัติตามกฎ
กติกา และข้อตกลงใน
การเล่นกีฬาที่เลือก
 วินัยในการฝึก และการ
เล่นกีฬา ตามกฎ กติกาและ
ข้อตกลง
4. วางแผนการรุกและ
การป้องกันในการเล่น
กีฬาที่เลือกและนำาไปใช้
ในการเล่นอย่างเหมาะ
สมกับทีม
 รูปแบบ กลวิธีการรุก การ
ป้องกันในการเล่นกีฬาเป็นทีม
 ประโยชน์ของการเล่นและ
การทำางาน เป็นทีม
 หลักการให้ความร่วมมือใน
การเล่น การแข่งขัน
กีฬาและการทำางานเป็นทีม
5. นำาผลการปฏิบัติใน
การเล่นกีฬามาสรุปเป็น
 การพัฒนาวิธีเล่นกีฬาที่
เหมาะสมกับตนเอง
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
วิธีที่เหมาะสมกับตนเอง
ด้วยความมุ่งมั่น
- การเลือกวิธีเล่น
- การแก้ไขข้อบกพร่อง
- การเพิ่มทักษะ
 การสร้างแรงจูงใจและการ
สร้างความมุ่งมั่นในการเล่น
และแข่งขันกีฬา
ม. ๓ 1. มีมารยาทในการเล่น
และดูกีฬาด้วยความมี
นำ้าใจนักกีฬา
 มารยาทในการเล่นและ
การดูกีฬาด้วยความมีนำ้าใจ
นักกีฬา
2. ออกกำาลังกายและเล่น
กีฬาอย่างสมำ่าเสมอและ
นำาแนวคิดหลักการจาก
การเล่นไปพัฒนา
คุณภาพชีวิตของตนด้วย
ความภาคภูมิใจ
 การออกำาลังกายและการ
เล่นกีฬาประเภทบุคคล และ
ประเภททีม
 การนำาประสบการณ์
แนวคิดจากการ ออกกำาลัง
กายและเล่นกีฬาไปประยุกต์ใช้
ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต
3. ปฏิบัติตนตามกฎ
กติกา และข้อตกลงใน
การเล่นตามชนิดกีฬาที่
เลือกและนำาแนวคิดที่ได้
ไปพัฒนาคุณภาพชีวิต
ของตนในสังคม
 กฎ กติกาและข้อตกลงใน
การเล่นกีฬาที่เลือกเล่น
 การประยุกต์ประสบการณ์
การปฏิบัติตามกฎ กติกา ข้อ
ตกลงในการเล่นกีฬาไปใช้
พัฒนาคุณภาพชีวิตของตนใน
สังคม
4. จำาแนกกลวิธีการรุก
การป้องกัน และใช้ใน
การเล่นกีฬาที่เลือกและ
ตัดสินใจเลือกวิธีที่เหมาะ
สมกับทีมไปใช้ได้ตาม
สถานการณ์ของการเล่น
 วิธีการประยุกต์ใช้กลวิธี
การรุกและการป้องกันในการ
เล่นกีฬาได้ตามสถานการณ์
ของการเล่น
5. เสนอผลการพัฒนา
สุขภาพของตนเองที่เกิด
จากการออกกำาลังกาย
และการเล่นกีฬาเป็น
ประจำา
 การพัฒนาสุขภาพตนเองที่
เกิดจากการออกกำาลังกายและ
การเล่นกีฬาเป็นประจำา
ม. ๔–
ม.๖
1. ออกกำาลังกายและเล่น
กีฬา ที่เหมาะ
 การออกกำาลังกายด้วยวิธีที่
ชอบ เช่น
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
สมกับตนเองอย่าง
สมำ่าเสมอ และใช้ความ
สามารถของตนเองเพิ่ม
ศักยภาพของทีม ลด
ความเป็นตัวตน คำานึง
ถึงผลที่เกิดต่อสังคม
ฝึกกายบริหารแบบต่างๆ ขี่
จักรยาน
การออกกำาลังกายจากการ
ทำางาน
ในชีวิตประจำาวัน การรำา
กระบอง รำามวยจีน
 การเล่นกีฬาประเภทบุคคล
และประเภททีม
 การใช้ความสามารถของ
ตนในการเพิ่มศักยภาพของทีม
ในการเล่นกีฬาและการเล่น
โดยคำานึงถึงประโยชน์ต่อ
สังคม
 การวางแผนกำาหนด
กิจกรรมการออกกำาลัง-กายและ
เล่นกีฬา
2. อธิบายและปฏิบัติ
เกี่ยวกับสิทธิ กฎ กติกา
กลวิธีต่างๆ ในระหว่าง
การเล่น การแข่งขัน
กีฬากับผู้อื่นและนำาไป
สรุปเป็นแนวปฏิบัติและ
ใช้ในชีวิตประจำาวัน
อย่างต่อเนื่อง
 สิทธิ กฎ กติกาการเล่น
กีฬา
 กลวิธี หลักการรุก การ
ป้องกันอย่างสร้างสรรค์ในการ
เล่นและแข่งขันกีฬา
 การนำาประสบการณ์จาก
การเล่นกีฬาไปใช้ในชีวิต
ประจำาวัน
3. แสดงออกถึงการมี
มารยาทในการดู การ
เล่นและการแข่งขันกีฬา
ด้วยความมีนำ้าใจนักกีฬา
และนำาไปใช้ปฏิบัติทุก
โอกาส จนเป็น
บุคลิกภาพที่ดี
 การปฏิบัติตนในเรื่อง
มารยาทในการดู การเล่น
การแข่งขัน ความมีนำ้าใจ
นักกีฬา
 บุคลิกภาพที่ดี
4. ร่วมกิจกรรมทางกาย
และเล่นกีฬาอย่างมีความ
สุข ชื่นชมในคุณค่าและ
ความงามของการกีฬา
 ความสุขที่ได้จากการเข้า
ร่วมกิจกรรมทางกาย และเล่น
กีฬา
 คุณค่าและความงามของ
การกีฬา
สาระที่ ๔ การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการ
ป้องกันโรค
มาตรฐาน พ ๔.๑ เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ
การดำารงสุขภาพ การป้องกันโรค และการสร้างเสริม
สมรรถภาพเพื่อสุขภาพ
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.๑ 1. ปฏิบัติตนตามหลักสุข
บัญญัติแห่งชาติตามคำา
แนะนำา
 การปฏิบัติตนตามหลักสุข
บัญญัติแห่งชาติ
2. บอกอาการเจ็บป่วยที่
เกิดขึ้นกับตนเอง
 ลักษณะอาการเจ็บป่วยที่เกิด
ขึ้นกับตนเอง
- ปวดศีรษะ
- ตัวร้อน
- มีนำ้ามูก
- ปวดท้อง
- ผื่นคัน (หนังศีรษะ ผิวหนัง)
- ฟกชำ้า ฯลฯ
3. ปฏิบัติตนตามคำา
แนะนำาเมื่อมีอาการเจ็บ
ป่วย
 วิธีปฏิบัติตนเมื่อมีอาการเจ็บ
ป่วยที่เกิดขึ้นกับตนเอง
ป. ๒ 1. บอกลักษณะของการ
มีสุขภาพดี
 ลักษณะของการมีสุขภาพดี
- ร่างกายแข็งแรง
- จิตใจ ร่าเริง แจ่มใส
- มีความสุข
- มีความปลอดภัย
2. เลือกกินอาหารที่มี
ประโยชน์
 อาหารที่มีประโยชน์และไม่มี
ประโยชน์
3. ระบุของใช้และของ
เล่นที่มีผลเสียต่อสุขภาพ
 ของใช้และของเล่นที่มีผล
เสียต่อสุขภาพ
4. อธิบายอาการและวิธี
ป้องกันการเจ็บป่วย การ
 อาการและวิธีป้องกันการเจ็บ
ป่วย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา

More Related Content

What's hot

ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
niralai
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
somdetpittayakom school
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1teerachon
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5supap6259
 
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2dnavaroj
 
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนแนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
Boonlert Sangdee
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
natdhanai rungklin
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้เทวัญ ภูพานทอง
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
Kruthai Kidsdee
 
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนmadechada
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะkrupornpana55
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
Terapong Piriyapan
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
คู่มือฝึกระเบียบแถว
คู่มือฝึกระเบียบแถวคู่มือฝึกระเบียบแถว
คู่มือฝึกระเบียบแถว
Teacher Sophonnawit
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1guychaipk
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
Apirak Potpipit
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
krunueng1
 

What's hot (20)

ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5
 
ปพ5 ปีการศึกษา2553 รายปี ชั้น ม3 วิชาคณิตศาสตร์
ปพ5 ปีการศึกษา2553 รายปี ชั้น ม3 วิชาคณิตศาสตร์ปพ5 ปีการศึกษา2553 รายปี ชั้น ม3 วิชาคณิตศาสตร์
ปพ5 ปีการศึกษา2553 รายปี ชั้น ม3 วิชาคณิตศาสตร์
 
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
 
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนแนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
 
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
คู่มือฝึกระเบียบแถว
คู่มือฝึกระเบียบแถวคู่มือฝึกระเบียบแถว
คู่มือฝึกระเบียบแถว
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 

Viewers also liked

มาตรฐานตัวชี้วัด
มาตรฐานตัวชี้วัดมาตรฐานตัวชี้วัด
มาตรฐานตัวชี้วัด
0873130610
 
สุขศึกษาและพลศึกษา
สุขศึกษาและพลศึกษาสุขศึกษาและพลศึกษา
สุขศึกษาและพลศึกษาChao Chao
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
Boonlert Aroonpiboon
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
Boonlert Aroonpiboon
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
Boonlert Aroonpiboon
 
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
การงานอาชีพและเทคโนโลยีการงานอาชีพและเทคโนโลยี
การงานอาชีพและเทคโนโลยีChao Chao
 
สังคม ศาสนา และวัฒนธรรม
สังคม ศาสนา และวัฒนธรรมสังคม ศาสนา และวัฒนธรรม
สังคม ศาสนา และวัฒนธรรมChao Chao
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
Boonlert Aroonpiboon
 
ภาษาต่างประเทศ
ภาษาต่างประเทศภาษาต่างประเทศ
ภาษาต่างประเทศChao Chao
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์Chao Chao
 
คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์Chao Chao
 
ศิลปะ
ศิลปะศิลปะ
ศิลปะChao Chao
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
Boonlert Aroonpiboon
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
Boonlert Aroonpiboon
 
20160405 word2014-pagesetup
20160405 word2014-pagesetup20160405 word2014-pagesetup
20160405 word2014-pagesetup
Boonlert Aroonpiboon
 
Word to Image, How to
Word to Image, How toWord to Image, How to
Word to Image, How to
Boonlert Aroonpiboon
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
Boonlert Aroonpiboon
 
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไท...
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไท...แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไท...
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไท...
Boonlert Aroonpiboon
 
การปรับเว็บให้แสดงผลสีเทา
การปรับเว็บให้แสดงผลสีเทาการปรับเว็บให้แสดงผลสีเทา
การปรับเว็บให้แสดงผลสีเทา
Boonlert Aroonpiboon
 

Viewers also liked (20)

มาตรฐานตัวชี้วัด
มาตรฐานตัวชี้วัดมาตรฐานตัวชี้วัด
มาตรฐานตัวชี้วัด
 
สุขศึกษาและพลศึกษา
สุขศึกษาและพลศึกษาสุขศึกษาและพลศึกษา
สุขศึกษาและพลศึกษา
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
 
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
การงานอาชีพและเทคโนโลยีการงานอาชีพและเทคโนโลยี
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
 
สังคม ศาสนา และวัฒนธรรม
สังคม ศาสนา และวัฒนธรรมสังคม ศาสนา และวัฒนธรรม
สังคม ศาสนา และวัฒนธรรม
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
 
ภาษาต่างประเทศ
ภาษาต่างประเทศภาษาต่างประเทศ
ภาษาต่างประเทศ
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 
คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์
 
ศิลปะ
ศิลปะศิลปะ
ศิลปะ
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
 
20160405 word2014-pagesetup
20160405 word2014-pagesetup20160405 word2014-pagesetup
20160405 word2014-pagesetup
 
Word to Image, How to
Word to Image, How toWord to Image, How to
Word to Image, How to
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
 
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไท...
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไท...แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไท...
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไท...
 
การปรับเว็บให้แสดงผลสีเทา
การปรับเว็บให้แสดงผลสีเทาการปรับเว็บให้แสดงผลสีเทา
การปรับเว็บให้แสดงผลสีเทา
 

Similar to มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา

ส่วนหน้า ตอนที่ 2
ส่วนหน้า ตอนที่ 2ส่วนหน้า ตอนที่ 2
ส่วนหน้า ตอนที่ 2supap6259
 
06+heap6+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...
06+heap6+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...06+heap6+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...
06+heap6+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...
Prachoom Rangkasikorn
 
06+heap4+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...
06+heap4+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...06+heap4+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...
06+heap4+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...
Prachoom Rangkasikorn
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาUmmara Kijruangsri
 
หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5
หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5
หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5wichsitb
 
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.44.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4Kruthai Kidsdee
 
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6Kruthai Kidsdee
 
ความต้องการด้านการส่งเสริมกีฬาและสุขภาพ1
ความต้องการด้านการส่งเสริมกีฬาและสุขภาพ1ความต้องการด้านการส่งเสริมกีฬาและสุขภาพ1
ความต้องการด้านการส่งเสริมกีฬาและสุขภาพ1Aom Chamchoi
 
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)sonsukda
 
การวิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษาลงสู่หน่วยการเรียนรู้
การวิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษาลงสู่หน่วยการเรียนรู้การวิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษาลงสู่หน่วยการเรียนรู้
การวิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษาลงสู่หน่วยการเรียนรู้
tassanee chaicharoen
 
03+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6
03+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-603+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-6
03+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6
Prachoom Rangkasikorn
 
03+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6
03+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-603+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-6
03+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6
Prachoom Rangkasikorn
 
3.ตารางวิเคราะห์แอกกอฮอล์ม.3เอมพันธ์
3.ตารางวิเคราะห์แอกกอฮอล์ม.3เอมพันธ์3.ตารางวิเคราะห์แอกกอฮอล์ม.3เอมพันธ์
3.ตารางวิเคราะห์แอกกอฮอล์ม.3เอมพันธ์Kruthai Kidsdee
 
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
WC Triumph
 
มาตรฐานสพฐ 15 ข้อ
มาตรฐานสพฐ 15 ข้อมาตรฐานสพฐ 15 ข้อ
มาตรฐานสพฐ 15 ข้อanuban bandek
 
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
tassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิตแผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
tassanee chaicharoen
 

Similar to มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา (20)

สุขศึกษาและพลศึกษา
สุขศึกษาและพลศึกษาสุขศึกษาและพลศึกษา
สุขศึกษาและพลศึกษา
 
สุขศึกษาและพลศึกษา ต้น
สุขศึกษาและพลศึกษา ต้นสุขศึกษาและพลศึกษา ต้น
สุขศึกษาและพลศึกษา ต้น
 
สุขศึกษาและพลศึกษา ปลาย
สุขศึกษาและพลศึกษา ปลายสุขศึกษาและพลศึกษา ปลาย
สุขศึกษาและพลศึกษา ปลาย
 
ส่วนหน้า ตอนที่ 2
ส่วนหน้า ตอนที่ 2ส่วนหน้า ตอนที่ 2
ส่วนหน้า ตอนที่ 2
 
06+heap6+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...
06+heap6+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...06+heap6+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...
06+heap6+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...
 
06+heap4+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...
06+heap4+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...06+heap4+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...
06+heap4+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5
หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5
หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5
 
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.44.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
 
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
 
ความต้องการด้านการส่งเสริมกีฬาและสุขภาพ1
ความต้องการด้านการส่งเสริมกีฬาและสุขภาพ1ความต้องการด้านการส่งเสริมกีฬาและสุขภาพ1
ความต้องการด้านการส่งเสริมกีฬาและสุขภาพ1
 
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
 
การวิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษาลงสู่หน่วยการเรียนรู้
การวิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษาลงสู่หน่วยการเรียนรู้การวิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษาลงสู่หน่วยการเรียนรู้
การวิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษาลงสู่หน่วยการเรียนรู้
 
03+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6
03+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-603+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-6
03+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6
 
03+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6
03+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-603+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-6
03+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6
 
3.ตารางวิเคราะห์แอกกอฮอล์ม.3เอมพันธ์
3.ตารางวิเคราะห์แอกกอฮอล์ม.3เอมพันธ์3.ตารางวิเคราะห์แอกกอฮอล์ม.3เอมพันธ์
3.ตารางวิเคราะห์แอกกอฮอล์ม.3เอมพันธ์
 
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
 
มาตรฐานสพฐ 15 ข้อ
มาตรฐานสพฐ 15 ข้อมาตรฐานสพฐ 15 ข้อ
มาตรฐานสพฐ 15 ข้อ
 
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
 
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิตแผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
 

More from Boonlert Aroonpiboon

Excel quiz
Excel quizExcel quiz
Scival for Research Performance
Scival for Research PerformanceScival for Research Performance
Scival for Research Performance
Boonlert Aroonpiboon
 
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-420190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
Boonlert Aroonpiboon
 
20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup
Boonlert Aroonpiboon
 
20190220 open-library
20190220 open-library20190220 open-library
20190220 open-library
Boonlert Aroonpiboon
 
20190220 digital-archives
20190220 digital-archives20190220 digital-archives
20190220 digital-archives
Boonlert Aroonpiboon
 
OER KKU Library
OER KKU LibraryOER KKU Library
OER KKU Library
Boonlert Aroonpiboon
 
Museum digital-code
Museum digital-codeMuseum digital-code
Museum digital-code
Boonlert Aroonpiboon
 
OER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success StoryOER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success Story
Boonlert Aroonpiboon
 
LAM Code of conduct
LAM Code of conductLAM Code of conduct
LAM Code of conduct
Boonlert Aroonpiboon
 
RLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOCRLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOC
Boonlert Aroonpiboon
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
Boonlert Aroonpiboon
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
Boonlert Aroonpiboon
 
digital law for GLAM
digital law for GLAMdigital law for GLAM
digital law for GLAM
Boonlert Aroonpiboon
 
20180919 digital-collections
20180919 digital-collections20180919 digital-collections
20180919 digital-collections
Boonlert Aroonpiboon
 
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Boonlert Aroonpiboon
 
20180828 digital-archives
20180828 digital-archives20180828 digital-archives
20180828 digital-archives
Boonlert Aroonpiboon
 
Local Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How toLocal Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How to
Boonlert Aroonpiboon
 
201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup
Boonlert Aroonpiboon
 
201403 etda-library
201403 etda-library201403 etda-library
201403 etda-library
Boonlert Aroonpiboon
 

More from Boonlert Aroonpiboon (20)

Excel quiz
Excel quizExcel quiz
Excel quiz
 
Scival for Research Performance
Scival for Research PerformanceScival for Research Performance
Scival for Research Performance
 
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-420190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
 
20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup
 
20190220 open-library
20190220 open-library20190220 open-library
20190220 open-library
 
20190220 digital-archives
20190220 digital-archives20190220 digital-archives
20190220 digital-archives
 
OER KKU Library
OER KKU LibraryOER KKU Library
OER KKU Library
 
Museum digital-code
Museum digital-codeMuseum digital-code
Museum digital-code
 
OER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success StoryOER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success Story
 
LAM Code of conduct
LAM Code of conductLAM Code of conduct
LAM Code of conduct
 
RLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOCRLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOC
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
digital law for GLAM
digital law for GLAMdigital law for GLAM
digital law for GLAM
 
20180919 digital-collections
20180919 digital-collections20180919 digital-collections
20180919 digital-collections
 
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
 
20180828 digital-archives
20180828 digital-archives20180828 digital-archives
20180828 digital-archives
 
Local Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How toLocal Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How to
 
201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup
 
201403 etda-library
201403 etda-library201403 etda-library
201403 etda-library
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 

Recently uploaded (10)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 

มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา

  • 2. สารบัญ ห น้ า คำานำา ทำาไมต้องเรียนสุขศึกษาและพลศึกษา ๑ เรียนรู้อะไรในสุขศึกษาและพลศึกษา ๑ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ๒ คุณภาพผู้เรียน ๓ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ๖ สาระที่ ๑ การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ ๖ สาระที่ ๒ ชีวิตและครอบครัว ๙ สาระที่ ๓ การเคลื่อนไหว การออกกำาลังกาย การเล่น เกม กีฬาไทยและกีฬาสากล ๑ ๔ สาระที่ ๔ การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการ ป้องกันโรค ๒ ๔ สาระที่ ๕ ความปลอดภัยในชีวิต ๓ ๐ อภิธานศัพท์ ๓ ๕ คณะผู้จัดทำา ๔ ๔
  • 3. กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ทำาไมต้องเรียนสุขศึกษาและพลศึกษา สุขภาพ หรือ สุขภาวะ หมายถึง ภาวะของมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งทางกาย ทางจิต ทางสังคม และทางปัญญาหรือจิตวิญญาณ สุขภาพหรือสุขภาวะจึงเป็นเรื่องสำาคัญ เพราะเกี่ยวโยงกับทุกมิติ ของชีวิต ซึ่งทุกคนควรจะได้เรียนรู้เรื่องสุขภาพ เพื่อจะได้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง มีเจตคติ คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม รวมทั้งมีทักษะปฏิบัติด้านสุขภาพจนเป็นกิจนิสัย อันจะส่งผลให้ สังคมโดยรวมมีคุณภาพ เรียนรู้อะไรในสุขศึกษาและพลศึกษา สุขศึกษาและพลศึกษาเป็นการศึกษาด้านสุขภาพที่มีเป้าหมาย เพื่อการดำารงสุขภาพ การสร้างเสริมสุขภาพและการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตของบุคคล ครอบครัว และชุมชนให้ยั่งยืน สุขศึกษา มุ่งเน้นให้ผู้เรียนพัฒนาพฤติกรรมด้านความรู้ เจตคติ คุณธรรม ค่านิยม และ การปฏิบัติเกี่ยวกับ สุขภาพควบคู่ไปด้วยกัน พลศึกษา มุ่งเน้นให้ผู้เรียนใช้กิจกรรมการเคลื่อนไหว การ ออกกำาลังกาย การเล่นเกมและกีฬา เป็นเครื่องมือในการพัฒนา โดยรวมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญา รวม ทั้งสมรรถภาพเพื่อสุขภาพและกีฬา สาระที่เป็นกรอบเนื้อหาหรือขอบข่ายองค์ความรู้ของกลุ่มสาระ การเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาประกอบด้วย • การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ ผู้เรียนจะ ได้เรียนรู้เรื่องธรรมชาติของการเจริญเติบโตและพัฒนาการของ มนุษย์ ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโต ความสัมพันธ์เชื่อมโยงใน การทำางานของระบบต่างๆของร่างกาย รวมถึงวิธีปฏิบัติตนเพื่อให้ เจริญเติบโตและมีพัฒนาการที่สมวัย
  • 4. • ชีวิตและครอบครัว ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เรื่องคุณค่าของ ตนเองและครอบครัว การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ความรู้สึกทางเพศ การสร้างและรักษาสัมพันธภาพกับ ผู้อื่น สุขปฏิบัติทางเพศ และทักษะในการดำาเนินชีวิต • การเคลื่อนไหว การออกกำาลังกาย การเล่นเกม กีฬา ไทย และกีฬาสากล ผู้เรียนได้เรียนรู้เรื่องการเคลื่อนไหวในรูป แบบต่าง ๆ การเข้าร่วมกิจกรรมทางกายและกีฬา ทั้งประเภทบุคคล และประเภททีมอย่างหลากหลายทั้งไทยและสากล การปฏิบัติตาม กฎ กติกา ระเบียบ และข้อตกลงในการเข้าร่วมกิจกรรมทางกาย และกีฬา และความมีนำ้าใจนักกีฬา • การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพ และการป้องกัน โรค ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับหลักและวิธีการเลือกบริโภคอาหาร ผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพ การสร้างเสริมสมรรถภาพเพื่อ สุขภาพ และการป้องกันโรคทั้งโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ • ความปลอ ด ภัยใ นชีวิต ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เรื่องการ ป้องกันตนเองจากพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ ทั้งความเสี่ยงต่อ สุขภาพ อุบัติเหตุ ความรุนแรง อันตรายจากการใช้ยาและสารเสพ ติด รวมถึงแนวทางในการสร้างเสริมความปลอดภัยในชีวิต สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ ๑ การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ มาตรฐาน พ ๑.๑ เข้าใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและ พัฒนาการของมนุษย์ สาระที่ ๒ ชีวิตและครอบครัว มาตรฐาน พ ๒.๑ เข้าใจและเห็นคุณค่าตนเอง ครอบครัว เพศ ศึกษา และมีทักษะในการดำาเนินชีวิต สาระที่ ๓ การเคลื่อนไหว การออกกำาลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล มาตรฐาน พ ๓.๑ เข้าใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรม ทางกาย การเล่นเกม และกีฬา มาตรฐาน พ ๓.๒ รักการออกกำาลังกาย การเล่นเกม และการเล่น กีฬา ปฏิบัติเป็นประจำาอย่างสมำ่าเสมอ มีวินัย เคารพ
  • 5. สิทธิ กฎ กติกา มีนำ้าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการ แข่งขัน และชื่นชมในสุนทรียภาพของการกีฬา สาระที่ ๔ การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการ ป้องกันโรค มาตรฐาน พ ๔.๑ เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริมสุข ภาพ การดำารงสุขภาพ การป้องกันโรคและการสร้าง เสริมสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ สาระที่ ๕ ความปลอดภัยในชีวิต มาตรฐาน พ ๕.๑ ป้องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรม เสี่ยงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ การใช้ยา สารเสพติด และความรุนแรง คุณภาพผู้เรียน จบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ • มีความรู้ และเข้าใจในเรื่องการเจริญเติบโตและพัฒนาการ ของมนุษย์ ปัจจัยที่มีผลต่อ การเจริญเติบโตและพัฒนาการ วิธีการสร้างสัมพันธภาพในครอบครัวและกลุ่มเพื่อน • มีสุขนิสัยที่ดีในเรื่องการกิน การพักผ่อนนอนหลับ การ รักษาความสะอาดอวัยวะทุกส่วนของร่างกาย การเล่นและการออก กำาลังกาย • ป้องกันตนเองจากพฤติกรรมที่อาจนำาไปสู่การใช้สารเสพติด การล่วงละเมิดทางเพศและรู้จักปฏิเสธในเรื่องที่ไม่เหมาะสม • ควบคุมการเคลื่อนไหวของตนเองได้ตามพัฒนาการใน แต่ละช่วงอายุ มีทักษะ การเคลื่อนไหวขั้นพื้นฐานและมี ส่วนร่วมในกิจกรรมทางกาย กิจกรรมสร้างเสริมสมรรถภาพทาง กายเพื่อสุขภาพ และเกม ได้อย่างสนุกสนาน และปลอดภัย • มีทักษะในการเลือกบริโภคอาหาร ของเล่น ของใช้ ที่มี ผลดีต่อสุขภาพ หลีกเลี่ยงและป้องกันตนเองจากอุบัติเหตุได้ • ปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องเหมาะสมเมื่อมีปัญหาทางอารมณ์ และปัญหาสุขภาพ
  • 6. • ปฏิบัติตนตามกฎ ระเบียบข้อตกลง คำาแนะนำา และขั้น ตอนต่างๆ และให้ความร่วมมือกับผู้อื่นด้วยความเต็มใจจนงาน ประสบความสำาเร็จ • ปฏิบัติตามสิทธิของตนเองและเคารพสิทธิของผู้อื่นในการ เล่นเป็นกลุ่ม จบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ • เข้าใจความสัมพันธ์เชื่อมโยงในการทำางานของระบบต่าง ๆ ของร่างกาย และรู้จักดูแลอวัยวะที่สำาคัญของระบบนั้น ๆ • เข้าใจธรรมชาติการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคม แรงขับทางเพศของชายหญิง เมื่อย่างเข้าสู่วัย แรกรุ่นและวัยรุ่น สามารถปรับตัวและจัดการได้อย่างเหมาะสม • เข้าใจและเห็นคุณค่าของการมีชีวิตและครอบครัวที่อบอุ่น และเป็นสุข • ภูมิใจและเห็นคุณค่าในเพศของตน ปฏิบัติสุขอนามัยทาง เพศได้ถูกต้องเหมาะสม • ป้องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ และการเกิดโรค อุบัติเหตุ ความรุนแรง สารเสพติดและการล่วง ละเมิดทางเพศ • มีทักษะการเคลื่อนไหวพื้นฐานและการควบคุมตนเองในการ เคลื่อนไหวแบบผสมผสาน • รู้หลักการเคลื่อนไหวและสามารถเลือกเข้าร่วมกิจกรรมทาง กาย เกม การละเล่นพื้นเมือง กีฬาไทย กีฬาสากลได้อย่าง ปลอดภัยและสนุกสนาน มีนำ้าใจนักกีฬา โดยปฏิบัติตามกฎ กติกา สิทธิ และหน้าที่ของตนเอง จนงานสำาเร็จลุล่วง • วางแผนและปฏิบัติกิจกรรมทางกาย กิจกรรมสร้างเสริม สมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพได้ตามความเหมาะสมและความ ต้องการเป็นประจำา • จัดการกับอารมณ์ ความเครียด และปัญหาสุขภาพได้ อย่างเหมาะสม • มีทักษะในการแสวงหาความรู้ ข้อมูลข่าวสารเพื่อใช้สร้าง เสริมสุขภาพ
  • 7. จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ • เข้าใจและเห็นความสำาคัญของปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการ เจริญเติบโตและพัฒนาการที่มีต่อสุขภาพและชีวิตในช่วงวัยต่าง ๆ • เข้าใจ ยอมรับ และสามารถปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลง ทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ ความรู้สึกทางเพศ ความเสมอภาค ทางเพศ สร้างและรักษาสัมพันธภาพกับผู้อื่น และตัดสินใจแก้ ปัญหาชีวิตด้วยวิธีการที่เหมาะสม • เลือกกินอาหารที่เหมาะสม ได้สัดส่วน ส่งผลดีต่อการเจริญ เติบโตและพัฒนาการตามวัย • มีทักษะในการประเมินอิทธิพลของเพศ เพื่อน ครอบครัว ชุมชนและวัฒนธรรมที่มีต่อเจตคติ ค่านิยมเกี่ยวกับสุขภาพและชีวิต และสามารถจัดการได้อย่างเหมาะสม • ป้องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ และการเกิดโรค อุบัติเหตุ การใช้ยา สารเสพติด และความ รุนแรง รู้จักสร้างเสริมความปลอดภัยให้แก่ตนเอง ครอบครัว และ ชุมชน • เข้าร่วมกิจกรรมทางกาย กิจกรรมกีฬา กิจกรรม นันทนาการ กิจกรรมสร้างเสริมสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ โดยนำาหลักการของทักษะกลไกมาใช้ได้อย่างปลอดภัย สนุกสนาน และปฏิบัติเป็นประจำาสมำ่าเสมอตามความถนัดและความสนใจ • แสดงความตระหนักในความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรม สุขภาพ การป้องกันโรค การดำารงสุขภาพ การจัดการกับอารมณ์ และความเครียด การออกกำาลังกายและการเล่นกีฬากับการมีวิถี ชีวิตที่มีสุขภาพดี • สำานึกในคุณค่า ศักยภาพและความเป็นตัวของตัวเอง • ปฏิบัติตามกฎ กติกา หน้าที่ความรับผิดชอบ เคารพสิทธิ ของตนเองและผู้อื่น ให้ความร่วมมือในการแข่งขันกีฬาและการ ทำางานเป็นทีมอย่างเป็นระบบ ด้วยความมุ่งมั่นและมีนำ้าใจนักกีฬา จนประสบความสำาเร็จตามเป้าหมายด้วยความชื่นชม และสนุกสนาน จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ • สามารถดูแลสุขภาพ สร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค หลีก เลี่ยงปัจจัยเสี่ยง และพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ การใช้ ยา สารเสพติด และความรุนแรงได้อย่างมีประสิทธิภาพด้วยการ วางแผนอย่างเป็นระบบ
  • 8. • แสดงออกถึงความรัก ความเอื้ออาทร ความเข้าใจใน อิทธิพลของครอบครัว เพื่อน สังคม และวัฒนธรรมที่มีต่อ พฤติกรรมทางเพศ การดำาเนินชีวิต และวิถีชีวิตที่มีสุขภาพดี • ออกกำาลังกาย เล่นกีฬา เข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการ กิจกรรมสร้างเสริมสมรรถภาพ เพื่อสุขภาพโดยนำาหลักการ ของทักษะกลไกมาใช้ได้อย่างถูกต้อง สมำ่าเสมอด้วยความชื่นชม และสนุกสนาน • แสดงความรับผิดชอบ ให้ความร่วมมือและปฏิบัติตามกฎ กติกา สิทธิ หลักความปลอดภัยในการเข้าร่วมกิจกรรมทางกาย และเล่นกีฬาจนประสบความสำาเร็จตามเป้าหมายของตนเองและทีม • แสดงออกถึงการมีมารยาทในการดู การเล่น และการ แข่งขัน ด้วยความมีนำ้าใจนักกีฬาและนำาไปปฏิบัติในทุกโอกาสจน เป็นบุคลิกภาพที่ดี • วิเคราะห์และประเมินสุขภาพส่วนบุคคลเพื่อกำาหนดกลวิธีลด ความเสี่ยง สร้างเสริมสุขภาพ ดำารงสุขภาพ การป้องกันโรค และ การจัดการกับอารมณ์และความเครียดได้ถูกต้องและเหมาะสม • ใช้กระบวนการทางประชาสังคม สร้างเสริมให้ชุมชนเข้ม แข็งปลอดภัย และมีวิถีชีวิตที่ดี ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระที่ ๑ การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ มาตรฐาน พ ๑.๑ เข้าใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและ พัฒนาการของมนุษย์
  • 9. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.๑ 1. อธิบายลักษณะและ หน้าที่ ของอวัยวะ ภายนอก  ลักษณะและหน้าที่ของอวัยวะ ภายนอกที่มีการเจริญเติบโต และพัฒนาการไปตามวัย - ตา หู คอ จมูก ผม มือ เท้า เล็บ ผิวหนัง ฯลฯ - อวัยวะในช่องปาก (ปาก ลิ้น ฟัน เหงือก) 2. อธิบายวิธีดูแลรักษา อวัยวะภายนอก  การดูแลรักษาอวัยวะ ภายนอก - ตา หู คอ จมูก ปาก ลิ้น ฟัน ผม มือ เท้า เล็บ ผิวหนัง ฯลฯ - อวัยวะในช่องปาก (ปาก ลิ้น ฟัน เหงือก) ป. ๒ 1. อธิบายลักษณะ และ หน้าที่ของอวัยวะภายใน  ลักษณะ และหน้าที่ของ อวัยวะภายในที่มีการเจริญ เติบโตและพัฒนาการไปตาม วัย (สมอง หัวใจ ตับ ไต ปอด กระเพาะอาหาร ลำาไส้ ฯลฯ) 2. อธิบายวิธีดูแลรักษา อวัยวะภายใน  การดูแลรักษาอวัยวะภายใน - การระมัดระวังการกระแทก - การออกกำาลังกาย - การกินอาหาร 3. อธิบายธรรมชาติของ ชีวิตมนุษย์  ธรรมชาติของชีวิตมนุษย์ ตั้งแต่เกิดจนตาย ป.๓ ๑. อธิบายลักษณะและ การเจริญเติบโตของ ร่างกายมนุษย์  ลักษณะการเจริญเติบโตของ ร่างกายมนุษย์ ที่มีความ แตกต่างกันในแต่ละบุคคล - ลักษณะรูปร่าง - นำ้าหนัก - ส่วนสูง ๒. เปรียบเทียบการ เจริญเติบโตของตนเอง กับเกณฑ์มาตรฐาน  เกณฑ์มาตรฐานการเจริญ เติบโต ของเด็กไทย ๓. ระบุปัจจัยที่มีผลต่อ  ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญ
  • 10. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง การเจริญเติบโต เติบโต - อาหาร - การออกกำาลังกาย - การพักผ่อน ป. ๔ 1. อธิบายการเจริญ เติบโตและพัฒนาการ ของร่างกายและจิตใจ ตามวัย  การเจริญเติบโตและ พัฒนาการของร่างกายและ จิตใจ ตามวัย (ในช่วงอายุ ๙ – ๑๒ ปี) 2. อธิบายความสำาคัญ ของกล้ามเนื้อ กระดูก และข้อที่มีผลต่อสุขภาพ การเจริญเติบโตและ พัฒนาการ  ความสำาคัญของกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ ที่มีผลต่อ สุขภาพ การเจริญเติบโตและ พัฒนาการ 3. อธิบายวิธีดูแลกล้าม เนื้อ กระดูก และข้อ ให้ทำางานอย่างมี ประสิทธิภาพ  วิธีดูแลรักษากล้ามเนื้อ กระดูกและข้อให้ทำางานอย่างมี ประสิทธิภาพ ป. ๕ ๑. อธิบายความสำาคัญ ของระบบย่อยอาหาร และระบบขับถ่ายที่มีผล ต่อสุขภาพ การเจริญ เติบโต และพัฒนาการ  ความสำาคัญของระบบย่อย อาหารและระบบขับถ่ายที่มีผล ต่อสุขภาพ การเจริญเติบโต และพัฒนาการ ๒. อธิบายวิธีดูแลระบบ ย่อยอาหารและระบบขับ ถ่ายให้ทำางานตามปกติ  วิธีดูแลรักษาระบบย่อย อาหารและระบบขับถ่ายให้ ทำางานตามปกติ ป.๖ 1. อธิบายความสำาคัญ ของระบบสืบพันธุ์ ระบบ ไหลเวียนโลหิตและระบบ หายใจ ที่มีผลต่อ สุขภาพ การเจริญ เติบโตและพัฒนาการ  ความสำาคัญของระบบ สืบพันธุ์ ระบบไหลเวียนโลหิต และระบบหายใจที่มีผลต่อ สุขภาพ การเจริญเติบโตและ พัฒนาการ 2. อธิบายวิธีการดูแล รักษาระบบสืบพันธุ์ ระบบไหลเวียนโลหิต  วิธีดูแลรักษาระบบสืบพันธุ์ ระบบไหลเวียนโลหิต และ ระบบหายใจให้ทำางานตาม
  • 11. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง และระบบหายใจให้ ทำางานตามปกติ ปกติ ม.๑ 1. อธิบายความสำาคัญ ของระบบประสาท และ ระบบต่อมไร้ท่อที่มีผลต่อ สุขภาพ การเจริญ เติบโต และพัฒนาการ ของวัยรุ่น  ความสำาคัญของระบบ ประสาท และระบบต่อมไร้ท่อ ที่มีผลต่อสุขภาพ การเจริญ เติบโต และพัฒนาการของวัย รุ่น 2. อธิบายวิธีดูแลรักษา ระบบประสาท และระบบ ต่อมไร้ท่อให้ทำางานตาม ปกติ  วิธีดูแลรักษาระบบประสาท และระบบต่อมไร้ท่อ ให้ทำางาน ตามปกติ ๓. วิเคราะห์ภาวะการ เจริญเติบโตทางร่างกาย ของตนเองกับเกณฑ์ มาตรฐาน  การวิเคราะห์ภาวะการเจริญ เติบโต ตามเกณฑ์มาตรฐานและปัจจัย ที่เกี่ยวข้อง ๔. แสวงหาแนวทางใน การพัฒนาตนเองให้ เจริญเติบโตสมวัย  แนวทางในการพัฒนา ตนเองให้เจริญเติบโตสมวัย ม. ๒ 1. อธิบายการ เปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในวัยรุ่น  การเปลี่ยนแปลงด้าน ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในวัยรุ่น 2. ระบุปัจจัยที่มีผลก ระทบต่อการเจริญเติบโต และพัฒนาการด้าน ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ใน วัยรุ่น  ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการ เจริญเติบโตและพัฒนาการ ด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา - พันธุกรรม - สิ่งแวดล้อม - การอบรมเลี้ยงดู ม. ๓ 1. เปรียบเทียบการ เปลี่ยนแปลงทางด้าน ร่างกาย จิตใจ อารมณ์  การเปลี่ยนแปลง ด้าน ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในแต่ละวัย
  • 12. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สังคม และสติปัญญา แต่ละช่วง ของชีวิต - วัยทารก - วัยก่อนเรียน - วัยเรียน - วัยรุ่น - วัยผู้ใหญ่ - วัยสูงอายุ 2. วิเคราะห์อิทธิพลและ ความคาดหวังของสังคม ต่อการเปลี่ยนแปลงของ วัยรุ่น  อิทธิพลและความคาดหวัง ของสังคมที่มีต่อการ เปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น 3. วิเคราะห์ สื่อ โฆษณา ที่มีอิทธิพลต่อ การเจริญเติบโตและ พัฒนาการของวัยรุ่น  สื่อ โฆษณา ที่มีอิทธิพลต่อ การเจริญเติบโตและพัฒนาการ ของวัยรุ่น - โทรทัศน์ - วิทยุ - สื่อสิ่งพิมพ์ - อินเทอร์เน็ต ม.๔– ม.๖ 1. อธิบายกระบวนการ สร้างเสริมและดำารง ประสิทธิภาพการทำางาน ของระบบอวัยวะต่าง ๆ  กระบวนการสร้างเสริมและ ดำารงประสิทธิภาพการทำางาน ของระบบอวัยวะ ต่าง ๆ - การทำางานของระบบอวัยวะ ต่างๆ - การสร้างเสริมและดำารง ประสิทธิภาพของอวัยวะต่างๆ (อาหาร การออกกำาลังกาย นันทนาการ การตรวจสุขภาพ ฯลฯ) 2. วางแผนดูแลสุขภาพ ตามภาวะการเจริญ เติบโตและพัฒนาการ ของตนเองและบุคคลใน ครอบครัว  การวางแผนดูแลสุขภาพ ของตนเองและบุคคลใน ครอบครัว สาระที่ ๒ ชีวิตและครอบครัว
  • 13. มาตรฐาน พ ๒.๑ เข้าใจและเห็นคุณค่าตนเอง ครอบครัว เพศ ศึกษา และมีทักษะในการดำาเนินชีวิต ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป. ๑ 1. ระบุสมาชิกใน ครอบครัวและความรัก ความผูกพันของสมาชิก ที่มีต่อกัน  สมาชิกในครอบครัว  ความรักความผูกพันของ สมาชิกในครอบครัว 2. บอกสิ่งที่ชื่นชอบ และ ภาคภูมิใจในตนเอง  สิ่งที่ชื่นชอบและความภาค ภูมิใจ ในตนเอง (จุดเด่น จุดด้อยของ ตนเอง) 3. บอกลักษณะความ แตกต่างระหว่างเพศชาย และเพศหญิง  ลักษณะความแตกต่างของ เพศชาย เพศหญิง - ร่างกาย - อารมณ์ - ลักษณะนิสัย ป. ๒ 1. ระบุบทบาทหน้าที่ ของตนเอง และสมาชิก ในครอบครัว  บทบาทหน้าที่ของสมาชิกใน ครอบครัว - ตนเอง - พ่อ แม่ - พี่น้อง - ญาติ 2. บอกความสำาคัญของ เพื่อน  ความสำาคัญของเพื่อน (เช่น พูดคุย ปรึกษา เล่น ฯลฯ) 3. ระบุพฤติกรรมที่ เหมาะสมกับเพศ  พฤติกรรมที่เหมาะสมกับเพศ - ความเป็นสุภาพบุรุษ - ความเป็นสุภาพสตรี 4. อธิบายความภาค ภูมิใจในความเป็นเพศ หญิง หรือเพศชาย  ความภาคภูมิใจในเพศหญิง หรือเพศชาย ป. ๓ 1. อธิบายความสำาคัญ และความแตกต่างของ ครอบครัวที่มีต่อตนเอง  ความสำาคัญของครอบครัว ความแตกต่างของแต่ละ ครอบครัว - เศรษฐกิจ - สังคม - การศึกษา
  • 14. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 2. อธิบายวิธีสร้าง สัมพันธภาพในครอบครัว และกลุ่มเพื่อน  วิธีการสร้างสัมพันธภาพใน ครอบครัวและกลุ่มเพื่อน 3. บอกวิธีหลีกเลี่ยง พฤติกรรมที่นำาไปสู่การ ล่วงละเมิดทางเพศ  พฤติกรรมที่นำาไปสู่การล่วง ละเมิดทางเพศ (การแต่งกาย การเที่ยวกลางคืน การคบ เพื่อน การเสพสารเสพติด ฯลฯ)  วิธีหลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่ นำาไปสู่การล่วงละเมิดทางเพศ (ทักษะปฏิเสธและอื่น ๆ ) ป. ๔ 1. อธิบายคุณลักษณะ ของความเป็นเพื่อนและ สมาชิกที่ดีของครอบครัว  คุณลักษณะของความเป็น เพื่อนและสมาชิกที่ดีของ ครอบครัว 2. แสดงพฤติกรรมที่ เหมาะสมกับเพศของตน ตามวัฒนธรรมไทย  พฤติกรรมที่เหมาะสมกับเพศ ของตนตามวัฒนธรรมไทย 3. ยกตัวอย่างวิธีการ ปฏิเสธการกระทำาที่เป็น อันตรายและไม่เหมาะ สมในเรื่องเพศ  วิธีการปฏิเสธการกระทำาที่ เป็นอันตรายและไม่เหมาะ สมในเรื่องเพศ ป. ๕ 1. อธิบายการ เปลี่ยนแปลงทางเพศ และปฏิบัติตนได้เหมาะ สม  การเปลี่ยนแปลงทางเพศ การดูแลตนเอง  การวางตัวที่เหมาะสมกับ เพศตามวัฒนธรรมไทย 2. อธิบายความสำาคัญ ของการมีครอบครัวที่ อบอุ่นตามวัฒนธรรมไทย  ลักษณะของครอบครัวที่ อบอุ่นตามวัฒนธรรมไทย (ครอบครัวขยาย การนับถือ ญาติ)
  • 15. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 3. ระบุพฤติกรรมที่พึง ประสงค์ และไม่พึง ประสงค์ในการแก้ไข ปัญหาความขัดแย้งใน ครอบครัวและกลุ่มเพื่อน  พฤติกรรมที่พึงประสงค์และ ไม่พึงประสงค์ ในการแก้ไขปัญหาความขัด แย้งในครอบครัว ป. ๖ 1. อธิบายความสำาคัญ ของการสร้างและรักษา สัมพันธภาพกับผู้อื่น  ความสำาคัญของการสร้าง และรักษาสัมพันธภาพกับผู้อื่น  ปัจจัยที่ช่วยให้การทำางาน กลุ่มประสบความสำาเร็จ - ความสามารถส่วนบุคคล - บทบาทหน้าที่ของสมาชิกใน กลุ่ม - การยอมรับความคิดเห็น และความแตกต่างระหว่าง บุคคล - ความรับผิดชอบ 2. วิเคราะห์พฤติกรรม เสี่ยงที่อาจนำาไปสู่การมี เพศสัมพันธ์ การติดเชื้อ เอดส์ และการตั้งครรภ์ ก่อนวัยอันควร  พฤติกรรมเสี่ยงที่นำาไปสู่การ มีเพศสัมพันธ์ การติดเชื้อเอดส์ และการตั้งครรภ์ก่อนวัย อันควร ม. ๑ 1. อธิบายวิธีการปรับตัว ต่อการเปลี่ยนแปลงทาง ร่างกายจิตใจ อารมณ์ และพัฒนาการทางเพศ อย่างเหมาะสม  การเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และ พัฒนาการทางเพศ - ลักษณะการเปลี่ยนแปลงทาง ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และ พัฒนาการทางเพศ - การยอมรับและการปรับตัว ต่อการเปลี่ยนแปลงทาง ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และ พัฒนาการทางเพศ
  • 16. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง - การเบี่ยงเบนทางเพศ 2. แสดงทักษะการ ปฏิเสธเพื่อป้องกันตนเอง จากการถูกล่วงละเมิด ทางเพศ  ทักษะปฏิเสธเพื่อป้องกันการ ถูกล่วงละเมิดทางเพศ ม. ๒ 1. วิเคราะห์ปัจจัยที่มี อิทธิพลต่อ เจตคติใน เรื่องเพศ  ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อเจตคติ ในเรื่องเพศ - ครอบครัว - วัฒนธรรม - เพื่อน - สื่อ 2. วิเคราะห์ปัญหาและ ผลกระทบที่เกิดจากการมี เพศสัมพันธ์ในวัยเรียน  ปัญหาและผลกระทบที่เกิด จากการมีเพศสัมพันธ์ในวัย เรียน 3. อธิบายวิธีป้องกัน ตนเองและหลีกเลี่ยงจาก โรคติดต่อทางเพศ สัมพันธ์ เอดส์ และการ ตั้งครรภ์โดยไม่พึง ประสงค์  โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์  โรคเอดส์  การตั้งครรภ์โดยไม่พึง ประสงค์ 4. อธิบายความสำาคัญ ของความเสมอภาคทาง เพศ และวางตัวได้อย่าง เหมาะสม  ความสำาคัญของความเสมอ ภาคทางเพศ  การวางตัวต่อเพศตรงข้าม  ปัญหาทางเพศ  แนวทางการแก้ไขปัญหา ทางเพศ ม.๓ 1. อธิบายอนามัยแม่และ เด็ก การวางแผน ครอบครัว และวิธีการ ปฏิบัติตนที่เหมาะสม  องค์ประกอบของอนามัย เจริญพันธุ์ - อนามัยแม่และเด็ก - การวางแผนครอบครัว 2. วิเคราะห์ปัจจัยที่มี ผลกระทบต่อการตั้ง  ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการ ตั้งครรภ์
  • 17. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ครรภ์ - แอลกอฮอล์ - สารเสพติด - บุหรี่ - สภาพแวดล้อม - การติดเชื้อ - โรคที่เกิดจากภาวะการตั้ง ครรภ์ 3. วิเคราะห์สาเหตุ และ เสนอแนวทางป้องกัน แก้ไขความขัดแย้งใน ครอบครัว  สาเหตุความขัดแย้งใน ครอบครัว  แนวทางป้องกัน แก้ไข ความขัดแย้งในครอบครัว ม.๔– ม.๖ 1. วิเคราะห์อิทธิพลของ ครอบครัว เพื่อน สังคม และวัฒนธรรมที่มีผลต่อ พฤติกรรมทางเพศและ การดำาเนินชีวิต  อิทธิพลของครอบครัว เพื่อน สังคม และวัฒนธรรมที่มี ต่อพฤติกรรมทางเพศ และการ ดำาเนินชีวิต 2. วิเคราะห์ค่านิยมใน เรื่องเพศ ตามวัฒนธรรม ไทยและวัฒนธรรม อื่น ๆ  ค่านิยมในเรื่องเพศตาม วัฒนธรรมไทย และวัฒนธรรม อื่น ๆ 3. เลือกใช้ทักษะที่ เหมาะสมในการป้องกัน ลดความขัดแย้งและแก้ ปัญหาเรื่องเพศและ ครอบครัว  แนวทางในการเลือกใช้ ทักษะต่าง ๆ ในการป้องกัน ลดความขัดแย้ง และแก้ปัญหา เรื่องเพศ และครอบครัว - ทักษะการสื่อสารและสร้าง สัมพันธภาพ - ทักษะการต่อรอง - ทักษะการปฏิเสธ - ทักษะการคิดวิเคราะห์ - ทักษะการตัดสินใจ และ แก้ไขปัญหา ฯลฯ 4. วิเคราะห์สาเหตุและ ผลของความขัดแย้งที่  ความขัดแย้งที่อาจเกิดขึ้น
  • 18. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง อาจเกิดขึ้นระหว่าง นักเรียน หรือเยาวชน ในชุมชน และเสนอ แนวทางแก้ไขปัญหา ระหว่างนักเรียนหรือเยาวชน ในชุมชน - สาเหตุของความขัดแย้ง - ผลกระทบที่เกิดจากความขัด แย้งระหว่างนักเรียน หรือ เยาวชนในชุมชน - แนวทางในการแก้ปัญหาที่ อาจเกิดจากความขัดแย้งของ นักเรียนหรือเยาวชนในชุมชน
  • 19. สาระที่ ๓ การเคลื่อนไหว การออกกำาลังกาย การเล่น เกม กีฬาไทย และกีฬาสากล มาตรฐาน พ ๓.๑ เข้าใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทาง กาย การเล่นเกม และกีฬา ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.๑ 1. เคลื่อนไหวร่างกาย ขณะอยู่กับที่ เคลื่อนที่ และใช้อุปกรณ์ประกอบ  ธรรมชาติของการ เคลื่อนไหวร่างกายในชีวิต ประจำาวัน - แบบอยู่กับที่ เช่น นั่ง ยืน ก้มเงย เอียง ซ้าย ขวา เคลื่อนไหวข้อมือ ข้อเท้า แขน ขา - แบบเคลื่อนที่ เช่น เดิน วิ่ง กระโดด กลิ้งตัว - แบบใช้อุปกรณ์ประกอบ เช่น จับ โยน เตะ เคาะ 2. เล่นเกมเบ็ดเตล็ดและ เข้าร่วมกิจกรรมทางกาย ที่ใช้การเคลื่อนไหวตาม ธรรมชาติ  กิจกรรมทางกายที่ใช้ในการ เคลื่อนไหวตามธรรมชาติ - การเล่นเกมเบ็ดเตล็ด ป. ๒ 1. ควบคุมการ เคลื่อนไหวร่างกาย ขณะอยู่กับที่ เคลื่อนที่ และใช้อุปกรณ์ประกอบ  ลักษณะและวิธีการของ การเคลื่อนไหวร่างกาย แบบ อยู่กับที่ เช่น กระโดด บิดตัว ดึง ผลัก แบบเคลื่อนที่ เช่น กระโดดเขย่ง ก้าวชิดก้าว วิ่ง ตามทิศทางที่กำาหนด และแบบ ใช้อุปกรณ์ประกอบ เช่น คีบ ขว้าง ตี 2. เล่มเกมเบ็ดเตล็ดและ เข้าร่วมกิจกรรมทางกาย ที่วิธีเล่น อาศัยการ เคลื่อนไหวเบื้องต้นทั้ง แบบอยู่กับที่ เคลื่อนที่ และใช้อุปกรณ์ประกอบ  การเล่นเกมเบ็ดเตล็ด และ เข้าร่วมกิจกรรมทางกายที่วิธี เล่นอาศัยการเคลื่อนไหวเบื้อง ต้นทั้งแบบอยู่กับที่ เคลื่อนที่ และใช้อุปกรณ์ประกอบ ป. ๓ 1. ควบคุมการ  การเคลื่อนไหวร่างกาย
  • 20. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง เคลื่อนไหวร่างกาย ขณะอยู่กับที่ เคลื่อนที่ และใช้อุปกรณ์ประกอบ อย่างมีทิศทาง แบบอยู่กับที่ เช่น ย่อยืด เขย่ง พับตัว เคลื่อนไหวลำาตัว การ เคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่ เช่น เดินต่อเท้า เดินถอย-หลัง กระโจน และแบบใช้อุปกรณ์ ประกอบโดยมีการบังคับ ทิศทาง เช่น ดีด ขว้าง โยน และรับ  วิธีการควบคุมการ เคลื่อนไหวร่างกายแบบต่างๆ อย่างมีทิศทาง 2. เคลื่อนไหวร่างกายที่ ใช้ทักษะการเคลื่อนไหว แบบบังคับทิศทาง ใน การเล่นเกมเบ็ดเตล็ด  กิจกรรมทางกายที่ใช้ ทักษะการเคลื่อนไหวแบบ บังคับทิศทาง ในการเล่นเกม เบ็ดเตล็ด ป. ๔ 1. ควบคุมตนเองเมื่อใช้ ทักษะ การ เคลื่อนไหวในลักษณะ ผสมผสานได้ทั้งแบบอยู่ กับที่ เคลื่อนที่ และใช้ อุปกรณ์ประกอบ  การเคลื่อนไหวร่างกาย แบบผสมผสานทั้งแบบอยู่กับที่ เช่น กระโดดหมุนตัว กระโดด- เหยียดตัว แบบเคลื่อนที่ เช่น ซิกแซ็ก วิ่งเปลี่ยนทิศทาง ควบม้า และแบบใช้อุปกรณ์ ประกอบ เช่น บอล เชือก 2. ฝึกกายบริหารท่ามือ เปล่าประกอบจังหวะ  กายบริหารท่ามือเปล่าประกอบ จังหวะ 3. เล่นเกมเลียนแบบและ กิจกรรมแบบผลัด  เกมเลียนแบบและกิจกรรม แบบผลัด ๔. เล่นกีฬาพื้นฐานได้ อย่างน้อย ๑ ชนิด  กีฬาพื้นฐาน เช่น แชร์บอล แฮนด์บอล ห่วงข้าม ตาข่าย ป. ๕ 1. จัดรูปแบบการ เคลื่อนไหว แบบ ผสมผสาน และควบคุม ตนเองเมื่อใช้ทักษะการ  การจัดรูปแบบการ เคลื่อนไหวร่างกาย แบบผสม ผสาน และการปฏิบัติกิจกรรม ทางกายทั้งแบบอยู่กับที่
  • 21. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง เคลื่อนไหว ตาม แบบที่กำาหนด เคลื่อนที่ และใช้อุปกรณ์ ประกอบตามแบบที่กำาหนด เช่น การฝึกกายบริหาร ยืดหยุ่นขั้น พื้นฐาน เป็นต้น 2. เล่มเกมนำาไปสู่กีฬาที่ เลือกและกิจกรรมการ เคลื่อนไหวแบบผลัด  เกมนำาไปสู่กีฬาและกิจกรรม แบบผลัดที่มีการตี เขี่ย รับ – ส่งสิ่งของ ขว้าง และวิ่ง 3. ควบคุมการ เคลื่อนไหวในเรื่องการ รับแรง การใช้แรงและ ความสมดุล  การเคลื่อนไหวในเรื่องการรับ แรง การใช้แรงและความสมดุล 4. แสดงทักษะกลไกใน การปฏิบัติกิจกรรมทาง กายและเล่นกีฬา  ทักษะกลไกที่ส่งผลต่อการ ปฏิบัติกิจกรรมทางกายและเล่น กีฬา 5. เล่นกีฬาไทย และ กีฬาสากลประเภทบุคคล และประเภททีมได้อย่าง ละ ๑ ชนิด  การเล่นกีฬาไทย เช่น ตะกร้อวง วิ่งชักธง และกีฬา สากล เช่น กรีฑาประเภทลู่ แบดมินตัน เปตอง ฟุตบอล เทเบิลเทนนิส ว่ายนำ้า 6. อธิบายหลักการ และ เข้าร่วมกิจกรรม นันทนาการ อย่างน้อย ๑ กิจกรรม  หลักการและกิจกรรม นันทนาการ ป. ๖ 1. แสดงทักษะการ เคลื่อนไหวร่วมกับผู้อื่น ในลักษณะแบบผลัดและ แบบผสมผสานได้ตาม ลำาดับทั้งแบบอยู่กับที่ เคลื่อนที่ และใช้อุปกรณ์ ประกอบ และการ เคลื่อนไหวประกอบเพลง  การเคลื่อนไหวร่วมกับผู้อื่น แบบผลัดในลักษณะผสมผสาน ในการร่วมกิจกรรมทางกาย เช่น กิจกรรมแบบผลัด กาย บริหารประกอบเพลง ยืดหยุ่น ขั้นพื้นฐานที่ใช้ท่าต่อเนื่อง และ การต่อตัวท่าง่าย ๆ 2. จำาแนกหลักการ เคลื่อนไหวในเรื่องการรับ  การเคลื่อนไหวในเรื่องการ รับแรง การใช้แรง และความ
  • 22. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง แรง การใช้แรง และ ความสมดุลในการ เคลื่อนไหวร่างกายใน การเล่นเกม เล่นกีฬา และนำาผลมาปรับปรุง เพิ่มพูนวิธีปฏิบัติของตนและ ผููู้อื่น สมดุลกับการพัฒนาทักษะการ เคลื่อนไหว ในการเล่นเกมและ กีฬา 3. เล่นกีฬาไทย กีฬา สากลประเภทบุคคลและ ประเภททีมได้อย่างละ ๑ ชนิด  การเล่นกีฬาไทย กีฬา สากล ประเภทบุคคลและ ประเภททีม เช่น กรีฑาประเภท ลู่ และลาน เปตอง ว่าย นำ้า เทเบิลเทนนิส วอลเลย์บอล ฟุตบอล ตะกร้อวง 4. ใช้ทักษะกลไก เพื่อ ปรับปรุงเพิ่มพูนความ สามารถของตนและผู้อื่น ในการเล่นกีฬา  การใช้ข้อมูลด้านทักษะ กลไกเพื่อปรับปรุงและเพิ่มพูน ความสามารถในการปฏิบัติ กิจกรรมทางกาย และเล่นกีฬา ๕. ร่วมกิจกรรม นันทนาการอย่างน้อย ๑ กิจกรรม แล้วนำาความรู้ และหลักการที่ได้ไปใช้ เป็นฐานการศึกษา หาความรู้เรื่องอื่น ๆ  การนำาความรู้และหลักการ ของกิจกรรมนันทนาการไปใช้ เป็นฐานการศึกษาหาความรู้ ม. ๑ 1. เพิ่มพูนความสามารถ ของตน ตามหลักการ เคลื่อนไหวที่ใช้ทักษะ กลไกและทักษะพื้นฐานที่ นำาไปสู่การพัฒนาทักษะ การเล่นกีฬา  หลักการเพิ่มพูนความ สามารถในการเคลื่อนไหวที่ใช้ ทักษะกลไกและทักษะพื้นฐานที่ นำาไปสู่การพัฒนาทักษะการเล่น กีฬา 2. เล่นกีฬาไทยและกีฬา สากลประเภทบุคคลและ ทีมโดยใช้ทักษะพื้นฐาน  การเล่นกีฬาไทย และกีฬา สากลที่เลือก เช่น กรีฑา ประเภทลู่และลาน บาสเกตบอล
  • 23. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตามชนิดกีฬา อย่างละ ๑ ชนิด กระบี่ เทเบิลเทนนิส เทนนิส ว่ายนำ้า 3. ร่วมกิจกรรม นันทนาการอย่างน้อย ๑ กิจกรรมและนำาหลัก ความรู้ที่ได้ไปเชื่อมโยง สัมพันธ์กับวิชาอื่น  การนำาความรู้และหลักการ ของกิจกรรมนันทนาการไปใช้ เชื่อมโยงสัมพันธ์กับวิชาอื่น ม. ๒ 1. นำาผลการปฏิบัติตน เกี่ยวกับทักษะกลไกและ ทักษะการเคลื่อนไหวใน การเล่นกีฬาจากแหล่ง ข้อมูลที่หลากหลายมา สรุปเป็นวิธีที่เหมาะสมใน บริบทของตนเอง  การนำาผลการปฏิบัติตนเกี่ยว กับทักษะกลไกและทักษะการ เคลื่อนไหวในการเล่นกีฬาจาก แหล่งข้อมูลที่หลากหลายมาสรุป เป็นวิธีที่เหมาะสมในบริบทของ ตนเองในการเล่นกีฬา 2. เล่นกีฬาไทยและกีฬา สากล ทั้ง ประเภทบุคคลและทีมได้ อย่างละ ๑ ชนิด  การเล่นกีฬาไทย กีฬา สากลตามชนิดกีฬาที่เลือก เช่น กรีฑาประเภทลู่และลาน บาสเกตบอล กระบี่ เทนนิส ตระกร้อลอดบ่วง ฟุตซอล ว่ายนำ้า เทควันโด 3. เปรียบเทียบ ประสิทธิภาพของรูปแบบ การเคลื่อนไหวที่ส่งผล ต่อการเล่นกีฬาและ กิจกรรมในชีวิตประจำา วัน  ประสิทธิภาพของรูปแบบ การเคลื่อนไหวที่ส่งผลต่อการ เล่นกีฬาและกิจกรรมในชีวิต ประจำาวัน 4. ร่วมกิจกรรม นันทนาการอย่างน้อย ๑ กิจกรรม และนำาความรู้ และหลักการที่ได้ไปปรับ ใช้ในชีวิตประจำาวัน  การนำาประสบการณ์จาก การร่วมกิจกรรมนันทนาการไป ปรับใช้ในชีวิตประจำาวัน
  • 24. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง อย่างเป็นระบบ ม. ๓ ๑. เล่นกีฬาไทยและ กีฬาสากล ได้ อย่างละ ๑ ชนิดโดยใช้ เทคนิค ที่เหมาะ สมกับตนเองและทีม  เทคนิคและวิธีการเล่น กีฬา ไทยและกีฬาสากลที่เลือก เช่น กรีฑาประเภทลู่และลาน วอลเลย์บอล บาสเกตบอล ดาบสองมือ เทนนิส ตะกร้อข้าม ตาข่าย ฟุตบอล ๒. นำาหลักการ ความรู้ และทักษะ ในการ เคลื่อนไหว กิจกรรมทาง กาย การเล่นกม และ การเล่นกีฬาไปใช้ สร้างเสริมสุขภาพอย่าง ต่อเนื่อง เป็นระบบ  การนำาหลักการ ความรู้ ทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม การเล่นกีฬาไปใช้เป็นระบบ สร้างเสริมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง ๓. ร่วมกิจกรรม นันทนาการอย่างน้อย ๑ กิจกรรมและนำาหลัก ความรู้วิธีการไปขยายผล การเรียนรู้ให้กับผู้อื่น  การจัดกิจกรรมนันทนาการ แก่ผู้อื่น ม.๔– ม.๖ 1. วิเคราะห์ความคิดรวบ ยอดเกี่ยวกับการ เคลื่อนไหวรูปแบบต่างๆ ในการเล่นกีฬา  ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับ การเคลื่อนไหวรูปแบบต่าง ๆ ในการเล่นกีฬา  การวิเคราะห์ความคิดรวบ ยอดเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวรูป แบบต่างๆ ในการเล่นกีฬา 2. ใช้ความสามารถของ ตน เพื่อเพิ่ม ศักยภาพของทีม คำานึง ถึงผล ที่เกิดต่อผู้ อื่นและสังคม  การใช้ความสามารถของ ตนในการเล่นกีฬา เพื่อเพิ่ม ศักยภาพของทีม โดยคำานึงถึง ผลที่เกิดต่อผู้อื่นและสังคม 3. เล่นกีฬาไทย กีฬา สากลประเภทบุคคล / คู่ กีฬาประเภททีมได้อย่าง น้อย ๑ ชนิด  กีฬาประเภทบุคคล / คู่ ประเภททีม เช่น ฟุตซอล รักบี้ฟุตบอล ยิมนาสติก ลีลาศ ซอฟท์บอล
  • 25. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง เทนนิส เซปักตะกร้อ มวยไทย กระบี่กระบอง พลอง ง้าว ๔. แสดงการเคลื่อนไหว ได้อย่างสร้างสรรค์  การเคลื่อนไหวที่ สร้างสรรค์ เช่น กิจกรรมเข้า จังหวะ เชียร์ลีดเดอร์ ๕. เข้าร่วมกิจกรรม นันทนาการนอกโรงเรียน และนำาหลักการแนวคิด ไปปรับปรุงและพัฒนา คุณภาพชีวิตของตนและ สังคม  การนำาหลักการและ แนวคิดของกิจกรรม นันทนาการไปปรับปรุงและ พัฒนาคุณภาพชีวิตของตน และสังคม สาระที่ ๓ การเคลื่อนไหว การออกกำาลังกาย การเล่น เกม กีฬาไทย และกีฬาสากล มาตรฐาน พ ๓.๒ รักการออกกำาลังกาย การเล่นเกม และการเล่น กีฬา ปฏิบัติเป็นประจำาอย่างสมำ่าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีนำ้าใจนักกีฬา มีจิต วิญญาณในการแข่งขัน และชื่นชม ในสุนทรียภาพของ การกีฬา ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.๑ 1. ออกกำาลังกาย และ  การออกกำาลังกาย และการ
  • 26. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง เล่นเกม ตามคำาแนะนำา อย่างสนุกสนาน เล่นเกมเบ็ดเตล็ด 2. ปฏิบัติตนตามกฎ กติกา ข้อตกลงในการ เล่นเกมตามคำาแนะนำา  กฎ กติกา ข้อตกลงใน การเล่นเกมเบ็ดเตล็ด ป.๒ 1. ออกกำาลังกาย และ เล่นเกม ได้ด้วยตนเอง อย่างสนุกสนาน  การออกกำาลังกาย และเล่น เกมเบ็ดเตล็ด  ประโยชน์ของการออก กำาลังกายและการเล่นเกม 2. ปฏิบัติตามกฎ กติกา และข้อตกลงในการเล่น เกมเป็นกลุ่ม  กฎ กติกา ข้อตกลงในการ เล่นเกมเป็นกลุ่ม ป. ๓ 1. เลือกออกกำาลังกาย การละเล่นพื้นเมือง และ เล่นเกม ที่เหมาะสม กับจุดเด่น จุดด้อย และ ข้อจำากัดของตนเอง  แนวทางการเลือกออก กำาลังกาย การละเล่นพื้นเมือง และเล่นเกมที่เหมาะสมกับจุด เด่น จุดด้อยและข้อจำากัด ของแต่ละบุคคล 2. ปฏิบัติตามกฎ กติกา และข้อตกลงของการ ออกกำาลังกาย การเล่น เกม การละเล่นพื้นเมือง ได้ด้วยตนเอง  การออกกำาลังกาย เกม และการละเล่นพื้นเมือง  กฎ กติกาและข้อตกลงใน การออกกำาลังกาย การเล่น เกม และการละเล่นพื้นเมือง ป. ๔ 1. ออกกำาลังกาย เล่น เกม และกีฬาที่ตนเอง ชอบและมีความสามารถ ในการวิเคราะห์ ผลพัฒนาการของตนเอง ตามตัวอย่างและแบบ ปฏิบัติของผู้อื่น  การออกกำาลังกาย เล่น เกม ตามความชอบของตนเอง และเล่นกีฬาพื้นฐานร่วมกับผู้ อื่น  การวิเคราะห์ผลพัฒนาการ ของตนเองในการออกกำาลัง กาย เล่นเกมและเล่นกีฬา ตามตัวอย่างและแบบปฏิบัติ ของผู้อื่น  คุณค่าของการออกกำาลัง กาย เล่นเกม และเล่นกีฬา ที่มีต่อสุขภาพ 2. ปฏิบัติตามกฎ กติกา การเล่นกีฬาพื้นฐาน - การปฏิบัติตามกฎ กติกา การเล่นกีฬาพื้นฐาน ตามชนิด
  • 27. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตามชนิดกีฬาที่เล่น กีฬาที่เล่น ป. ๕ 1. ออกกำาลังกายอย่างมี รูปแบบ เล่นเกมที่ใช้ ทักษะการคิดและตัดสิน ใจ  หลักการและรูปแบบการ ออกกำาลังกาย  การออกกำาลังกาย และ การเล่นเกม เช่น เกมเบ็ดเตล็ด เกมเลียนแบบ เกมนำา และ การละเล่นพื้นเมือง 2. เล่นกีฬาที่ตนเองชอบ อย่างสมำ่าเสมอ โดย สร้างทางเลือกในวิธี ปฏิบัติของตนเองอย่าง หลากหลาย และมีนำ้าใจ นักกีฬา  การเล่นกีฬาไทย และกีฬา สากลประเภทบุคคลและทีมที่ เหมาะสมกับวัยอย่างสมำ่าเสมอ  การสร้างทางเลือกในวิธี ปฏิบัติในการเล่นกีฬาอย่าง หลากหลาย และมีนำ้าใจ นักกีฬา 3. ปฏิบัติตามกฎกติกา การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล ตามชนิด กีฬาที่เล่น  กฎ กติกาในการเล่นเกม กีฬาไทยและกีฬาสากลตาม ชนิดกีฬาที่เล่น  วิธีการรุกและวิธีป้องกันใน การเล่นกีฬาไทยและกีฬาสากล ที่เล่น 4. ปฏิบัติตนตามสิทธิ ของตนเอง ไม่ละเมิด สิทธิผู้อื่นและยอมรับใน ความแตกต่างระหว่าง บุคคลในการเล่นเกม และกีฬาไทย กีฬาสากล  สิทธิของตนเองและผู้อื่นใน การเล่นเกมและกีฬา  ความแตกต่างระหว่าง บุคคลในการเล่นเกม และกีฬา ป. ๖ 1. อธิบายประโยชน์และ หลักการออกกำาลังกาย เพื่อสุขภาพ สมรรถภาพ ทางกายและการสร้าง เสริมบุคลิกภาพ  ประโยชน์และหลักการ ออกกำาลังกายเพื่อสุขภาพ สมรรถภาพทางกายและการ สร้างเสริมบุคลิกภาพ 2. เล่นเกมที่ใช้ทักษะ การวางแผน และ สามารถเพิ่มพูนทักษะ การออกกำาลังกายและ  การเล่นเกมที่ใช้ทักษะการ วางแผน  การเพิ่มพูนทักษะการออก กำาลังกายและการเคลื่อนไหว
  • 28. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง เคลื่อนไหวอย่างเป็น ระบบ อย่างเป็นระบบ 3. เล่นกีฬาที่ตนเองชื่น ชอบและสามารถประเมิน ทักษะการเล่นของตนเป็น ประจำา  การเล่นกีฬาประเภทบุคคล และประเภททีมที่ชื่นชอบ  การประเมินทักษะการเล่น กีฬาของตน 4. ปฏิบัติตามกฎ กติกา ตามชนิดกีฬาที่เล่น โดย คำานึงถึงความปลอดภัย ของตนเองและผู้อื่น  กฎ กติกาในการเล่นกีฬา ไทย กีฬาสากลตามชนิดกีฬา ที่เล่น 5. จำาแนกกลวิธีการรุก การป้องกัน และนำาไป ใช้ในการเล่นกีฬา  กลวิธีการรุก การป้องกัน ในการเล่นกีฬา 6. เล่นเกมและกีฬา ด้วยความสามัคคีและมี นำ้าใจนักกีฬา  การสร้างความสามัคคีและ ความมีนำ้าใจนักกีฬาในการ เล่นเกมและกีฬา ม. ๑ 1. อธิบายความสำาคัญ ของการออกกำาลังกาย และเล่นกีฬา จนเป็นวิถี ชีวิตที่มีสุขภาพดี 2. ออกกำาลังกายและ เลือกเข้าร่วมเล่นกีฬา ตามความถนัด ความ สนใจอย่างเต็มความ สามารถ พร้อมทั้งมีการ ประเมินการเล่นของตน และผู้อื่น  ความสำาคัญของการออก กำาลังกายและเล่นกีฬา จนเป็น วิถีชีวิตที่มีสุขภาพดี  การออกกำาลังกาย เช่น กายบริหาร แบบต่างๆ เต้นแอโรบิก โยคะ รำามวยจีน  การเล่นกีฬาไทย และกีฬา สากล ทั้งประเภทบุคคลและทีม  การประเมินการเล่นกีฬา ของตนเองและผู้อื่น 3. ปฏิบัติตามกฎ กติกา และข้อตกลงตามชนิด กีฬาที่เลือกเล่น  กฎ กติกา การเล่นเกมและ การแข่งขันกีฬาที่เลือกเล่น 4. วางแผนการรุกและ การป้องกันในการเล่น กีฬาที่เลือกและนำาไปใช้ ในการเล่นอย่างเป็น ระบบ  รูปแบบ วิธีการรุกและ ป้องกันในการเล่นกีฬาที่เลือก
  • 29. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 5. ร่วมมือในการเล่น กีฬา และการทำางานเป็น ทีมอย่างสนุกสนาน  การเล่น การแข่งขันกีฬา และการทำางานเป็นทีม 6. วิเคราะห์เปรียบเทียบ และยอมรับความแตกต่าง ระหว่างวิธีการเล่นกีฬา ของตนเองกับผู้อื่น  การยอมรับความสามารถ และความแตกต่างระหว่าง บุคคลในการเล่นกีฬา ม. ๒ 1. อธิบายสาเหตุการ เปลี่ยนแปลงทางกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ที่เกิดจาก การ ออกกำาลัง กาย และเล่นกีฬาเป็น ประจำาจนเป็นวิถีชีวิต  สาเหตุการเปลี่ยนแปลง ทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา จากการออกกำาลังกายและการ เล่นกีฬาอย่างสมำ่าเสมอ จนเป็นวิถีชีวิต  การสร้างวิถีชีวิตที่มี สุขภาพดี โดยการออกกำาลัง กายและเล่นกีฬาเป็นประจำา 2. เลือกเข้าร่วมกิจกรรม การออกกำาลังกาย เล่น กีฬาตาม ความ ถนัดและความสนใจ พร้อมทั้งวิเคราะห์ความ แตกต่างระหว่างบุคคล เพื่อเป็นแนวทางในการ พัฒนาตนเอง  การออกกำาลังกายและการ เล่นกีฬาไทย กีฬาสากลทั้ง ประเภทบุคคลและประเภททีม  การวิเคราะห์ความแตก ต่างระหว่างบุคคลเพื่อเป็น แนวทางในการพัฒนาการร่วม กิจกรรมการออกกำาลังกายและ เล่นกีฬา 3. มีวินัย ปฏิบัติตามกฎ กติกา และข้อตกลงใน การเล่นกีฬาที่เลือก  วินัยในการฝึก และการ เล่นกีฬา ตามกฎ กติกาและ ข้อตกลง 4. วางแผนการรุกและ การป้องกันในการเล่น กีฬาที่เลือกและนำาไปใช้ ในการเล่นอย่างเหมาะ สมกับทีม  รูปแบบ กลวิธีการรุก การ ป้องกันในการเล่นกีฬาเป็นทีม  ประโยชน์ของการเล่นและ การทำางาน เป็นทีม  หลักการให้ความร่วมมือใน การเล่น การแข่งขัน กีฬาและการทำางานเป็นทีม 5. นำาผลการปฏิบัติใน การเล่นกีฬามาสรุปเป็น  การพัฒนาวิธีเล่นกีฬาที่ เหมาะสมกับตนเอง
  • 30. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง วิธีที่เหมาะสมกับตนเอง ด้วยความมุ่งมั่น - การเลือกวิธีเล่น - การแก้ไขข้อบกพร่อง - การเพิ่มทักษะ  การสร้างแรงจูงใจและการ สร้างความมุ่งมั่นในการเล่น และแข่งขันกีฬา ม. ๓ 1. มีมารยาทในการเล่น และดูกีฬาด้วยความมี นำ้าใจนักกีฬา  มารยาทในการเล่นและ การดูกีฬาด้วยความมีนำ้าใจ นักกีฬา 2. ออกกำาลังกายและเล่น กีฬาอย่างสมำ่าเสมอและ นำาแนวคิดหลักการจาก การเล่นไปพัฒนา คุณภาพชีวิตของตนด้วย ความภาคภูมิใจ  การออกำาลังกายและการ เล่นกีฬาประเภทบุคคล และ ประเภททีม  การนำาประสบการณ์ แนวคิดจากการ ออกกำาลัง กายและเล่นกีฬาไปประยุกต์ใช้ ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต 3. ปฏิบัติตนตามกฎ กติกา และข้อตกลงใน การเล่นตามชนิดกีฬาที่ เลือกและนำาแนวคิดที่ได้ ไปพัฒนาคุณภาพชีวิต ของตนในสังคม  กฎ กติกาและข้อตกลงใน การเล่นกีฬาที่เลือกเล่น  การประยุกต์ประสบการณ์ การปฏิบัติตามกฎ กติกา ข้อ ตกลงในการเล่นกีฬาไปใช้ พัฒนาคุณภาพชีวิตของตนใน สังคม 4. จำาแนกกลวิธีการรุก การป้องกัน และใช้ใน การเล่นกีฬาที่เลือกและ ตัดสินใจเลือกวิธีที่เหมาะ สมกับทีมไปใช้ได้ตาม สถานการณ์ของการเล่น  วิธีการประยุกต์ใช้กลวิธี การรุกและการป้องกันในการ เล่นกีฬาได้ตามสถานการณ์ ของการเล่น 5. เสนอผลการพัฒนา สุขภาพของตนเองที่เกิด จากการออกกำาลังกาย และการเล่นกีฬาเป็น ประจำา  การพัฒนาสุขภาพตนเองที่ เกิดจากการออกกำาลังกายและ การเล่นกีฬาเป็นประจำา ม. ๔– ม.๖ 1. ออกกำาลังกายและเล่น กีฬา ที่เหมาะ  การออกกำาลังกายด้วยวิธีที่ ชอบ เช่น
  • 31. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สมกับตนเองอย่าง สมำ่าเสมอ และใช้ความ สามารถของตนเองเพิ่ม ศักยภาพของทีม ลด ความเป็นตัวตน คำานึง ถึงผลที่เกิดต่อสังคม ฝึกกายบริหารแบบต่างๆ ขี่ จักรยาน การออกกำาลังกายจากการ ทำางาน ในชีวิตประจำาวัน การรำา กระบอง รำามวยจีน  การเล่นกีฬาประเภทบุคคล และประเภททีม  การใช้ความสามารถของ ตนในการเพิ่มศักยภาพของทีม ในการเล่นกีฬาและการเล่น โดยคำานึงถึงประโยชน์ต่อ สังคม  การวางแผนกำาหนด กิจกรรมการออกกำาลัง-กายและ เล่นกีฬา 2. อธิบายและปฏิบัติ เกี่ยวกับสิทธิ กฎ กติกา กลวิธีต่างๆ ในระหว่าง การเล่น การแข่งขัน กีฬากับผู้อื่นและนำาไป สรุปเป็นแนวปฏิบัติและ ใช้ในชีวิตประจำาวัน อย่างต่อเนื่อง  สิทธิ กฎ กติกาการเล่น กีฬา  กลวิธี หลักการรุก การ ป้องกันอย่างสร้างสรรค์ในการ เล่นและแข่งขันกีฬา  การนำาประสบการณ์จาก การเล่นกีฬาไปใช้ในชีวิต ประจำาวัน 3. แสดงออกถึงการมี มารยาทในการดู การ เล่นและการแข่งขันกีฬา ด้วยความมีนำ้าใจนักกีฬา และนำาไปใช้ปฏิบัติทุก โอกาส จนเป็น บุคลิกภาพที่ดี  การปฏิบัติตนในเรื่อง มารยาทในการดู การเล่น การแข่งขัน ความมีนำ้าใจ นักกีฬา  บุคลิกภาพที่ดี 4. ร่วมกิจกรรมทางกาย และเล่นกีฬาอย่างมีความ สุข ชื่นชมในคุณค่าและ ความงามของการกีฬา  ความสุขที่ได้จากการเข้า ร่วมกิจกรรมทางกาย และเล่น กีฬา  คุณค่าและความงามของ การกีฬา
  • 32. สาระที่ ๔ การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการ ป้องกันโรค มาตรฐาน พ ๔.๑ เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การดำารงสุขภาพ การป้องกันโรค และการสร้างเสริม สมรรถภาพเพื่อสุขภาพ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.๑ 1. ปฏิบัติตนตามหลักสุข บัญญัติแห่งชาติตามคำา แนะนำา  การปฏิบัติตนตามหลักสุข บัญญัติแห่งชาติ 2. บอกอาการเจ็บป่วยที่ เกิดขึ้นกับตนเอง  ลักษณะอาการเจ็บป่วยที่เกิด ขึ้นกับตนเอง - ปวดศีรษะ - ตัวร้อน - มีนำ้ามูก - ปวดท้อง - ผื่นคัน (หนังศีรษะ ผิวหนัง) - ฟกชำ้า ฯลฯ 3. ปฏิบัติตนตามคำา แนะนำาเมื่อมีอาการเจ็บ ป่วย  วิธีปฏิบัติตนเมื่อมีอาการเจ็บ ป่วยที่เกิดขึ้นกับตนเอง ป. ๒ 1. บอกลักษณะของการ มีสุขภาพดี  ลักษณะของการมีสุขภาพดี - ร่างกายแข็งแรง - จิตใจ ร่าเริง แจ่มใส - มีความสุข - มีความปลอดภัย 2. เลือกกินอาหารที่มี ประโยชน์  อาหารที่มีประโยชน์และไม่มี ประโยชน์ 3. ระบุของใช้และของ เล่นที่มีผลเสียต่อสุขภาพ  ของใช้และของเล่นที่มีผล เสียต่อสุขภาพ 4. อธิบายอาการและวิธี ป้องกันการเจ็บป่วย การ  อาการและวิธีป้องกันการเจ็บ ป่วย