SlideShare a Scribd company logo
1 of 60
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกน
กลาง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษา
ไทย
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
สำานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
๑๔ กรกฎาคม ๒๕๕๑
สารบัญ
ห
น้า
คำานำา
ทำาไมต้องเรียนภาษาไทย ๑
เรียนรู้อะไรในภาษาไทย ๑
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ๒
คุณภาพผู้เรียน ๓
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ๖
สาระที่ ๑ การอ่าน ๖
สาระที่ ๒ การเขียน ๑๕
สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพูด ๒๒
สาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษาไทย ๒๘
สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม ๓๓
อภิธานศัพท์ ๓๘
คณะผู้จัดทำา ๔๗
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ทำาไมต้องเรียนภาษาไทย
ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ของชาติเป็นสมบัติทางวัฒนธรรมอัน
ก่อให้เกิดความเป็นเอกภาพและเสริมสร้างบุคลิกภาพของคนในชาติ
ให้มีความเป็นไทย เป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสารเพื่อสร้างความ
เข้าใจและความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ทำาให้สามารถประกอบกิจธุระ การ
งาน และดำารงชีวิตร่วมกันในสังคมประชาธิปไตยได้อย่างสันติสุข
และเป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์จากแหล่งข้อมูล
สารสนเทศต่างๆ เพื่อพัฒนาความรู้ พัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห์
วิจารณ์ และสร้างสรรค์ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และ
ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนำาไปใช้ใน
การพัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ นอกจากนี้ยังเป็น
สื่อแสดงภูมิปัญญาของบรรพบุรุษด้านวัฒนธรรม ประเพณี และ
สุนทรียภาพ เป็นสมบัติลำ้าค่าควรแก่การเรียนรู้ อนุรักษ์ และ
สืบสานให้คงอยู่คู่ชาติไทยตลอดไป
เรียนรู้อะไรในภาษาไทย
ภาษาไทยเป็นทักษะที่ต้องฝึกฝนจนเกิดความชำานาญในการ
ใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร การเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ และเพื่อนำา
ไปใช้ในชีวิตจริง
• การอ่าน การอ่านออกเสียงคำา ประโยค การอ่านบท
ร้อยแก้ว คำาประพันธ์ชนิดต่างๆ การอ่านในใจเพื่อสร้างความ
เข้าใจ และการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้จากสิ่งที่อ่าน เพื่อ
นำาไป ปรับใช้ในชีวิตประจำาวัน
• การเขียน การเขียนสะกดตามอักขรวิธี การเขียนสื่อสาร
โดยใช้ถ้อยคำาและรูปแบบต่างๆ ของการเขียน ซึ่งรวมถึงการเขียน
เรียงความ ย่อความ รายงานชนิดต่างๆ การเขียนตามจินตนาการ
วิเคราะห์วิจารณ์ และเขียนเชิงสร้างสรรค์
• การฟัง การดู และการพูด การฟังและดูอย่างมี
วิจารณญาณ การพูดแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก พูดลำาดับเรื่อง
ราวต่างๆ อย่างเป็นเหตุเป็นผล การพูดในโอกาสต่างๆ ทั้งเป็น
ทางการและไม่เป็นทางการ และการพูดเพื่อโน้มน้าวใจ
• หลักการใช้ภาษาไทย ธรรมชาติและกฎเกณฑ์ของ
ภาษาไทย การใช้ภาษาให้ถูกต้องเหมาะสมกับโอกาสและบุคคล
การแต่งบทประพันธ์ประเภทต่างๆ และอิทธิพลของภาษาต่าง
ประเทศในภาษาไทย
• วรรณคดีและวรรณกรรม วิเคราะห์วรรณคดีและ
วรรณกรรมเพื่อศึกษาข้อมูล แนวความคิด คุณค่าของงานประพันธ์
และความเพลิดเพลิน การเรียนรู้และทำาความเข้าใจบทเห่ บทร้อง
เล่นของเด็ก เพลงพื้นบ้านที่เป็นภูมิปัญญาที่มีคุณค่าของไทย ซึ่ง
ได้ถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด ค่านิยม ขนบธรรมเนียมประเพณี เรื่อง
ราวของสังคมในอดีต และความงดงามของภาษา เพื่อให้เกิดความ
ซาบซึ้งและภูมิใจ ในบรรพบุรุษที่ได้สั่งสมสืบทอดมาจนถึง
ปัจจุบัน
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ ๑ การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด
เพื่อนำาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำาเนินชีวิต
และมีนิสัยรักการอ่าน
สาระที่ ๒ การเขียน
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียง
ความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่างๆ
เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษา
ค้นคว้าอย่าง มีประสิทธิภาพ
สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพูด
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ
และพูดแสดงความรู้ ความคิด และ ความรู้สึกใน
โอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์
สาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑
เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การ
เปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปัญญา
ทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ
สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์
วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและนำา
มาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
คุณภาพผู้เรียน
จบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓
• อ่านออกเสียงคำา คำาคล้องจอง ข้อความ เรื่องสั้นๆ และบท
ร้อยกรองง่ายๆ ได้ถูกต้องคล่องแคล่ว เข้าใจความหมายของคำาและ
ข้อความที่อ่าน ตั้งคำาถามเชิงเหตุผล ลำาดับเหตุการณ์ คาดคะเน
เหตุการณ์ สรุปความรู้ข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน ปฏิบัติตามคำาสั่ง คำา
อธิบายจากเรื่องที่อ่านได้ เข้าใจความหมายของข้อมูลจาก
แผนภาพ แผนที่ และแผนภูมิ อ่านหนังสืออย่างสมำ่าเสมอ และ
มีมารยาทในการอ่าน
• มีทักษะในการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียน
บรรยาย บันทึกประจำาวัน เขียนจดหมายลาครู เขียนเรื่องเกี่ยว
กับประสบการณ์ เขียนเรื่องตามจินตนาการและมีมารยาทในการ
เขียน
• เล่ารายละเอียดและบอกสาระสำาคัญ ตั้งคำาถาม ตอบ
คำาถาม รวมทั้งพูดแสดงความคิดความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู
พูดสื่อสารเล่าประสบการณ์และพูดแนะนำา หรือพูดเชิญชวนให้ผู้
อื่นปฏิบัติตาม และมีมารยาทในการฟัง ดู และพูด
• สะกดคำาและเข้าใจความหมายของคำา ความแตกต่างของ
คำาและพยางค์ หน้าที่ของคำา ในประโยค มีทักษะการใช้
พจนานุกรมในการค้นหาความหมายของคำา แต่งประโยคง่ายๆ
แต่ง คำาคล้องจอง แต่งคำาขวัญ และเลือกใช้ภาษาไทย
มาตรฐานและภาษาถิ่นได้เหมาะสมกับกาลเทศะ
• เข้าใจและสามารถสรุปข้อคิดที่ได้จากการอ่านวรรณคดีและ
วรรณกรรมเพื่อนำาไปใช้ในชีวิตประจำาวัน แสดงความคิดเห็นจาก
วรรณคดีที่อ่าน รู้จักเพลงพื้นบ้าน เพลงกล่อมเด็ก ซึ่งเป็น
วัฒนธรรมของท้องถิ่น ร้องบทร้องเล่นสำาหรับเด็กในท้องถิ่น ท่องจำา
บทอาขยานและบทร้อยกรอง ที่มีคุณค่าตามความสนใจได้
จบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
• อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองเป็นทำานอง
เสนาะได้ถูกต้อง อธิบายความหมายโดยตรงและความหมายโดย
นัยของคำา ประโยค ข้อความ สำานวนโวหาร จากเรื่องที่อ่าน
เข้าใจคำาแนะนำา คำาอธิบายในคู่มือต่างๆ แยกแยะข้อคิดเห็นและข้อ
เท็จจริง รวมทั้งจับใจความสำาคัญของเรื่องที่อ่านและนำาความรู้
ความคิดจากเรื่องที่อ่านไปตัดสินใจแก้ปัญหาในการดำาเนินชีวิตได้
มีมารยาทและมีนิสัยรักการอ่าน และเห็นคุณค่าสิ่งที่อ่าน
• มีทักษะในการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
เขียนสะกดคำา แต่งประโยคและเขียนข้อความ ตลอดจนเขียน
สื่อสารโดยใช้ถ้อยคำาชัดเจนเหมาะสม ใช้แผนภาพ โครงเรื่องและ
แผนภาพความคิด เพื่อพัฒนางานเขียน เขียนเรียงความ ย่อความ
จดหมายส่วนตัว กรอกแบบรายการต่างๆ เขียนแสดงความรู้สึก
และความคิดเห็น เขียนเรื่องตามจินตนาการอย่างสร้างสรรค์ และมี
มารยาทในการเขียน
• พูดแสดงความรู้ ความคิดเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู เล่าเรื่อง
ย่อหรือสรุปจากเรื่องที่ฟังและดู ตั้งคำาถาม ตอบคำาถามจากเรื่องที่
ฟังและดู รวมทั้งประเมินความน่าเชื่อถือจากการฟังและดูโฆษณา
อย่างมีเหตุผล พูดตามลำาดับขั้นตอนเรื่องต่างๆ อย่างชัดเจน พูด
รายงานหรือประเด็นค้นคว้าจาก การฟัง การดู การสนทนา
และพูดโน้มน้าวได้อย่างมีเหตุผล รวมทั้งมีมารยาทในการดูและพูด
• สะกดคำาและเข้าใจความหมายของคำา สำานวน คำาพังเพย
และสุภาษิต รู้และเข้าใจ ชนิดและหน้าที่ของคำาในประโยค
ชนิดของประโยค และคำาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ใช้
คำาราชาศัพท์และคำาสุภาพได้อย่างเหมาะสม แต่งประโยค แต่งบท
ร้อยกรองประเภทกลอนสี่ กลอนสุภาพ และกาพย์ยานี ๑๑
• เข้าใจและเห็นคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน เล่า
นิทานพื้นบ้าน ร้องเพลงพื้นบ้านของท้องถิ่น นำาข้อคิดเห็นจากเรื่อง
ที่อ่านไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง และท่องจำาบทอาขยานตามที่
กำาหนดได้
จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
• อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองเป็นทำานอง
เสนาะได้ถูกต้อง เข้าใจความหมายโดยตรงและความหมายโดยนัย
จับใจความสำาคัญและรายละเอียดของสิ่งที่อ่าน แสดงความคิดเห็น
และข้อโต้แย้งเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน และเขียนกรอบแนวคิด ผังความ
คิด ย่อความ เขียนรายงานจาก สิ่งที่อ่านได้ วิเคราะห์ วิจารณ์
อย่างมีเหตุผล ลำาดับความอย่างมีขั้นตอนและความเป็นไปได้ของ
เรื่องที่อ่าน รวมทั้งประเมินความถูกต้องของข้อมูลที่ใช้สนับสนุน
จากเรื่องที่อ่าน
• เขียนสื่อสารด้วยลายมือที่อ่านง่ายชัดเจน ใช้ถ้อยคำาได้ถูก
ต้องเหมาะสมตามระดับภาษาเขียนคำาขวัญ คำาคม คำาอวยพรใน
โอกาสต่างๆ โฆษณา คติพจน์ สุนทรพจน์ ชีวประวัติ อัตชีวประวัติ
และประสบการณ์ต่างๆ เขียนย่อความ จดหมายกิจธุระ แบบกรอก
สมัครงาน เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ความคิดหรือโต้
แย้งอย่างมีเหตุผล ตลอดจนเขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าและ
เขียนโครงงาน
• พูดแสดงความคิดเห็น วิเคราะห์ วิจารณ์ ประเมินสิ่งที่ได้
จากการฟังและดู นำาข้อคิดไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำาวัน พูด
รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบ
มีศิลปะในการพูด พูดในโอกาสต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ และ
พูดโน้มน้าวอย่างมีเหตุผลน่าเชื่อถือ รวมทั้งมีมารยาทในการฟัง ดู
และพูด
• เข้าใจและใช้คำาราชาศัพท์ คำาบาลีสันสกฤต คำาภาษาต่าง
ประเทศอื่นๆ คำาทับศัพท์ และศัพท์บัญญัติในภาษาไทย วิเคราะห์
ความแตกต่างในภาษาพูด ภาษาเขียน โครงสร้างของประโยครวม
ประโยคซ้อน ลักษณะภาษาที่เป็นทางการ กึ่งทางการและไม่เป็น
ทางการ และแต่งบทร้อยกรองประเภทกลอนสุภาพ กาพย์ และโคลงสี่
สุภาพ
• สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน วิเคราะห์ตัว
ละครสำาคัญ วิถีชีวิตไทย และคุณค่าที่ได้รับจากวรรณคดีวรรณกรรม
และบทอาขยาน พร้อมทั้งสรุปความรู้ข้อคิดเพื่อนำาไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตจริง
จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖
• อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองเป็นทำานอง
เสนาะได้ถูกต้องและเข้าใจ ตีความ แปลความ และขยายความ
เรื่องที่อ่านได้ วิเคราะห์วิจารณ์เรื่องที่อ่าน แสดงความคิดเห็นโต้
แย้งและเสนอความคิดใหม่จากการอ่านอย่างมีเหตุผล คาดคะเน
เหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน เขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก
ย่อความ และเขียนรายงานจากสิ่งที่อ่าน สังเคราะห์ ประเมินค่า
และนำาความรู้ความคิดจากการอ่านมาพัฒนาตน พัฒนาการเรียน
และพัฒนาความรู้ทางอาชีพ และ นำาความรู้ความคิดไปประยุกต์ใช้
แก้ปัญหาในการดำาเนินชีวิต มีมารยาทและมีนิสัยรักการอ่าน
• เขียนสื่อสารในรูปแบบต่างๆ โดยใช้ภาษาได้ถูกต้องตรง
ตามวัตถุประสงค์ ย่อความจากสื่อที่มีรูปแบบและเนื้อหาที่หลาก
หลาย เรียงความแสดงแนวคิดเชิงสร้างสรรค์โดยใช้โวหารต่างๆ
เขียนบันทึก รายงานการศึกษาค้นคว้าตามหลักการเขียนทาง
วิชาการ ใช้ข้อมูลสารสนเทศในการอ้างอิง ผลิตผลงานของตนเอง
ในรูปแบบต่างๆ ทั้งสารคดีและบันเทิงคดี รวมทั้งประเมินงาน
เขียนของผู้อื่นและนำามาพัฒนางานเขียนของตนเอง
• ตั้งคำาถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู มี
วิจารณญาณในการเลือกเรื่องที่ฟังและดู วิเคราะห์วัตถุประสงค์
แนวคิด การใช้ภาษา ความน่าเชื่อถือของเรื่องที่ฟังและดู ประเมิน
สิ่งที่ฟังและดูแล้วนำาไปประยุกต์ใช้ในการดำาเนินชีวิต มีทักษะการ
พูดในโอกาสต่างๆ ทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการโดยใช้ภาษา
ที่ถูกต้อง พูดแสดงทรรศนะ โต้แย้ง โน้มน้าว และเสนอแนวคิด
ใหม่อย่างมีเหตุผล รวมทั้งมีมารยาทในการฟัง ดู และพูด
• เข้าใจธรรมชาติของภาษา อิทธิพลของภาษา และลักษณะ
ของภาษาไทย ใช้คำาและกลุ่มคำาสร้างประโยคได้ตรงตาม
วัตถุประสงค์ แต่งคำาประพันธ์ประเภท กาพย์ โคลง ร่ายและฉันท์
ใช้ภาษาได้เหมาะสมกับกาลเทศะและใช้คำาราชาศัพท์และคำาสุภาพ
ได้อย่างถูกต้อง วิเคราะห์หลักการ สร้างคำาในภาษาไทย อิทธิพล
ของภาษาต่างประเทศในภาษาไทยและภาษาถิ่น วิเคราะห์และ
ประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์
• วิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการ
วิจารณ์วรรณคดีเบื้องต้น รู้และเข้าใจลักษณะเด่นของวรรณคดี
ภูมิปัญญาทางภาษาและวรรณกรรมพื้นบ้าน เชื่อมโยงกับการเรียนรู้
ทางประวัติศาสตร์และวิถีไทย ประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ และ
นำาข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
สาระที่ ๑ การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด
เพื่อนำาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำาเนินชีวิต
และมีนิสัยรักการอ่าน
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.๑ ๑. อ่านออกเสียงคำา คำา
คล้องจอง และข้อความ
สั้นๆ
๒. บอกความหมายของคำา
และข้อความที่อ่าน
 การอ่านออกเสียงและบอก
ความหมายของคำา คำา
คล้องจอง และข้อความที่
ประกอบด้วย คำาพื้นฐาน คือ
คำาที่ใช้ในชีวิตประจำาวัน
ไม่น้อยกว่า ๖๐๐ คำา รวมทั้ง
คำาที่ใช้เรียนรู้ใน กลุ่มสาระ
การเรียนรู้อื่น ประกอบด้วย
- คำาที่มีรูปวรรณยุกต์และไม่มี
รูปวรรณยุกต์
- คำาที่มีตัวสะกดตรงตาม
มาตราและไม่ตรงตามมาตรา
- คำาที่มีพยัญชนะควบกลำ้า
- คำาที่มีอักษรนำา
๓. ตอบคำาถามเกี่ยวกับ
เรื่องที่อ่าน
๔. เล่าเรื่องย่อจากเรื่องที่
อ่าน
๕. คาดคะเนเหตุการณ์
จากเรื่องที่อ่าน
 การอ่านจับใจความจากสื่อ
ต่างๆ เช่น
- นิทาน
- เรื่องสั้นๆ
- บทร้องเล่นและบทเพลง
- เรื่องราวจากบทเรียนในกลุ่ม
สาระการเรียนรู้ภาษาไทยและ
กลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
๖. อ่านหนังสือตามความ
สนใจ อย่าง
สมำ่าเสมอและนำาเสนอ
เรื่องที่อ่าน
 การอ่านหนังสือตามความสนใจ
เช่น
- หนังสือที่นักเรียนสนใจและ
เหมาะสมกับวัย
- หนังสือที่ครูและนักเรียน
กำาหนดร่วมกัน
๗. บอกความหมายของ
เครื่องหมาย หรือ
สัญลักษณ์สำาคัญที่มัก
พบเห็นในชีวิตประจำาวัน
 การอ่านเครื่องหมายหรือ
สัญลักษณ์ ประกอบด้วย
- เครื่องหมายสัญลักษณ์ต่างๆ
ที่พบเห็นในชีวิตประจำาวัน
- เครื่องหมายแสดงความ
ปลอดภัยและแสดงอันตราย
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
๘. มีมารยาท ในการอ่าน  มารยาทในการอ่าน เช่น
- ไม่อ่านเสียงดังรบกวนผู้อื่น
- ไม่เล่นกันขณะที่อ่าน
- ไม่ทำาลายหนังสือ
ป.๒ ๑. อ่านออกเสียงคำา คำา
คล้องจอง ข้อความ และ
บทร้อยกรองง่ายๆ
ได้ถูกต้อง
๒. อธิบายความหมายของ
คำาและข้อความที่อ่าน
 การอ่านออกเสียงและการบอก
วามหมายของคำา คำาคล้องจอง
ข้อความ และบทร้อยกรอง
ง่ายๆ ที่ประกอบด้วยคำาพื้นฐาน
เพิ่มจาก ป. ๑ ไม่น้อย
กว่า ๘๐๐ คำา รวมทั้งคำาที่ใช้
เรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
ประกอบด้วย
- คำาที่มีรูปวรรณยุกต์และไม่มี
รูปวรรณยุกต์
- คำาที่มีตัวสะกดตรงตาม
มาตราและไม่ตรงตามมาตรา
- คำาที่มีพยัญชนะควบกลำ้า
- คำาที่มีอักษรนำา
- คำาที่มีตัวการันต์
- คำาที่มี รร
- คำาที่มีพยัญชนะและสระที่ไม่
ออกเสียง
๓. ตั้งคำาถามและตอบ
คำาถามเกี่ยวกับ
เรื่องที่อ่าน
๔. ระบุใจความสำาคัญและ
รายละเอียดจากเรื่องที่
อ่าน
๕. แสดงความคิดเห็นและ
คาดคะเนเหตุการณ์จาก
เรื่องที่อ่าน
 การอ่านจับใจความจากสื่อ
ต่างๆ เช่น
- นิทาน
- เรื่องเล่าสั้น ๆ
- บทเพลงและบทร้อยกรอง
ง่ายๆ
- เรื่องราวจากบทเรียนในกลุ่ม
สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
และกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
- ข่าวและเหตุการณ์ประจำาวัน
๖. อ่านหนังสือตามความ
สนใจอย่างสมำ่าเสมอและ
นำาเสนอเรื่องที่อ่าน
 การอ่านหนังสือตามความสนใจ
เช่น
- หนังสือที่นักเรียนสนใจและ
เหมาะสมกับวัย
- หนังสือที่ครูและนักเรียน
กำาหนดร่วมกัน
๗. อ่านข้อเขียนเชิง  การอ่านข้อเขียนเชิงอธิบาย
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
อธิบาย และปฏิบัติตาม
คำาสั่งหรือข้อแนะนำา
และปฏิบัติตามคำาสั่งหรือข้อ
แนะนำา
- การใช้สถานที่สาธารณะ
- คำาแนะนำาการใช้เครื่องใช้ที่
จำาเป็นในบ้านและในโรงเรียน
๘. มีมารยาทในการอ่าน  มารยาทในการอ่าน เช่น
- ไม่อ่านเสียงดังรบกวนผู้อื่น
- ไม่เล่นกันขณะที่อ่าน
- ไม่ทำาลายหนังสือ
- ไม่ควรแย่งอ่านหรือชะโงก
หน้าไปอ่านขณะที่ผู้อื่นกำาลัง
อ่านอยู่
ป.๓ ๑. อ่านออกเสียงคำา
ข้อความ เรื่องสั้นๆ และ
บทร้อยกรองง่ายๆ ได้ถูก
ต้อง คล่องแคล่ว
๒. อธิบายความหมายของ
คำาและข้อความที่อ่าน
 การอ่านออกเสียงและการบอก
ความหมายของคำา คำา
คล้องจอง ข้อความ และบทร้อย
กรองง่ายๆ ที่ประกอบด้วยคำา
พื้นฐานเพิ่มจาก ป.๒ ไม่น้อย
กว่า ๑,๒๐๐ คำา รวมทั้งคำาที่
เรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
ประกอบด้วย
- คำาที่มีตัวการันต์
- คำาที่มี รร
- คำาที่มีพยัญชนะและสระไม่
ออกเสียง
- คำาพ้อง
- คำาพิเศษอื่นๆ เช่น คำาที่ใช้ ฑ
ฤ ฤๅ
๓. ตั้งคำาถามและตอบ
คำาถามเชิงเหตุผลเกี่ยว
กับเรื่องที่อ่าน
 การอ่านจับใจความจากสื่อ
ต่างๆ เช่น
- นิทานหรือเรื่องเกี่ยวกับท้อง
ถิ่น
๔. ลำาดับเหตุการณ์และ
คาดคะเนเหตุการณ์จาก
เรื่องที่อ่านโดยระบุ
เหตุผลประกอบ
๕. สรุปความรู้และข้อคิด
จากเรื่องที่อ่านเพื่อนำาไป
- เรื่องเล่าสั้นๆ
- บทเพลงและบทร้อยกรอง
- บทเรียนในกลุ่มสาระการ
เรียนรู้อื่น
- ข่าวและเหตุการณ์ในชีวิต
ประจำาวันในท้องถิ่นและ
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ใช้ในชีวิตประจำาวัน ชุมชน
๖. อ่านหนังสือตามความ
สนใจ อย่าง
สมำ่าเสมอและนำาเสนอ
เรื่องที่อ่าน
 การอ่านหนังสือตามความสนใจ
เช่น
- หนังสือที่นักเรียนสนใจและ
เหมาะสมกับวัย
- หนังสือที่ครูและนักเรียน
กำาหนดร่วมกัน
๗. อ่านข้อเขียนเชิง
อธิบายและปฏิบัติตามคำา
สั่งหรือข้อแนะนำา
 การอ่านข้อเขียนเชิงอธิบาย
และปฏิบัติตามคำาสั่งหรือข้อ
แนะนำา
- คำาแนะนำาต่างๆ ในชีวิต
ประจำาวัน
- ประกาศ ป้ายโฆษณา และ
คำาขวัญ
๘. อธิบายความหมายของ
ข้อมูลจากแผนภาพ
แผนที่ และแผนภูมิ
 การอ่านข้อมูลจากแผนภาพ
แผนที่ และแผนภูมิ
๙. มีมารยาทในการอ่าน  มารยาทในการอ่าน เช่น
- ไม่อ่านเสียงดังรบกวนผู้อื่น
- ไม่เล่นกันขณะที่อ่าน
- ไม่ทำาลายหนังสือ
- ไม่ควรแย่งอ่านหรือชะโงก
หน้าไปอ่านขณะที่ผู้อื่นกำาลัง
อ่าน
ป.๔ ๑. อ่านออกเสียงบทร้อย
แก้วและ บทร้อย
กรองได้ถูกต้อง
๒. อธิบายความหมายของ
คำา ประโยค และสำานวน
จากเรื่องที่อ่าน
 การอ่านออกเสียงและการบอก
ความหมายของบทร้อยแก้ว
และบทร้อยกรองที่ประกอบด้วย
- คำาที่มี ร ล เป็นพยัญชนะต้น
- คำาที่มีพยัญชนะควบกลำ้า
- คำาที่มีอักษรนำา
- คำาประสม
- อักษรย่อและเครื่องหมาย
วรรคตอน
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
- ประโยคที่มีสำานวนเป็นคำา
พังเพย สุภาษิต ปริศนา
คำาทาย และเครื่องหมาย
วรรคตอน
 การอ่านบทร้อยกรองเป็น
ทำานองเสนาะ
๓. อ่านเรื่องสั้นๆ ตามเวลา
ที่กำาหนดและตอบคำาถาม
จากเรื่องที่อ่าน
๔. แยกข้อเท็จจริงและ
ข้อคิดเห็น
จากเรื่องที่อ่าน
๕. คาดคะเนเหตุการณ์
จากเรื่องที่อ่านโดยระบุ
เหตุผลประกอบ
๖. สรุปความรู้และข้อคิด
จากเรื่องที่อ่าน
 การอ่านจับใจความจากสื่อ
ต่างๆ เช่น
- เรื่องสั้น ๆ
- เรื่องเล่าจากประสบการณ์
- นิทานชาดก
- บทความ
- บทโฆษณา
- งานเขียนประเภทโน้มน้าวใจ
เพื่อนำาไปใช้ในชีวิต
ประจำาวัน
- ข่าวและเหตุการณ์ประจำาวัน
- สารคดีและบันเทิงคดี
๗. อ่านหนังสือที่มีคุณค่า
ตามความสนใจอย่าง
สมำ่าเสมอและแสดงความ
คิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่
อ่าน
 การอ่านหนังสือตามความสนใจ
เช่น
- หนังสือที่นักเรียนสนใจและ
เหมาะสมกับวัย
- หนังสือที่ครูและนักเรียน
กำาหนดร่วมกัน
๘. มีมารยาทในการอ่าน  มารยาทในการอ่าน
ป.๕ ๑. อ่านออกเสียงบทร้อย
แก้วและ บทร้อย
กรองได้ถูกต้อง
๒. อธิบายความหมายของ
คำา ประโยคและข้อความ
ที่เป็นการบรรยาย
และการพรรณนา
 การอ่านออกเสียงและการบอก
ความหมายของบทร้อยแก้ว
และบทร้อยกรองที่ประกอบด้วย
- คำาที่มีพยัญชนะควบกลำ้า
- คำาที่มีอักษรนำา
- คำาที่มีตัวการันต์
- อักษรย่อและเครื่องหมาย
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
๓. อธิบายความหมายโดย
นัย จากเรื่องที่อ่านอย่าง
หลากหลาย
วรรคตอน
- ข้อความที่เป็นการบรรยาย
และพรรณนา
- ข้อความที่มีความหมายโดย
นัย
 การอ่านบทร้อยกรองเป็น
ทำานองเสนาะ
๔. แยกข้อเท็จจริงและ
ข้อคิดเห็นจากเรื่องที่
อ่าน
๕. วิเคราะห์และแสดง
ความคิดเห็นเกี่ยวกับ
เรื่องที่อ่านเพื่อนำาไปใช้
ในการดำาเนินชีวิต
 การอ่านจับใจความจากสื่อ
ต่างๆ เช่น
- วรรณคดีในบทเรียน
- บทความ
- บทโฆษณา
- งานเขียนประเภทโน้มน้าวใจ
- ข่าวและเหตุการณ์ประจำาวัน
๖. อ่านงานเขียนเชิง
อธิบาย คำาสั่ง ข้อแนะนำา
และปฏิบัติตาม
 การอ่านงานเขียนเชิงอธิบาย
คำาสั่ง ข้อแนะนำา และปฏิบัติ
ตาม เช่น
- การใช้พจนานุกรม
- การใช้วัสดุอุปกรณ์
- การอ่านฉลากยา
- คู่มือและเอกสารของโรงเรียน
ที่เกี่ยวข้องกับนักเรียน
- ข่าวสารทางราชการ
๗. อ่านหนังสือที่มีคุณค่า
ตามความสนใจอย่าง
สมำ่าเสมอและแสดงความ
คิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่
อ่าน
 การอ่านหนังสือตามความสนใจ
เช่น
- หนังสือที่นักเรียนสนใจและ
เหมาะสมกับวัย
- หนังสือที่ครูและนักเรียน
กำาหนดร่วมกัน
๘. มีมารยาทในการอ่าน  มารยาทในการอ่าน
ป.๖ ๑. อ่านออกเสียงบทร้อย
แก้วและ บทร้อย
กรองได้ถูกต้อง
๒. อธิบายความหมายของ
คำา ประโยคและข้อความ
ที่เป็นโวหาร
 การอ่านออกเสียงและการบอก
ความหมายของบทร้อยแก้ว
และบทร้อยกรอง ประกอบด้วย
- คำาที่มีพยัญชนะควบกลำ้า
- คำาที่มีอักษรนำา
- คำาที่มีตัวการันต์
- คำาที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
- อักษรย่อและเครื่องหมาย
วรรคตอน
- วัน เดือน ปีแบบไทย
- ข้อความที่เป็นโวหารต่างๆ
- สำานวนเปรียบเทียบ
 การอ่านบทร้อยกรองเป็น
ทำานองเสนาะ
๓. อ่านเรื่องสั้นๆ อย่าง
หลากหลาย โดยจับ
เวลาแล้วถามเกี่ยวกับ
เรื่องที่อ่าน
๔. แยกข้อเท็จจริงและ
ข้อคิดเห็นจากเรื่องที่
อ่าน
 การอ่านจับใจความจากสื่อ
ต่างๆ เช่น
- เรื่องสั้น ๆ
- นิทานและเพลงพื้นบ้าน
- บทความ
๕. อธิบายการนำาความรู้
และความคิด จากเรื่องที่
อ่านไปตัดสินใจแก้
ปัญหา ในการดำาเนิน
ชีวิต
- พระบรมราโชวาท
- สารคดี
- เรื่องสั้น
- งานเขียนประเภทโน้มน้าว
- บทโฆษณา
- ข่าว และเหตุการณ์สำาคัญ
 การอ่านเร็ว
๖. อ่านงานเขียนเชิง
อธิบาย คำาสั่ง ข้อ
แนะนำา และปฏิบัติตาม
 การอ่านงานเขียนเชิงอธิบาย
คำาสั่ง ข้อแนะนำา และปฏิบัติ
ตาม
- การใช้พจนานุกรม
- การปฏิบัติตนในการอยู่ร่วม
กันในสังคม
- ข้อตกลงในการอยู่ร่วมกันใน
โรงเรียน และการใช้สถานที่
สาธารณะในชุมชนและท้อง
ถิ่น
๗. อธิบายความหมายของ
ข้อมูล จากการอ่าน
แผนผัง แผนที่ แผนภูมิ
และกราฟ
 การอ่านข้อมูลจากแผนผัง
แผนที่ แผนภูมิ และกราฟ
๘. อ่านหนังสือตามความ
สนใจ และอธิบายคุณค่า
ที่ได้รับ
 การอ่านหนังสือตามความสนใจ
เช่น
- หนังสือที่นักเรียนสนใจและ
เหมาะสมกับวัย
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
- หนังสืออ่านที่ครูและนักเรียน
กำาหนดร่วมกัน
๙. มีมารยาทในการอ่าน  มารยาทในการอ่าน
ม.๑ ๑. อ่านออกเสียงบทร้อย
แก้ว และ บทร้อย
กรองได้ถูกต้องเหมาะสม
กับเรื่องที่อ่าน
 การอ่านออกเสียง ประกอบด้วย
- บทร้อยแก้วที่เป็นบทบรรยาย
- บทร้อยกรอง เช่น กลอน
สุภาพ กลอนสักวา กาพย์ยานี
๑๑ กาพย์ฉบัง ๑๖ กาพย์
สุรางคนางค์ ๒๘ และโคลงสี่
สุภาพ
๒. จับใจความสำาคัญจาก
เรื่องที่อ่าน
 การอ่านจับใจความจากสื่อ
ต่างๆ เช่น
๓. ระบุเหตุและผล และข้อ
เท็จจริงกับข้อคิดเห็น
จากเรื่องที่อ่าน
๔. ระบุและอธิบายคำา
เปรียบเทียบ และคำาที่มี
หลายความหมายใน
บริบทต่างๆ จากการอ่าน
๕. ตีความคำายากใน
เอกสารวิชาการ โดย
พิจารณาจากบริบท
- เรื่องเล่าจากประสบการณ์
- เรื่องสั้น
- บทสนทนา
- นิทานชาดก
- วรรณคดีในบทเรียน
- งานเขียนเชิงสร้างสรรค์
- บทความ
๖. ระบุข้อสังเกตและความ
สมเหตุสมผลของงาน
เขียนประเภทชักจูง
โน้มน้าวใจ
- สารคดี
- บันเทิงคดี
- เอกสารทางวิชาการที่มีคำา
ประโยค และข้อความที่ต้อง
ใช้บริบทช่วยพิจารณาความ
หมาย
- งานเขียนประเภทชักจูงโน้ม
น้าวใจเชิงสร้างสรรค์
๗. ปฏิบัติตามคู่มือแนะนำา
วิธีการใช้งาน ของ
เครื่องมือหรือเครื่องใช้
ในระดับที่ยากขึ้น
 การอ่านและปฏิบัติตามเอกสาร
คู่มือ
๘. วิเคราะห์คุณค่าที่ได้รับ
จากการอ่านงานเขียน
อย่างหลากหลายเพื่อนำา
ไปใช้แก้ปัญหาในชีวิต
 การอ่านหนังสือตามความสนใจ
เช่น
- หนังสือที่นักเรียนสนใจและ
เหมาะสมกับวัย
- หนังสืออ่านที่ครูและนักเรียน
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
กำาหนดร่วมกัน
๙. มีมารยาทในการอ่าน  มารยาทในการอ่าน
ม.๒ ๑. อ่านออกเสียงบทร้อย
แก้ว และ บทร้อย
กรองได้ถูกต้อง
 การอ่านออกเสียง ประกอบด้วย
- บทร้อยแก้วที่เป็นบทบรรยาย
และบทพรรณนา
- บทร้อยกรอง เช่น กลอนบท
ละคร กลอนนิทาน กลอน
เพลงยาว และกาพย์ห่อโคลง
๒. จับใจความสำาคัญ สรุป
ความ และอธิบายราย
ละเอียดจากเรื่องที่อ่าน
๓. เขียนผังความคิดเพื่อ
แสดงความเข้าใจในบท
เรียนต่างๆ ที่อ่าน
๔. อภิปรายแสดงความคิด
เห็น และ ข้อโต้แย้ง
เกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
๕. วิเคราะห์และจำาแนกข้อ
เท็จจริง ข้อมูลสนับสนุน
และข้อคิดเห็นจาก
บทความที่อ่าน
๖. ระบุข้อสังเกตการชวน
เชื่อ การ โน้มน้าว
หรือความสมเหตุสมผล
ของงานเขียน
 การอ่านจับใจความจากสื่อ
ต่างๆ เช่น
- วรรณคดีในบทเรียน
- บทความ
- บันทึกเหตุการณ์
- บทสนทนา
- บทโฆษณา
- งานเขียนประเภทโน้มน้าวใจ
- งานเขียนหรือบทความแสดง
ข้อเท็จจริง
- เรื่องราวจากบทเรียนในกลุ่ม
สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
และกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
๗. อ่านหนังสือ บทความ
หรือคำาประพันธ์อย่าง
หลากหลาย และประเมิน
คุณค่าหรือแนวคิดที่ได้
จากการอ่าน เพื่อนำาไป
ใช้แก้ปัญหาในชีวิต
 การอ่านตามความสนใจ เช่น
- หนังสืออ่านนอกเวลา
- หนังสือที่นักเรียนสนใจและ
เหมาะสมกับวัย
- หนังสืออ่านที่ครูและนักเรียน
กำาหนดร่วมกัน
๘. มีมารยาทในการอ่าน  มารยาทในการอ่าน
ม.๓ ๑. อ่านออกเสียงบทร้อย
แก้ว และ บทร้อย
กรองได้ถูกต้องและ
เหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน
 การอ่านออกเสียง ประกอบด้วย
- บทร้อยแก้วที่เป็นบทความ
ทั่วไปและบทความปกิณกะ
- บทร้อยกรอง เช่น กลอนบท
ละคร กลอนเสภา กาพย์ยานี
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
๑๑ กาพย์ฉบัง ๑๖ และโคลงสี่
สุภาพ
๒. ระบุความแตกต่างของ
คำาที่มีความหมาย
โดยตรงและความหมาย
โดยนัย
๓. ระบุใจความสำาคัญและ
รายละเอียดของข้อมูลที่
สนับสนุนจากเรื่องที่อ่าน
๔. อ่านเรื่องต่างๆ แล้ว
เขียนกรอบแนวคิด ผัง
ความคิด บันทึก ย่อ
ความและรายงาน
๕. วิเคราะห์ วิจารณ์ และ
ประเมินเรื่อง ที่อ่าน
โดยใช้กลวิธีการเปรียบ
เทียบเพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจ
ได้ดีขึ้น
๖. ประเมินความถูกต้อง
ของข้อมูล ที่ใช้
สนับสนุนในเรื่องที่อ่าน
๗. วิจารณ์ความสมเหตุสม
ผล การลำาดับความ และ
ความเป็นไปได้ของเรื่อง
๘. วิเคราะห์เพื่อแสดง
ความคิดเห็นโต้แย้งเกี่ยว
กับเรื่องที่อ่าน
 การอ่านจับใจความจากสื่อ
ต่างๆ เช่น
- วรรณคดีในบทเรียน
- ข่าวและเหตุการณ์สำาคัญ
- บทความ
- บันเทิงคดี
- สารคดี
- สารคดีเชิงประวัติ
- ตำานาน
- งานเขียนเชิงสร้างสรรค์
- เรื่องราวจากบทเรียนในกลุ่ม
สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
และกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
๙. ตีความและประเมิน
คุณค่า และแนวคิดที่
ได้จากงานเขียนอย่าง
หลากหลายเพื่อนำาไปใช้
แก้ปัญหา ในชีวิต
 การอ่านตามความสนใจ เช่น
- หนังสืออ่านนอกเวลา
- หนังสืออ่านตามความสนใจ
และตามวัยของนักเรียน
- หนังสืออ่านที่ครูและนักเรียน
ร่วมกันกำาหนด
๑๐. มีมารยาทในการอ่าน  มารยาทในการอ่าน
ม.๔- ๑. อ่านออกเสียงบทร้อย  การอ่านออกเสียง ประกอบด้วย
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.๖ แก้ว และ บทร้อย
กรองได้อย่างถูกต้อง
ไพเราะ และเหมาะสมกับ
เรื่องที่อ่าน
- บทร้อยแก้วประเภทต่างๆ เช่น
บทความ นวนิยาย และ
ความเรียง
- บทร้อยกรอง เช่น โคลง ฉันท์
กาพย์ กลอน ร่าย และลิลิต
๒. ตีความ แปลความ และ
ขยายความเรื่องที่อ่าน
๓. วิเคราะห์และวิจารณ์
เรื่องที่อ่าน
ในทุกๆ ด้านอย่างมี
เหตุผล
๔. คาดคะเนเหตุการณ์
จากเรื่องที่อ่าน และ
ประเมินค่าเพื่อนำาความรู้
ความคิดไปใช้ตัดสินใจ
แก้ปัญหาในการดำาเนิน
ชีวิต
๕. วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดง
ความคิดเห็นโต้แย้งกับ
เรื่องที่อ่าน และเสนอ
ความคิดใหม่อย่างมี
เหตุผล
๖. ตอบคำาถามจากการ
อ่านประเภทต่างๆ
ภายในเวลาที่กำาหนด
๗. อ่านเรื่องต่างๆ แล้ว
เขียนกรอบแนวคิดผัง
ความคิด บันทึก ย่อ
ความ และรายงาน
๘. สังเคราะห์ความรู้จาก
การอ่าน สื่อสิ่ง
พิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์
และแหล่งเรียนรู้ต่างๆ
มาพัฒนาตน พัฒนาการ
เรียน และพัฒนาความรู้
ทางอาชีพ
 การอ่านจับใจความจากสื่อ
ต่างๆ เช่น
- ข่าวสารจากสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อ
อิเล็กทรอนิกส์และแหล่งเรียน
รู้ต่าง ๆ ในชุมชน
- บทความ
- นิทาน
- เรื่องสั้น
- นวนิยาย
- วรรณกรรมพื้นบ้าน
- วรรณคดีในบทเรียน
- บทโฆษณา
- สารคดี
- บันเทิงคดี
- ปาฐกถา
- พระบรมราโชวาท
- เทศนา
- คำาบรรยาย
- คำาสอน
- บทร้อยกรองร่วมสมัย
- บทเพลง
- บทอาเศียรวาท
- คำาขวัญ
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
๙. มีมารยาทในการอ่าน  มารยาทในการอ่าน
สาระที่ ๒ การเขียน
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียง
ความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่างๆ
เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษา
ค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.๑ ๑. คัดลายมือตัวบรรจงเต็ม
บรรทัด
 การคัดลายมือตัวบรรจงเต็ม
บรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัว
อักษรไทย
๒. เขียนสื่อสารด้วยคำาและ
ประโยคง่ายๆ
 การเขียนสื่อสาร
- คำาที่ใช้ในชีวิตประจำาวัน
- คำาพื้นฐานในบทเรียน
- คำาคล้องจอง
- ประโยคง่ายๆ
๓. มีมารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขียน เช่น
- เขียนให้อ่านง่าย สะอาด ไม่
ขีดฆ่า
- ไม่ขีดเขียนในที่สาธารณะ
- ใช้ภาษาเขียนเหมาะสมกับ
เวลา สถานที่ และบุคคล
ป.๒ ๑. คัดลายมือตัวบรรจงเต็ม
บรรทัด
 การคัดลายมือตัวบรรจงเต็ม
บรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัว
อักษรไทย
๒. เขียนเรื่องสั้นๆ เกี่ยวกับ
ประสบการณ์
 การเขียนเรื่องสั้นๆ เกี่ยวกับ
ประสบการณ์
๓. เขียนเรื่องสั้นๆ ตาม  การเขียนเรื่องสั้นๆ ตาม
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
จินตนาการ จินตนาการ
๔. มีมารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขียน เช่น
- เขียนให้อ่านง่าย สะอาด ไม่
ขีดฆ่า
- ไม่ขีดเขียนในที่สาธารณะ
- ใช้ภาษาเขียนเหมาะสมกับ
เวลา สถานที่ และบุคคล
- ไม่เขียนล้อเลียนผู้อื่นหรือ
ทำาให้ผู้อื่นเสียหาย
ป.๓ ๑. คัดลายมือตัวบรรจงเต็ม
บรรทัด
 การคัดลายมือตัวบรรจงเต็ม
บรรทัดตามรูปแบบการเขียน
ตัวอักษรไทย
๒ เขียนบรรยายเกี่ยวกับ
สิ่งใดสิ่งหนึ่ง ได้อย่าง
ชัดเจน
 การเขียนบรรยายเกี่ยวกับ
ลักษณะของ คน สัตว์ สิ่งของ
สถานที่
๓. เขียนบันทึกประจำาวัน  การเขียนบันทึกประจำาวัน
๔. เขียนจดหมายลาครู  การเขียนจดหมายลาครู
๕. เขียนเรื่องตาม
จินตนาการ
 การเขียนเรื่องตามจินตนาการ
จากคำา ภาพ และหัวข้อที่
กำาหนด
๖. มีมารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขียน เช่น
- เขียนให้อ่านง่าย สะอาด ไม่
ขีดฆ่า
- ไม่ขีดเขียนในที่สาธารณะ
- ใช้ภาษาเขียนเหมาะสมกับ
เวลา สถานที่ และบุคคล
- ไม่เขียนล้อเลียนผู้อื่นหรือ
ทำาให้ผู้อื่นเสียหาย
ป.๔ ๑. คัดลายมือตัวบรรจงเต็ม
บรรทัดและครึ่งบรรทัด
 การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
และครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการ
เขียนตัวอักษรไทย
๒. เขียนสื่อสารโดยใช้คำา
ได้ถูกต้องชัดเจน และ
เหมาะสม
 การเขียนสื่อสาร เช่น
- คำาขวัญ
- คำาแนะนำา
๓. เขียนแผนภาพโครง
เรื่องและแผนภาพความ
คิดเพื่อใช้พัฒนางาน
เขียน
 การนำาแผนภาพโครงเรื่องและ
แผนภาพความคิดไปพัฒนางาน
เขียน
๔. เขียนย่อความจากเรื่อง  การเขียนย่อความจากสื่อต่างๆ
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
สั้นๆ เช่น นิทาน ความเรียงประเภท
ต่างๆ ประกาศ จดหมาย คำา
สอน
๕. เขียนจดหมายถึงเพื่อน
และบิดามารดา
 การเขียนจดหมายถึงเพื่อนและ
บิดามารดา
๖. เขียนบันทึกและเขียน
รายงานจากการศึกษา
ค้นคว้า
 การเขียนบันทึกและเขียน
รายงานจากการศึกษาค้นคว้า
๗. เขียนเรื่องตาม
จินตนาการ
 การเขียนเรื่องตามจินตนาการ
๘. มีมารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขียน
ป.๕ ๑. คัดลายมือตัวบรรจงเต็ม
บรรทัด และครึ่งบรรทัด
 การคัดลายมือตัวบรรจงเต็ม
บรรทัดและ ครึ่งบรรทัด
ตามรูปแบบการเขียนตัวอักษร
ไทย
๒. เขียนสื่อสารโดยใช้คำา
ได้ถูกต้องชัดเจน และ
เหมาะสม
 การเขียนสื่อสาร เช่น
- คำาขวัญ
- คำาอวยพร
- คำาแนะนำาและคำาอธิบายแสดง
ขั้นตอน
๓. เขียนแผนภาพโครง
เรื่องและแผนภาพความ
คิดเพื่อใช้พัฒนางาน
เขียน
 การนำาแผนภาพโครงเรื่องและ
แผนภาพความคิดไปพัฒนางาน
เขียน
๔. เขียนย่อความจากเรื่อง
ที่อ่าน
 การเขียนย่อความจากสื่อต่างๆ
เช่น นิทาน ความเรียงประเภท
ต่างๆ ประกาศ แจ้งความ
แถลงการณ์ จดหมาย คำาสอน
โอวาท คำาปราศรัย
๕. เขียนจดหมายถึงผู้
ปกครองและญาติ
 การเขียนจดหมายถึงผู้ปกครอง
และญาติ
๖. เขียนแสดงความรู้สึก
และความคิดเห็นได้ตรง
ตามเจตนา
 การเขียนแสดงความรู้สึกและ
ความคิดเห็น
๗. กรอกแบบรายการ
ต่างๆ
 การกรอกแบบรายการ
- ใบฝากเงินและใบถอนเงิน
- ธนาณัติ
- แบบฝากส่งพัสดุ
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ไปรษณียภัณฑ์
๘. เขียนเรื่องตาม
จินตนาการ
 การเขียนเรื่องตามจินตนาการ
๙. มีมารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขียน
ป.๖ ๑. คัดลายมือตัวบรรจงเต็ม
บรรทัด และครึ่งบรรทัด
 การคัดลายมือตัวบรรจงเต็ม
บรรทัดและ ครึ่งบรรทัด
ตามรูปแบบการเขียนตัวอักษร
ไทย
๒. เขียนสื่อสารโดยใช้คำา
ได้ถูกต้องชัดเจน และ
เหมาะสม
 การเขียนสื่อสาร เช่น
- คำาขวัญ
- คำาอวยพร
- ประกาศ
๓. เขียนแผนภาพโครง
เรื่องและแผนภาพความ
คิดเพื่อใช้พัฒนางาน
เขียน
 การเขียนแผนภาพโครงเรื่อง
และแผนภาพความคิด
๔. เขียนเรียงความ  การเขียนเรียงความ
๕. เขียนย่อความจากเรื่อง
ที่อ่าน
 การเขียนย่อความจากสื่อต่างๆ
เช่น นิทาน ความเรียงประเภท
ต่างๆ ประกาศ แจ้งความ
แถลงการณ์ จดหมาย คำาสอน
โอวาท คำาปราศรัย
สุนทรพจน์ รายงาน ระเบียบ
คำาสั่ง
๖. เขียนจดหมายส่วนตัว  การเขียนจดหมายส่วนตัว
- จดหมายขอโทษ
- จดหมายแสดงความขอบคุณ
- จดหมายแสดงความเห็นใจ
- จดหมายแสดงความยินดี
๗. กรอกแบบรายการ
ต่างๆ
 การกรอกแบบรายการ
- แบบคำาร้องต่างๆ
- ใบสมัครศึกษาต่อ
- แบบฝากส่งพัสดุและ
ไปรษณียภัณฑ์
๘. เขียนเรื่องตาม
จินตนาการและ
สร้างสรรค์
 การเขียนเรื่องตามจินตนาการ
และสร้างสรรค์
๙. มีมารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขียน
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.๑ ๑. คัดลายมือตัวบรรจงครึ่ง
บรรทัด
 การคัดลายมือตัวบรรจงครึ่ง
บรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัว
อักษรไทย
๒. เขียนสื่อสารโดยใช้
ถ้อยคำาถูกต้องชัดเจน
เหมาะสม และสละสลวย
 การเขียนสื่อสาร เช่น
- การเขียนแนะนำาตนเอง
- การเขียนแนะนำาสถานที่
สำาคัญๆ
- การเขียนบนสื่ออิเล็กทรอนิกส์
๓. เขียนบรรยาย
ประสบการณ์โดยระบุ
สาระสำาคัญและราย
ละเอียดสนับสนุน
 การบรรยายประสบการณ์
๔. เขียนเรียงความ  การเขียนเรียงความเชิง
พรรณนา
๕. เขียนย่อความจากเรื่อง
ที่อ่าน
 การเขียนย่อความจากสื่อต่างๆ
เช่น เรื่องสั้น คำาสอน โอวาท
คำาปราศรัย สุนทรพจน์
รายงาน ระเบียบ คำาสั่ง บท
สนทนาเรื่องเล่าประสบการณ์
๖. เขียนแสดงความคิด
เห็นเกี่ยวกับสาระจากสื่อ
ที่ได้รับ
 การเขียนแสดงความคิดเห็น
เกี่ยวกับสาระจากสื่อต่างๆ เช่น
- บทความ
- หนังสืออ่านนอกเวลา
- ข่าวและเหตุการณ์ประจำาวัน
- เหตุการณ์สำาคัญต่างๆ
๗. เขียนจดหมายส่วนตัว
และจดหมาย กิจธุระ
 การเขียนจดหมายส่วนตัว
- จดหมายขอความช่วยเหลือ
- จดหมายแนะนำา
 การเขียนจดหมายกิจธุระ
- จดหมายสอบถามข้อมูล
๘. เขียนรายงานการศึกษา
ค้นคว้าและโครงงาน
 การเขียนรายงาน ได้แก่
- การเขียนรายงานจากการ
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ศึกษาค้นคว้า
- การเขียนรายงานโครงงาน
๙. มีมารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขียน
ม.๒ ๑. คัดลายมือตัวบรรจงครึ่ง
บรรทัด
 การคัดลายมือตัวบรรจงครึ่ง
บรรทัดตามรูปแบบการเขียน
ตัวอักษรไทย
๒. เขียนบรรยายและ
พรรณนา
 การเขียนบรรยายและพรรณนา
๓. เขียนเรียงความ  การเขียนเรียงความเกี่ยวกับ
ประสบการณ์
๔. เขียนย่อความ  การเขียนย่อความจากสื่อต่างๆ
เช่น นิทาน คำาสอน
บทความทางวิชาการ บันทึก
เหตุการณ์ เรื่องราวในบท
เรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
นิทานชาดก
๕. เขียนรายงานการศึกษา
ค้นคว้า
 การเขียนรายงาน
- การเขียนรายงานจากการ
ศึกษาค้นคว้า
- การเขียนรายงานโครงงาน
๖. เขียนจดหมายกิจธุระ  การเขียนจดหมายกิจธุระ
- จดหมายเชิญวิทยากร
- จดหมายขอความอนุเคราะห์
๗. เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์
และแสดงความรู้ ความ
คิดเห็น หรือโต้แย้ง
ในเรื่องที่อ่านอย่างมี
เหตุผล
 การเขียนวิเคราะห์ วิจารณ์
และแสดงความรู้ ความคิดเห็น
หรือโต้แย้งจากสื่อต่างๆ เช่น
- บทความ
- บทเพลง
- หนังสืออ่านนอกเวลา
- สารคดี
- บันเทิงคดี
๘. มีมารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขียน
ม.๓ ๑. คัดลายมือตัวบรรจงครึ่ง
บรรทัด
 การคัดลายมือตัวบรรจงครึ่ง
บรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัว
อักษรไทย
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
๒. เขียนข้อความโดยใช้
ถ้อยคำาได้ถูกต้องตาม
ระดับภาษา
 การเขียนข้อความตาม
สถานการณ์และโอกาสต่างๆ
เช่น
- คำาอวยพรในโอกาสต่างๆ
- คำาขวัญ
- คำาคม
- โฆษณา
- คติพจน์
- สุนทรพจน์
๓. เขียนชีวประวัติหรือ
อัตชีวประวัติโดยเล่า
เหตุการณ์ ข้อคิดเห็น
และทัศนคติในเรื่องต่างๆ
 การเขียนอัตชีวประวัติหรือ
ชีวประวัติ
๔. เขียนย่อความ  การเขียนย่อความจากสื่อต่างๆ
เช่น นิทาน ประวัติ ตำานาน
สารคดีทางวิชาการ พระราช
ดำารัส พระบรมราโชวาท
จดหมายราชการ
๕. เขียนจดหมายกิจธุระ  การเขียนจดหมายกิจธุระ
- จดหมายเชิญวิทยากร
- จดหมายขอความอนุเคราะห์
- จดหมายแสดงความขอบคุณ
๖. เขียนอธิบาย ชี้แจง
แสดงความคิดเห็นและโต้
แย้งอย่างมีเหตุผล
 การเขียนอธิบาย ชี้แจง แสดง
ความคิดเห็น และโต้แย้งในเรื่อง
ต่างๆ
๗. เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์
และแสดงความรู้ ความ
คิดเห็น หรือโต้แย้ง
ในเรื่องต่างๆ
 การเขียนวิเคราะห์ วิจารณ์
และแสดงความรู้ ความคิดเห็น
หรือโต้แย้งจากสื่อต่างๆ เช่น
- บทโฆษณา
- บทความทางวิชาการ
๘. กรอกแบบสมัครงาน
พร้อมเขียนบรรยายเกี่ยว
กับความรู้และทักษะ
ของตนเองที่เหมาะสมกับ
งาน
 การกรอกแบบสมัครงาน
๙. เขียนรายงานการ  การเขียนรายงาน ได้แก่
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ศึกษาค้นคว้า และโครง
งาน
- การเขียนรายงานจากการ
ศึกษาค้นคว้า
- การเขียนรายงานโครงงาน
๑๐. มีมารยาทในการ
เขียน
 มารยาทในการเขียน
ม.๔-
ม.๖
๑. เขียนสื่อสารในรูปแบบ
ต่างๆ ได้ ตรงตาม
วัตถุประสงค์ โดยใช้
ภาษาเรียบเรียงถูกต้อง มี
ข้อมูล และสาระสำาคัญ
ชัดเจน
 การเขียนสื่อสารในรูปแบบ
ต่างๆ เช่น
- อธิบาย
- บรรยาย
- พรรณนา
- แสดงทรรศนะ
- โต้แย้ง
- โน้มน้าว
- เชิญชวน
- ประกาศ
- จดหมายกิจธุระ
- โครงการและรายงานการ
ดำาเนินโครงการ
- รายงานการประชุม
- การกรอกแบบรายการต่างๆ
๒. เขียนเรียงความ  การเขียนเรียงความ
๓. เขียนย่อความจากสื่อที่
มีรูปแบบ และเนื้อหา
หลากหลาย
 การเขียนย่อความจากสื่อต่างๆ
เช่น
- กวีนิพนธ์ และวรรณคดี
- เรื่องสั้น สารคดี นวนิยาย
บทความทางวิชาการ และ
วรรณกรรมพื้นบ้าน
๔. ผลิตงานเขียนของ
ตนเองในรูปแบบต่างๆ
 การเขียนในรูปแบบต่างๆ เช่น
- สารคดี
- บันเทิงคดี
๕. ประเมินงานเขียนของผู้
อื่น แล้วนำามาพัฒนา
งานเขียนของตนเอง
 การประเมินคุณค่างานเขียนใน
ด้านต่างๆ เช่น
- แนวคิดของผู้เขียน
- การใช้ถ้อยคำา
- การเรียบเรียง
- สำานวนโวหาร
- กลวิธีในการเขียน
๖. เขียนรายงานการศึกษา  การเขียนรายงานเชิงวิชาการ
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ค้นคว้า เรื่องที่
สนใจตามหลักการเขียน
เชิงวิชาการ และใช้
ข้อมูลสารสนเทศอ้างอิง
อย่างถูกต้อง
 การเขียนอ้างอิงข้อมูล
สารสนเทศ
๗. บันทึกการศึกษา
ค้นคว้าเพื่อนำาไปพัฒนา
ตนเองอย่างสมำ่าเสมอ
 การเขียนบันทึกความรู้จาก
แหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย
๘. มีมารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขียน
สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพูด
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และ
พูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึกในโอกาสต่างๆ
อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.๑ ๑. ฟังคำาแนะนำา คำาสั่งง่ายๆ
และปฏิบัติตาม
 การฟังและปฏิบัติตามคำาแนะนำา
คำาสั่งง่ายๆ
๒. ตอบคำาถามและเล่าเรื่อง
ที่ฟังและดู ทั้งที่เป็น
ความรู้และความบันเทิง
๓. พูดแสดงความคิดเห็น
และความรู้สึกจากเรื่องที่
ฟังและดู
 การจับใจความและพูดแสดง
ความคิดเห็น ความรู้สึกจาก
เรื่องที่ฟังและดู ทั้งที่เป็นความรู้
และความบันเทิง เช่น
- เรื่องเล่าและสารคดีสำาหรับ
เด็ก
- นิทาน
- การ์ตูน
- เรื่องขบขัน
๔. พูดสื่อสารได้ตาม
วัตถุประสงค์
 การพูดสื่อสารในชีวิตประจำาวัน
เช่น
- การแนะนำาตนเอง
- การขอความช่วยเหลือ
- การกล่าวคำาขอบคุณ
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
- การกล่าวคำาขอโทษ
๕. มีมารยาทในการฟัง
การดู และการพูด
 มารยาทในการฟัง เช่น
- ตั้งใจฟัง ตามองผู้พูด
- ไม่รบกวนผู้อื่นขณะที่ฟัง
- ไม่ควรนำาอาหารหรือเครื่อง
ดื่มไปรับประทานขณะที่ฟัง
- ให้เกียรติผู้พูดด้วยการปรบ
มือ
- ไม่พูดสอดแทรกขณะที่ฟัง
 มารยาทในการดู เช่น
- ตั้งใจดู
- ไม่ส่งเสียงดังหรือแสดงอาการ
รบกวนสมาธิของผู้อื่น
 มารยาทในการพูด เช่น
- ใช้ถ้อยคำาและกิริยาที่สุภาพ
เหมาะสมกับกาลเทศะ
- ใช้นำ้าเสียงนุ่มนวล
- ไม่พูดสอดแทรกในขณะที่ผู้
อื่นกำาลังพูด
ป.๒ ๑. ฟังคำาแนะนำา คำาสั่งที่
ซับซ้อน และปฏิบัติตาม
 การฟังและปฏิบัติตามคำาแนะนำา
คำาสั่งที่ซับซ้อน
๒. เล่าเรื่องที่ฟังและดูทั้งที่
เป็นความรู้และความ
บันเทิง
๓. บอกสาระสำาคัญของ
เรื่องที่ฟังและดู
๔. ตั้งคำาถามและตอบ
คำาถามเกี่ยวกับเรื่องที่ฟัง
และดู
 การจับใจความและพูดแสดง
ความคิดเห็น ความรู้สึกจาก
เรื่องที่ฟังและดู ทั้งที่เป็นความรู้
และความบันเทิง เช่น
- เรื่องเล่าและสารคดีสำาหรับ
เด็ก
- นิทาน การ์ตูน และเรื่อง
ขบขัน
๕. พูดแสดงความคิดเห็น
และความรู้สึกจากเรื่องที่
ฟังและดู
- รายการสำาหรับเด็ก
- ข่าวและเหตุการณ์ประจำาวัน
- เพลง
๖. พูดสื่อสารได้ชัดเจน
ตรงตามวัตถุประสงค์
 การพูดสื่อสารในชีวิตประจำาวัน
เช่น
- การแนะนำาตนเอง
- การขอความช่วยเหลือ
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
- การกล่าวคำาขอบคุณ
- การกล่าวคำาขอโทษ
- การพูดขอร้องในโอกาสต่างๆ
- การเล่าประสบการณ์ในชีวิต
ประจำาวัน
๗. มีมารยาทในการฟัง
การดู และการพูด
 มารยาทในการฟัง เช่น
- ตั้งใจฟัง ตามองผู้พูด
- ไม่รบกวนผู้อื่นขณะที่ฟัง
- ไม่ควรนำาอาหารหรือเครื่อง
ดื่มไปรับประทานขณะที่ฟัง
- ไม่พูดสอดแทรกขณะที่ฟัง
 มารยาทในการดู เช่น
- ตั้งใจดู
- ไม่ส่งเสียงดังหรือแสดงอาการ
รบกวนสมาธิของผู้อื่น
 มารยาทในการพูด เช่น
- ใช้ถ้อยคำาและกิริยาที่สุภาพ
เหมาะสมกับกาลเทศะ
- ใช้นำ้าเสียงนุ่มนวล
- ไม่พูดสอดแทรกในขณะที่ผู้
อื่นกำาลังพูด
- ไม่พูดล้อเลียนให้ผู้อื่นได้รับ
ความอับอายหรือเสียหาย
ป.๓ ๑. เล่ารายละเอียดเกี่ยวกับ
เรื่องที่ฟังและดูทั้งที่เป็น
ความรู้และความบันเทิง
๒. บอกสาระสำาคัญจาก
การฟังและการดู
๓. ตั้งคำาถามและตอบ
คำาถามเกี่ยวกับเรื่องที่ฟัง
และดู
๔. พูดแสดงความคิดเห็น
และความรู้สึกจากเรื่องที่
ฟังและดู
 การจับใจความและพูดแสดง
ความคิดเห็นและความรู้สึกจาก
เรื่องที่ฟังและดูทั้งที่เป็นความรู้
และความบันเทิง เช่น
- เรื่องเล่าและสารคดีสำาหรับ
เด็ก
- นิทาน การ์ตูน เรื่องขบขัน
- รายการสำาหรับเด็ก
- ข่าวและเหตุการณ์ในชีวิต
ประจำาวัน
- เพลง
๕. พูดสื่อสารได้ชัดเจน
ตรงตามวัตถุประสงค์
 การพูดสื่อสารในชีวิตประจำาวัน
เช่น
- การแนะนำาตนเอง
- การแนะนำาสถานที่ใน
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

More Related Content

What's hot

ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานSAKANAN ANANTASOOK
 
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6sapatchanook
 
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดmouseza
 
ใบงานการพัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคง ม.ปลาย
ใบงานการพัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคง ม.ปลายใบงานการพัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคง ม.ปลาย
ใบงานการพัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคง ม.ปลายpongtum
 
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran_Jarurnphong
 
สำนวนสุภาษิต คำพังเพย
สำนวนสุภาษิต คำพังเพยสำนวนสุภาษิต คำพังเพย
สำนวนสุภาษิต คำพังเพย0856124557
 
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการNapadon Yingyongsakul
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 
ประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อนประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อนพัน พัน
 
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5ปวริศา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์ เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์  เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียงแผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์  เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์ เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียงSunanthaIamprasert
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความพัน พัน
 
โคลงโลกนิติ
โคลงโลกนิติโคลงโลกนิติ
โคลงโลกนิติmakok99
 
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5ปวริศา
 
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3teerachon
 

What's hot (20)

ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
 
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
 
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
 
ใบงานการพัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคง ม.ปลาย
ใบงานการพัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคง ม.ปลายใบงานการพัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคง ม.ปลาย
ใบงานการพัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคง ม.ปลาย
 
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
 
สำนวนสุภาษิต คำพังเพย
สำนวนสุภาษิต คำพังเพยสำนวนสุภาษิต คำพังเพย
สำนวนสุภาษิต คำพังเพย
 
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
ประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อนประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อน
 
ฝึกอ่าน ป.2
ฝึกอ่าน ป.2ฝึกอ่าน ป.2
ฝึกอ่าน ป.2
 
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5
 
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์ เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์  เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียงแผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์  เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์ เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
 
โคลงโลกนิติ
โคลงโลกนิติโคลงโลกนิติ
โคลงโลกนิติ
 
Tha203 2
Tha203 2Tha203 2
Tha203 2
 
ปริมาตรของปริซึม
ปริมาตรของปริซึมปริมาตรของปริซึม
ปริมาตรของปริซึม
 
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5
 
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๕
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๕แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๕
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๕
 
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
 

Similar to มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศBoonlert Aroonpiboon
 
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลางสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลางสปายด์ 'ดื้อ
 
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยหลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยน้อง มัดไหม
 
ภาษาต่างประเทศ
ภาษาต่างประเทศภาษาต่างประเทศ
ภาษาต่างประเทศthanakit553
 
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59Natthapon Inhom
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ nongnoch
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมPignoi Chimpong
 
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดmouseza
 
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรมวิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรมpong_4548
 
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษหลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษBhayubhong
 
บทคัดย่อ. หนังสือสาระ
บทคัดย่อ. หนังสือสาระบทคัดย่อ. หนังสือสาระ
บทคัดย่อ. หนังสือสาระjintanasuti
 
บทท 3-6 กศบป
บทท   3-6 กศบปบทท   3-6 กศบป
บทท 3-6 กศบปNamfon Wannapa
 
นำเสนอหนังสือเสร็จ
นำเสนอหนังสือเสร็จนำเสนอหนังสือเสร็จ
นำเสนอหนังสือเสร็จshelercherries
 

Similar to มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย (20)

มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
 
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลางสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
 
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยหลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
 
ภาษาต่างประเทศ
ภาษาต่างประเทศภาษาต่างประเทศ
ภาษาต่างประเทศ
 
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
 
ภาษาไทย ต้น
ภาษาไทย ต้นภาษาไทย ต้น
ภาษาไทย ต้น
 
04 standard+188
04 standard+18804 standard+188
04 standard+188
 
ภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลายภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลาย
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถม
 
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรมวิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
 
Thai 1-3
Thai 1-3Thai 1-3
Thai 1-3
 
01 หน่วย 1
01 หน่วย 101 หน่วย 1
01 หน่วย 1
 
Pan14
Pan14Pan14
Pan14
 
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษหลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
 
บทคัดย่อ. หนังสือสาระ
บทคัดย่อ. หนังสือสาระบทคัดย่อ. หนังสือสาระ
บทคัดย่อ. หนังสือสาระ
 
บทท 3-6 กศบป
บทท   3-6 กศบปบทท   3-6 กศบป
บทท 3-6 กศบป
 
นำเสนอหนังสือเสร็จ
นำเสนอหนังสือเสร็จนำเสนอหนังสือเสร็จ
นำเสนอหนังสือเสร็จ
 

More from Boonlert Aroonpiboon (20)

Excel quiz
Excel quizExcel quiz
Excel quiz
 
Scival for Research Performance
Scival for Research PerformanceScival for Research Performance
Scival for Research Performance
 
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-420190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
 
20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup
 
20190220 open-library
20190220 open-library20190220 open-library
20190220 open-library
 
20190220 digital-archives
20190220 digital-archives20190220 digital-archives
20190220 digital-archives
 
OER KKU Library
OER KKU LibraryOER KKU Library
OER KKU Library
 
Museum digital-code
Museum digital-codeMuseum digital-code
Museum digital-code
 
OER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success StoryOER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success Story
 
LAM Code of conduct
LAM Code of conductLAM Code of conduct
LAM Code of conduct
 
RLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOCRLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOC
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
digital law for GLAM
digital law for GLAMdigital law for GLAM
digital law for GLAM
 
20180919 digital-collections
20180919 digital-collections20180919 digital-collections
20180919 digital-collections
 
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
 
20180828 digital-archives
20180828 digital-archives20180828 digital-archives
20180828 digital-archives
 
Local Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How toLocal Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How to
 
201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup
 
201403 etda-library
201403 etda-library201403 etda-library
201403 etda-library
 

มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

  • 2. ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๕๑ สารบัญ ห น้า คำานำา ทำาไมต้องเรียนภาษาไทย ๑ เรียนรู้อะไรในภาษาไทย ๑ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ๒ คุณภาพผู้เรียน ๓ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ๖ สาระที่ ๑ การอ่าน ๖ สาระที่ ๒ การเขียน ๑๕ สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพูด ๒๒ สาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษาไทย ๒๘ สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม ๓๓ อภิธานศัพท์ ๓๘ คณะผู้จัดทำา ๔๗ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
  • 3. ทำาไมต้องเรียนภาษาไทย ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ของชาติเป็นสมบัติทางวัฒนธรรมอัน ก่อให้เกิดความเป็นเอกภาพและเสริมสร้างบุคลิกภาพของคนในชาติ ให้มีความเป็นไทย เป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสารเพื่อสร้างความ เข้าใจและความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ทำาให้สามารถประกอบกิจธุระ การ งาน และดำารงชีวิตร่วมกันในสังคมประชาธิปไตยได้อย่างสันติสุข และเป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์จากแหล่งข้อมูล สารสนเทศต่างๆ เพื่อพัฒนาความรู้ พัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ และสร้างสรรค์ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และ ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนำาไปใช้ใน การพัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ นอกจากนี้ยังเป็น สื่อแสดงภูมิปัญญาของบรรพบุรุษด้านวัฒนธรรม ประเพณี และ สุนทรียภาพ เป็นสมบัติลำ้าค่าควรแก่การเรียนรู้ อนุรักษ์ และ สืบสานให้คงอยู่คู่ชาติไทยตลอดไป เรียนรู้อะไรในภาษาไทย ภาษาไทยเป็นทักษะที่ต้องฝึกฝนจนเกิดความชำานาญในการ ใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร การเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ และเพื่อนำา ไปใช้ในชีวิตจริง • การอ่าน การอ่านออกเสียงคำา ประโยค การอ่านบท ร้อยแก้ว คำาประพันธ์ชนิดต่างๆ การอ่านในใจเพื่อสร้างความ เข้าใจ และการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้จากสิ่งที่อ่าน เพื่อ นำาไป ปรับใช้ในชีวิตประจำาวัน • การเขียน การเขียนสะกดตามอักขรวิธี การเขียนสื่อสาร โดยใช้ถ้อยคำาและรูปแบบต่างๆ ของการเขียน ซึ่งรวมถึงการเขียน เรียงความ ย่อความ รายงานชนิดต่างๆ การเขียนตามจินตนาการ วิเคราะห์วิจารณ์ และเขียนเชิงสร้างสรรค์ • การฟัง การดู และการพูด การฟังและดูอย่างมี วิจารณญาณ การพูดแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก พูดลำาดับเรื่อง ราวต่างๆ อย่างเป็นเหตุเป็นผล การพูดในโอกาสต่างๆ ทั้งเป็น ทางการและไม่เป็นทางการ และการพูดเพื่อโน้มน้าวใจ • หลักการใช้ภาษาไทย ธรรมชาติและกฎเกณฑ์ของ ภาษาไทย การใช้ภาษาให้ถูกต้องเหมาะสมกับโอกาสและบุคคล การแต่งบทประพันธ์ประเภทต่างๆ และอิทธิพลของภาษาต่าง ประเทศในภาษาไทย
  • 4. • วรรณคดีและวรรณกรรม วิเคราะห์วรรณคดีและ วรรณกรรมเพื่อศึกษาข้อมูล แนวความคิด คุณค่าของงานประพันธ์ และความเพลิดเพลิน การเรียนรู้และทำาความเข้าใจบทเห่ บทร้อง เล่นของเด็ก เพลงพื้นบ้านที่เป็นภูมิปัญญาที่มีคุณค่าของไทย ซึ่ง ได้ถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด ค่านิยม ขนบธรรมเนียมประเพณี เรื่อง ราวของสังคมในอดีต และความงดงามของภาษา เพื่อให้เกิดความ ซาบซึ้งและภูมิใจ ในบรรพบุรุษที่ได้สั่งสมสืบทอดมาจนถึง ปัจจุบัน สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ ๑ การอ่าน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพื่อนำาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำาเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน สาระที่ ๒ การเขียน มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียง ความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษา ค้นคว้าอย่าง มีประสิทธิภาพ สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพูด มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และ ความรู้สึกใน โอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ สาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การ เปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปัญญา ทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์ วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและนำา มาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
  • 5. คุณภาพผู้เรียน จบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ • อ่านออกเสียงคำา คำาคล้องจอง ข้อความ เรื่องสั้นๆ และบท ร้อยกรองง่ายๆ ได้ถูกต้องคล่องแคล่ว เข้าใจความหมายของคำาและ ข้อความที่อ่าน ตั้งคำาถามเชิงเหตุผล ลำาดับเหตุการณ์ คาดคะเน เหตุการณ์ สรุปความรู้ข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน ปฏิบัติตามคำาสั่ง คำา อธิบายจากเรื่องที่อ่านได้ เข้าใจความหมายของข้อมูลจาก แผนภาพ แผนที่ และแผนภูมิ อ่านหนังสืออย่างสมำ่าเสมอ และ มีมารยาทในการอ่าน • มีทักษะในการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียน บรรยาย บันทึกประจำาวัน เขียนจดหมายลาครู เขียนเรื่องเกี่ยว กับประสบการณ์ เขียนเรื่องตามจินตนาการและมีมารยาทในการ เขียน • เล่ารายละเอียดและบอกสาระสำาคัญ ตั้งคำาถาม ตอบ คำาถาม รวมทั้งพูดแสดงความคิดความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู พูดสื่อสารเล่าประสบการณ์และพูดแนะนำา หรือพูดเชิญชวนให้ผู้ อื่นปฏิบัติตาม และมีมารยาทในการฟัง ดู และพูด • สะกดคำาและเข้าใจความหมายของคำา ความแตกต่างของ คำาและพยางค์ หน้าที่ของคำา ในประโยค มีทักษะการใช้ พจนานุกรมในการค้นหาความหมายของคำา แต่งประโยคง่ายๆ แต่ง คำาคล้องจอง แต่งคำาขวัญ และเลือกใช้ภาษาไทย มาตรฐานและภาษาถิ่นได้เหมาะสมกับกาลเทศะ • เข้าใจและสามารถสรุปข้อคิดที่ได้จากการอ่านวรรณคดีและ วรรณกรรมเพื่อนำาไปใช้ในชีวิตประจำาวัน แสดงความคิดเห็นจาก วรรณคดีที่อ่าน รู้จักเพลงพื้นบ้าน เพลงกล่อมเด็ก ซึ่งเป็น วัฒนธรรมของท้องถิ่น ร้องบทร้องเล่นสำาหรับเด็กในท้องถิ่น ท่องจำา บทอาขยานและบทร้อยกรอง ที่มีคุณค่าตามความสนใจได้ จบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ • อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองเป็นทำานอง เสนาะได้ถูกต้อง อธิบายความหมายโดยตรงและความหมายโดย นัยของคำา ประโยค ข้อความ สำานวนโวหาร จากเรื่องที่อ่าน
  • 6. เข้าใจคำาแนะนำา คำาอธิบายในคู่มือต่างๆ แยกแยะข้อคิดเห็นและข้อ เท็จจริง รวมทั้งจับใจความสำาคัญของเรื่องที่อ่านและนำาความรู้ ความคิดจากเรื่องที่อ่านไปตัดสินใจแก้ปัญหาในการดำาเนินชีวิตได้ มีมารยาทและมีนิสัยรักการอ่าน และเห็นคุณค่าสิ่งที่อ่าน • มีทักษะในการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนสะกดคำา แต่งประโยคและเขียนข้อความ ตลอดจนเขียน สื่อสารโดยใช้ถ้อยคำาชัดเจนเหมาะสม ใช้แผนภาพ โครงเรื่องและ แผนภาพความคิด เพื่อพัฒนางานเขียน เขียนเรียงความ ย่อความ จดหมายส่วนตัว กรอกแบบรายการต่างๆ เขียนแสดงความรู้สึก และความคิดเห็น เขียนเรื่องตามจินตนาการอย่างสร้างสรรค์ และมี มารยาทในการเขียน • พูดแสดงความรู้ ความคิดเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู เล่าเรื่อง ย่อหรือสรุปจากเรื่องที่ฟังและดู ตั้งคำาถาม ตอบคำาถามจากเรื่องที่ ฟังและดู รวมทั้งประเมินความน่าเชื่อถือจากการฟังและดูโฆษณา อย่างมีเหตุผล พูดตามลำาดับขั้นตอนเรื่องต่างๆ อย่างชัดเจน พูด รายงานหรือประเด็นค้นคว้าจาก การฟัง การดู การสนทนา และพูดโน้มน้าวได้อย่างมีเหตุผล รวมทั้งมีมารยาทในการดูและพูด • สะกดคำาและเข้าใจความหมายของคำา สำานวน คำาพังเพย และสุภาษิต รู้และเข้าใจ ชนิดและหน้าที่ของคำาในประโยค ชนิดของประโยค และคำาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ใช้ คำาราชาศัพท์และคำาสุภาพได้อย่างเหมาะสม แต่งประโยค แต่งบท ร้อยกรองประเภทกลอนสี่ กลอนสุภาพ และกาพย์ยานี ๑๑ • เข้าใจและเห็นคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน เล่า นิทานพื้นบ้าน ร้องเพลงพื้นบ้านของท้องถิ่น นำาข้อคิดเห็นจากเรื่อง ที่อ่านไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง และท่องจำาบทอาขยานตามที่ กำาหนดได้ จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ • อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองเป็นทำานอง เสนาะได้ถูกต้อง เข้าใจความหมายโดยตรงและความหมายโดยนัย จับใจความสำาคัญและรายละเอียดของสิ่งที่อ่าน แสดงความคิดเห็น และข้อโต้แย้งเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน และเขียนกรอบแนวคิด ผังความ คิด ย่อความ เขียนรายงานจาก สิ่งที่อ่านได้ วิเคราะห์ วิจารณ์ อย่างมีเหตุผล ลำาดับความอย่างมีขั้นตอนและความเป็นไปได้ของ เรื่องที่อ่าน รวมทั้งประเมินความถูกต้องของข้อมูลที่ใช้สนับสนุน จากเรื่องที่อ่าน • เขียนสื่อสารด้วยลายมือที่อ่านง่ายชัดเจน ใช้ถ้อยคำาได้ถูก ต้องเหมาะสมตามระดับภาษาเขียนคำาขวัญ คำาคม คำาอวยพรใน
  • 7. โอกาสต่างๆ โฆษณา คติพจน์ สุนทรพจน์ ชีวประวัติ อัตชีวประวัติ และประสบการณ์ต่างๆ เขียนย่อความ จดหมายกิจธุระ แบบกรอก สมัครงาน เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ความคิดหรือโต้ แย้งอย่างมีเหตุผล ตลอดจนเขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าและ เขียนโครงงาน • พูดแสดงความคิดเห็น วิเคราะห์ วิจารณ์ ประเมินสิ่งที่ได้ จากการฟังและดู นำาข้อคิดไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำาวัน พูด รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบ มีศิลปะในการพูด พูดในโอกาสต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ และ พูดโน้มน้าวอย่างมีเหตุผลน่าเชื่อถือ รวมทั้งมีมารยาทในการฟัง ดู และพูด • เข้าใจและใช้คำาราชาศัพท์ คำาบาลีสันสกฤต คำาภาษาต่าง ประเทศอื่นๆ คำาทับศัพท์ และศัพท์บัญญัติในภาษาไทย วิเคราะห์ ความแตกต่างในภาษาพูด ภาษาเขียน โครงสร้างของประโยครวม ประโยคซ้อน ลักษณะภาษาที่เป็นทางการ กึ่งทางการและไม่เป็น ทางการ และแต่งบทร้อยกรองประเภทกลอนสุภาพ กาพย์ และโคลงสี่ สุภาพ • สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน วิเคราะห์ตัว ละครสำาคัญ วิถีชีวิตไทย และคุณค่าที่ได้รับจากวรรณคดีวรรณกรรม และบทอาขยาน พร้อมทั้งสรุปความรู้ข้อคิดเพื่อนำาไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตจริง จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ • อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองเป็นทำานอง เสนาะได้ถูกต้องและเข้าใจ ตีความ แปลความ และขยายความ เรื่องที่อ่านได้ วิเคราะห์วิจารณ์เรื่องที่อ่าน แสดงความคิดเห็นโต้ แย้งและเสนอความคิดใหม่จากการอ่านอย่างมีเหตุผล คาดคะเน เหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน เขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก ย่อความ และเขียนรายงานจากสิ่งที่อ่าน สังเคราะห์ ประเมินค่า และนำาความรู้ความคิดจากการอ่านมาพัฒนาตน พัฒนาการเรียน และพัฒนาความรู้ทางอาชีพ และ นำาความรู้ความคิดไปประยุกต์ใช้ แก้ปัญหาในการดำาเนินชีวิต มีมารยาทและมีนิสัยรักการอ่าน • เขียนสื่อสารในรูปแบบต่างๆ โดยใช้ภาษาได้ถูกต้องตรง ตามวัตถุประสงค์ ย่อความจากสื่อที่มีรูปแบบและเนื้อหาที่หลาก หลาย เรียงความแสดงแนวคิดเชิงสร้างสรรค์โดยใช้โวหารต่างๆ เขียนบันทึก รายงานการศึกษาค้นคว้าตามหลักการเขียนทาง วิชาการ ใช้ข้อมูลสารสนเทศในการอ้างอิง ผลิตผลงานของตนเอง
  • 8. ในรูปแบบต่างๆ ทั้งสารคดีและบันเทิงคดี รวมทั้งประเมินงาน เขียนของผู้อื่นและนำามาพัฒนางานเขียนของตนเอง • ตั้งคำาถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู มี วิจารณญาณในการเลือกเรื่องที่ฟังและดู วิเคราะห์วัตถุประสงค์ แนวคิด การใช้ภาษา ความน่าเชื่อถือของเรื่องที่ฟังและดู ประเมิน สิ่งที่ฟังและดูแล้วนำาไปประยุกต์ใช้ในการดำาเนินชีวิต มีทักษะการ พูดในโอกาสต่างๆ ทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการโดยใช้ภาษา ที่ถูกต้อง พูดแสดงทรรศนะ โต้แย้ง โน้มน้าว และเสนอแนวคิด ใหม่อย่างมีเหตุผล รวมทั้งมีมารยาทในการฟัง ดู และพูด • เข้าใจธรรมชาติของภาษา อิทธิพลของภาษา และลักษณะ ของภาษาไทย ใช้คำาและกลุ่มคำาสร้างประโยคได้ตรงตาม วัตถุประสงค์ แต่งคำาประพันธ์ประเภท กาพย์ โคลง ร่ายและฉันท์ ใช้ภาษาได้เหมาะสมกับกาลเทศะและใช้คำาราชาศัพท์และคำาสุภาพ ได้อย่างถูกต้อง วิเคราะห์หลักการ สร้างคำาในภาษาไทย อิทธิพล ของภาษาต่างประเทศในภาษาไทยและภาษาถิ่น วิเคราะห์และ ประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ • วิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการ วิจารณ์วรรณคดีเบื้องต้น รู้และเข้าใจลักษณะเด่นของวรรณคดี ภูมิปัญญาทางภาษาและวรรณกรรมพื้นบ้าน เชื่อมโยงกับการเรียนรู้ ทางประวัติศาสตร์และวิถีไทย ประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ และ นำาข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
  • 9. สาระที่ ๑ การอ่าน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพื่อนำาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำาเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.๑ ๑. อ่านออกเสียงคำา คำา คล้องจอง และข้อความ สั้นๆ ๒. บอกความหมายของคำา และข้อความที่อ่าน  การอ่านออกเสียงและบอก ความหมายของคำา คำา คล้องจอง และข้อความที่ ประกอบด้วย คำาพื้นฐาน คือ คำาที่ใช้ในชีวิตประจำาวัน ไม่น้อยกว่า ๖๐๐ คำา รวมทั้ง คำาที่ใช้เรียนรู้ใน กลุ่มสาระ การเรียนรู้อื่น ประกอบด้วย - คำาที่มีรูปวรรณยุกต์และไม่มี รูปวรรณยุกต์ - คำาที่มีตัวสะกดตรงตาม มาตราและไม่ตรงตามมาตรา - คำาที่มีพยัญชนะควบกลำ้า - คำาที่มีอักษรนำา ๓. ตอบคำาถามเกี่ยวกับ เรื่องที่อ่าน ๔. เล่าเรื่องย่อจากเรื่องที่ อ่าน ๕. คาดคะเนเหตุการณ์ จากเรื่องที่อ่าน  การอ่านจับใจความจากสื่อ ต่างๆ เช่น - นิทาน - เรื่องสั้นๆ - บทร้องเล่นและบทเพลง - เรื่องราวจากบทเรียนในกลุ่ม สาระการเรียนรู้ภาษาไทยและ กลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ๖. อ่านหนังสือตามความ สนใจ อย่าง สมำ่าเสมอและนำาเสนอ เรื่องที่อ่าน  การอ่านหนังสือตามความสนใจ เช่น - หนังสือที่นักเรียนสนใจและ เหมาะสมกับวัย - หนังสือที่ครูและนักเรียน กำาหนดร่วมกัน ๗. บอกความหมายของ เครื่องหมาย หรือ สัญลักษณ์สำาคัญที่มัก พบเห็นในชีวิตประจำาวัน  การอ่านเครื่องหมายหรือ สัญลักษณ์ ประกอบด้วย - เครื่องหมายสัญลักษณ์ต่างๆ ที่พบเห็นในชีวิตประจำาวัน - เครื่องหมายแสดงความ ปลอดภัยและแสดงอันตราย
  • 10. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๘. มีมารยาท ในการอ่าน  มารยาทในการอ่าน เช่น - ไม่อ่านเสียงดังรบกวนผู้อื่น - ไม่เล่นกันขณะที่อ่าน - ไม่ทำาลายหนังสือ ป.๒ ๑. อ่านออกเสียงคำา คำา คล้องจอง ข้อความ และ บทร้อยกรองง่ายๆ ได้ถูกต้อง ๒. อธิบายความหมายของ คำาและข้อความที่อ่าน  การอ่านออกเสียงและการบอก วามหมายของคำา คำาคล้องจอง ข้อความ และบทร้อยกรอง ง่ายๆ ที่ประกอบด้วยคำาพื้นฐาน เพิ่มจาก ป. ๑ ไม่น้อย กว่า ๘๐๐ คำา รวมทั้งคำาที่ใช้ เรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ประกอบด้วย - คำาที่มีรูปวรรณยุกต์และไม่มี รูปวรรณยุกต์ - คำาที่มีตัวสะกดตรงตาม มาตราและไม่ตรงตามมาตรา - คำาที่มีพยัญชนะควบกลำ้า - คำาที่มีอักษรนำา - คำาที่มีตัวการันต์ - คำาที่มี รร - คำาที่มีพยัญชนะและสระที่ไม่ ออกเสียง ๓. ตั้งคำาถามและตอบ คำาถามเกี่ยวกับ เรื่องที่อ่าน ๔. ระบุใจความสำาคัญและ รายละเอียดจากเรื่องที่ อ่าน ๕. แสดงความคิดเห็นและ คาดคะเนเหตุการณ์จาก เรื่องที่อ่าน  การอ่านจับใจความจากสื่อ ต่างๆ เช่น - นิทาน - เรื่องเล่าสั้น ๆ - บทเพลงและบทร้อยกรอง ง่ายๆ - เรื่องราวจากบทเรียนในกลุ่ม สาระการเรียนรู้ภาษาไทย และกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น - ข่าวและเหตุการณ์ประจำาวัน ๖. อ่านหนังสือตามความ สนใจอย่างสมำ่าเสมอและ นำาเสนอเรื่องที่อ่าน  การอ่านหนังสือตามความสนใจ เช่น - หนังสือที่นักเรียนสนใจและ เหมาะสมกับวัย - หนังสือที่ครูและนักเรียน กำาหนดร่วมกัน ๗. อ่านข้อเขียนเชิง  การอ่านข้อเขียนเชิงอธิบาย
  • 11. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง อธิบาย และปฏิบัติตาม คำาสั่งหรือข้อแนะนำา และปฏิบัติตามคำาสั่งหรือข้อ แนะนำา - การใช้สถานที่สาธารณะ - คำาแนะนำาการใช้เครื่องใช้ที่ จำาเป็นในบ้านและในโรงเรียน ๘. มีมารยาทในการอ่าน  มารยาทในการอ่าน เช่น - ไม่อ่านเสียงดังรบกวนผู้อื่น - ไม่เล่นกันขณะที่อ่าน - ไม่ทำาลายหนังสือ - ไม่ควรแย่งอ่านหรือชะโงก หน้าไปอ่านขณะที่ผู้อื่นกำาลัง อ่านอยู่ ป.๓ ๑. อ่านออกเสียงคำา ข้อความ เรื่องสั้นๆ และ บทร้อยกรองง่ายๆ ได้ถูก ต้อง คล่องแคล่ว ๒. อธิบายความหมายของ คำาและข้อความที่อ่าน  การอ่านออกเสียงและการบอก ความหมายของคำา คำา คล้องจอง ข้อความ และบทร้อย กรองง่ายๆ ที่ประกอบด้วยคำา พื้นฐานเพิ่มจาก ป.๒ ไม่น้อย กว่า ๑,๒๐๐ คำา รวมทั้งคำาที่ เรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ประกอบด้วย - คำาที่มีตัวการันต์ - คำาที่มี รร - คำาที่มีพยัญชนะและสระไม่ ออกเสียง - คำาพ้อง - คำาพิเศษอื่นๆ เช่น คำาที่ใช้ ฑ ฤ ฤๅ ๓. ตั้งคำาถามและตอบ คำาถามเชิงเหตุผลเกี่ยว กับเรื่องที่อ่าน  การอ่านจับใจความจากสื่อ ต่างๆ เช่น - นิทานหรือเรื่องเกี่ยวกับท้อง ถิ่น ๔. ลำาดับเหตุการณ์และ คาดคะเนเหตุการณ์จาก เรื่องที่อ่านโดยระบุ เหตุผลประกอบ ๕. สรุปความรู้และข้อคิด จากเรื่องที่อ่านเพื่อนำาไป - เรื่องเล่าสั้นๆ - บทเพลงและบทร้อยกรอง - บทเรียนในกลุ่มสาระการ เรียนรู้อื่น - ข่าวและเหตุการณ์ในชีวิต ประจำาวันในท้องถิ่นและ
  • 12. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ใช้ในชีวิตประจำาวัน ชุมชน ๖. อ่านหนังสือตามความ สนใจ อย่าง สมำ่าเสมอและนำาเสนอ เรื่องที่อ่าน  การอ่านหนังสือตามความสนใจ เช่น - หนังสือที่นักเรียนสนใจและ เหมาะสมกับวัย - หนังสือที่ครูและนักเรียน กำาหนดร่วมกัน ๗. อ่านข้อเขียนเชิง อธิบายและปฏิบัติตามคำา สั่งหรือข้อแนะนำา  การอ่านข้อเขียนเชิงอธิบาย และปฏิบัติตามคำาสั่งหรือข้อ แนะนำา - คำาแนะนำาต่างๆ ในชีวิต ประจำาวัน - ประกาศ ป้ายโฆษณา และ คำาขวัญ ๘. อธิบายความหมายของ ข้อมูลจากแผนภาพ แผนที่ และแผนภูมิ  การอ่านข้อมูลจากแผนภาพ แผนที่ และแผนภูมิ ๙. มีมารยาทในการอ่าน  มารยาทในการอ่าน เช่น - ไม่อ่านเสียงดังรบกวนผู้อื่น - ไม่เล่นกันขณะที่อ่าน - ไม่ทำาลายหนังสือ - ไม่ควรแย่งอ่านหรือชะโงก หน้าไปอ่านขณะที่ผู้อื่นกำาลัง อ่าน ป.๔ ๑. อ่านออกเสียงบทร้อย แก้วและ บทร้อย กรองได้ถูกต้อง ๒. อธิบายความหมายของ คำา ประโยค และสำานวน จากเรื่องที่อ่าน  การอ่านออกเสียงและการบอก ความหมายของบทร้อยแก้ว และบทร้อยกรองที่ประกอบด้วย - คำาที่มี ร ล เป็นพยัญชนะต้น - คำาที่มีพยัญชนะควบกลำ้า - คำาที่มีอักษรนำา - คำาประสม - อักษรย่อและเครื่องหมาย วรรคตอน
  • 13. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง - ประโยคที่มีสำานวนเป็นคำา พังเพย สุภาษิต ปริศนา คำาทาย และเครื่องหมาย วรรคตอน  การอ่านบทร้อยกรองเป็น ทำานองเสนาะ ๓. อ่านเรื่องสั้นๆ ตามเวลา ที่กำาหนดและตอบคำาถาม จากเรื่องที่อ่าน ๔. แยกข้อเท็จจริงและ ข้อคิดเห็น จากเรื่องที่อ่าน ๕. คาดคะเนเหตุการณ์ จากเรื่องที่อ่านโดยระบุ เหตุผลประกอบ ๖. สรุปความรู้และข้อคิด จากเรื่องที่อ่าน  การอ่านจับใจความจากสื่อ ต่างๆ เช่น - เรื่องสั้น ๆ - เรื่องเล่าจากประสบการณ์ - นิทานชาดก - บทความ - บทโฆษณา - งานเขียนประเภทโน้มน้าวใจ เพื่อนำาไปใช้ในชีวิต ประจำาวัน - ข่าวและเหตุการณ์ประจำาวัน - สารคดีและบันเทิงคดี ๗. อ่านหนังสือที่มีคุณค่า ตามความสนใจอย่าง สมำ่าเสมอและแสดงความ คิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ อ่าน  การอ่านหนังสือตามความสนใจ เช่น - หนังสือที่นักเรียนสนใจและ เหมาะสมกับวัย - หนังสือที่ครูและนักเรียน กำาหนดร่วมกัน ๘. มีมารยาทในการอ่าน  มารยาทในการอ่าน ป.๕ ๑. อ่านออกเสียงบทร้อย แก้วและ บทร้อย กรองได้ถูกต้อง ๒. อธิบายความหมายของ คำา ประโยคและข้อความ ที่เป็นการบรรยาย และการพรรณนา  การอ่านออกเสียงและการบอก ความหมายของบทร้อยแก้ว และบทร้อยกรองที่ประกอบด้วย - คำาที่มีพยัญชนะควบกลำ้า - คำาที่มีอักษรนำา - คำาที่มีตัวการันต์ - อักษรย่อและเครื่องหมาย
  • 14. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๓. อธิบายความหมายโดย นัย จากเรื่องที่อ่านอย่าง หลากหลาย วรรคตอน - ข้อความที่เป็นการบรรยาย และพรรณนา - ข้อความที่มีความหมายโดย นัย  การอ่านบทร้อยกรองเป็น ทำานองเสนาะ ๔. แยกข้อเท็จจริงและ ข้อคิดเห็นจากเรื่องที่ อ่าน ๕. วิเคราะห์และแสดง ความคิดเห็นเกี่ยวกับ เรื่องที่อ่านเพื่อนำาไปใช้ ในการดำาเนินชีวิต  การอ่านจับใจความจากสื่อ ต่างๆ เช่น - วรรณคดีในบทเรียน - บทความ - บทโฆษณา - งานเขียนประเภทโน้มน้าวใจ - ข่าวและเหตุการณ์ประจำาวัน ๖. อ่านงานเขียนเชิง อธิบาย คำาสั่ง ข้อแนะนำา และปฏิบัติตาม  การอ่านงานเขียนเชิงอธิบาย คำาสั่ง ข้อแนะนำา และปฏิบัติ ตาม เช่น - การใช้พจนานุกรม - การใช้วัสดุอุปกรณ์ - การอ่านฉลากยา - คู่มือและเอกสารของโรงเรียน ที่เกี่ยวข้องกับนักเรียน - ข่าวสารทางราชการ ๗. อ่านหนังสือที่มีคุณค่า ตามความสนใจอย่าง สมำ่าเสมอและแสดงความ คิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ อ่าน  การอ่านหนังสือตามความสนใจ เช่น - หนังสือที่นักเรียนสนใจและ เหมาะสมกับวัย - หนังสือที่ครูและนักเรียน กำาหนดร่วมกัน ๘. มีมารยาทในการอ่าน  มารยาทในการอ่าน ป.๖ ๑. อ่านออกเสียงบทร้อย แก้วและ บทร้อย กรองได้ถูกต้อง ๒. อธิบายความหมายของ คำา ประโยคและข้อความ ที่เป็นโวหาร  การอ่านออกเสียงและการบอก ความหมายของบทร้อยแก้ว และบทร้อยกรอง ประกอบด้วย - คำาที่มีพยัญชนะควบกลำ้า - คำาที่มีอักษรนำา - คำาที่มีตัวการันต์ - คำาที่มาจากภาษาต่างประเทศ
  • 15. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง - อักษรย่อและเครื่องหมาย วรรคตอน - วัน เดือน ปีแบบไทย - ข้อความที่เป็นโวหารต่างๆ - สำานวนเปรียบเทียบ  การอ่านบทร้อยกรองเป็น ทำานองเสนาะ ๓. อ่านเรื่องสั้นๆ อย่าง หลากหลาย โดยจับ เวลาแล้วถามเกี่ยวกับ เรื่องที่อ่าน ๔. แยกข้อเท็จจริงและ ข้อคิดเห็นจากเรื่องที่ อ่าน  การอ่านจับใจความจากสื่อ ต่างๆ เช่น - เรื่องสั้น ๆ - นิทานและเพลงพื้นบ้าน - บทความ ๕. อธิบายการนำาความรู้ และความคิด จากเรื่องที่ อ่านไปตัดสินใจแก้ ปัญหา ในการดำาเนิน ชีวิต - พระบรมราโชวาท - สารคดี - เรื่องสั้น - งานเขียนประเภทโน้มน้าว - บทโฆษณา - ข่าว และเหตุการณ์สำาคัญ  การอ่านเร็ว ๖. อ่านงานเขียนเชิง อธิบาย คำาสั่ง ข้อ แนะนำา และปฏิบัติตาม  การอ่านงานเขียนเชิงอธิบาย คำาสั่ง ข้อแนะนำา และปฏิบัติ ตาม - การใช้พจนานุกรม - การปฏิบัติตนในการอยู่ร่วม กันในสังคม - ข้อตกลงในการอยู่ร่วมกันใน โรงเรียน และการใช้สถานที่ สาธารณะในชุมชนและท้อง ถิ่น ๗. อธิบายความหมายของ ข้อมูล จากการอ่าน แผนผัง แผนที่ แผนภูมิ และกราฟ  การอ่านข้อมูลจากแผนผัง แผนที่ แผนภูมิ และกราฟ ๘. อ่านหนังสือตามความ สนใจ และอธิบายคุณค่า ที่ได้รับ  การอ่านหนังสือตามความสนใจ เช่น - หนังสือที่นักเรียนสนใจและ เหมาะสมกับวัย
  • 16. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง - หนังสืออ่านที่ครูและนักเรียน กำาหนดร่วมกัน ๙. มีมารยาทในการอ่าน  มารยาทในการอ่าน ม.๑ ๑. อ่านออกเสียงบทร้อย แก้ว และ บทร้อย กรองได้ถูกต้องเหมาะสม กับเรื่องที่อ่าน  การอ่านออกเสียง ประกอบด้วย - บทร้อยแก้วที่เป็นบทบรรยาย - บทร้อยกรอง เช่น กลอน สุภาพ กลอนสักวา กาพย์ยานี ๑๑ กาพย์ฉบัง ๑๖ กาพย์ สุรางคนางค์ ๒๘ และโคลงสี่ สุภาพ ๒. จับใจความสำาคัญจาก เรื่องที่อ่าน  การอ่านจับใจความจากสื่อ ต่างๆ เช่น ๓. ระบุเหตุและผล และข้อ เท็จจริงกับข้อคิดเห็น จากเรื่องที่อ่าน ๔. ระบุและอธิบายคำา เปรียบเทียบ และคำาที่มี หลายความหมายใน บริบทต่างๆ จากการอ่าน ๕. ตีความคำายากใน เอกสารวิชาการ โดย พิจารณาจากบริบท - เรื่องเล่าจากประสบการณ์ - เรื่องสั้น - บทสนทนา - นิทานชาดก - วรรณคดีในบทเรียน - งานเขียนเชิงสร้างสรรค์ - บทความ ๖. ระบุข้อสังเกตและความ สมเหตุสมผลของงาน เขียนประเภทชักจูง โน้มน้าวใจ - สารคดี - บันเทิงคดี - เอกสารทางวิชาการที่มีคำา ประโยค และข้อความที่ต้อง ใช้บริบทช่วยพิจารณาความ หมาย - งานเขียนประเภทชักจูงโน้ม น้าวใจเชิงสร้างสรรค์ ๗. ปฏิบัติตามคู่มือแนะนำา วิธีการใช้งาน ของ เครื่องมือหรือเครื่องใช้ ในระดับที่ยากขึ้น  การอ่านและปฏิบัติตามเอกสาร คู่มือ ๘. วิเคราะห์คุณค่าที่ได้รับ จากการอ่านงานเขียน อย่างหลากหลายเพื่อนำา ไปใช้แก้ปัญหาในชีวิต  การอ่านหนังสือตามความสนใจ เช่น - หนังสือที่นักเรียนสนใจและ เหมาะสมกับวัย - หนังสืออ่านที่ครูและนักเรียน
  • 17. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง กำาหนดร่วมกัน ๙. มีมารยาทในการอ่าน  มารยาทในการอ่าน ม.๒ ๑. อ่านออกเสียงบทร้อย แก้ว และ บทร้อย กรองได้ถูกต้อง  การอ่านออกเสียง ประกอบด้วย - บทร้อยแก้วที่เป็นบทบรรยาย และบทพรรณนา - บทร้อยกรอง เช่น กลอนบท ละคร กลอนนิทาน กลอน เพลงยาว และกาพย์ห่อโคลง ๒. จับใจความสำาคัญ สรุป ความ และอธิบายราย ละเอียดจากเรื่องที่อ่าน ๓. เขียนผังความคิดเพื่อ แสดงความเข้าใจในบท เรียนต่างๆ ที่อ่าน ๔. อภิปรายแสดงความคิด เห็น และ ข้อโต้แย้ง เกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน ๕. วิเคราะห์และจำาแนกข้อ เท็จจริง ข้อมูลสนับสนุน และข้อคิดเห็นจาก บทความที่อ่าน ๖. ระบุข้อสังเกตการชวน เชื่อ การ โน้มน้าว หรือความสมเหตุสมผล ของงานเขียน  การอ่านจับใจความจากสื่อ ต่างๆ เช่น - วรรณคดีในบทเรียน - บทความ - บันทึกเหตุการณ์ - บทสนทนา - บทโฆษณา - งานเขียนประเภทโน้มน้าวใจ - งานเขียนหรือบทความแสดง ข้อเท็จจริง - เรื่องราวจากบทเรียนในกลุ่ม สาระการเรียนรู้ภาษาไทย และกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ๗. อ่านหนังสือ บทความ หรือคำาประพันธ์อย่าง หลากหลาย และประเมิน คุณค่าหรือแนวคิดที่ได้ จากการอ่าน เพื่อนำาไป ใช้แก้ปัญหาในชีวิต  การอ่านตามความสนใจ เช่น - หนังสืออ่านนอกเวลา - หนังสือที่นักเรียนสนใจและ เหมาะสมกับวัย - หนังสืออ่านที่ครูและนักเรียน กำาหนดร่วมกัน ๘. มีมารยาทในการอ่าน  มารยาทในการอ่าน ม.๓ ๑. อ่านออกเสียงบทร้อย แก้ว และ บทร้อย กรองได้ถูกต้องและ เหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน  การอ่านออกเสียง ประกอบด้วย - บทร้อยแก้วที่เป็นบทความ ทั่วไปและบทความปกิณกะ - บทร้อยกรอง เช่น กลอนบท ละคร กลอนเสภา กาพย์ยานี
  • 18. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๑๑ กาพย์ฉบัง ๑๖ และโคลงสี่ สุภาพ ๒. ระบุความแตกต่างของ คำาที่มีความหมาย โดยตรงและความหมาย โดยนัย ๓. ระบุใจความสำาคัญและ รายละเอียดของข้อมูลที่ สนับสนุนจากเรื่องที่อ่าน ๔. อ่านเรื่องต่างๆ แล้ว เขียนกรอบแนวคิด ผัง ความคิด บันทึก ย่อ ความและรายงาน ๕. วิเคราะห์ วิจารณ์ และ ประเมินเรื่อง ที่อ่าน โดยใช้กลวิธีการเปรียบ เทียบเพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจ ได้ดีขึ้น ๖. ประเมินความถูกต้อง ของข้อมูล ที่ใช้ สนับสนุนในเรื่องที่อ่าน ๗. วิจารณ์ความสมเหตุสม ผล การลำาดับความ และ ความเป็นไปได้ของเรื่อง ๘. วิเคราะห์เพื่อแสดง ความคิดเห็นโต้แย้งเกี่ยว กับเรื่องที่อ่าน  การอ่านจับใจความจากสื่อ ต่างๆ เช่น - วรรณคดีในบทเรียน - ข่าวและเหตุการณ์สำาคัญ - บทความ - บันเทิงคดี - สารคดี - สารคดีเชิงประวัติ - ตำานาน - งานเขียนเชิงสร้างสรรค์ - เรื่องราวจากบทเรียนในกลุ่ม สาระการเรียนรู้ภาษาไทย และกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ๙. ตีความและประเมิน คุณค่า และแนวคิดที่ ได้จากงานเขียนอย่าง หลากหลายเพื่อนำาไปใช้ แก้ปัญหา ในชีวิต  การอ่านตามความสนใจ เช่น - หนังสืออ่านนอกเวลา - หนังสืออ่านตามความสนใจ และตามวัยของนักเรียน - หนังสืออ่านที่ครูและนักเรียน ร่วมกันกำาหนด ๑๐. มีมารยาทในการอ่าน  มารยาทในการอ่าน ม.๔- ๑. อ่านออกเสียงบทร้อย  การอ่านออกเสียง ประกอบด้วย
  • 19. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๖ แก้ว และ บทร้อย กรองได้อย่างถูกต้อง ไพเราะ และเหมาะสมกับ เรื่องที่อ่าน - บทร้อยแก้วประเภทต่างๆ เช่น บทความ นวนิยาย และ ความเรียง - บทร้อยกรอง เช่น โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ร่าย และลิลิต ๒. ตีความ แปลความ และ ขยายความเรื่องที่อ่าน ๓. วิเคราะห์และวิจารณ์ เรื่องที่อ่าน ในทุกๆ ด้านอย่างมี เหตุผล ๔. คาดคะเนเหตุการณ์ จากเรื่องที่อ่าน และ ประเมินค่าเพื่อนำาความรู้ ความคิดไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำาเนิน ชีวิต ๕. วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดง ความคิดเห็นโต้แย้งกับ เรื่องที่อ่าน และเสนอ ความคิดใหม่อย่างมี เหตุผล ๖. ตอบคำาถามจากการ อ่านประเภทต่างๆ ภายในเวลาที่กำาหนด ๗. อ่านเรื่องต่างๆ แล้ว เขียนกรอบแนวคิดผัง ความคิด บันทึก ย่อ ความ และรายงาน ๘. สังเคราะห์ความรู้จาก การอ่าน สื่อสิ่ง พิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และแหล่งเรียนรู้ต่างๆ มาพัฒนาตน พัฒนาการ เรียน และพัฒนาความรู้ ทางอาชีพ  การอ่านจับใจความจากสื่อ ต่างๆ เช่น - ข่าวสารจากสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อ อิเล็กทรอนิกส์และแหล่งเรียน รู้ต่าง ๆ ในชุมชน - บทความ - นิทาน - เรื่องสั้น - นวนิยาย - วรรณกรรมพื้นบ้าน - วรรณคดีในบทเรียน - บทโฆษณา - สารคดี - บันเทิงคดี - ปาฐกถา - พระบรมราโชวาท - เทศนา - คำาบรรยาย - คำาสอน - บทร้อยกรองร่วมสมัย - บทเพลง - บทอาเศียรวาท - คำาขวัญ
  • 20. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๙. มีมารยาทในการอ่าน  มารยาทในการอ่าน สาระที่ ๒ การเขียน มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียง ความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษา ค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.๑ ๑. คัดลายมือตัวบรรจงเต็ม บรรทัด  การคัดลายมือตัวบรรจงเต็ม บรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัว อักษรไทย ๒. เขียนสื่อสารด้วยคำาและ ประโยคง่ายๆ  การเขียนสื่อสาร - คำาที่ใช้ในชีวิตประจำาวัน - คำาพื้นฐานในบทเรียน - คำาคล้องจอง - ประโยคง่ายๆ ๓. มีมารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขียน เช่น - เขียนให้อ่านง่าย สะอาด ไม่ ขีดฆ่า - ไม่ขีดเขียนในที่สาธารณะ - ใช้ภาษาเขียนเหมาะสมกับ เวลา สถานที่ และบุคคล ป.๒ ๑. คัดลายมือตัวบรรจงเต็ม บรรทัด  การคัดลายมือตัวบรรจงเต็ม บรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัว อักษรไทย ๒. เขียนเรื่องสั้นๆ เกี่ยวกับ ประสบการณ์  การเขียนเรื่องสั้นๆ เกี่ยวกับ ประสบการณ์ ๓. เขียนเรื่องสั้นๆ ตาม  การเขียนเรื่องสั้นๆ ตาม
  • 21. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง จินตนาการ จินตนาการ ๔. มีมารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขียน เช่น - เขียนให้อ่านง่าย สะอาด ไม่ ขีดฆ่า - ไม่ขีดเขียนในที่สาธารณะ - ใช้ภาษาเขียนเหมาะสมกับ เวลา สถานที่ และบุคคล - ไม่เขียนล้อเลียนผู้อื่นหรือ ทำาให้ผู้อื่นเสียหาย ป.๓ ๑. คัดลายมือตัวบรรจงเต็ม บรรทัด  การคัดลายมือตัวบรรจงเต็ม บรรทัดตามรูปแบบการเขียน ตัวอักษรไทย ๒ เขียนบรรยายเกี่ยวกับ สิ่งใดสิ่งหนึ่ง ได้อย่าง ชัดเจน  การเขียนบรรยายเกี่ยวกับ ลักษณะของ คน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ ๓. เขียนบันทึกประจำาวัน  การเขียนบันทึกประจำาวัน ๔. เขียนจดหมายลาครู  การเขียนจดหมายลาครู ๕. เขียนเรื่องตาม จินตนาการ  การเขียนเรื่องตามจินตนาการ จากคำา ภาพ และหัวข้อที่ กำาหนด ๖. มีมารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขียน เช่น - เขียนให้อ่านง่าย สะอาด ไม่ ขีดฆ่า - ไม่ขีดเขียนในที่สาธารณะ - ใช้ภาษาเขียนเหมาะสมกับ เวลา สถานที่ และบุคคล - ไม่เขียนล้อเลียนผู้อื่นหรือ ทำาให้ผู้อื่นเสียหาย ป.๔ ๑. คัดลายมือตัวบรรจงเต็ม บรรทัดและครึ่งบรรทัด  การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด และครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการ เขียนตัวอักษรไทย ๒. เขียนสื่อสารโดยใช้คำา ได้ถูกต้องชัดเจน และ เหมาะสม  การเขียนสื่อสาร เช่น - คำาขวัญ - คำาแนะนำา ๓. เขียนแผนภาพโครง เรื่องและแผนภาพความ คิดเพื่อใช้พัฒนางาน เขียน  การนำาแผนภาพโครงเรื่องและ แผนภาพความคิดไปพัฒนางาน เขียน ๔. เขียนย่อความจากเรื่อง  การเขียนย่อความจากสื่อต่างๆ
  • 22. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สั้นๆ เช่น นิทาน ความเรียงประเภท ต่างๆ ประกาศ จดหมาย คำา สอน ๕. เขียนจดหมายถึงเพื่อน และบิดามารดา  การเขียนจดหมายถึงเพื่อนและ บิดามารดา ๖. เขียนบันทึกและเขียน รายงานจากการศึกษา ค้นคว้า  การเขียนบันทึกและเขียน รายงานจากการศึกษาค้นคว้า ๗. เขียนเรื่องตาม จินตนาการ  การเขียนเรื่องตามจินตนาการ ๘. มีมารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขียน ป.๕ ๑. คัดลายมือตัวบรรจงเต็ม บรรทัด และครึ่งบรรทัด  การคัดลายมือตัวบรรจงเต็ม บรรทัดและ ครึ่งบรรทัด ตามรูปแบบการเขียนตัวอักษร ไทย ๒. เขียนสื่อสารโดยใช้คำา ได้ถูกต้องชัดเจน และ เหมาะสม  การเขียนสื่อสาร เช่น - คำาขวัญ - คำาอวยพร - คำาแนะนำาและคำาอธิบายแสดง ขั้นตอน ๓. เขียนแผนภาพโครง เรื่องและแผนภาพความ คิดเพื่อใช้พัฒนางาน เขียน  การนำาแผนภาพโครงเรื่องและ แผนภาพความคิดไปพัฒนางาน เขียน ๔. เขียนย่อความจากเรื่อง ที่อ่าน  การเขียนย่อความจากสื่อต่างๆ เช่น นิทาน ความเรียงประเภท ต่างๆ ประกาศ แจ้งความ แถลงการณ์ จดหมาย คำาสอน โอวาท คำาปราศรัย ๕. เขียนจดหมายถึงผู้ ปกครองและญาติ  การเขียนจดหมายถึงผู้ปกครอง และญาติ ๖. เขียนแสดงความรู้สึก และความคิดเห็นได้ตรง ตามเจตนา  การเขียนแสดงความรู้สึกและ ความคิดเห็น ๗. กรอกแบบรายการ ต่างๆ  การกรอกแบบรายการ - ใบฝากเงินและใบถอนเงิน - ธนาณัติ - แบบฝากส่งพัสดุ
  • 23. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ไปรษณียภัณฑ์ ๘. เขียนเรื่องตาม จินตนาการ  การเขียนเรื่องตามจินตนาการ ๙. มีมารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขียน ป.๖ ๑. คัดลายมือตัวบรรจงเต็ม บรรทัด และครึ่งบรรทัด  การคัดลายมือตัวบรรจงเต็ม บรรทัดและ ครึ่งบรรทัด ตามรูปแบบการเขียนตัวอักษร ไทย ๒. เขียนสื่อสารโดยใช้คำา ได้ถูกต้องชัดเจน และ เหมาะสม  การเขียนสื่อสาร เช่น - คำาขวัญ - คำาอวยพร - ประกาศ ๓. เขียนแผนภาพโครง เรื่องและแผนภาพความ คิดเพื่อใช้พัฒนางาน เขียน  การเขียนแผนภาพโครงเรื่อง และแผนภาพความคิด ๔. เขียนเรียงความ  การเขียนเรียงความ ๕. เขียนย่อความจากเรื่อง ที่อ่าน  การเขียนย่อความจากสื่อต่างๆ เช่น นิทาน ความเรียงประเภท ต่างๆ ประกาศ แจ้งความ แถลงการณ์ จดหมาย คำาสอน โอวาท คำาปราศรัย สุนทรพจน์ รายงาน ระเบียบ คำาสั่ง ๖. เขียนจดหมายส่วนตัว  การเขียนจดหมายส่วนตัว - จดหมายขอโทษ - จดหมายแสดงความขอบคุณ - จดหมายแสดงความเห็นใจ - จดหมายแสดงความยินดี ๗. กรอกแบบรายการ ต่างๆ  การกรอกแบบรายการ - แบบคำาร้องต่างๆ - ใบสมัครศึกษาต่อ - แบบฝากส่งพัสดุและ ไปรษณียภัณฑ์ ๘. เขียนเรื่องตาม จินตนาการและ สร้างสรรค์  การเขียนเรื่องตามจินตนาการ และสร้างสรรค์ ๙. มีมารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขียน
  • 24. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๑ ๑. คัดลายมือตัวบรรจงครึ่ง บรรทัด  การคัดลายมือตัวบรรจงครึ่ง บรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัว อักษรไทย ๒. เขียนสื่อสารโดยใช้ ถ้อยคำาถูกต้องชัดเจน เหมาะสม และสละสลวย  การเขียนสื่อสาร เช่น - การเขียนแนะนำาตนเอง - การเขียนแนะนำาสถานที่ สำาคัญๆ - การเขียนบนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ๓. เขียนบรรยาย ประสบการณ์โดยระบุ สาระสำาคัญและราย ละเอียดสนับสนุน  การบรรยายประสบการณ์ ๔. เขียนเรียงความ  การเขียนเรียงความเชิง พรรณนา ๕. เขียนย่อความจากเรื่อง ที่อ่าน  การเขียนย่อความจากสื่อต่างๆ เช่น เรื่องสั้น คำาสอน โอวาท คำาปราศรัย สุนทรพจน์ รายงาน ระเบียบ คำาสั่ง บท สนทนาเรื่องเล่าประสบการณ์ ๖. เขียนแสดงความคิด เห็นเกี่ยวกับสาระจากสื่อ ที่ได้รับ  การเขียนแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับสาระจากสื่อต่างๆ เช่น - บทความ - หนังสืออ่านนอกเวลา - ข่าวและเหตุการณ์ประจำาวัน - เหตุการณ์สำาคัญต่างๆ ๗. เขียนจดหมายส่วนตัว และจดหมาย กิจธุระ  การเขียนจดหมายส่วนตัว - จดหมายขอความช่วยเหลือ - จดหมายแนะนำา  การเขียนจดหมายกิจธุระ - จดหมายสอบถามข้อมูล ๘. เขียนรายงานการศึกษา ค้นคว้าและโครงงาน  การเขียนรายงาน ได้แก่ - การเขียนรายงานจากการ
  • 25. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ศึกษาค้นคว้า - การเขียนรายงานโครงงาน ๙. มีมารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขียน ม.๒ ๑. คัดลายมือตัวบรรจงครึ่ง บรรทัด  การคัดลายมือตัวบรรจงครึ่ง บรรทัดตามรูปแบบการเขียน ตัวอักษรไทย ๒. เขียนบรรยายและ พรรณนา  การเขียนบรรยายและพรรณนา ๓. เขียนเรียงความ  การเขียนเรียงความเกี่ยวกับ ประสบการณ์ ๔. เขียนย่อความ  การเขียนย่อความจากสื่อต่างๆ เช่น นิทาน คำาสอน บทความทางวิชาการ บันทึก เหตุการณ์ เรื่องราวในบท เรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น นิทานชาดก ๕. เขียนรายงานการศึกษา ค้นคว้า  การเขียนรายงาน - การเขียนรายงานจากการ ศึกษาค้นคว้า - การเขียนรายงานโครงงาน ๖. เขียนจดหมายกิจธุระ  การเขียนจดหมายกิจธุระ - จดหมายเชิญวิทยากร - จดหมายขอความอนุเคราะห์ ๗. เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ ความ คิดเห็น หรือโต้แย้ง ในเรื่องที่อ่านอย่างมี เหตุผล  การเขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ ความคิดเห็น หรือโต้แย้งจากสื่อต่างๆ เช่น - บทความ - บทเพลง - หนังสืออ่านนอกเวลา - สารคดี - บันเทิงคดี ๘. มีมารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขียน ม.๓ ๑. คัดลายมือตัวบรรจงครึ่ง บรรทัด  การคัดลายมือตัวบรรจงครึ่ง บรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัว อักษรไทย
  • 26. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๒. เขียนข้อความโดยใช้ ถ้อยคำาได้ถูกต้องตาม ระดับภาษา  การเขียนข้อความตาม สถานการณ์และโอกาสต่างๆ เช่น - คำาอวยพรในโอกาสต่างๆ - คำาขวัญ - คำาคม - โฆษณา - คติพจน์ - สุนทรพจน์ ๓. เขียนชีวประวัติหรือ อัตชีวประวัติโดยเล่า เหตุการณ์ ข้อคิดเห็น และทัศนคติในเรื่องต่างๆ  การเขียนอัตชีวประวัติหรือ ชีวประวัติ ๔. เขียนย่อความ  การเขียนย่อความจากสื่อต่างๆ เช่น นิทาน ประวัติ ตำานาน สารคดีทางวิชาการ พระราช ดำารัส พระบรมราโชวาท จดหมายราชการ ๕. เขียนจดหมายกิจธุระ  การเขียนจดหมายกิจธุระ - จดหมายเชิญวิทยากร - จดหมายขอความอนุเคราะห์ - จดหมายแสดงความขอบคุณ ๖. เขียนอธิบาย ชี้แจง แสดงความคิดเห็นและโต้ แย้งอย่างมีเหตุผล  การเขียนอธิบาย ชี้แจง แสดง ความคิดเห็น และโต้แย้งในเรื่อง ต่างๆ ๗. เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ ความ คิดเห็น หรือโต้แย้ง ในเรื่องต่างๆ  การเขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ ความคิดเห็น หรือโต้แย้งจากสื่อต่างๆ เช่น - บทโฆษณา - บทความทางวิชาการ ๘. กรอกแบบสมัครงาน พร้อมเขียนบรรยายเกี่ยว กับความรู้และทักษะ ของตนเองที่เหมาะสมกับ งาน  การกรอกแบบสมัครงาน ๙. เขียนรายงานการ  การเขียนรายงาน ได้แก่
  • 27. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ศึกษาค้นคว้า และโครง งาน - การเขียนรายงานจากการ ศึกษาค้นคว้า - การเขียนรายงานโครงงาน ๑๐. มีมารยาทในการ เขียน  มารยาทในการเขียน ม.๔- ม.๖ ๑. เขียนสื่อสารในรูปแบบ ต่างๆ ได้ ตรงตาม วัตถุประสงค์ โดยใช้ ภาษาเรียบเรียงถูกต้อง มี ข้อมูล และสาระสำาคัญ ชัดเจน  การเขียนสื่อสารในรูปแบบ ต่างๆ เช่น - อธิบาย - บรรยาย - พรรณนา - แสดงทรรศนะ - โต้แย้ง - โน้มน้าว - เชิญชวน - ประกาศ - จดหมายกิจธุระ - โครงการและรายงานการ ดำาเนินโครงการ - รายงานการประชุม - การกรอกแบบรายการต่างๆ ๒. เขียนเรียงความ  การเขียนเรียงความ ๓. เขียนย่อความจากสื่อที่ มีรูปแบบ และเนื้อหา หลากหลาย  การเขียนย่อความจากสื่อต่างๆ เช่น - กวีนิพนธ์ และวรรณคดี - เรื่องสั้น สารคดี นวนิยาย บทความทางวิชาการ และ วรรณกรรมพื้นบ้าน ๔. ผลิตงานเขียนของ ตนเองในรูปแบบต่างๆ  การเขียนในรูปแบบต่างๆ เช่น - สารคดี - บันเทิงคดี ๕. ประเมินงานเขียนของผู้ อื่น แล้วนำามาพัฒนา งานเขียนของตนเอง  การประเมินคุณค่างานเขียนใน ด้านต่างๆ เช่น - แนวคิดของผู้เขียน - การใช้ถ้อยคำา - การเรียบเรียง - สำานวนโวหาร - กลวิธีในการเขียน ๖. เขียนรายงานการศึกษา  การเขียนรายงานเชิงวิชาการ
  • 28. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ค้นคว้า เรื่องที่ สนใจตามหลักการเขียน เชิงวิชาการ และใช้ ข้อมูลสารสนเทศอ้างอิง อย่างถูกต้อง  การเขียนอ้างอิงข้อมูล สารสนเทศ ๗. บันทึกการศึกษา ค้นคว้าเพื่อนำาไปพัฒนา ตนเองอย่างสมำ่าเสมอ  การเขียนบันทึกความรู้จาก แหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ๘. มีมารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขียน สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพูด มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และ พูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึกในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.๑ ๑. ฟังคำาแนะนำา คำาสั่งง่ายๆ และปฏิบัติตาม  การฟังและปฏิบัติตามคำาแนะนำา คำาสั่งง่ายๆ ๒. ตอบคำาถามและเล่าเรื่อง ที่ฟังและดู ทั้งที่เป็น ความรู้และความบันเทิง ๓. พูดแสดงความคิดเห็น และความรู้สึกจากเรื่องที่ ฟังและดู  การจับใจความและพูดแสดง ความคิดเห็น ความรู้สึกจาก เรื่องที่ฟังและดู ทั้งที่เป็นความรู้ และความบันเทิง เช่น - เรื่องเล่าและสารคดีสำาหรับ เด็ก - นิทาน - การ์ตูน - เรื่องขบขัน ๔. พูดสื่อสารได้ตาม วัตถุประสงค์  การพูดสื่อสารในชีวิตประจำาวัน เช่น - การแนะนำาตนเอง - การขอความช่วยเหลือ - การกล่าวคำาขอบคุณ
  • 29. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง - การกล่าวคำาขอโทษ ๕. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด  มารยาทในการฟัง เช่น - ตั้งใจฟัง ตามองผู้พูด - ไม่รบกวนผู้อื่นขณะที่ฟัง - ไม่ควรนำาอาหารหรือเครื่อง ดื่มไปรับประทานขณะที่ฟัง - ให้เกียรติผู้พูดด้วยการปรบ มือ - ไม่พูดสอดแทรกขณะที่ฟัง  มารยาทในการดู เช่น - ตั้งใจดู - ไม่ส่งเสียงดังหรือแสดงอาการ รบกวนสมาธิของผู้อื่น  มารยาทในการพูด เช่น - ใช้ถ้อยคำาและกิริยาที่สุภาพ เหมาะสมกับกาลเทศะ - ใช้นำ้าเสียงนุ่มนวล - ไม่พูดสอดแทรกในขณะที่ผู้ อื่นกำาลังพูด ป.๒ ๑. ฟังคำาแนะนำา คำาสั่งที่ ซับซ้อน และปฏิบัติตาม  การฟังและปฏิบัติตามคำาแนะนำา คำาสั่งที่ซับซ้อน ๒. เล่าเรื่องที่ฟังและดูทั้งที่ เป็นความรู้และความ บันเทิง ๓. บอกสาระสำาคัญของ เรื่องที่ฟังและดู ๔. ตั้งคำาถามและตอบ คำาถามเกี่ยวกับเรื่องที่ฟัง และดู  การจับใจความและพูดแสดง ความคิดเห็น ความรู้สึกจาก เรื่องที่ฟังและดู ทั้งที่เป็นความรู้ และความบันเทิง เช่น - เรื่องเล่าและสารคดีสำาหรับ เด็ก - นิทาน การ์ตูน และเรื่อง ขบขัน ๕. พูดแสดงความคิดเห็น และความรู้สึกจากเรื่องที่ ฟังและดู - รายการสำาหรับเด็ก - ข่าวและเหตุการณ์ประจำาวัน - เพลง ๖. พูดสื่อสารได้ชัดเจน ตรงตามวัตถุประสงค์  การพูดสื่อสารในชีวิตประจำาวัน เช่น - การแนะนำาตนเอง - การขอความช่วยเหลือ
  • 30. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง - การกล่าวคำาขอบคุณ - การกล่าวคำาขอโทษ - การพูดขอร้องในโอกาสต่างๆ - การเล่าประสบการณ์ในชีวิต ประจำาวัน ๗. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด  มารยาทในการฟัง เช่น - ตั้งใจฟัง ตามองผู้พูด - ไม่รบกวนผู้อื่นขณะที่ฟัง - ไม่ควรนำาอาหารหรือเครื่อง ดื่มไปรับประทานขณะที่ฟัง - ไม่พูดสอดแทรกขณะที่ฟัง  มารยาทในการดู เช่น - ตั้งใจดู - ไม่ส่งเสียงดังหรือแสดงอาการ รบกวนสมาธิของผู้อื่น  มารยาทในการพูด เช่น - ใช้ถ้อยคำาและกิริยาที่สุภาพ เหมาะสมกับกาลเทศะ - ใช้นำ้าเสียงนุ่มนวล - ไม่พูดสอดแทรกในขณะที่ผู้ อื่นกำาลังพูด - ไม่พูดล้อเลียนให้ผู้อื่นได้รับ ความอับอายหรือเสียหาย ป.๓ ๑. เล่ารายละเอียดเกี่ยวกับ เรื่องที่ฟังและดูทั้งที่เป็น ความรู้และความบันเทิง ๒. บอกสาระสำาคัญจาก การฟังและการดู ๓. ตั้งคำาถามและตอบ คำาถามเกี่ยวกับเรื่องที่ฟัง และดู ๔. พูดแสดงความคิดเห็น และความรู้สึกจากเรื่องที่ ฟังและดู  การจับใจความและพูดแสดง ความคิดเห็นและความรู้สึกจาก เรื่องที่ฟังและดูทั้งที่เป็นความรู้ และความบันเทิง เช่น - เรื่องเล่าและสารคดีสำาหรับ เด็ก - นิทาน การ์ตูน เรื่องขบขัน - รายการสำาหรับเด็ก - ข่าวและเหตุการณ์ในชีวิต ประจำาวัน - เพลง ๕. พูดสื่อสารได้ชัดเจน ตรงตามวัตถุประสงค์  การพูดสื่อสารในชีวิตประจำาวัน เช่น - การแนะนำาตนเอง - การแนะนำาสถานที่ใน