SlideShare a Scribd company logo
1 of 56
Download to read offline
ชนิดและความชุกชุมของปลาในแนวปะการัง
บริเวณหมู่เกาะอาดัง ราวี อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
ทรงธรรม สุขสว่าง1 ศุภพร เปรมปรีดิ์2 อาลาดีน ปากบารา2
ฑิฆัมพร ว่องธวัชชัย2 วินัย ปราณสุข3 ปณพล ชีวเสรีชล4
เอกพงษ์ เหมรา5
1สถาบันนวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง สานักอุทยานแห่งชาติ
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
2ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครองทางทะเล จังหวัดตรัง
3สถานวิจัยความเป็นเลิศความหลากหลายทางชีวภาพแห่งคาบสมุทรไทย
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
4อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
5กลุ่ม Reef Guardian Satun
Introduction
Introduction
อ้างอิง Hughes, T.P. et al. 2007
Phase shift, herbivory, and the
resilience of coral reefs to
climate change. Current
Biology 17: 1-6
กลุ่มปลากินพืชช่วยฟื้นฟู
แนวปะการัง
ปลานกแก้ว 1 ตัว สามารถสร้างทรายได้ ปีละ 90 kg.
หรือได้กว่า 1 ตัน ตลอดชีวิตของมัน
ปลานกแก้ว 1ตัว สามารถควบคุมสาหร่ายที่ปกคลุม
ปะการังได้เฉลี่ยตัวละไม่ต่ากว่า 6400 ตารางเมตร
(4ไร่)
ตลอดชีวิตของปลานกแก้ว 1 ตัวสามารถเพิ่มพื้นที่
ให้ตัวอ่อนปะการังเติบโตได้มากกว่า 30 ก้อน
ปะการังสามารถกักเก็บคาร์บอนไว้ในรูปของ
โครงสร้างหินปูน (แคลเซียมคาร์บอเนต) ได้เป็น
จานวนมหาศาล
คาร์บอนไดออกไซด์เป็น 1 ในก๊าซเรือนกระจกที่ถูก
ปลดปล่อยสู่ชั้นบรรยากาศมากที่สุดโดยกิจกรรมของ
มนุษย์
ปลานกแก้ว เพิ่มโอกาสในการกักเก็บ
คาร์บอนในทะเลโดยการเพิ่มโอกาสให้
ปะการังได้เติบโต
ปลานกแก้วทาให้คาร์บอนมีประโยชน์โดยการครูดกินซาก
ปะการังตายและสาหร่ายหินปูน มาสร้างทรายเพิ่มให้กับ
ชายหาด
ความสาคัญของปลากินพืชในแนวปะการังอย่างปลานกแก้ว
ที่มา : Jirapong Jeewarongkhakool
P. J. Mumby et al. 2013. "Operationalizing the resilience of coral reefs in an era of climate change."
Conservation Letters. doi: 10.1111/conl.12047
อ้างอิง
งานวิจัยระยะยาวโดยดร.ปีเตอร์ มัมบี้ แห่งมหาวิทยาลัยควีนส์แลนด์และ
คณะที่เพิ่งตีพิมพ์ในวารสาร Conservation Letter (2013)
พบว่าแนวปะการังในเขตที่ไม่มีการจับปลา (No-take areas)
โดยเฉพาะแนวที่ยังมีประชากรปลานกแก้วอุดมสมบูรณ์สามารถฟื้นตัวจาก
ปรากฏการณ์ฟอกขาวได้เร็วกว่าแนวปะการังอื่นนอกเขตอนุรักษ์ถึง 6 เท่า
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
• เพื่อศึกษาชนิดและความชุกชุมของปลาในแนวปะการังหมู่เกาะอาดัง ราวี
อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
• เพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงของปลากินพืชในแนวปะการังหมู่เกาะอาดัง
ราวี อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
Scaridae
Daisy parrotfish ปลานกแก้วหัวมน
Chlorurus sordidus
Juv.
Scarus frenatus
Bridled Parrotfish ปลานกแก้วเกล็ดด่าง
Singapore parrotfish ปลานกแก้วแก้มเขียว
Scarus prasiognathos
Scarus rubroviolaceus
Ember parrotfish ปลานกแก้วหางยาว
ตัวผู้ตัวเมีย
Acanthuridae
Acanthurus lineatus
Lined surgeonfish ปลาขี้ตังเบ็ดลายตรง
Acanthurus tristis
Indian Ocean mimic surgeonfish ปลาขี้ตังเบ็ดแปลงหน้าขาว
Ctenochaetus striatus
Striated surgeonfish ปลาขี้ตังเบ็ดเส้นบาง
Naso lituratus
Orangespine unicornfish ปลาขี้ตังเบ็ดหนามส้ม
Zebrasoma scopas
Twotone tang ปลาขี้ตังเบ็ดหนามขาว
Siganidae
Siganus guttatus
Orange-spotted spinefoot ปลาสลิดทะเลจุดเหลือง
Siganus javus
Streaked spinefoot ปลาสลิดทะเลแถบ
Siganus virgatus
Barhead spinefoot ปลาสลิดทะเลหน้าดา
Blennidae
Ecsenius bicolor
Bicolor blenny ปลาตั๊กแตนหินสองสี
Plagiotremus phenax
Imposter fang blenny ปลาตั๊กแตนหินเขี้ยวเส้นขาว
Plagiotremus rhinorhynchos
Bluestriped Fang blenny ปลาตั๊กแตนหินเขี้ยวแถบฟ้ า
Gobiidae
Amblygobius hectori
Hector's goby ปลาบู่เล็กเส้นเหลือง
Pomacanthidae
Apolemichthys xanthurus
Indian Yellowtail Angelfish ปลาสินสมุทรหน้าดา
Centropyge eibli ปลาสินสมุทรจิ๋วลายส้ม
Red Stripe Angelfish, Blacktail Angelfish
Pomacentridae
Dischistodus perspicillatus
White damsel ปลาสลิดหินลายเสือ
Site Study
วิธีการศึกษา
• การศึกษาชนิดของปลาในแนวปะการัง
การทาบัญชีรายชื่อชนิดปลาที่พบในแนวปะการังบริเวณหมู่
เกาะอาดัง ราวี อุทยานแห่งชาติตะรุเตา ทาโดยการว่ายน้าสารวจทั้ง
แบบ snorkeling และแบบ SCUBA diving จดบันทึกชนิดของปลา
ที่พบในบริเวณสถานีทั้งหมด และบริเวณอื่นๆ โดยรอบ
วิธีการศึกษา
• การศึกษาความชุกชุมของปลาทาโดยใช้วิธีการทาสามะโนประชากรปลา
ด้วยสายตา (Fishes visual census technique) ตามวิธีมาตรฐานที่ใช้ใน
การสารวจประชากรปลาในแนวปะการังในโครงการ ASEAN-Australia:
Coastal Living Resources ซึ่งเป็นที่ใช้กันอย่างแพร่หลายสาหรับ
การศึกษาประชากรปลาในแนวปะการัง (English et al., 1994) โดยใช้
นักดาน้าที่มีความสามารถในการจาแนกชนิดปลา ดาน้าทาการจาแนก
ชนิดและนับจานวนปลาตามแนวสารวจ (transect line)
วิธีการศึกษา
แนวสารวจ (transect
line) ความยาว 30
เมตร จานวน 3 แนว
สารวจต่อสถานี โดยใช้
สายตามองไปข้างหน้า
และแผ่กว้างออกไป
ทางด้านของแนว
สารวจทั้งซ้ายและขวา
ด้านละ 2.5 เมตร
วิธีการ
• นาข้อมูลชนิดและจานวนปลาที่สารวจได้มาจัดทาบัญชีรายชื่อชนิดและ
คานวณหาค่าความชุกชุมต่อพื้นที่ศึกษา (ตัว/100 ตารางเมตร) และหา
เปอร์เซ็นต์ความชุกชุมของปลาแต่ละกลุ่มในแต่ละพื้นที่ที่ทาการสารวจ
โดยมีวีธีการคานวณดังนี้
ความชุกชุมของปลาแต่ละชนิด (ตัว/ 100 ตารางเมตร) = จานวนตัวปลาที่สารวจพบ x 100
ขนาดพื้นที่ที่ทาการสารวจ
วิธีการ
• และหาเปอร์เซ็นต์ความชุกชุมของปลาแต่ละกลุ่ม
เปอร์เซ็นต์ความชุกชุมของปลาแต่ละกลุ่ม = ผลรวมความชุกชุมของปลาแต่ละกลุ่ม x 100
ผลรวมความชุกชุมของปลาทั้งหมด
เปอร์เซ็นต์ความชุกชุมของปลาแต่ละกลุ่ม = ผลรวมความชุกชุมของปลาแต่ละกลุ่ม x 100
ผลรวมความชุกชุมของปลาทั้งหมด
วิธีการ
การคานวณเปอร์เซ็นต์ความหนาแน่นปลาที่ลดลง (Pi)เพื่อใช้เทียบกับเกณฑ์การพิจารณาระดับ
ผลกระทบและขีดความสามารถในการรองรับได้
(Pi) = ((D2-D1)*100)/D2
Pi = เปอร์เซ็นต์ความหนาแน่นของปลาแต่ละชนิดที่ลดลง
D1 = ความหนาแน่นของปลาแต่ละชนิดในการสารวจครั้งแรก
D2 = ความหนาแน่นของปลาแต่ละชนิดในการสารวจครั้งที่สอง
ผลการศึกษา
183 ชนิด 93 สกุล 38 วงศ์
zผลการศึกษา
กินแพลงก์ตอน
28%
กินพืช
4%
กินสัตว์ไม่มี
กระดูกสันหลัง
24%
กินปลา
1%
กินได ้
หลากหลาย
43%
เปอร์เซ็นต์ความชุกชุมของปลาในแนวปะการังแยกตามพฤติกรรมการกินอาหาร
บริเวณหมู่เกาะอาดัง ราวี อุทยานแห่งชาติตะรุเตา ปี 2553
ผลการศึกษา
กินแพลงก์ตอน
27%
กินพืช
2%
กินสัตว์ไม่มีกระดูกสัน
หลัง
26%
กินปลา
1%
กินได ้หลากหลาย
44%
เปอร์เซ็นต์ความชุกชุมของปลาในแนวปะการังแยกตามพฤติกรรมการกิน
อาหาร บริเวณหมู่เกาะอาดัง - ราวี อุทยานแห่งชาติตะรุเตา ปี 2557
ผลการศึกษา
ผลการศึกษา
สถานภาพปะการังบริเวณหมู่เกาะอาดัง ราวี
59.00
38.25
44.07
55.81
52.33
16.32
38.81 36.62
29.62
33.5
ก่อนปี พ.ศ. 2553 พ.ศ.2554 พ.ศ.2555 พ.ศ.2556 พ.ศ. 2557
กราฟแสดงการปกคลุมเฉลี่ยของปะการังมีชีวิตบริเวณหมู่เกาะอาดัง ราวี
ก่อนและหลังปะการังฟอกขาว
ตารางแสดงการลงเกาะของปะการังวัยอ่อน โดยการจาแนกตามขนาดของโคโลนี
พบการลงเกาะของปะการังวัยอ่อนในพื้นที่ 18 ชนิด ส่วนใหญ่มักพบปะการังที่มีขนาดโคโลนี ในช่วง 3-4 และ 5-7 cm ตัวอ่อน
ปะการังมีการลงเกาะจานวนมากและมีความหลากหลายของชนิด พบปะการังโขดมีการลงเกาะมากกว่าปะการังชนิดอื่นในพื้นที่
บริเวณดังกล่าวเป็นพื้นที่เหมาะสมแก่การลงเกาะอย่างมากควรได้รับการจัดการอย่างเหมาะสมพบปะการังขนาด 1-2 cm มีจานวน
12.22 โคโลนี/100 ตารางเมตร, 3-4 cm มีจานวน 32.22 โคโลนี/100 ตารางเมตรและ 5-7 cm มีจานวน 148.89 โคโลนี/100
ตารางเมตร
Coral
L1 L2 L3
1-2 cm 3-4 cm 5-7 cm 1-2 cm 3-4 cm 5-7 cm 1-2 cm 3-4 cm 5-7 cm
Acropora sp. 1 5 5 2 6
Astreopora sp. 3 3
Echinopora sp. 1 1
Favia sp. 5 1 3
Favites sp. 2 3 3 7 4
Fungia sp. 5 5 4
Galaxea sp. 1 1 2
Goniopora sp. 1
Goniastrea sp. 3 2 1
Hydnophora sp. 1 1 1
Lobophyllia sp. 3 1
Pavona sp. 1 2
Pachyseris sp. 2 4 5
Plerogyra sp. 1 1 2
Pocillopora sp. 5 4 1 4
Porites sp. 2 6 11 4 4 5 2 3 12
Symphyllia sp. 3
Heliopora coerulea sp. 1 2
รวม 5 13 49 4 10 35 2 6 50
สรุป
• พบปลาในแนวปะการัง 183 ชนิด 93 สกุล 38 วงศ์ โดยกลุ่มปลาชนิดเด่น
คือ กลุ่มปลาสลิดหิน (Pomacentridae) พบ 36 ชนิด 14 สกุล รองลงมา
คือ กลุ่มปลานกขุนทอง (Labridae) 28 ชนิด 16 สกุล ปลาผีเสื้อ
(Chaetodontidae) 14 ชนิด 3 สกุล และปลานกแก้ว (Scaridae) 12
ชนิด 2 สกุล
• กลุ่มปลากินพืชที่มีบทบาทในการควบคุมสาหร่ายและช่วยในการฟื้นตัว
ของแนวปะการัง เช่นปลานกแก้ว ปลาขี้ตัง ปลาสลิดทะเล มีเปอร์เซ็นต์
ความชุกชุมเท่ากับ 1.51 เปอร์เซ็นต์ หรือ 11 ตัวต่อ 100 ตร.ม. ในปี
2557 ลดลงจากปี 2553 ซึ่งมี 3.81 เปอร์เซ็นต์ หรือ 24 ตัวต่อ 100 ตร.ม
ซึ่งจานวนที่ลดลง คิดเป็น 53.9 เปอร์เซ็นต์
การนาไปใช้ประโยชน์
Conservation
Program
Hippocampus sp.
Seahorse
ม้าน้า
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Solenostomus sp.
ชื่อสามัญ : Harlequin ghost pipefish
: ปลาจิ้มฟันจระเข้ปีศาจ
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Gymnothorax sp.
ชื่อสามัญ : Moray eel
: ปลาไหลมอเรย์
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Antennarius sp.
ชื่อสามัญ : Frogfish
: ปลากบ
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Eurypegasus sp.
ชื่อสามัญ : Seamoth, Dragonfish
: ปลาผีเสื้อราตรี
Special Thanks
ดร. ทรงธรรม สุขสว่าง
ผู้อานวยการสถาบันนวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง
ปณพล ชีวเสรีชล และเจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
หัวหน้าอุทยานแห่งชาติตะรุเตา
Reef Guardian Thailand
Thank You

More Related Content

What's hot

2.ΒΙΟΓΡΑΦΙΚΟ ΣΗΜΕΙΩΜΑ
2.ΒΙΟΓΡΑΦΙΚΟ ΣΗΜΕΙΩΜΑ2.ΒΙΟΓΡΑΦΙΚΟ ΣΗΜΕΙΩΜΑ
2.ΒΙΟΓΡΑΦΙΚΟ ΣΗΜΕΙΩΜΑMaria Karasavvidou
 
2.1 Οργάνωση & Διοίκηση (Management)
2.1 Οργάνωση & Διοίκηση (Management)2.1 Οργάνωση & Διοίκηση (Management)
2.1 Οργάνωση & Διοίκηση (Management)Xristina Drosou
 
Πολιτική Παιδεία Α Κεφάλαιο 10
Πολιτική Παιδεία Α Κεφάλαιο 10Πολιτική Παιδεία Α Κεφάλαιο 10
Πολιτική Παιδεία Α Κεφάλαιο 10mkazakou
 
Βιογραφικό σημείωμα Europass – Παράδειγμα 1
Βιογραφικό σημείωμα Europass – Παράδειγμα 1Βιογραφικό σημείωμα Europass – Παράδειγμα 1
Βιογραφικό σημείωμα Europass – Παράδειγμα 1Nickos Nickolopoulos
 
2.ตลาดท่องเที่ยว
2.ตลาดท่องเที่ยว2.ตลาดท่องเที่ยว
2.ตลาดท่องเที่ยวchickyshare
 
Επαγγελματική Αποκατάσταση Αποφοίτων ΕΕΕΕΚ
Επαγγελματική Αποκατάσταση Αποφοίτων ΕΕΕΕΚΕπαγγελματική Αποκατάσταση Αποφοίτων ΕΕΕΕΚ
Επαγγελματική Αποκατάσταση Αποφοίτων ΕΕΕΕΚΕεεεΚ Ναυπάκτου
 
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว 8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว Mint NutniCha
 
Ηλίας Γ. Ματσαγγούρας - Ερευνητικές Εργασίες και Βιωματικές Δράσεις - Ρόλος τ...
Ηλίας Γ. Ματσαγγούρας - Ερευνητικές Εργασίες και Βιωματικές Δράσεις - Ρόλος τ...Ηλίας Γ. Ματσαγγούρας - Ερευνητικές Εργασίες και Βιωματικές Δράσεις - Ρόλος τ...
Ηλίας Γ. Ματσαγγούρας - Ερευνητικές Εργασίες και Βιωματικές Δράσεις - Ρόλος τ...Nickos Nickolopoulos
 
130903 mice for youth kku intro to mice
130903 mice for youth kku intro to mice130903 mice for youth kku intro to mice
130903 mice for youth kku intro to miceChuta Tharachai
 
การขนส่งทางอากาศเพื่อรองรับการเข้าสู่
การขนส่งทางอากาศเพื่อรองรับการเข้าสู่การขนส่งทางอากาศเพื่อรองรับการเข้าสู่
การขนส่งทางอากาศเพื่อรองรับการเข้าสู่CATC-ACM
 
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ Sutasinee Phu-on
 
Biznesi dhe Faktoret kryesor te tij
Biznesi dhe Faktoret kryesor te tijBiznesi dhe Faktoret kryesor te tij
Biznesi dhe Faktoret kryesor te tijMenaxherat
 
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทยกฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทยNurat Puankhamma
 
427 305 สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis
427 305  สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis427 305  สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis
427 305 สัปดาห์ที่ 16 correlational analysisSani Satjachaliao
 
Politika e cmimit nail reshidi
Politika e cmimit nail reshidiPolitika e cmimit nail reshidi
Politika e cmimit nail reshidiMenaxherat
 

What's hot (20)

2.ΒΙΟΓΡΑΦΙΚΟ ΣΗΜΕΙΩΜΑ
2.ΒΙΟΓΡΑΦΙΚΟ ΣΗΜΕΙΩΜΑ2.ΒΙΟΓΡΑΦΙΚΟ ΣΗΜΕΙΩΜΑ
2.ΒΙΟΓΡΑΦΙΚΟ ΣΗΜΕΙΩΜΑ
 
2.1 Οργάνωση & Διοίκηση (Management)
2.1 Οργάνωση & Διοίκηση (Management)2.1 Οργάνωση & Διοίκηση (Management)
2.1 Οργάνωση & Διοίκηση (Management)
 
Πολιτική Παιδεία Α Κεφάλαιο 10
Πολιτική Παιδεία Α Κεφάλαιο 10Πολιτική Παιδεία Α Κεφάλαιο 10
Πολιτική Παιδεία Α Κεφάλαιο 10
 
Βιογραφικό σημείωμα Europass – Παράδειγμα 1
Βιογραφικό σημείωμα Europass – Παράδειγμα 1Βιογραφικό σημείωμα Europass – Παράδειγμα 1
Βιογραφικό σημείωμα Europass – Παράδειγμα 1
 
9
99
9
 
Chp1
Chp1Chp1
Chp1
 
2.ตลาดท่องเที่ยว
2.ตลาดท่องเที่ยว2.ตลาดท่องเที่ยว
2.ตลาดท่องเที่ยว
 
Επαγγελματική Αποκατάσταση Αποφοίτων ΕΕΕΕΚ
Επαγγελματική Αποκατάσταση Αποφοίτων ΕΕΕΕΚΕπαγγελματική Αποκατάσταση Αποφοίτων ΕΕΕΕΚ
Επαγγελματική Αποκατάσταση Αποφοίτων ΕΕΕΕΚ
 
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว 8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
 
Ηλίας Γ. Ματσαγγούρας - Ερευνητικές Εργασίες και Βιωματικές Δράσεις - Ρόλος τ...
Ηλίας Γ. Ματσαγγούρας - Ερευνητικές Εργασίες και Βιωματικές Δράσεις - Ρόλος τ...Ηλίας Γ. Ματσαγγούρας - Ερευνητικές Εργασίες και Βιωματικές Δράσεις - Ρόλος τ...
Ηλίας Γ. Ματσαγγούρας - Ερευνητικές Εργασίες και Βιωματικές Δράσεις - Ρόλος τ...
 
130903 mice for youth kku intro to mice
130903 mice for youth kku intro to mice130903 mice for youth kku intro to mice
130903 mice for youth kku intro to mice
 
การขนส่งทางอากาศเพื่อรองรับการเข้าสู่
การขนส่งทางอากาศเพื่อรองรับการเข้าสู่การขนส่งทางอากาศเพื่อรองรับการเข้าสู่
การขนส่งทางอากาศเพื่อรองรับการเข้าสู่
 
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์
 
Biznesi dhe Faktoret kryesor te tij
Biznesi dhe Faktoret kryesor te tijBiznesi dhe Faktoret kryesor te tij
Biznesi dhe Faktoret kryesor te tij
 
Ch 0 intro to mice
Ch 0 intro to miceCh 0 intro to mice
Ch 0 intro to mice
 
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทยกฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
 
Business Plan
Business PlanBusiness Plan
Business Plan
 
427 305 สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis
427 305  สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis427 305  สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis
427 305 สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis
 
Politika e cmimit nail reshidi
Politika e cmimit nail reshidiPolitika e cmimit nail reshidi
Politika e cmimit nail reshidi
 
India Mobile Accessories Market (2018-2023)
India Mobile Accessories Market (2018-2023)India Mobile Accessories Market (2018-2023)
India Mobile Accessories Market (2018-2023)
 

Viewers also liked

ปะการังฟอกขาว
ปะการังฟอกขาวปะการังฟอกขาว
ปะการังฟอกขาวAuraphin Phetraksa
 
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดตรัง
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดตรังT-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดตรัง
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดตรังAuraphin Phetraksa
 
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออกUNDP
 
แปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวรแปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวรAuraphin Phetraksa
 
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...Auraphin Phetraksa
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศAuraphin Phetraksa
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวAuraphin Phetraksa
 
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557Auraphin Phetraksa
 
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์Auraphin Phetraksa
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศUNDP
 
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม UNDP
 
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณแนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณUNDP
 
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินคู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินUNDP
 
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...UNDP
 
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครองUNDP
 
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาดการเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาดAuraphin Phetraksa
 
รายงานข้อเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพ
รายงานข้อเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพรายงานข้อเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพ
รายงานข้อเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพUNDP
 
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุนการวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุนUNDP
 
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...UNDP
 
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศการวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศUNDP
 

Viewers also liked (20)

ปะการังฟอกขาว
ปะการังฟอกขาวปะการังฟอกขาว
ปะการังฟอกขาว
 
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดตรัง
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดตรังT-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดตรัง
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดตรัง
 
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
 
แปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวรแปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวร
 
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
 
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
 
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
 
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณแนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
 
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินคู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
 
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
 
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
 
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาดการเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
 
รายงานข้อเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพ
รายงานข้อเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพรายงานข้อเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพ
รายงานข้อเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพ
 
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุนการวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
 
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
 
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศการวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
 

Similar to ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง

ศูนย์ชุมพร
ศูนย์ชุมพรศูนย์ชุมพร
ศูนย์ชุมพรJaae Watcharapirak
 
Sea turtles preservation
Sea turtles preservationSea turtles preservation
Sea turtles preservationaunun
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวAuraphin Phetraksa
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวAuraphin Phetraksa
 
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาวสถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว Auraphin Phetraksa
 
คู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทย
คู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทยคู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทย
คู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทยUtai Sukviwatsirikul
 
6.2ผลการศึกษา
6.2ผลการศึกษา6.2ผลการศึกษา
6.2ผลการศึกษาPinNii Natthaya
 
พะยูน
พะยูนพะยูน
พะยูนteryberry
 
คู่มือจำแนกงูทะเลและงูน้ำ - มนตรี สุมณฑา. (นักวิชาการประมงชํานาญการ. สถานีวิจ...
คู่มือจำแนกงูทะเลและงูน้ำ - มนตรี สุมณฑา. (นักวิชาการประมงชํานาญการ. สถานีวิจ...คู่มือจำแนกงูทะเลและงูน้ำ - มนตรี สุมณฑา. (นักวิชาการประมงชํานาญการ. สถานีวิจ...
คู่มือจำแนกงูทะเลและงูน้ำ - มนตรี สุมณฑา. (นักวิชาการประมงชํานาญการ. สถานีวิจ...KAMOLCHAIKEAWKLANGMO
 
การศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าการศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าAuraphin Phetraksa
 
ปะการัง
ปะการังปะการัง
ปะการังUNDP
 
อุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ธารา-หมูเกาะ.pptx
อุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ธารา-หมูเกาะ.pptxอุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ธารา-หมูเกาะ.pptx
อุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ธารา-หมูเกาะ.pptxssuserda793f
 
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ตCorridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ตAuraphin Phetraksa
 
โครงการ การประมง
โครงการ การประมงโครงการ การประมง
โครงการ การประมงmoemon12
 
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตาแผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตาyah2527
 
IS2 ปลาสลิด
IS2 ปลาสลิดIS2 ปลาสลิด
IS2 ปลาสลิดoil_intira
 

Similar to ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง (20)

ศูนย์ชุมพร
ศูนย์ชุมพรศูนย์ชุมพร
ศูนย์ชุมพร
 
Sea turtles preservation
Sea turtles preservationSea turtles preservation
Sea turtles preservation
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
 
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาวสถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
 
คู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทย
คู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทยคู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทย
คู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทย
 
6.2ผลการศึกษา
6.2ผลการศึกษา6.2ผลการศึกษา
6.2ผลการศึกษา
 
042147
042147042147
042147
 
พะยูน
พะยูนพะยูน
พะยูน
 
คู่มือจำแนกงูทะเลและงูน้ำ - มนตรี สุมณฑา. (นักวิชาการประมงชํานาญการ. สถานีวิจ...
คู่มือจำแนกงูทะเลและงูน้ำ - มนตรี สุมณฑา. (นักวิชาการประมงชํานาญการ. สถานีวิจ...คู่มือจำแนกงูทะเลและงูน้ำ - มนตรี สุมณฑา. (นักวิชาการประมงชํานาญการ. สถานีวิจ...
คู่มือจำแนกงูทะเลและงูน้ำ - มนตรี สุมณฑา. (นักวิชาการประมงชํานาญการ. สถานีวิจ...
 
การศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าการศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่า
 
ปะการัง
ปะการังปะการัง
ปะการัง
 
Book20110408103212
Book20110408103212Book20110408103212
Book20110408103212
 
อุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ธารา-หมูเกาะ.pptx
อุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ธารา-หมูเกาะ.pptxอุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ธารา-หมูเกาะ.pptx
อุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ธารา-หมูเกาะ.pptx
 
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ตCorridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
 
Kc4104041
Kc4104041Kc4104041
Kc4104041
 
โครงการ การประมง
โครงการ การประมงโครงการ การประมง
โครงการ การประมง
 
EcoSystem01
EcoSystem01EcoSystem01
EcoSystem01
 
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตาแผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
 
IS2 ปลาสลิด
IS2 ปลาสลิดIS2 ปลาสลิด
IS2 ปลาสลิด
 

More from Auraphin Phetraksa

การใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณการใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณAuraphin Phetraksa
 
แนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อแนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อAuraphin Phetraksa
 
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศสรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศAuraphin Phetraksa
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกAuraphin Phetraksa
 
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพรผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพรAuraphin Phetraksa
 
นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗Auraphin Phetraksa
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกAuraphin Phetraksa
 
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานีการเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานีAuraphin Phetraksa
 
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติInVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติAuraphin Phetraksa
 
Chamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรีChamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรีAuraphin Phetraksa
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)Auraphin Phetraksa
 
การกัดเซาะชายหาด ๕๗
การกัดเซาะชายหาด ๕๗การกัดเซาะชายหาด ๕๗
การกัดเซาะชายหาด ๕๗Auraphin Phetraksa
 
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่Auraphin Phetraksa
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติAuraphin Phetraksa
 
แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)
แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)
แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)Auraphin Phetraksa
 

More from Auraphin Phetraksa (18)

การใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณการใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณ
 
แนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อแนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อ
 
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศสรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
 
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพรผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
 
นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
 
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานีการเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
 
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติInVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
 
Chamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรีChamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรี
 
Corridor 55-56
Corridor 55-56Corridor 55-56
Corridor 55-56
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)
 
การกัดเซาะชายหาด ๕๗
การกัดเซาะชายหาด ๕๗การกัดเซาะชายหาด ๕๗
การกัดเซาะชายหาด ๕๗
 
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
 
Prosopis juliflora tha_edit1
Prosopis juliflora tha_edit1Prosopis juliflora tha_edit1
Prosopis juliflora tha_edit1
 
แปลงถาวร
แปลงถาวร แปลงถาวร
แปลงถาวร
 
แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)
แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)
แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)
 

ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง