SlideShare a Scribd company logo
1 of 81
Download to read offline
การสารวจและวางแผนการจัดการพื้นที่แนวเชื่อมต่อ
(Marine Ecological Corridor) ระหว่างพื้นที่
คุ้มครองทางทางทะเล (Marine Protected Area
Network) ในฝั่งทะเลอันดามันตอนเหนือ
เค้าโครงนาเสนอ
ที่มาและความสาคัญ
วัตถุประสงค์
 พื้นที่ศึกษา
เต่าทะเล
ระบบนิเวศปะการัง
ปลาในแนวปะการัง
ระบบนิเวศหญ้าทะเล
แนวทางจัดทาแนวเชื่อมต่อ
ปัจจัยคุกคาม
ข้อเสนอแนะ
 ความเชื่อมต่อ(Connectivity) ถูกนิยามไว้ว่าการเคลื่อนไปมาของสสารระหว่างที่ตั้ง อาจ
เป็นประเภทเดียวกันหรือคนละประเภทก็ได้ เช่น ระหว่างแนวปะการังต่อแนว
ปะการังและแนวหญ้าทะเล
 ทาไมจึงต้องศึกษา
 ข้อเท็จจริงคือ
1. พื้นที่ขนาดใหญ่จะรองรับการกระจายพันธุ์ของตัวอ่อนได้มากพอสมควร
2. สิ่งมีชีวิตในทะเลส่วนใหญ่ ขยายพันธ์โดยการปล่อยไข่ ใช้มวลน้าเป็นตัว
ขับเคลื่อนให้ไปได้ไกล
3. สัตว์ทะเล ใช้ถิ่นที่อยู่อาศัยหลายประเภทในหนึ่งช่วงวงจรชีวิต
4. ปลาทะเลหลายชนิดมีการอพยพย้ายถิ่นรวมฝูงกันเพื่อผสมพันธุ์และวางไข่
 สรุป ความเชื่อมโยงที่ซับซ้อนมีความสาคัญต่อสมดุลของระบบนิเวศ
ที่มาและความสาคัญ
การทบทวนวรรณกรรม
Lester et al. (2009) ศึกษาข้อมูลจากพื้นที่ห้ามจับสัตว์น้า 124 แห่ง พบว่า
ภายในเขตฯ มีมวลสัตว์น้ามากกว่า 460% ขนาดใหญ่กว่า 30% และความหนาแน่น
มากกว่า 160%
ประโยชน์จากการศึกษา
1. นาไปจัดการพื้นที่คุ้มครองและเสริมสร้างศักยภาพในการอนุรักษ์ความ
หลากหลายทางชีวภาพ
2. เป็นการรักษาแหล่งขยายพันธ์สัตว์น้าสาหรับการประมง
3. เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงระบบนิเวศ
ที่มาและความสาคัญ
วัตถุประสงค์
1. สำรวจควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ เพื่อกำหนดระบบนิเวศสำคัญที่มี
ศักยภำพในกำรทำหน้ำที่เป็นแนวเชื่อมต่อทำงทะเล
2. เพื่อจัดทำฐำนข้อมูล วิเครำะห์ ประเมิน และติดตำมสถำนภำพของ
ทรัพยำกรทำงทะเลและชำยฝั่ง
3. เพื่อเสนอแนวทำงกำรจัดกำรพื้นที่บริเวณแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ โดย
เน้นกระบวนกำรมีส่วนร่วมจำกผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกภำคส่วน
4. เพื่อวำงระบบกำรติดตำมตรวจสอบ (monitoring) ทรัพยำกรชีวภำพ
ระยะยำวอย่ำงเป็นระบบ เพื่อเป็นหลักประกันควำมยั่งยืนของควำม
หลำกหลำยทำงชีวภำพ
วัตถุประสงค์ (ต่อ)
แนวเชื่อมต่อระหว่ำงพื้นที่
คุ้มครองทำงทะเล
3 แห่ง ได้แก่
อช.เขำหลัก- ลำรู่
อช.เขำลำปี-หำดท้ำยเหมือง
อช. สิรินำถ
พื้นที่ศึกษา
เต่าทะเล
 อาคีลอน (Archelon) เต่าทะเลยุคโบราณที่สูญพันธุ์ไปเมื่อประมาณ 65
ล้านปี ที่ผ่านมา ขุดพบที่บริเวณตอนกลางของทวีปอเมริกาเหนือ
มีลักษณะรูปร่างที่ใกล้เคียงกับเต่ามะเฟื องในปัจจุบันมีหัวและหางที่
เรียวแหลม ปากที่แข็งแรง ถูกพัฒนามาเพื่อการจับกินสัตว์พวกหมึก
และหอยที่อาศัยอยู่กลางน้า ด้านหลังปกคลุมด้วยแผ่นหนัง คล้ายกับที่
พบในเต่ามะเฟือง โตเต็มที่มีความยาวเกือบ 4 เมตร น้าหนักมากกว่า
2,200 กก.
เต่าทะเล
อาคีลอน
เต่าทะเล
เต่าที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก
ขนาดโตเต็มที่ ยาว 210 ซม. หนัก 900 กก.
กระดองเป็นหนังหนาสีดา มีจุดประสีขาว มี
ร่องสันนูนตามยาว 7 สัน อาศัยอยู่ในทะเล
เปิด กินแมงกะพรุนเป็นอาหารหลัก
ในประเทศไทยพบวางไข่เฉพาะ
บริเวณชายหาดฝั่งตะวันตกของจังหวัดพังงา
และภูเก็ต
เต่ามะเฟือง
Leatherback turtle,
Dermochelys coriacea
เต่าทะเล
เต่ามะเฟือง มีปากที่บอบบางกว่าเป็นหยักขนาดใหญ่ เพื่อกัดกินสัตว์ที่
ไม่มีเปลือกแข็ง ได้แก่ แมงกะพรุน ภายในช่องปากและลาคอมีอวัยวะ
คล้ายหนามเล็ก ๆ (Papillae) จานวนมากเรียงตัวชี้ไปทางด้านหลังเพื่อ
ช่วยในการกลืนอาหาร
การสารวจเต่าทะเล
• กำรรวบรวมข้อมูลของเต่ำทะเล
• สำรวจกำรขึ้นวำงไข่ของเต่ำทะเล
กำรเดินลำดตระเวนร่วมกับเจ้ำหน้ำที่อุทยำนแห่งชำติและเครือข่ำย
อนุรักษ์เต่ำทะเล
บันทึกตำแหน่งพิกัดของเต่ำทะเลที่ขึ้นวำงไข่
บันทึกข้อมูลกำรขึ้นวำงไข่ตำมแบบฟอร์มมำตรฐำนของกรม
ทรัพยำกรทำงทะเลและชำยฝั่ง
เต่าทะเล
1. การขึ้นวางไข่ของเต่าทะเล
ลาดับ วัน/เดือน/ปี ชนิดเต่า บริเวณที่พบ
น้าหนัก จานวนไข่ การฟัก
โดยประมาณ (กก.) (ฟอง) ฟักได้ (ตัว) %
1 3 ธ.ค. 55 เต่ามะเฟือง ทิศเหนือบริเวณหน่วยฯ ลป.3 (ปาง) 200 99 76 76.77
2 11 ธ.ค. 55 เต่ามะเฟือง ทิศใต้บริเวณหน่วยฯ ลป.3 (ปาง) ไม่พบตัว 92 65 70.65
3 19 ธ.ค. 55 เต่ามะเฟือง ทิศเหนือบริเวณหน่วยฯ ลป.3 (ปาง) 200 109 73 66.97
4 20 ธ.ค. 55 เต่ามะเฟือง ทิศใต้บริเวณหน่วยฯ ลป.3 (ปาง) 200 74 61 82.43
5 28 ธ.ค. 55 เต่ามะเฟือง ทิศใต้บริเวณหน่วยฯ ลป.3 (ปาง) ไม่พบตัว 94 64 68.08
6 6 ม.ค. 56 เต่ามะเฟือง บริเวณเขาหน้ายักษ์ ไม่พบตัว 91 - -
7 15 ก.พ.56 เต่ามะเฟือง ทิศใต้บริเวณหน่วยฯ ลป.3 (ปาง) ไม่พบตัว 84 49 58.33
8 14 มี.ค.56 เต่ามะเฟือง หาดไม้ขาว ไม่พบตัว - - -
รวม 643 388 70.54
เต่าทะเล
ผลการศึกษา (ต่อ)
การขึ้นวางไข่ของเต่าทะเล
ในช่วง ปี 2555-2556
กาหนดพื้นที่เป้ าหมาย :
• รวบรวมข้อมูลทรัพยำกรทำงทะเลและชำยฝั่งรวม
• สำรวจแนวปะกำรังที่ถูกค้นพบใหม่นอกชำยฝั่ง โดยควำมร่วมมือ
กับผู้ประกอบกำรธุรกิจดำน้ำหรือชำวประมง
วิธีการสารวจ
ระบบนิเวศปะการัง
รวบรวมข้อมูล
ตำแหน่งกองหิน/
ทำประมง
1. สารวจแนวปะการัง ใช้วิธี Line intercept transect โดยกำรวำงเส้นเทป
บนแนวปะกำรังยำว 30 เมตร ทั้งหมด 4 ซ้ำ (replicate)
• บันทึกขนำดและจำนวนของสิ่งมีชีวิตภำยใต้เส้นเทปในระดับ
เซนติเมตร
• เลือกพื้นที่บนแนวปะกำรังบริเวณโซนไหล่ (reef edge) หรือลำดชัน
ตอนบน (reef slope)
วิธีการสารวจ (ต่อ)
ระบบนิเวศปะการัง
วิเคราะห์ข้อมูล
• ค่ำเปอร์เซ็นต์ครอบคุลมพื้นที่ของสิ่งมีชีวิต
• แปลค่ำบ่งบอกสภำพของแนวปะกำรัง
• ค่ำดัชนีควำมหลำกหลำยโดยใช้ดัชนี Shannon-Wiener Index
• ค่ำควำมคล้ำยคลึง ใช้สูตร Euclidean distance เป็นกำรวัดค่ำ
ระยะห่ำงของสถำนีศึกษำและชนิด นำไปวิเครำะห์แบบ
แบ่งกลุ่ม (cluster analysis)
ระบบนิเวศปะการัง
สถานีสารวจปะการัง
ระบบนิเวศปะการัง
ผลการศึกษา
ลาดับ สถานี
% ครอบคลุมพื้นที่
สถานภาพแนวปะการัง ดัชนีความหลากหลาย ปะการังชนิดเด่นปะการัง
เป็น
ปะการัง
ตาย
1 อช.เขาหลัก-ลารู่ 2.80 2.00 ตามสภาพ 2.46 ปะการังแผ่นจาน (Turbinaria frondens)
2 ปาง ทิศเหนือ อช.เขาลาปีฯ 16.86 73.44 1 : ≥ 3 เสื่อมโทรมมาก 2.07 ปะการังโขด (Porites lutea)
3 ปาง กลางแนว อช.เขาลาปีฯ 9.96 73.91 1 : ≥ 3 เสื่อมโทรมมาก 2.46 ปะการังโขด (Porites lutea)
4 ปาง ทิศใต้ อช.เขาลาปีฯ 7.29 88.77 1 : ≥ 3 เสื่อมโทรมมาก 2.07 ปะการังโขด (Porites lutea)
5 หินกองท่าแตง 18.28 4.25 ตามสภาพ 2.05 กลุ่มกัลปังหา
6 หินกองหน้าบ่อดาน 16.43 4.90 ตามสภาพ 2.35
ปะการังแผ่นหูช้าง (Mycedium
elephantotus)
7 เกาะปลิง อช.สิรินาถ 20.37 75.88 1 : ≥ 3 เสื่อมโทรมมาก 2.79 ปะการังดาวใหญ่ (Diploastrea heliopora)
8 หน้าแมริออท 3.14 3.32 ตามสภาพ 1.84 ปะการังแผ่นจาน (Turbinaria frondens)
9 หน้าหาดทรายแก้ว 1.58 6.77 ตามสภาพ 0.56 ปะการังอ่อนสกุล Scleronephthya sp.
ระบบนิเวศแนวปะการัง
1. สถานภาพแนวปะการัง
2. การกระจายแนวปะการัง
ปะกำรังก่อตัวที่ระดับ
ควำมลึก 6 - 20 เมตร บำง
บริเวณพบแนวปะกำรังก่อ
ตัวบนกองหิน มีพื้นที่ทั้ง
แนวเชื่อมต่อฯ ประมาณ
6.65 ตารางกิโลเมตร
ผลการศึกษา (ต่อ)
3. ร้อยละการปกคลุมพื้นที่
0%
10%
20%
30%
40%
50%
60%
70%
80%
90%
100%
ปะการังมีชีวิต
ปะการังตาย
สิ่งมีชีวิตอื่นๆ
ทราย
เศษปะการัง
หิน
ปะการังอ่อน
ผลการศึกษา (ต่อ)
ระบบนิเวศแนวปะการัง
4. ค่าดัชนีความหลากหลายและค่าความเท่าเทียม
0
0.5
1
1.5
2
2.5
3
3.5
Sta.1 Sta.2 Sta.3 Sta.4 Sta.5 Sta.6 Sta.7 Sta.8 Sta.9 Sta.10 Sta.11 Sta.12 Sta.13
ค่าดัชนีความหลากหลาย
ค่าความเท่าเทียมกัน
ผลการศึกษา (ต่อ)
ระบบนิเวศแนวปะการัง
5. ความคล้ายคลึงของแนวปะการัง
ระบบนิเวศแนวปะการัง
ผลการศึกษา (ต่อ)
1. สถานภาพของแนวปะการัง
แนวปะกำรังตลอดแนวชำยฝั่งต่อเนื่องไปจนถึงเขตอุทยำน
แห่งชำติสิรินำถมีสภำพที่เสื่อมโทรม โดยส่วนใหญ่มีเปอร์เซ็นต์
ปกคลุมพื้นที่ของปะกำรังมีชีวิตน้อยกว่ำ 30 เปอร์เซ็นต์ และค่ำ
เปอร์เซ็นต์ปกคลุมพื้นที่ของปะกำรังตำยค่อนข้ำงสูง
ระบบนิเวศปะการัง
สรุปและวิจารณ์
2. ความล้ายคลึงของแนวปะการัง จัดกลุ่มได้ 3 กลุ่ม
กลุ่มแรก สถานีที่ 9 ถูกแยกออกจากกลุ่มอื่น ๆ ชัดเจน สิ่งมีชีวิตที่
ปรากฏโดยส่วนใหญ่เป็นกัลปังหาที่มีจานวนของโคโลนีค่อนข้างมาก
กลุ่มที่สอง สถานีที่ 6–8 มีชนิดของปะการังและสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ที่
ปรากฏบนแนวปะการังคล้ายคลึงกัน
กลุ่มที่สาม สถานี 10 - 13 แนวปะการังทั้งหมดอยู่ในตาแหน่งที่
ใกล้เคียงกันเรียงจากทิศเหนือไปยังทิศใต้
สรุปและวิจารณ์ (ต่อ)
ระบบนิเวศปะการัง
การสารวจแนวปะการัง
ปะการังอ่อน บริเวณหน้าหาดทรายแก้ว
ปะการังอ่อน บริเวณหน้าหาดทรายแก้ว
แนวปะการังหาดท้ายเหมือง
ปะการังเกาะปลิง
หินกองหน้าบ่อดานหินกอง-ท่าแตง
หน้าแมริออท
1. การสารวจปลาในแนวปะการัง :
• วิธี Fishes visual โดยกำรทำ Belt transect ควำมยำว 30 เมตร
จำนวน 3 แนว สำรวจข้ำงแนวเทปด้ำนซ้ำยและขวำด้ำนละ 5 เมตร
• จำแนกชนิดปลำใต้น้ำ จดบันทึกชนิดและควำมชุกชุมของปลำ
วิธีการสารวจ
ปลาในแนวปะการัง
-สำรวจชนิดและควำมชุกชุมของประชำกรปลำโดยวิธี Fishes visual
census technique
• จัดทำบัญชีรำยชื่อ
• รูปแบบควำมอุดมสมบูรณ์ของปลำ โดยใช้ค่ำประมำณ
ควำมสมบูรณ์แบบ Log 4 Abundance
• ค่ำดัชนีควำมหลำกหลำยของชนิดปลำ
วิเคราะห์ข้อมูล
ปลาในแนวปะการัง
• ค่ำควำมชุกชุมของปลำและเปอร์เซ็นต์ควำมชุกชุมของปลำ
กลุ่มต่ำงๆในแต่ละสถำนี โดยมีสูตรกำรคำนวณ
ควำมชุกชุมของชนิดปลำ (ตัวต่อ 300 ตำรำงเมตร) = จำนวนตัวของปลำแต่ละวงศ์ที่สำรวจพบ x 300
ขนำดพื้นที่ที่ทำกำรสำรวจ
วิเคราะห์ข้อมูล (ต่อ)
ปลาในแนวปะการัง
การวิเคราะห์ข้อมูล (ต่อ)
ค่ำดัชนีควำมหลำกหลำย (Diversity Index) Shannon-Wiener Index
s
H ′= -∑ Pi ln Pi
i=1
เมื่อ H ′ = ดัชนีควำมหลำกหลำย
Pi = สัดส่วนของชนิดที่ i / สัดส่วนของชนิดทั้งหมด
s = จำนวนชนิดทั้งหมด
ปลาในแนวปะการัง
การวิเคราะห์ข้อมูล (ต่อ)
ดัชนีควำมสม่ำเสมอกำรกระจำยจำนวน (Evenness Index) ตำมสูตร
เมื่อ H′ = ดัชนีควำมหลำกหลำย
H′ MAXIMUM = ค่ำดัชนีควำมหลำกชนิดที่มีค่ำสูงสุดเมื่อทุกชนิด
มีจำนวนเท่ำกัน
E ′ = H ′/ H ′MAXIMUM
ปลาในแนวปะการัง
สถานีสารวจ
ปลาในแนวปะการัง
ปลาในแนวปะการัง
1. ชนิดและความชุกชุมของปลา
สถำนนีที่ สถำนี
จำนวน
ชนิด สกุล วงศ์
sta 1 หำดท้ำยเหมือง (ใต้) 32 21 13
sta 2 หำดท้ำยเหมือง (กลำง) 29 20 13
sta 3 หำดท้ำยเหมือง (เหนือ) 39 26 16
sta 4 หินกอง 48 27 15
sta 5 เกำะปลิง 67 41 22
sta 6 หำดไม้ขำว 37 27 16
ปลาในแนวปะการัง
ผลการศึกษา
ผลการศึกษา (ต่อ)
จานวนชนิดของปลา
ปลาในแนวปะการัง
Sta.1 :32
Sta.3 :39
Sta.3 :29
Sta.4 :48
Sta.5 :37
Sta.6 :67
2. จานวนชนิดและจานวนตัวปลา
สถานีสารวจ ชื่อสถานีสารวจ
จานวนชนิด
(เฉลี่ย/ 300 ม.2)
จานวนตัว
(เฉลี่ย/ 300 ม.2)
St. 01 หาดท้ายเหมือง (ทิศใต้) 32 373
St. 02 หาดท้ายเหมือง (ตอนกลาง) 29 358
St. 03 หาดท้ายเหมือง (ทิศเหนือ) 39 1,349
St 04 หินกองหน้าบ่อดาน 48 3,614
St. 05 เกาะปลิง 67 2,564
St. 06 หาดไม้ขาว 37 1,625
ปลาในแนวปะการัง
ผลการศึกษา (ต่อ)
3. ความหลากหลายของชนิดปลา
ชื่อสถานีสารวจ ความหลากหลาย ความสม่าเสมอ
หาดท้ายเหมือง (ทิศใต้) 1.721 0.346
หาดท้ายเหมือง (ตอนกลาง) 2.297 0.462
หาดท้ายเหมือง (ทิศเหนือ) 2.020 0.406
หินกองหน้าบ่อดาน 2.392 0.481
เกาะปลิง 2.372 0.477
หน้าหาดไม้ขาว 1.862 0.544
ปลาในแนวปะการัง
ผลการศึกษา (ต่อ)
ผลการศึกษา (ต่อ)
ค่าดัชนีความหลากหลาย
ของปลาในปะการัง
ผลการศึกษา (ต่อ)
ค่าความสม่าเสมอ
ของปลาในปะการัง
4. ค่าความคล้ายคลึงของชนิดพันธุ์ปลา
สถานี
หาดท้ายเหมือง
ตอนใต้
หาดท้ายเหมือง
ตอนกลาง
หาดท้ายเหมือง
ตอนเหนือ
หินกองหน้า
บ่อดาน
หาดไนยาง หาดไม้ขาว
หาดท้ายเหมือง
ตอนใต้
0.590 0.563 0.400 0.424 0.435
หาดท้ายเหมือง
ตอนกลาง
0.590 0.529 0.468 0.458 0.455
หาดท้ายเหมือง
ตอนเหนือ
0.563 0.529 0.575 0.377 0.421
หินกองหน้ าบ่ อ
ดาน
0.400 0.468 0.575 0.487 0.541
หาดไนยาง 0.424 0.458 0.377 0.487 0.635
หาดไม้ขาว 0.435 0.455 0.421 0.541 0.635
ปลาในแนวปะการัง
ผลการศึกษา (ต่อ)
1. ประชากรปลา
1.1 ชนิดและควำมชุกชุมของปลำ
ควำมชุกชุมของปลำมำกที่สุดได้แก่ หินกอง
ควำมหลำกหลำยของชนิดปลำมำกที่สุดได้แก่ เกำะปลิง
แนวปะกำรังที่มีควำมแตกต่ำงกันทำงภูมิศำสตร์หลำยรูปแบบ ได้แก่ บริเวณ
เชิงลำดปะกำรัง บริเวณสันแนวปะกำรัง และต่อเนื่องไปยังโขดหินที่อยู่
ในระดับน้ำลึก ทำให้มีควำมหลำกหลำยของแหล่งอำศัยที่ส่งผลต่อ
ควำมหลำกหลำยของชนิดปลำที่อำศัยอยู่ในแหล่งอำศัย
ปลาในแนวปะการัง
สรุปและวิจารณ์
1.1 ชนิดและควำมชุกชุมของปลำ (ต่อ)
องค์ประกอบของประชำคมปลำแบ่งตำมสถำนภำพตำมเกณฑ์ต่ำงๆ
พบว่ำ สัดส่วนของ
ปลำที่สำมำรถใช้บริโภคเป็นอำหำรได้ประมำณ 39%
ปลำที่เป็นประโยชน์ในด้ำนเป็นปลำสวยงำมมำกถึง 55%
ปลำที่ยังไม่มีรำยงำนกำรใช้ประโยชน์ 6%
ปลาในแนวปะการัง
สรุปและวิจารณ์ (ต่อ)
องค์ประกอบของประชำคมปลำแบ่งตำมสถำนภำพตำมเกณฑ์ต่ำงๆ
ปลาในแนวปะการัง
สรุปและวิจารณ์ (ต่อ)
1.1 ชนิดและควำมชุกชุมของปลำ (ต่อ)
จำแนกกลุ่มปลำที่พบตำมพฤติกรรมกำรกินอำหำร
ปลำที่กินสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังขนำดเล็ก (Carnivorous fish) 59%
กลุ่มปลำกินพืช (Herbivorous fish) มี 13%
กลุ่มปลำที่กินทั้งพืชทั้งสัตว์เป็นอำหำร (Omnivorous fish) 16%
ปลาในแนวปะการัง
สรุปและวิจารณ์ (ต่อ)
จำแนกกลุ่มปลำที่พบตำมพฤติกรรมกำรกินอำหำร
ปลาในแนวปะการัง
สรุปและวิจารณ์ (ต่อ)
1.1 ชนิดและควำมชุกชุมของปลำ (ต่อ)
กำรจัดกลุ่มปลำตำมพฤติกรรมกำรอยู่อำศัยในแนวปะกำรัง
ปลำกลุ่มที่อำศัยอยู่ร่วมกับแนวปะกำรัง (Reef associated)
เป็นปลำกลุ่มใหญ่ที่สุดโดยพบเป็นสัดส่วนสูงถึง 84%
ปลาในแนวปะการัง
สรุปและวิจารณ์ (ต่อ)
กำรจัดกลุ่มปลำตำมพฤติกรรมกำรอยู่อำศัยในแนวปะกำรัง
ปลาในแนวปะการัง
สรุปและวิจารณ์ (ต่อ)
2. ความหลากหลายของชนิดปลา
ควำมหลำกหลำยของชนิดพันธุ์ปลำในระดับปำนกลำง ค่ำดัชนีควำม
หลำกหลำยทำงชีวภำพที่ไม่สูงมำกนัก เนื่องมำจำกมีควำมแตกต่ำงกัน
ระหว่ำงจำนวนของปลำชนิดที่พบเป็นปลำชนิดเด่น กับปลำอื่นๆที่พบใน
บริเวณสำรวจค่อนข้ำงสูงมำก ทำให้มีควำมสม่ำเสมอในกำรกระจำย
จำนวนของปลำชนิดต่ำงๆ ค่อนข้ำงน้อย
ปลาในแนวปะการัง
สรุปและวิจารณ์ (ต่อ)
2. ความหลากหลายของชนิดปลา (ต่อ)
ดัชนีควำมหลำกหลำยสูงสุดได้แก่ สถำนีหินกอง-ท่ำแตง
อธิบำยด้วยทฤษฎีกำรรบกวนทำงนิเวศวิทยำ แสดงให้เห็นว่ำ
ระบบนิเวศดังกล่าวอาจยังไม่พัฒนาไปจนถึงภาวะใกล้จุดสมดุล (Nearest
equilibrium stage) และยังคงมีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงของปัจจัยต่างๆ
ภายในระบบนิเวศตลอดเวลา ทาให้มีระดับการรบกวนที่เหมาะสม
(Moderated disturbance) ที่เอื้อให้สิ่งมีชีวิตหลายชนิดยังคงมีความสามารถ
ในการแข่งขันอยู่มาก
ปลาในแนวปะการัง
สรุปและวิจารณ์ (ต่อ)
3. รูปแบบความคล้ายคลึงของโครงสร้างประชาคมปลา
ควำมคล้ำยคลึงของประชำคมปลำมำกที่สุด ได้แก่ ไนยางกับไม้ขาว ถือว่ำ
อยู่ในพื้นที่บริเวณเดียวกัน คำนวณจากชนิดและปริมาณที่พบเหมือนกันของทั้ง
สองพื้นที่
ปัจจัยที่ส่งผลต่อควำมคล้ำยคลึงของประชำคมปลำ ได้แก่
กระแสน้า โครงสร้างแหล่งอาศัย และโครงสร้างประชาคมปลาในพื้นที่ใกล้เคียง
ที่สามารถแลกเปลี่ยนประชากรกันได้
ปลาในแนวปะการัง
สรุปและวิจารณ์ (ต่อ)
ปลาฉลามพยาบาล
ปลาสร้อยนกเขาจุดใหญ่ ปลานกแก้วหัวโหนกหางริ้ว
ปลาครืดคราดอันดามัน
ปลาเก๋า
ปลากะพงแดง
กลุ่มปลาทะเล และปลาในแนวปะการัง
การประเมินหญ้าทะเล
• วิธี Line Transect :
แต่ละแนวห่ำงกันประมำณ 50-100 เมตร
ตั้งฉำกกับชำยฝั่ง จุดแรกที่เริ่มพบไปถึงแนวนอกสุดที่พบหญ้ำทะเล
บันทึกพิกัดจุดเริ่มต้นและจุดสุดท้ำยของแต่ละเส้นแนวด้วย GPS
ระบบนิเวศหญ้าทะเล
• การเก็บข้อมูลจุดเก็บตัวอย่าง:
โยนกรอบตำรำงสี่เหลี่ยมขนำด 0.50x0.50 เมตร
ประเมินร้อยละพื้นที่ปกคลุมของหญ้ำทะเลโดยรวมและแต่ละชนิด
ควำมหลำกหลำยของชนิดหญ้ำทะเล
ระบบนิเวศหญ้าทะเล
การปฏิบัติงานสารวจระบบนิเวศหญ้าทะเล
• การแปลผล:
ค่ำร้อยละกำรปกคลุมพื้นที่ บอกถึงระดับควำมอุดมสมบูรณ์
เกณฑ์ในกำรพิจำรณำระดับควำมอุดมสมบูรณ์ของแนวหญ้ำทะเล
% การปกคลุมพื้นที่ของหญ้าทะเล สถานภาพหญ้าทะเล
น้อยกว่าหรือเท่ากับ 25% เสื่อมโทรม, ตามธรรมชาติ
25 - 50% สมบูรณ์ปานกลาง
50 - 75% สมบูรณ์ดี
75 – 100% สมบูรณ์ดีมาก
ระบบนิเวศหญ้าทะเล
สถานีสารวจ
หญ้าทะเล
1. จานวนและชนิดหญ้าทะเล พบหญ้าทะเลทั้งหมด 8 ชนิด (ในแนวสารวจ)
1. หญ้าชะเงาสั้นปลายหนาม (Cymodocea serrulata)
2. หญ้าชะเงาสั้นปลายมน (Cymodocea rotundata)
3. หญ้าชะเงาใบแคบ (Halodule uninervis)
4. หญ้าใบมะกรูด (Halophila ovalis)
5. หญ้าใบมะกรูดแคระ (Halophila minor)
6. หญ้าชะเงา (Enhalus acoroides)
7. หญ้าชะเงาเต่า (Thalassia hemprichii)
8. หญ้าใบพาย (Halophila beccarii)
9. หญ้าใบมะกรูดขน (Halophila decipiens) พบนอกเส้นสารวจ
10. หญ้าชะเงาฝอย (Halodule pinifolia) พบนอกเส้นสารวจ
ระบบนิเวศหญ้าทะเล
ผลการศึกษา
ผลการศึกษา (ต่อ)
สถานภาพของหญ้าทะเล
2. ร้อยละการปกคลุมพื้นที่ของแหล่งหญ้าทะเล
สถำนี
ร้อยละกำรปกคลุมของพื้นที่หญ้ำทะเลที่พบ
รวม สถำนภำพหญ้ำทะเล
Cs* Cr* Hu* Ho* Hm* Ea* Th* Hb* Hd** Hp**
บ้ำนท่ำดินแดง - - - - - - - 42.99 - - 42.99 สมบูรณ์ปำนกลำง
บ้ำนบำงขวัญ 0.80 24.65 20.21 1.79 0.69 - - - - - 48.14 สมบูรณ์ปำนกลำง
ท่ำนุ่น-ปำกคลองในหยง 1.71 3.55 - - 3.69 3.03 - - - - 11.98 เสื่อมโทรม
บ้ำนหัวแหลม-ท่ำฉัตรไชย 0.19 1.71 - - 0.80 4.62 - - - - 7.32 เสื่อมโทรม
เกำะปลิง - 7.81 - - - - 28.44 - - - 36.25 สมบูรณ์ปำนกลำง
หมำยเหตุ * - ชนิดหญ้ำทะเลที่พบ (Cs= Cymodocea serrulata,Cr = Cymodocea rotundata, Hu = Halodule uninervis,
Ho = Halophilaovalis, Hm = Halophilaminor,Ea = Enhalus acoroides, Th = Thalassia hemprichii,Hb = Halophilabeccarii)
(Hp = Halodule pinifoliaและ Hd = Halophiladecipiens พบนอกเส้นสำรวจ)
ระบบนิเวศหญ้าทะเล
ผลการศึกษา (ต่อ)
ผลการศึกษา (ต่อ)
ร้อยละการปกคลุมหญ้าทะเล
ผลการศึกษา (ต่อ)
การกระจายของแหล่งหญ้าทะเล
1. การกระจายของแหล่งหญ้าทะเลในพื้นที่แนวเชื่อมต่อฯ
พบหญ้ำทะเลทั้งสิ้น 10 ชนิด สถำนภำพของหญ้ำทะเลแตกต่ำงกันตำมแต่
ละพื้นที่ โดยส่วนใหญ่จะเป็นแนวหญ้ำทะเลที่อยู่ติดป่ำชำยเลน ยกเว้นหญ้ำ
ทะเลบริเวณเกำะปลิง ซึ่งเป็นหญ้ำทะเลที่อยู่ติดแนวปะกำรัง
ระบบนิเวศหญ้ำทะเลเป็นแหล่งที่เชื่อมต่อระหว่ำงระบบนิเวศ
ป่ำชำยเลนและแนวปะกำรังเข้ำด้วยกัน ควำมสัมพันธ์ด้ำนกำรประมงระหว่ำง
ป่ำชำยเลนกับแหล่งหญ้ำทะเล และแหล่งหญ้ำทะเลกับแนวปะกำรังมีกำร
สนับสนุนธำตุอำหำรไหลเวียนไปมำระหว่ำงระบบ
ระบบนิเวศหญ้าทะเล
สรุปและวิจารณ์
แนวทางการพัฒนาทางเชื่อมต่อในทะเล จึงเป็นการพัฒนาเครือข่าย
พื้นที่คุ้มครองทางทะเลให้มีประสิทธิภาพโดยสามารถทาได้ 2 แนวทางคือ
1.บริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองแต่ละแห่งอย่างเป็นอิสระ แต่มีการเสริม
ด้วยพื้นที่ห้ามจับสัตว์น้าเท่าที่จาเป็น หรือมีเขตควบคุมเครื่องมือบางประมง
บางชนิดตามแนวเชื่อมต่อ
2.บริหารจัดการพื้นที่โดยรวมทั้งหมดและกาหนดพื้นที่ที่อนุญาตให้มี
การจับสัตว์น้าอย่างเหมาะสม โดยพิจารณาทั้งในเชิงขนาดและระยะห่าง
ระหว่างพื้นที่คุ้มครองแต่ละแห่ง
แนวทางในการพัฒนาเชื่อมต่อทางนิเวศ
การพิจารณาตาแหน่งที่ตั้งของทางเชื่อมต่อสาหรับเครือข่ายพื้นที่
คุ้มครองทางทะเลจาเป็นต้องพิจารณา 3 ประเด็นหลัก คือ
1) ประชากรที่เป็นต้นกาเนิด (source) และเป็นแหล่งรองรับ (sink)
2) ประชากรนั้นเคลื่อนที่ไปมาหรือเป็นประชากรที่อยู่โดดเดี่ยว
3) แหล่งรวมฝูงเพื่อการวางไข่ (spawning agreegations)
แนวเชื่อมต่อทางนิเวศวิทยา
ปัจจัยคุกคาม
 การวงอวนบริเวณแนวปะการัง
 การดาน้ายิงปลาในแนวปะการัง
 การใช้ประโยชน์พื้นที่หญ้าทะเล
การคราดหอย
การวางอวนทับตลิ่ง
ภัยคุกคาม. การใช้ประโยชน์ระบบนิเวศหญ้าทะเล
ภัยคุกคาม
เต่ามะเฟืองตายเกยตื้น
ปัจจัยคุกคาม
เต่ามะเฟืองมีไข่เต็มท้อง
ปัจจัยคุกคาม
การนาความรู้สู่การจัดการ
 ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
 ปะการังชุมชน
 การสร้างแหล่งท่องเที่ยวทางเลือก
กองปลาเหลือง เรือหลวงพระทอง
การท่องเที่ยวชุมชน
Community Base Tourism (CBT)
การนาความรู้สู่การจัดการ
สภาพแนวปะการัง
บริเวณกองปลาเหลือง
การสร้างแหล่งท่องเที่ยวทางเลือก
การสร้างแหล่งท่องเที่ยวทางเลือก
สภาพแนวปะการัง
บริเวณกองปลาเหลือง
ปำกน้ำบริเวณโครงกำร (นอกเขตอุทยำน)
การใช้ข้อมูลผลกระทบต่อการสร้าง Marina Thaimuang
ข้อเสนอแนะ
• จาเป็นต้องเก็บข้อมูลเพิ่มเติมให้ครอบคลุมพื้นที่มากขึ้น
• ต้องเน้นสร้างความรู้ความเข้าใจให้ชุมชนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุก
ฝ่ ายเห็นความสาคัญของความเชื่อมต่อทางทะเล และการจัดการใน
เชิงระบบนิเวศที่ประชากรของสิ่งมีชีวิตมีความเชื่อมโยงและส่งผล
กระทบถึงกันทั้งหมด
1. การศึกษาเรื่องทางเชื่อมต่อในทะเล
ขอขอบคุณ........คณะที่ปรึกษาโครงการ
 นายทรงธรรม สุขสว่าง ผอ.สถาบันนวัตกรรมฯ
 นายนิพนธ์ พงศ์สุวรรณ กรมทรัพยากรทางทะเลและ
ชายฝั่ง
 ดร. เจมส์ ทรู มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
 ดร. ก้องเกียรติ กิตติวัฒนาวงศ์ กรมทรัพยากรทางทะเลและ
ชายฝั่ง
 นายเพชร มโนปวิตร มหาวิทยาลัยวิกตอเรีย แคนาดา
 ดร. ทนงศักดิ์ จันทรเมธากุล มหาวิทยาลัยราชภัฏ ภูเก็ต
 นายพงศ์ธีระ บัวเพ็ชร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
 นายจีรพงศ์ จีวรงคกุล นักวิชาการอิสระ

More Related Content

What's hot

โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวAuraphin Phetraksa
 
ปะการัง
ปะการังปะการัง
ปะการังUNDP
 
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดชุมพร
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดชุมพรT-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดชุมพร
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดชุมพรAuraphin Phetraksa
 
ข้อดีและข้อเสียของการสร้างเขื่อนแม่วงก์
ข้อดีและข้อเสียของการสร้างเขื่อนแม่วงก์ข้อดีและข้อเสียของการสร้างเขื่อนแม่วงก์
ข้อดีและข้อเสียของการสร้างเขื่อนแม่วงก์nopjira
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดWan Ngamwongwan
 
7.สรุปและข้อเสนอแนะ
7.สรุปและข้อเสนอแนะ7.สรุปและข้อเสนอแนะ
7.สรุปและข้อเสนอแนะPinNii Natthaya
 
9.00 อ.ปรารพ (2) งานนำเสนอปิดโครงการ catspa ใช้งาน
9.00 อ.ปรารพ (2) งานนำเสนอปิดโครงการ catspa ใช้งาน9.00 อ.ปรารพ (2) งานนำเสนอปิดโครงการ catspa ใช้งาน
9.00 อ.ปรารพ (2) งานนำเสนอปิดโครงการ catspa ใช้งานyah2527
 
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาดการเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาดAuraphin Phetraksa
 
1.บทคัดย่อ
1.บทคัดย่อ1.บทคัดย่อ
1.บทคัดย่อPinNii Natthaya
 
โครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลนโครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลนMaiiTy
 
6.2ผลการศึกษา
6.2ผลการศึกษา6.2ผลการศึกษา
6.2ผลการศึกษาPinNii Natthaya
 
Marine smart patrol 2
Marine smart patrol 2Marine smart patrol 2
Marine smart patrol 2yah2527
 
6.ผลการศึกษา
6.ผลการศึกษา6.ผลการศึกษา
6.ผลการศึกษาPinNii Natthaya
 
โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1nananattie
 
รายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPA
รายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPAรายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPA
รายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPAyah2527
 
การอนุรักษ์สัตว์ป่า
การอนุรักษ์สัตว์ป่าการอนุรักษ์สัตว์ป่า
การอนุรักษ์สัตว์ป่าKONGBENG
 

What's hot (19)

โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
 
EcoSystem01
EcoSystem01EcoSystem01
EcoSystem01
 
ปะการัง
ปะการังปะการัง
ปะการัง
 
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดชุมพร
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดชุมพรT-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดชุมพร
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดชุมพร
 
ข้อดีและข้อเสียของการสร้างเขื่อนแม่วงก์
ข้อดีและข้อเสียของการสร้างเขื่อนแม่วงก์ข้อดีและข้อเสียของการสร้างเขื่อนแม่วงก์
ข้อดีและข้อเสียของการสร้างเขื่อนแม่วงก์
 
Book20110408103212
Book20110408103212Book20110408103212
Book20110408103212
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาด
 
7.สรุปและข้อเสนอแนะ
7.สรุปและข้อเสนอแนะ7.สรุปและข้อเสนอแนะ
7.สรุปและข้อเสนอแนะ
 
9.00 อ.ปรารพ (2) งานนำเสนอปิดโครงการ catspa ใช้งาน
9.00 อ.ปรารพ (2) งานนำเสนอปิดโครงการ catspa ใช้งาน9.00 อ.ปรารพ (2) งานนำเสนอปิดโครงการ catspa ใช้งาน
9.00 อ.ปรารพ (2) งานนำเสนอปิดโครงการ catspa ใช้งาน
 
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาดการเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
 
1.บทคัดย่อ
1.บทคัดย่อ1.บทคัดย่อ
1.บทคัดย่อ
 
โครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลนโครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลน
 
6.2ผลการศึกษา
6.2ผลการศึกษา6.2ผลการศึกษา
6.2ผลการศึกษา
 
Marine smart patrol 2
Marine smart patrol 2Marine smart patrol 2
Marine smart patrol 2
 
6.ผลการศึกษา
6.ผลการศึกษา6.ผลการศึกษา
6.ผลการศึกษา
 
โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1
 
รายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPA
รายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPAรายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPA
รายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPA
 
NTFP
NTFPNTFP
NTFP
 
การอนุรักษ์สัตว์ป่า
การอนุรักษ์สัตว์ป่าการอนุรักษ์สัตว์ป่า
การอนุรักษ์สัตว์ป่า
 

Similar to Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต

การศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าการศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าAuraphin Phetraksa
 
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์Ausa Suradech
 
คู่มือจำแนกงูทะเลและงูน้ำ - มนตรี สุมณฑา. (นักวิชาการประมงชํานาญการ. สถานีวิจ...
คู่มือจำแนกงูทะเลและงูน้ำ - มนตรี สุมณฑา. (นักวิชาการประมงชํานาญการ. สถานีวิจ...คู่มือจำแนกงูทะเลและงูน้ำ - มนตรี สุมณฑา. (นักวิชาการประมงชํานาญการ. สถานีวิจ...
คู่มือจำแนกงูทะเลและงูน้ำ - มนตรี สุมณฑา. (นักวิชาการประมงชํานาญการ. สถานีวิจ...KAMOLCHAIKEAWKLANGMO
 
35 ปี ปะการังเทียม
35 ปี ปะการังเทียม35 ปี ปะการังเทียม
35 ปี ปะการังเทียมRangsimant Buatong
 
คู่มือการจำแนกชนิดแมงกระพรุนกล่อง
คู่มือการจำแนกชนิดแมงกระพรุนกล่องคู่มือการจำแนกชนิดแมงกระพรุนกล่อง
คู่มือการจำแนกชนิดแมงกระพรุนกล่องNoiRr DaRk
 
แปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวรแปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวรAuraphin Phetraksa
 
พะยูน
พะยูนพะยูน
พะยูนteryberry
 
การใช้แมลงน้ำเป็นดัชนีชี้วัด
การใช้แมลงน้ำเป็นดัชนีชี้วัดการใช้แมลงน้ำเป็นดัชนีชี้วัด
การใช้แมลงน้ำเป็นดัชนีชี้วัดMiss.Yupawan Triratwitcha
 

Similar to Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต (13)

การศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าการศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่า
 
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
 
Caral tachai mar2015
Caral tachai mar2015Caral tachai mar2015
Caral tachai mar2015
 
ecosystem
ecosystemecosystem
ecosystem
 
Ko%20tan
Ko%20tanKo%20tan
Ko%20tan
 
คู่มือจำแนกงูทะเลและงูน้ำ - มนตรี สุมณฑา. (นักวิชาการประมงชํานาญการ. สถานีวิจ...
คู่มือจำแนกงูทะเลและงูน้ำ - มนตรี สุมณฑา. (นักวิชาการประมงชํานาญการ. สถานีวิจ...คู่มือจำแนกงูทะเลและงูน้ำ - มนตรี สุมณฑา. (นักวิชาการประมงชํานาญการ. สถานีวิจ...
คู่มือจำแนกงูทะเลและงูน้ำ - มนตรี สุมณฑา. (นักวิชาการประมงชํานาญการ. สถานีวิจ...
 
35 ปี ปะการังเทียม
35 ปี ปะการังเทียม35 ปี ปะการังเทียม
35 ปี ปะการังเทียม
 
คู่มือการจำแนกชนิดแมงกระพรุนกล่อง
คู่มือการจำแนกชนิดแมงกระพรุนกล่องคู่มือการจำแนกชนิดแมงกระพรุนกล่อง
คู่มือการจำแนกชนิดแมงกระพรุนกล่อง
 
แปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวรแปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวร
 
01 coastal erosion 6 provinces
01 coastal erosion 6 provinces01 coastal erosion 6 provinces
01 coastal erosion 6 provinces
 
042147
042147042147
042147
 
พะยูน
พะยูนพะยูน
พะยูน
 
การใช้แมลงน้ำเป็นดัชนีชี้วัด
การใช้แมลงน้ำเป็นดัชนีชี้วัดการใช้แมลงน้ำเป็นดัชนีชี้วัด
การใช้แมลงน้ำเป็นดัชนีชี้วัด
 

More from Auraphin Phetraksa

การใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณการใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณAuraphin Phetraksa
 
แนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อแนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อAuraphin Phetraksa
 
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์Auraphin Phetraksa
 
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557Auraphin Phetraksa
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศAuraphin Phetraksa
 
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศสรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศAuraphin Phetraksa
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกAuraphin Phetraksa
 
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพรผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพรAuraphin Phetraksa
 
นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗Auraphin Phetraksa
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกAuraphin Phetraksa
 
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...Auraphin Phetraksa
 
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานีการเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานีAuraphin Phetraksa
 
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติInVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติAuraphin Phetraksa
 
Chamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรีChamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรีAuraphin Phetraksa
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)Auraphin Phetraksa
 
การกัดเซาะชายหาด ๕๗
การกัดเซาะชายหาด ๕๗การกัดเซาะชายหาด ๕๗
การกัดเซาะชายหาด ๕๗Auraphin Phetraksa
 
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่Auraphin Phetraksa
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติAuraphin Phetraksa
 

More from Auraphin Phetraksa (20)

การใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณการใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณ
 
แนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อแนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อ
 
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
 
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศสรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
 
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพรผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
 
นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
 
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
 
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานีการเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
 
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติInVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
 
Chamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรีChamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรี
 
Corridor 55-56
Corridor 55-56Corridor 55-56
Corridor 55-56
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)
 
การกัดเซาะชายหาด ๕๗
การกัดเซาะชายหาด ๕๗การกัดเซาะชายหาด ๕๗
การกัดเซาะชายหาด ๕๗
 
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
 
Prosopis juliflora tha_edit1
Prosopis juliflora tha_edit1Prosopis juliflora tha_edit1
Prosopis juliflora tha_edit1
 

Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต