SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
Download to read offline
การสารวจและประเมินสถานภาพ
พืชต่างถิ่น บริเวณเขตนันทนาการและ
เขตบริการอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
ความเป็นมา
ตามอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ (Convention on Biological Density)
เป็นอนุสัญญาระหว่างประเทศที่ครอบคลุมถึงการอนุรักษ์ความหลากหลายในชนิดพันธุ์ ความ
หลากหลายทางพันธุกรรม และความหลากหลายในระบบนิเวศ การใช้ประโยชน์ของ
องค์ประกอบความหลากหลาย การแบ่งปันผลประโยชน์ในการใช้ทรัพยากรพันธุกรรม และ
ความหลากหลายในระบบนิเวศประเทศต่างๆ ต้องอนุรักษ์ทรัพยากรทางชีวภาพทั้งสามระดับ
อันได้แก่ ระบบนิเวศ ชนิดพันธุ์ และพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตเพื่อไม่ให้หมดไป และสาเหตุที่
สาคัญประการหนึ่งที่ทาให้สังคมพันธุ์พืชและพันธุกรรมเปลี่ยนแปลงไปก็คือ สิ่งมีชีวิตต่างถิ่น
(alien species) ในฐานะที่ประเทศไทยได้ให้การรับรองอนุสัญญาฯ จากการประชุมของ
คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติได้กาหนดกรอบการปฏิบัติตามข้อกาหนดในอนุสัญญาฯ
และมีมติให้หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องดาเนินการตามกรอบอนุสัญญาฯ ดังกล่าว ในการ
ควบคุมการคุกคามของชนิดพันธุ์ต่างถิ่น
การจัดสถานภาพตามทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่ควรป้องกัน
ควบคุม กาจัดของประเทศไทย
โดยสานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) (2552) แบ่งเป็น 4 รายการ ดังนี้
รายการ 1 ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานแล้ว หมายถึง ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่เข้ามาในประเทศไทยแล้ว และสามารถสร้างถิ่น
ฐานและมีการแพร่กระจายได้ในธรรมชาติ เป็นชนิดพันธุ์เด่นในสิ่งแวดล้อมใหม่ (Dominant species) และเป็นชนิด
พันธุ์ที่อาจทาให้ชนิดพันธุ์ท้องถิ่นหรือชนิดพันธุ์พื้นเมืองสูญพันธุ์
รายการ 2 ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่มีแนวโน้มรุกราน หมายถึง (1) ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่มีหลักฐานว่ามีการรุกรานในถิ่นอื่นที่เข้า
มาในประเทศไทยแล้วและสามารถตั้งถิ่นฐานและมีการแพร่กระจายได้ในธรรมชาติ จากการสารวจและเฝ้ าสังเกตพบว่า
อาจแพร่ระบาดหากมีปัจจัยเกื้อหนุนหรือสภาพแวดล้อมเปลี่ยนแปลงทาให้เกิดผลกระทบต่อความหลากหลายทางชีวภาพ
(2) ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่เคยรุกรานในอดีต ซึ่งสามารถควบคุมดูแลได้แล้ว
รายการ 3 ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่มีประวัติว่ารุกรานแล้วในประเทศอื่น แต่ยังไม่รุกรานในประเทศไทย หมายถึง ชนิดพันธุ์
ต่างถิ่นที่เข้ามาในประเทศไทยแล้วมีหลักฐานว่ามีการรุกรานในประเทศอื่น
รายการ 4 ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานที่ยังไม่เข้ามาในประเทศไทย หมายถึง ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่มีข้อมูลหรือหลักฐานว่า
เป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานในประเทศอื่น ได้แก่ ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นตามทะเบียน 100 ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานรุนแรง
ของโลก ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่ห้ามนาเข้าตามกฎหมาย และชนิดพันธุ์ที่มีข้อมูลจากผลการศึกษาวิจัยว่าเป็นชนิดพันธุ์ต่าง
ถิ่นรุกรานในพื้นที่อื่นๆ การแพร่กระจายของชนิดพันธุ์ต่างถิ่น
หลักการและเหตุผล
ในปัจจุบันประเทศไทยมีพืชต่างถิ่นประมาณ 1,500 ชนิด
ในจานวนนี้พืชต่างถิ่นมากกว่า 200 ชนิด มีการปรับตัวได้ดีในสภาพแวดล้อมจนกลายเป็นพืชต่าง
ถิ่นรุกรานและแพร่ระบาดไปทั่วประเทศ
ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติได้มีการนาไม้ต่างถิ่นเข้ามา ด้วยความมีเจตนาและไม่ได้เจตนา ซึ่งมี
ผลกระทบต่อพันธุ์ไม้ท้องถิ่น ทั้งการบุกรุกและแย่งอาหาร ซึ่งส่งผลกระทบทั้งพืชและสัตว์ประจา
ท้องถิ่น ทาให้ระบบนิเวศน์และสิ่งแวดล้อมเสียสมดุล
ดังนั้น ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดนครราชสีมา จึงจาเป็นที่
จะต้องทาการศึกษาและสารวจชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่นภายในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่บริเวณเขต
บริการและเขตนันทนาการ เพื่อที่จะได้ทราบชนิดพันธุ์ การกระจาย ปริมาณของพืชต่างถิ่น และ
ประเมินสถานการณ์ของพืชต่างถิ่นที่ปรากฏอยู่ได้ แล้วนาข้อมูลที่ได้จากการศึกษามาหามาตรการใน
การป้องกันการแพร่กระจายพันธุ์และกาจัดพืชต่างถิ่นเพื่อเป็นประโยชน์ต่อการจัดการพื้นที่ต่อไป
พื้นที่การศึกษา
วัตถุประสงค์
เพื่อสารวจชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่น จาแนกตามสถานภาพทะเบียนชนิดพันธุ์
ต่างถิ่น ที่ควรป้องกัน ควบคุม กาจัดของประเทศไทย บริเวณพื้นที่เขตบริการและ
เขตนันทนาการ ในอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา
เพื่อประเมินสถานการณ์ของพืชต่างถิ่นบริเวณพื้นที่เขตบริการและ
เขตนันทนาการในอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา
วิธีการสารวจ
1. รวบรวมข้อมูลทุติยภูมิจากเอกสารที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่ที่ศึกษา ได้แก่ ที่ตั้ง เนื้อที่
ลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ทรัพยากรด้านสัตว์ป่าและพันธุ์พืช แหล่งท่องเที่ยว
เป็นต้น
2. สารวจข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่น ลักษณะพื้นที่ที่พบ ลักษณะการ
ขึ้นของพืชต่างถิ่น ปริมาณพืชต่างถิ่น ลักษณะโดยทั่วไป ในบริเวณต่างๆที่จะ
ทาการศึกษา
3. การสารวจเก็บข้อมูลพืชต่างถิ่น ใช้วิธีการวางแปลงตัวอย่างแบบเป็นระบบ และ
วิธีการเดินสารวจด้วยสายตา ดังนี้
วิธีการสารวจ (ต่อ)
3.1 บริเวณสถานที่กางเต็นท์ลาตะคอง
ใช้วิธีการวางแปลงรูปสี่เหลี่ยมขนาด
2 X 2 เมตร ในแต่ละ Line ระยะห่าง
ระหว่างแปลงสารวจ 10 เมตร และ
ระยะห่างของแต่ละ Line ห่างกัน 30 เมตร
1. ระยะหางระหวางแปลงตัวอยางในแตละเส้นสารวจ
2. ระยะห่างของแต่ละเส้นสารวจ
3.2 บริเวณพื้นที่ทั่วไปที่กาหนดการใช้ประโยชน์ตามกิจกรรมต่างๆ ทั้งในเขตบริการและ
เขตนันทนาการ เช่น ศูนย์บริการนักท่องเที่ยว ศูนย์ฝึกอบรมที่ 2 (เขาใหญ่) สถานที่กางเต็นท์
ผากล้วยไม้ น้าตกเหวนรก น้าตกเหวสุวัต จุดชมวิวไฟป่า (กม.30) เป็นต้น ใช้วิธีการเดินสารวจ
ด้วยสายตา
วิธีการสารวจ (ต่อ)
4. การเก็บขอมูล ในแตละแปลงตัวอยางจะเก็บขอมูล ดังนี้
4.1 ชนิดพืชตางถิ่นรุกรานที่พบ
4.2 เปอรเซ็นตการปกคลุมพื้นที่แปลงตัวอยาง
5. การวิเคราะหขอมูล ในแตละพื้นที่ที่ทาการศึกษา นาขอมูลมาวิเคราะหเพื่อหาค่าต่างๆ ดังนี้
5.1 จานวนชนิดพันธุพืชตางถิ่นรุกรานที่พบ
5.2 ความถี่ของพรรณพืช (Frequency) ซึ่งความถี่เปนคาที่ชี้การกระจายของพรรณพืชแต่ละชนิดใน
พื้นที่นั้น จะมีคาเปนเปอรเซ็นต คาความถี่ของพืชแตละชนิดหาไดจากการสุมตัวอยาง โดยวิธีการวางแปลง
ตัวอย่าง แลวบันทึกชนิดตางๆที่ขึ้นอยูในแตละแปลงตัวอยางนั้น และความถี่มีความสัมพันธกับจานวนครั้งที่
พบชนิดในแปลงตัวอยาง โดยทั่วไปคาความถี่ จะแสดงไวในรูปของเปอรเซ็นตความถี่ ดังนี้ความถี่ของชนิด
พันธุ์ A (Frequency = F) คือ จานวนแปลงย่อยที่ชนิดพันธุ์ A ปรากฏต่อจานวนแปลงทั้งหมดที่สารวจทาให้
อยู่ในรูปของร้อยละโดยคูณด้วย 100
5.3 พื้นที่ปกคลุมของพรรณพืช (cover) เปนพื้นที่ที่พื้นดินถูกปกคลุมโดยเรือนยอด หรือส่วนที่อยู่เหนือ
พื้นดินของพืช มักจะบอกเปนเปอรเซ็นตของเนื้อที่แปลงตัวอยาง สามารถใชเปนค่าความเดน (dominant)
ของพรรณพืช เพื่อชี้ใหเห็นวาพรรณพืชชนิดนั้น มีอิทธิพลตอสังคมพืชที่มันขึ้นอยูมากนอยเพียงใด
วิธีการสารวจ (ต่อ)
วิธีการสารวจ (ต่อ)
6. รวบรวมและวิเคราะหขอมูลที่ไดจากการศึกษา แลวทาการประเมินสถานการณความรุนแรงของพืชต
างถิ่นรุกรานในพื้นที่ โดยใชคาความถี่ในการพบ และการปกคลุมพื้นที่ของพืชตางถิ่น แตละชนิดเป็น
ตัวชี้วัด ดังนี้
ระดับความรุนแรง ความถี่ที่พบในแปลงตัวอย่าง (%) การปกคลุมพื้นที่ (%)
น้อย ‹ 1 ‹ 1
น้อยมาก 1-10 1-10
ปานกลาง 11-25 11-25
มาก 25-50 25-50
มากที่สุด › 50 › 50
ผลการศึกษา : 1) บริเวณสถานที่กางเต็นท์ลาตะคอง
ใช้วิธี 1. วางแนวเส้นสารวจ
2. วางแปลงตัวอย่างรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด 2 X 2 เมตร เท่ากับ 4 ตารางเมตร ระยะห่าง
ระหว่างแปลงตัวอย่าง 10 เมตร และระยะห่างของแต่ละแนวเส้นสารวจ 30 เมตร มีจานวนแปลง
สารวจทั้งหมด 159 แปลง พื้นที่ปกคลุมทั้งหมด 636 ตารางเมตร
(พื้นที่ปกคลุมของแปลงสารวจ 1 แปลง เท่ากับ 4 ตารางเมตร คูณด้วยจานวนแปลงทั้งหมด คือ 159 แปลง)
สรุปผล จานวนแปลงที่พบพืชต่างถิ่นรุกรานมีจานวนทั้งสิ้น 42 แปลง คิดเป็นพื้นที่ปกคลุม 168
ตารางเมตร คิดเป็นร้อยละ 26.415 ของพื้นที่ปกคลุมทั้งหมด
ชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่นที่รุกรานตามทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่น จานวน 5 ชนิด
1) แว่นแก้ว Hydrocotyle umbellate 4) ไมยราบเลื้อย Mimosa diplotricha
2) สาบเสือ Chromolaena odoratum 5) ตะขบฝรั่ง (Muntingia calabura L.)
3) พริกฝรั่ง Rivina humilis L.
ชื่อพันธุ์ไม้ ชื่อวิทยาศาสตร์
หญ้าขจรจบดอกเล็ก (Pennisetum polystachion (L.) Schult)
ผักชีฝรั่ง (Eryngium foetidum L.)
ตะขบฝรั่ง (Muntingia calabura L.)
กระดุมทองเลื้อย (Sphagneticola trilobata (L. C. Rich.) Pruski)
ฝรั่ง (Psidium guajava L.)
สาหร่ายหางกระรอก (Hydrilla verticillata (L.f) Royle)
กระถินณรงค์ (Acacia auriculaeformis Cunn.)
ประดู่ (Pterocarpus indicus Willd)
มะยม (Phyllanthus acidus Skeels)
มะขาม (Tamarindus indica Linn)
มะม่วง (Mangifera indica Linn.)
ขนุน (Artocarpus heterophyllus Lam.)
ขี้เหล็กอเมริกัน (Senna spectabilis (DC.) Irwin & Barneby)
ชื่อพันธุ์ไม้ ชื่อวิทยาศาสตร์
สัก (Tectona grandis Linn.)
กระท้อน (Sandoricum koetjape)
สบู่ดา (Jatropha currcas)
แตรนางฟ้ า (Brugmansia sp.)
น้อยหน่า (Annona squamosa L.)
หูปลาช่อน (Acalypha wilkesiana Mull. Arg.)
ไฟเดือนห้า (Asclepias curassavica L.)
มะนาว (Citrus aurantifolia (Christm.) Swingle)
ส้ม (Citrus reticulate Blanco)
คว่าตาย หงายเป็น (Kalanchoe pinnata (Lam.) Pers.)
ลูกใต้ใบ (Phyllanthus amarus Schumch. & Thonn.)
ราชพฤกษ์ (Cassia fistula)
พบชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่นที่รุกรานตามทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่น , พืชต่างถิ่นนอกทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่น รวมถึง
พืชต่างถิ่นรุกรานในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ ที่อยู่บริเวณนอกแปลงสารวจ ได้แก่
แว่นแก้ว
ไมยราบเลื้อยกระดุมทองเลื้อย
น้อยหน่า สาบเสือ
13.836
13.208
13.836
0.629 0.629
7.075
4.560
7.23
0.471 0.157
0
5
10
15
แว่นแก้ว ไมยราบเลื้อย สาบเสือ ตะขบฝรั่ง พริกฝรั่ง
% จานวนแปลงที่พบ(ความถี่)
พื้นที่ปกคลุม(%)
กราฟเปรียบเทียบระดับความรุนแรงของพืชต่างถิ่นรุกราน
คิดจากเปอร์เซ็นต์จานวนแปลงที่พบและจานวนพื้นที่ปกคลุม พบว่า แว่นแก้ว ไมยราบเลื้อย
สาบเสือ มีจานวนแปลงที่พบได้ อยู่ในระดับความรุนแรงปานกลาง และพื้นที่ปกคลุมยังอยู่ในมีระดับ
ความรุนแรงน้อย ส่วนตะขบฝรั่งและพริกฝรั่ง มีระดับความรุนแรงน้อยมาก
ผลการศึกษา : 2) บริเวณศูนย์บริการนักท่องเที่ยวและ
ร้านค้าสวัสดิการอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
ใช้วิธี สารวจโดยเดินสารวจด้วยสายตา โดยเดินสารวจรอบๆ พื้นที่ พบพืชต่างถิ่นนอกทะเบียน
ชนิดพันธุ์ต่างถิ่น ที่ควรป้องกัน ควบคุม และกาจัดของประเทศไทย จานวน 2 ชนิด
1) แตรนางฟ้ า (B. sp.) 2) หมากเขียว (Ptychosperma macathurii Nichols.)
แตรนางฟ้ า หมากเขียว
ผลการศึกษา : 3) บริเวณศูนย์ฝึกอบรมที่ ๒ (เขาใหญ่)
ใช้วิธี สารวจโดยเดินสารวจด้วยสายตา โดยเดินสารวจรอบๆ พื้นที่
พบพืชต่างถิ่นจานวน 7 ชนิด โดยแบ่งออกดังนี้
ชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่นที่รุกรานตามทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่น
1) ผกากรอง (Lantana camara L.)
ชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่นนอกทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่น
1) ส้มโอ (Citrus maxima (Burm. F. Merr.)
2) ขนุน (A. heterophyllus Lam.)
3) แคบ้าน (Sesbania grandiflora (L.) Desv.)
4) ราชพฤกษ์ (C. fistula)
5) พุดซ้อน (Gardenia augusta (L.) Merr.)
6) ไฟเดือนห้า (A. curassavica L.)
ผกากรอง
พุดซ้อน
ส้มโอ
ผลการศึกษา : 4) บริเวณสถานที่กางเต็นท์ผากล้วยไม้
ใช้วิธี สารวจโดยเดินสารวจด้วยสายตา โดยเดินสารวจรอบๆ พื้นที่
พบพืชต่างถิ่นจานวน 10 ชนิด โดยแบ่งออกดังนี้
ชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่นที่รุกรานตามทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่น
1) ตะขบฝรั่ง (M. calabura L.)
ชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่นนอกทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่น
1) หมากเขียว (P. macathurii Nichols.)
2) ส้มโอ (C. maxima (Burm. F. Merr.)
3) ขนุน (A. heterophyllus Lam.)
4) มะม่วง (M. indica Linn.)
5) ขี้เหล็กอเมริกัน (S. spectabilis (DC.) Irwin & Barneby)
6) มะนาว (C. aurantifolia (Christm.) Swingle)
7) ส้ม (C. reticulate Blanco)
8) มะกรูด (Citrus hystrix DC.)
9) ลาไย (Dimocarpus longan lour)
ผลการศึกษา : 5) บริเวณหน่วยพิทักษ์ ขญ.๑
(ด่านศาลเจ้าพ่อเขาใหญ่)
ใช้วิธี สารวจโดยเดินสารวจด้วยสายตา โดยเดินสารวจรอบๆ พื้นที่ พบพืชต่างถิ่นจานวน 13 ชนิด
โดยแบ่งออกดังนี้
ชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่นที่รุกรานตามทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่น
1) ตะขบฝรั่ง (M. calabura L.)
ชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่นนอกทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่น
1) มะละกอ (Carica papaya L.) 7) มะพร้าว (Cocos nucifera L. var. nucifera)
2) กาบหอย (Tradescantia virginiana L.) 8) บานไม่รู้โรยฝรั่ง (Alternanthere dentata
(Moench) Scheygr)
3) เทียนหยด (Duranta repens L.) 9) สัก (T. grandis Linn.)
4) ลั่นทม (Piumeria sp.) 10) เชอร์รี่ไทย (Malpighia emarginata)
5) ตาลึง (Coccinia grandis (L.) Voigt) 11) มะลิ (Jusminum adenophyllum)
6) เฟื้องฟ้า (Bougainvillea spectabilis Willd.) 12) พุด (Gardenia sp.)
ผลการศึกษา : 6) บริเวณบ้านพักเจ้าหน้าที่ลาตะคอง ๒
ใช้วิธี สารวจโดยเดินสารวจด้วยสายตา เดินรอบๆพื้นที่ พบพืชต่างถิ่นจานวน 2 ชนิด
ชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่นนอกทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่น ที่ควรป้องกัน ควบคุม และกาจัดของ
ประเทศไทย
1) น้อยหน่า (A. squamosa L.)
2) ไฟเดือนห้า (A. curassavica L.)
ผลการศึกษา : 7) บริเวณน้าตกเหวนรก
ใช้วิธี
สารวจโดยเดินสารวจด้วยสายตา เดินสารวจรอบๆพื้นที่ พบพืชต่างถิ่นจานวน 18 ชนิด
ชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่นนอกทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่น
1) ขนุน (A. heterophyllus Lam.)
2) ประดู่ (Pterocarpus indicus Willd)
3) มะละกอ (C. papaya L.)
4) ดาหลา (Etlingera olatior (Jack) R.M. Smith)
5) ใบเตย (Pandanus amaryllifolius Roxb.)
6) มะม่วง (M. indica Linn.)
7) มะนาว (C. aurantifolia (Christm.) Swingle)
8) ลาไย (D. longan lour)
9) แตรนางฟ้า (B. sp.)
10) ส้มโอ (C. maxima (Burm. F. Merr.)
11) ระกา (Salacca rumphii wall.)
12) นางแย้มป่า (Clerodendrum viscosum vent.)
13) ทุเรียน (Durio zibethinus Murray)
14) ตะไคร้ (Cymbopoyon citratus Stapf.)
15) เสาวรส (Passiflora laurifolia L.)
16) ขี้เหล็กอเมริกัน (S. spectabilis (DC.) Irwin & Barneby)
17) มะกรูด (C. hystrix DC.)
18) มะขาม (T. indica Linn)
ผลการศึกษา : 8) บริเวณน้าตกเหวสุวัต
ใช้วิธี สารวจโดยเดินสารวจด้วยสายตา เดินสารวจรอบๆพื้นที่ พบพืชต่างถิ่นจานวน 5 ชนิด
ชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่นนอกทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่น
1) มะนาว (C. aurantifolia (Christm.)
2) ขนุน (A. heterophyllus Lam.)
3) หมากเขียว (P. macathurii Nichols.)
4) หางนกยูงฝรั่ง (D. regia Raf.)
5) สบู่ดา (J. currcas)
หมากเขียว
ผลการศึกษา : 9) บริเวณจุดชมวิวไฟป่า
ใช้วิธี สารวจโดยเดินสารวจด้วยสายตา เดินสารวจรอบๆพื้นที่ พบพืชต่างถิ่นจานวน 15 ชนิด
ชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่นที่รุกรานตามทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่น
1) กระดุมทองเลื้อย (S. trilobata (L. C. Rich) Pruski)
2) ป่านมะนิลา/อากาเว่ (Agave Americana L.)
3) หญ้าขจรจบ (Pennisetum sp.)
4) ไมยราบ (Mimosa sp.)
ชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่นนอกทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่น
1) มะขาม (T. indica Linn) 6) ขนุน (A. sheterophyllus Lam.)
2) มะละกอ (C. papaya L.) 7) เทียนทอง (Duranta erecta L.)
3) โกสน (Codiaeum variegatum Blume) 8) พริกขี้หนู (Capsicum frutescens Linn.)
4) พุดซ้อน (G. augusta (L.) Merr.) 9) วาสนา (Dracaena fragrans (L.) Ker Gawl.)
5) ตาลึง (C. grandis (L.) Voigt) 10) ปาล์ม (Sabal sp.)
พืชต่างถิ่นรุกรานในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ (สานักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช, 2556)
1) ผักคราดดอกใหญ่ (Acmella ciliate (Kunth) Cass.)
หญ้าขจรจบ กระดุมทองเลื้อย ไมยราบ
อากาเว่ วาสนา ผักคราด
ดอกใหญ่
ผลการศึกษา : 10) บริเวณหน่วยพิทักษ์ ขญ.๕
(ด่านเนินหอม)
ใช้วิธี สารวจโดยเดินสารวจด้วยสายตา เดินสารวจรอบๆพื้นที่ พบพืชต่างถิ่นจานวน 9 ชนิด
ชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่นที่รุกรานตามทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่น
1) โกสน (C. variegatum Blume)
2) เทียนทอง (D. erecta L.)
3) เข็มฝรั่ง (Ixora coccinea L.)
4) ทับทิม (Punica granatum L.)
5) ปีบ (Millinglonia Hortensis)
6) มะละกอ (C. papaya L.)
7) ชะอม (Acacia Insuavis Lace)
8) บอนสี (Caladium bicolor (Aiton) Vent.)
9) มะลิ (J. adenophyllum)
จันทน์ผา
มะลิ
สรุปผลการศึกษา
จากการสารวจและประเมินสถานการณ์พืชต่างถิ่นบริเวณเขตนันทนาการและเขตบริการ :
กรณีศึกษาอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา พบว่า มีพืชต่างถิ่นรุกรานทั้งสิ้น 68 ชนิด
เป็นชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่นที่รุกรานตามทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่น ที่ควรป้องกัน ควบคุม และกาจัด
ของประเทศไทย จานวน 14 ชนิด โดยแบ่งเป็น :
จะเห็นได้ว่า ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่พบบริเวณเขตนันทนาการและเขตบริการภายในอุทยานแห่งชาติ
เขาใหญ่ ส่วนใหญ่จะเป็นไม้ผล เช่น มะม่วง ขนุน ส้ม ลาไย เป็นต้น ไม้ผลเหล่านี้อาจจะเข้าสู่อุทยานแห่งชาติ
เขาใหญ่ จากการนาเข้ามารับประทานของนักท่องเที่ยว หรืออาจมาจากเจ้าหน้าที่ในอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่เอง
เมื่อรับประทานเสร็จก็ทิ้งเมล็ดลงบนพื้นดิน ทาให้เกิดการแพร่กระจายของชนิดพันธุ์ต่างถิ่น
นอกจากนี้ยังพบไม้ดอก ไม้ประดับ ซึ่งถือว่าเป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นอีกหลายชนิด เช่น เทียนทอง โกสน
ไฟเดือนห้า พุดซ้อน และแตรนางฟ้ า เป็นต้น ไม้ดอก ไม้ประดับที่พบส่วนใหญ่จะถูกนามาใช้ในการตกแต่งบริเวณ
ต่างๆให้ดูสวยงาม อีกทั้งยังมีเจ้าหน้าที่บางคน นาไม้ดอก ไม้ประดับมาใช้ปลูกตกแต่งบริเวณที่พักอีกด้วย
การนาเข้ามาปลูกอาจจะกระทาโดยความรู้เท่าไม่ถึงการณ์
ที่ ชื่อพันธุ์ไม้ ชื่อวิทยาศาสตร์ แหล่งที่พบ
1 สาบเสือ Chromolaena odoratum • บริเวณสถานที่กางเต็นท์ลาตะคอง
จะขึ้นกระจายอยู่เป็นหย่อมๆ มักพบใกล้ริมน้า
2 สาหร่ายหางกระรอก Hydrilla verticillata • บริเวณสถานที่กางเต็นท์ลาตะคอง
พบกระจายทั่วในแหล่งน้า
3 แว่นแก้ว Hydrocotyle umbellate • บริเวณสถานที่กางเต็นท์ลาตะคอง
จะขึ้นกระจายอยู่ทั่วบริเวณเป็นหย่อมๆ
4 ผกากรอง Lantana camara • บริเวณศูนย์ฝึกอบรมที่ ๒ (เขาใหญ่)
5 ไมยราบเลื้อย Mimosa diplotricha • บริเวณสถานที่กางเต็นท์ลาตะคอง
• บริเวณจุดชมวิวไฟป่า
6 ไมยราบ Mimosa sp. • บริเวณสถานที่กางเต็นท์ลาตะคอง
• บริเวณจุดชมวิวไฟป่า
7 หญ้าขจรจบดอกเล็ก Pennisetum polystachion • บริเวณสถานที่กางเต็นท์ลาตะคอง
• บริเวณจุดชมวิวไฟป่า
8 หญ้าขจรจบ Pennisetum sp. • บริเวณสถานที่กางเต็นท์ลาตะคอง
• บริเวณจุดชมวิวไฟป่า
ชนิดพันธุ์พืชในรายการที่ 1 : ชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่นที่รุกรานแล้ว
ที่ ชื่อพันธุ์ไม้ ชื่อวิทยาศาสตร์ แหล่งที่พบ
1 กระดุมทองเลื้อย Sphagneticola trilobata (L. C. Rich) Pruski) • บริเวณสถานที่กางเต็นท์ลาตะคอง
• บริเวณจุดชมวิวไฟป่า
พบในจานวนที่ค่อนข้างน้อยมาก
2 ตะขบฝรั่ง Muntingia calabura L. • บริเวณสถานที่กางเต็นท์ลาตะคอง
• บริเวณสถานที่กางเต็นท์ผากล้วยไม้
• บริเวณหน่วยพิทักษ์ ขญ.๑ (ด่านศาลเจ้าพ่อเขาใหญ่)
3 ผักชีฝรั่ง Eryngium foetidum L. • บริเวณสถานที่กางเต็นท์ลาตะคอง
4 พริกฝรั่ง Rivina humilis L. • บริเวณสถานที่กางเต็นท์ลาตะคอง
ชนิดพันธุ์พืชในรายการที่ 2 : ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่มีแนวโน้มรุกราน
ที่ ชื่อพันธุ์ไม้ ชื่อวิทยาศาสตร์ แหล่งที่พบ
1 ป่านมะนิลา/อากาเว่ Agave Americana L. • บริเวณจุดชมวิวไฟป่า
พบเพียงจานวน 1 ต้น ซึ่งเป็นจานวนที่น้อยมาก
2 ฝรั่ง Psidium guajava L. • บริเวณสถานที่กางเต็นท์ลาตะคอง
พบเพียงจานวน 2 ต้น ซึ่งเป็นจานวนที่น้อยมาก
ชนิดพันธุ์พืชในรายการที่ 3 : ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่มีประวัติว่ารุกราน
แล้วในประเทศอื่น แต่ยังไม่รุกรานในประเทศไทย
ที่ ชื่อพันธุ์ไม้ ชื่อวิทยาศาสตร์
1 กระถินณรงค์ Acacia auriculaeformis Cunn.
2 มะยม Phyllanthus acidus Skeels
3 ประดู่ Pterocarpus indicus Willd
4 มะขาม Tamarindus indica Linn
5 มะนาว Citrus aurantifolia (Christm.) Swingle
6 มะม่วง Mangifera indica Linn.
7 ขนุน Artocarpus heterophyllus Lam.
พบชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่นนอกทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่น ที่ควรป้องกัน
ควบคุม และกาจัดของประเทศไทย จานวน 53 ชนิด เช่น
และชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ อ้างโดย สานักวิจัยการอนุรักษ์
ป่าไม้และพันธุ์พืช (2556) จานวน 1 ชนิด ได้แก่ ผักคราดดอกใหญ่ (Acmella
ciliate (Kunth) Cass.)
ข้อเสนอแนะ
พืชต่างถิ่น เช่น ไมยราบเลื้อย สาบเสือ แว่นแก้ว เป็นต้น ควรกาจัดด้วยวิธีเชิงกล โดยทาการขุดไถ
กลบดินหรือถอนออกจากพื้นที่ก่อนระยะเวลาออกดอก เพื่อป้องกันไม่ให้มีการแพร่กระจาย
แล้วทาลายโดยการฝังกลบอีกครั้ง การกาจัดโดยวิธีนี้ ต้องทาซ้าในพื้นที่นั้นๆ หลายครั้ง
พืชต่างถิ่นจาพวกไม้ยืนต้น เช่น ราชพฤกษ์ หางนกยูงฝรั่ง ขี้เหล็กอเมริกัน แคบ้าน และมะขาม
เป็นต้น ทาการควบคุมโดยการตัดใบหรือกิ่งไม้ นาเนื้อไม้ไปใช้ทาการใช้ประโยชน์อื่นๆ
ควรเร่งกาจัดชนิดพันธุ์ต่างถิ่นออกจากพื้นที่ เพื่อป้องกันการแพร่กระจาย
การปลูกไม้ดอกไม้ประดับภายในอุทยานแห่งชาติ ควรพิจารณาชนิดพันธุ์ที่มีอยู่ในท้องถิ่นหรือ
ในธรรมชาติเป็นหลัก
ควรมีการให้ความรู้เกี่ยวกับพืชต่างถิ่น โดยเริ่มจากเจ้าหน้าที่ภายในอุทยานแห่งชาติก่อน และ
ขยายผลสู่นักท่องเที่ยวต่อไป
จบการนาเสนอ

More Related Content

What's hot

ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพPinutchaya Nakchumroon
 
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)Thitaree Samphao
 
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบJariya Jaiyot
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์Anissa Aromsawa
 
การเขียนชื่อวิทยาศาสตร์
การเขียนชื่อวิทยาศาสตร์การเขียนชื่อวิทยาศาสตร์
การเขียนชื่อวิทยาศาสตร์PinNii Natthaya
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)Thitaree Samphao
 
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีSircom Smarnbua
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)firstnarak
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1Sircom Smarnbua
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศSupaluk Juntap
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพWijitta DevilTeacher
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)Thitaree Samphao
 

What's hot (20)

ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
 
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 
การเขียนชื่อวิทยาศาสตร์
การเขียนชื่อวิทยาศาสตร์การเขียนชื่อวิทยาศาสตร์
การเขียนชื่อวิทยาศาสตร์
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
 
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)
 

Similar to พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่

ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกAuraphin Phetraksa
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกAuraphin Phetraksa
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพLPRU
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศmaleela
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศcrunui
 
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพSubaidah Yunuh
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2chirapa
 
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมkrudararad
 
Biodiversity.pptkokokiojiojiojiojiojijkjkij
Biodiversity.pptkokokiojiojiojiojiojijkjkijBiodiversity.pptkokokiojiojiojiojiojijkjkij
Biodiversity.pptkokokiojiojiojiojiojijkjkijTonnhawKimpai
 
ความหลากหลาย bio diver
ความหลากหลาย bio diverความหลากหลาย bio diver
ความหลากหลาย bio diverssusera700ad
 

Similar to พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่ (20)

ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
 
Envi lecture8[2]
Envi lecture8[2]Envi lecture8[2]
Envi lecture8[2]
 
ต้นกก
ต้นกกต้นกก
ต้นกก
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
 
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
3
33
3
 
เห็ดพิษ
เห็ดพิษเห็ดพิษ
เห็ดพิษ
 
Taxonomy 2
Taxonomy 2Taxonomy 2
Taxonomy 2
 
ecosystem
ecosystemecosystem
ecosystem
 
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
 
Pw ecosystem
Pw ecosystemPw ecosystem
Pw ecosystem
 
Biodiversity.ppt
Biodiversity.pptBiodiversity.ppt
Biodiversity.ppt
 
Biodiversity.pptkokokiojiojiojiojiojijkjkij
Biodiversity.pptkokokiojiojiojiojiojijkjkijBiodiversity.pptkokokiojiojiojiojiojijkjkij
Biodiversity.pptkokokiojiojiojiojiojijkjkij
 
Taxonomy
TaxonomyTaxonomy
Taxonomy
 
ความหลากหลาย bio diver
ความหลากหลาย bio diverความหลากหลาย bio diver
ความหลากหลาย bio diver
 
Animalia kingdom
Animalia kingdomAnimalia kingdom
Animalia kingdom
 

More from Auraphin Phetraksa

การใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณการใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณAuraphin Phetraksa
 
การศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าการศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าAuraphin Phetraksa
 
แนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อแนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อAuraphin Phetraksa
 
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์Auraphin Phetraksa
 
แปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวรแปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวรAuraphin Phetraksa
 
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557Auraphin Phetraksa
 
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาวสถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว Auraphin Phetraksa
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศAuraphin Phetraksa
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวAuraphin Phetraksa
 
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาดการเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาดAuraphin Phetraksa
 
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศสรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศAuraphin Phetraksa
 
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพรผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพรAuraphin Phetraksa
 
นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗Auraphin Phetraksa
 
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...Auraphin Phetraksa
 
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานีการเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานีAuraphin Phetraksa
 
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรังชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรังAuraphin Phetraksa
 
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติInVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติAuraphin Phetraksa
 
Chamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรีChamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรีAuraphin Phetraksa
 
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ตCorridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ตAuraphin Phetraksa
 

More from Auraphin Phetraksa (20)

การใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณการใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณ
 
การศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าการศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่า
 
แนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อแนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อ
 
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
 
แปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวรแปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวร
 
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
 
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาวสถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
 
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาดการเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
 
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศสรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพรผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
 
นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗
 
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
 
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานีการเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
 
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรังชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
 
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติInVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
 
Chamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรีChamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรี
 
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ตCorridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
 
Corridor 55-56
Corridor 55-56Corridor 55-56
Corridor 55-56
 

พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่

  • 2. ความเป็นมา ตามอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ (Convention on Biological Density) เป็นอนุสัญญาระหว่างประเทศที่ครอบคลุมถึงการอนุรักษ์ความหลากหลายในชนิดพันธุ์ ความ หลากหลายทางพันธุกรรม และความหลากหลายในระบบนิเวศ การใช้ประโยชน์ของ องค์ประกอบความหลากหลาย การแบ่งปันผลประโยชน์ในการใช้ทรัพยากรพันธุกรรม และ ความหลากหลายในระบบนิเวศประเทศต่างๆ ต้องอนุรักษ์ทรัพยากรทางชีวภาพทั้งสามระดับ อันได้แก่ ระบบนิเวศ ชนิดพันธุ์ และพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตเพื่อไม่ให้หมดไป และสาเหตุที่ สาคัญประการหนึ่งที่ทาให้สังคมพันธุ์พืชและพันธุกรรมเปลี่ยนแปลงไปก็คือ สิ่งมีชีวิตต่างถิ่น (alien species) ในฐานะที่ประเทศไทยได้ให้การรับรองอนุสัญญาฯ จากการประชุมของ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติได้กาหนดกรอบการปฏิบัติตามข้อกาหนดในอนุสัญญาฯ และมีมติให้หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องดาเนินการตามกรอบอนุสัญญาฯ ดังกล่าว ในการ ควบคุมการคุกคามของชนิดพันธุ์ต่างถิ่น
  • 3. การจัดสถานภาพตามทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่ควรป้องกัน ควบคุม กาจัดของประเทศไทย โดยสานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) (2552) แบ่งเป็น 4 รายการ ดังนี้ รายการ 1 ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานแล้ว หมายถึง ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่เข้ามาในประเทศไทยแล้ว และสามารถสร้างถิ่น ฐานและมีการแพร่กระจายได้ในธรรมชาติ เป็นชนิดพันธุ์เด่นในสิ่งแวดล้อมใหม่ (Dominant species) และเป็นชนิด พันธุ์ที่อาจทาให้ชนิดพันธุ์ท้องถิ่นหรือชนิดพันธุ์พื้นเมืองสูญพันธุ์ รายการ 2 ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่มีแนวโน้มรุกราน หมายถึง (1) ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่มีหลักฐานว่ามีการรุกรานในถิ่นอื่นที่เข้า มาในประเทศไทยแล้วและสามารถตั้งถิ่นฐานและมีการแพร่กระจายได้ในธรรมชาติ จากการสารวจและเฝ้ าสังเกตพบว่า อาจแพร่ระบาดหากมีปัจจัยเกื้อหนุนหรือสภาพแวดล้อมเปลี่ยนแปลงทาให้เกิดผลกระทบต่อความหลากหลายทางชีวภาพ (2) ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่เคยรุกรานในอดีต ซึ่งสามารถควบคุมดูแลได้แล้ว รายการ 3 ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่มีประวัติว่ารุกรานแล้วในประเทศอื่น แต่ยังไม่รุกรานในประเทศไทย หมายถึง ชนิดพันธุ์ ต่างถิ่นที่เข้ามาในประเทศไทยแล้วมีหลักฐานว่ามีการรุกรานในประเทศอื่น รายการ 4 ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานที่ยังไม่เข้ามาในประเทศไทย หมายถึง ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่มีข้อมูลหรือหลักฐานว่า เป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานในประเทศอื่น ได้แก่ ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นตามทะเบียน 100 ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานรุนแรง ของโลก ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่ห้ามนาเข้าตามกฎหมาย และชนิดพันธุ์ที่มีข้อมูลจากผลการศึกษาวิจัยว่าเป็นชนิดพันธุ์ต่าง ถิ่นรุกรานในพื้นที่อื่นๆ การแพร่กระจายของชนิดพันธุ์ต่างถิ่น
  • 4. หลักการและเหตุผล ในปัจจุบันประเทศไทยมีพืชต่างถิ่นประมาณ 1,500 ชนิด ในจานวนนี้พืชต่างถิ่นมากกว่า 200 ชนิด มีการปรับตัวได้ดีในสภาพแวดล้อมจนกลายเป็นพืชต่าง ถิ่นรุกรานและแพร่ระบาดไปทั่วประเทศ ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติได้มีการนาไม้ต่างถิ่นเข้ามา ด้วยความมีเจตนาและไม่ได้เจตนา ซึ่งมี ผลกระทบต่อพันธุ์ไม้ท้องถิ่น ทั้งการบุกรุกและแย่งอาหาร ซึ่งส่งผลกระทบทั้งพืชและสัตว์ประจา ท้องถิ่น ทาให้ระบบนิเวศน์และสิ่งแวดล้อมเสียสมดุล ดังนั้น ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดนครราชสีมา จึงจาเป็นที่ จะต้องทาการศึกษาและสารวจชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่นภายในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่บริเวณเขต บริการและเขตนันทนาการ เพื่อที่จะได้ทราบชนิดพันธุ์ การกระจาย ปริมาณของพืชต่างถิ่น และ ประเมินสถานการณ์ของพืชต่างถิ่นที่ปรากฏอยู่ได้ แล้วนาข้อมูลที่ได้จากการศึกษามาหามาตรการใน การป้องกันการแพร่กระจายพันธุ์และกาจัดพืชต่างถิ่นเพื่อเป็นประโยชน์ต่อการจัดการพื้นที่ต่อไป
  • 6. วัตถุประสงค์ เพื่อสารวจชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่น จาแนกตามสถานภาพทะเบียนชนิดพันธุ์ ต่างถิ่น ที่ควรป้องกัน ควบคุม กาจัดของประเทศไทย บริเวณพื้นที่เขตบริการและ เขตนันทนาการ ในอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา เพื่อประเมินสถานการณ์ของพืชต่างถิ่นบริเวณพื้นที่เขตบริการและ เขตนันทนาการในอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา
  • 7. วิธีการสารวจ 1. รวบรวมข้อมูลทุติยภูมิจากเอกสารที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่ที่ศึกษา ได้แก่ ที่ตั้ง เนื้อที่ ลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ทรัพยากรด้านสัตว์ป่าและพันธุ์พืช แหล่งท่องเที่ยว เป็นต้น 2. สารวจข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่น ลักษณะพื้นที่ที่พบ ลักษณะการ ขึ้นของพืชต่างถิ่น ปริมาณพืชต่างถิ่น ลักษณะโดยทั่วไป ในบริเวณต่างๆที่จะ ทาการศึกษา 3. การสารวจเก็บข้อมูลพืชต่างถิ่น ใช้วิธีการวางแปลงตัวอย่างแบบเป็นระบบ และ วิธีการเดินสารวจด้วยสายตา ดังนี้
  • 8. วิธีการสารวจ (ต่อ) 3.1 บริเวณสถานที่กางเต็นท์ลาตะคอง ใช้วิธีการวางแปลงรูปสี่เหลี่ยมขนาด 2 X 2 เมตร ในแต่ละ Line ระยะห่าง ระหว่างแปลงสารวจ 10 เมตร และ ระยะห่างของแต่ละ Line ห่างกัน 30 เมตร 1. ระยะหางระหวางแปลงตัวอยางในแตละเส้นสารวจ 2. ระยะห่างของแต่ละเส้นสารวจ
  • 9. 3.2 บริเวณพื้นที่ทั่วไปที่กาหนดการใช้ประโยชน์ตามกิจกรรมต่างๆ ทั้งในเขตบริการและ เขตนันทนาการ เช่น ศูนย์บริการนักท่องเที่ยว ศูนย์ฝึกอบรมที่ 2 (เขาใหญ่) สถานที่กางเต็นท์ ผากล้วยไม้ น้าตกเหวนรก น้าตกเหวสุวัต จุดชมวิวไฟป่า (กม.30) เป็นต้น ใช้วิธีการเดินสารวจ ด้วยสายตา วิธีการสารวจ (ต่อ)
  • 10. 4. การเก็บขอมูล ในแตละแปลงตัวอยางจะเก็บขอมูล ดังนี้ 4.1 ชนิดพืชตางถิ่นรุกรานที่พบ 4.2 เปอรเซ็นตการปกคลุมพื้นที่แปลงตัวอยาง 5. การวิเคราะหขอมูล ในแตละพื้นที่ที่ทาการศึกษา นาขอมูลมาวิเคราะหเพื่อหาค่าต่างๆ ดังนี้ 5.1 จานวนชนิดพันธุพืชตางถิ่นรุกรานที่พบ 5.2 ความถี่ของพรรณพืช (Frequency) ซึ่งความถี่เปนคาที่ชี้การกระจายของพรรณพืชแต่ละชนิดใน พื้นที่นั้น จะมีคาเปนเปอรเซ็นต คาความถี่ของพืชแตละชนิดหาไดจากการสุมตัวอยาง โดยวิธีการวางแปลง ตัวอย่าง แลวบันทึกชนิดตางๆที่ขึ้นอยูในแตละแปลงตัวอยางนั้น และความถี่มีความสัมพันธกับจานวนครั้งที่ พบชนิดในแปลงตัวอยาง โดยทั่วไปคาความถี่ จะแสดงไวในรูปของเปอรเซ็นตความถี่ ดังนี้ความถี่ของชนิด พันธุ์ A (Frequency = F) คือ จานวนแปลงย่อยที่ชนิดพันธุ์ A ปรากฏต่อจานวนแปลงทั้งหมดที่สารวจทาให้ อยู่ในรูปของร้อยละโดยคูณด้วย 100 5.3 พื้นที่ปกคลุมของพรรณพืช (cover) เปนพื้นที่ที่พื้นดินถูกปกคลุมโดยเรือนยอด หรือส่วนที่อยู่เหนือ พื้นดินของพืช มักจะบอกเปนเปอรเซ็นตของเนื้อที่แปลงตัวอยาง สามารถใชเปนค่าความเดน (dominant) ของพรรณพืช เพื่อชี้ใหเห็นวาพรรณพืชชนิดนั้น มีอิทธิพลตอสังคมพืชที่มันขึ้นอยูมากนอยเพียงใด วิธีการสารวจ (ต่อ)
  • 11. วิธีการสารวจ (ต่อ) 6. รวบรวมและวิเคราะหขอมูลที่ไดจากการศึกษา แลวทาการประเมินสถานการณความรุนแรงของพืชต างถิ่นรุกรานในพื้นที่ โดยใชคาความถี่ในการพบ และการปกคลุมพื้นที่ของพืชตางถิ่น แตละชนิดเป็น ตัวชี้วัด ดังนี้ ระดับความรุนแรง ความถี่ที่พบในแปลงตัวอย่าง (%) การปกคลุมพื้นที่ (%) น้อย ‹ 1 ‹ 1 น้อยมาก 1-10 1-10 ปานกลาง 11-25 11-25 มาก 25-50 25-50 มากที่สุด › 50 › 50
  • 12. ผลการศึกษา : 1) บริเวณสถานที่กางเต็นท์ลาตะคอง ใช้วิธี 1. วางแนวเส้นสารวจ 2. วางแปลงตัวอย่างรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด 2 X 2 เมตร เท่ากับ 4 ตารางเมตร ระยะห่าง ระหว่างแปลงตัวอย่าง 10 เมตร และระยะห่างของแต่ละแนวเส้นสารวจ 30 เมตร มีจานวนแปลง สารวจทั้งหมด 159 แปลง พื้นที่ปกคลุมทั้งหมด 636 ตารางเมตร (พื้นที่ปกคลุมของแปลงสารวจ 1 แปลง เท่ากับ 4 ตารางเมตร คูณด้วยจานวนแปลงทั้งหมด คือ 159 แปลง) สรุปผล จานวนแปลงที่พบพืชต่างถิ่นรุกรานมีจานวนทั้งสิ้น 42 แปลง คิดเป็นพื้นที่ปกคลุม 168 ตารางเมตร คิดเป็นร้อยละ 26.415 ของพื้นที่ปกคลุมทั้งหมด ชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่นที่รุกรานตามทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่น จานวน 5 ชนิด 1) แว่นแก้ว Hydrocotyle umbellate 4) ไมยราบเลื้อย Mimosa diplotricha 2) สาบเสือ Chromolaena odoratum 5) ตะขบฝรั่ง (Muntingia calabura L.) 3) พริกฝรั่ง Rivina humilis L.
  • 13. ชื่อพันธุ์ไม้ ชื่อวิทยาศาสตร์ หญ้าขจรจบดอกเล็ก (Pennisetum polystachion (L.) Schult) ผักชีฝรั่ง (Eryngium foetidum L.) ตะขบฝรั่ง (Muntingia calabura L.) กระดุมทองเลื้อย (Sphagneticola trilobata (L. C. Rich.) Pruski) ฝรั่ง (Psidium guajava L.) สาหร่ายหางกระรอก (Hydrilla verticillata (L.f) Royle) กระถินณรงค์ (Acacia auriculaeformis Cunn.) ประดู่ (Pterocarpus indicus Willd) มะยม (Phyllanthus acidus Skeels) มะขาม (Tamarindus indica Linn) มะม่วง (Mangifera indica Linn.) ขนุน (Artocarpus heterophyllus Lam.) ขี้เหล็กอเมริกัน (Senna spectabilis (DC.) Irwin & Barneby) ชื่อพันธุ์ไม้ ชื่อวิทยาศาสตร์ สัก (Tectona grandis Linn.) กระท้อน (Sandoricum koetjape) สบู่ดา (Jatropha currcas) แตรนางฟ้ า (Brugmansia sp.) น้อยหน่า (Annona squamosa L.) หูปลาช่อน (Acalypha wilkesiana Mull. Arg.) ไฟเดือนห้า (Asclepias curassavica L.) มะนาว (Citrus aurantifolia (Christm.) Swingle) ส้ม (Citrus reticulate Blanco) คว่าตาย หงายเป็น (Kalanchoe pinnata (Lam.) Pers.) ลูกใต้ใบ (Phyllanthus amarus Schumch. & Thonn.) ราชพฤกษ์ (Cassia fistula) พบชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่นที่รุกรานตามทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่น , พืชต่างถิ่นนอกทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่น รวมถึง พืชต่างถิ่นรุกรานในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ ที่อยู่บริเวณนอกแปลงสารวจ ได้แก่
  • 15. 13.836 13.208 13.836 0.629 0.629 7.075 4.560 7.23 0.471 0.157 0 5 10 15 แว่นแก้ว ไมยราบเลื้อย สาบเสือ ตะขบฝรั่ง พริกฝรั่ง % จานวนแปลงที่พบ(ความถี่) พื้นที่ปกคลุม(%) กราฟเปรียบเทียบระดับความรุนแรงของพืชต่างถิ่นรุกราน คิดจากเปอร์เซ็นต์จานวนแปลงที่พบและจานวนพื้นที่ปกคลุม พบว่า แว่นแก้ว ไมยราบเลื้อย สาบเสือ มีจานวนแปลงที่พบได้ อยู่ในระดับความรุนแรงปานกลาง และพื้นที่ปกคลุมยังอยู่ในมีระดับ ความรุนแรงน้อย ส่วนตะขบฝรั่งและพริกฝรั่ง มีระดับความรุนแรงน้อยมาก
  • 16. ผลการศึกษา : 2) บริเวณศูนย์บริการนักท่องเที่ยวและ ร้านค้าสวัสดิการอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ใช้วิธี สารวจโดยเดินสารวจด้วยสายตา โดยเดินสารวจรอบๆ พื้นที่ พบพืชต่างถิ่นนอกทะเบียน ชนิดพันธุ์ต่างถิ่น ที่ควรป้องกัน ควบคุม และกาจัดของประเทศไทย จานวน 2 ชนิด 1) แตรนางฟ้ า (B. sp.) 2) หมากเขียว (Ptychosperma macathurii Nichols.) แตรนางฟ้ า หมากเขียว
  • 17. ผลการศึกษา : 3) บริเวณศูนย์ฝึกอบรมที่ ๒ (เขาใหญ่) ใช้วิธี สารวจโดยเดินสารวจด้วยสายตา โดยเดินสารวจรอบๆ พื้นที่ พบพืชต่างถิ่นจานวน 7 ชนิด โดยแบ่งออกดังนี้ ชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่นที่รุกรานตามทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่น 1) ผกากรอง (Lantana camara L.) ชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่นนอกทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่น 1) ส้มโอ (Citrus maxima (Burm. F. Merr.) 2) ขนุน (A. heterophyllus Lam.) 3) แคบ้าน (Sesbania grandiflora (L.) Desv.) 4) ราชพฤกษ์ (C. fistula) 5) พุดซ้อน (Gardenia augusta (L.) Merr.) 6) ไฟเดือนห้า (A. curassavica L.) ผกากรอง พุดซ้อน ส้มโอ
  • 18. ผลการศึกษา : 4) บริเวณสถานที่กางเต็นท์ผากล้วยไม้ ใช้วิธี สารวจโดยเดินสารวจด้วยสายตา โดยเดินสารวจรอบๆ พื้นที่ พบพืชต่างถิ่นจานวน 10 ชนิด โดยแบ่งออกดังนี้ ชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่นที่รุกรานตามทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่น 1) ตะขบฝรั่ง (M. calabura L.) ชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่นนอกทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่น 1) หมากเขียว (P. macathurii Nichols.) 2) ส้มโอ (C. maxima (Burm. F. Merr.) 3) ขนุน (A. heterophyllus Lam.) 4) มะม่วง (M. indica Linn.) 5) ขี้เหล็กอเมริกัน (S. spectabilis (DC.) Irwin & Barneby) 6) มะนาว (C. aurantifolia (Christm.) Swingle) 7) ส้ม (C. reticulate Blanco) 8) มะกรูด (Citrus hystrix DC.) 9) ลาไย (Dimocarpus longan lour)
  • 19. ผลการศึกษา : 5) บริเวณหน่วยพิทักษ์ ขญ.๑ (ด่านศาลเจ้าพ่อเขาใหญ่) ใช้วิธี สารวจโดยเดินสารวจด้วยสายตา โดยเดินสารวจรอบๆ พื้นที่ พบพืชต่างถิ่นจานวน 13 ชนิด โดยแบ่งออกดังนี้ ชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่นที่รุกรานตามทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่น 1) ตะขบฝรั่ง (M. calabura L.) ชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่นนอกทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่น 1) มะละกอ (Carica papaya L.) 7) มะพร้าว (Cocos nucifera L. var. nucifera) 2) กาบหอย (Tradescantia virginiana L.) 8) บานไม่รู้โรยฝรั่ง (Alternanthere dentata (Moench) Scheygr) 3) เทียนหยด (Duranta repens L.) 9) สัก (T. grandis Linn.) 4) ลั่นทม (Piumeria sp.) 10) เชอร์รี่ไทย (Malpighia emarginata) 5) ตาลึง (Coccinia grandis (L.) Voigt) 11) มะลิ (Jusminum adenophyllum) 6) เฟื้องฟ้า (Bougainvillea spectabilis Willd.) 12) พุด (Gardenia sp.)
  • 20.
  • 21. ผลการศึกษา : 6) บริเวณบ้านพักเจ้าหน้าที่ลาตะคอง ๒ ใช้วิธี สารวจโดยเดินสารวจด้วยสายตา เดินรอบๆพื้นที่ พบพืชต่างถิ่นจานวน 2 ชนิด ชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่นนอกทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่น ที่ควรป้องกัน ควบคุม และกาจัดของ ประเทศไทย 1) น้อยหน่า (A. squamosa L.) 2) ไฟเดือนห้า (A. curassavica L.)
  • 22. ผลการศึกษา : 7) บริเวณน้าตกเหวนรก ใช้วิธี สารวจโดยเดินสารวจด้วยสายตา เดินสารวจรอบๆพื้นที่ พบพืชต่างถิ่นจานวน 18 ชนิด ชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่นนอกทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่น 1) ขนุน (A. heterophyllus Lam.) 2) ประดู่ (Pterocarpus indicus Willd) 3) มะละกอ (C. papaya L.) 4) ดาหลา (Etlingera olatior (Jack) R.M. Smith) 5) ใบเตย (Pandanus amaryllifolius Roxb.) 6) มะม่วง (M. indica Linn.) 7) มะนาว (C. aurantifolia (Christm.) Swingle) 8) ลาไย (D. longan lour) 9) แตรนางฟ้า (B. sp.) 10) ส้มโอ (C. maxima (Burm. F. Merr.) 11) ระกา (Salacca rumphii wall.) 12) นางแย้มป่า (Clerodendrum viscosum vent.) 13) ทุเรียน (Durio zibethinus Murray) 14) ตะไคร้ (Cymbopoyon citratus Stapf.) 15) เสาวรส (Passiflora laurifolia L.) 16) ขี้เหล็กอเมริกัน (S. spectabilis (DC.) Irwin & Barneby) 17) มะกรูด (C. hystrix DC.) 18) มะขาม (T. indica Linn)
  • 23.
  • 24. ผลการศึกษา : 8) บริเวณน้าตกเหวสุวัต ใช้วิธี สารวจโดยเดินสารวจด้วยสายตา เดินสารวจรอบๆพื้นที่ พบพืชต่างถิ่นจานวน 5 ชนิด ชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่นนอกทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่น 1) มะนาว (C. aurantifolia (Christm.) 2) ขนุน (A. heterophyllus Lam.) 3) หมากเขียว (P. macathurii Nichols.) 4) หางนกยูงฝรั่ง (D. regia Raf.) 5) สบู่ดา (J. currcas) หมากเขียว
  • 25. ผลการศึกษา : 9) บริเวณจุดชมวิวไฟป่า ใช้วิธี สารวจโดยเดินสารวจด้วยสายตา เดินสารวจรอบๆพื้นที่ พบพืชต่างถิ่นจานวน 15 ชนิด ชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่นที่รุกรานตามทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่น 1) กระดุมทองเลื้อย (S. trilobata (L. C. Rich) Pruski) 2) ป่านมะนิลา/อากาเว่ (Agave Americana L.) 3) หญ้าขจรจบ (Pennisetum sp.) 4) ไมยราบ (Mimosa sp.) ชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่นนอกทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่น 1) มะขาม (T. indica Linn) 6) ขนุน (A. sheterophyllus Lam.) 2) มะละกอ (C. papaya L.) 7) เทียนทอง (Duranta erecta L.) 3) โกสน (Codiaeum variegatum Blume) 8) พริกขี้หนู (Capsicum frutescens Linn.) 4) พุดซ้อน (G. augusta (L.) Merr.) 9) วาสนา (Dracaena fragrans (L.) Ker Gawl.) 5) ตาลึง (C. grandis (L.) Voigt) 10) ปาล์ม (Sabal sp.) พืชต่างถิ่นรุกรานในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ (สานักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช, 2556) 1) ผักคราดดอกใหญ่ (Acmella ciliate (Kunth) Cass.)
  • 27. ผลการศึกษา : 10) บริเวณหน่วยพิทักษ์ ขญ.๕ (ด่านเนินหอม) ใช้วิธี สารวจโดยเดินสารวจด้วยสายตา เดินสารวจรอบๆพื้นที่ พบพืชต่างถิ่นจานวน 9 ชนิด ชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่นที่รุกรานตามทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่น 1) โกสน (C. variegatum Blume) 2) เทียนทอง (D. erecta L.) 3) เข็มฝรั่ง (Ixora coccinea L.) 4) ทับทิม (Punica granatum L.) 5) ปีบ (Millinglonia Hortensis) 6) มะละกอ (C. papaya L.) 7) ชะอม (Acacia Insuavis Lace) 8) บอนสี (Caladium bicolor (Aiton) Vent.) 9) มะลิ (J. adenophyllum) จันทน์ผา มะลิ
  • 28. สรุปผลการศึกษา จากการสารวจและประเมินสถานการณ์พืชต่างถิ่นบริเวณเขตนันทนาการและเขตบริการ : กรณีศึกษาอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา พบว่า มีพืชต่างถิ่นรุกรานทั้งสิ้น 68 ชนิด เป็นชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่นที่รุกรานตามทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่น ที่ควรป้องกัน ควบคุม และกาจัด ของประเทศไทย จานวน 14 ชนิด โดยแบ่งเป็น : จะเห็นได้ว่า ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่พบบริเวณเขตนันทนาการและเขตบริการภายในอุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่ ส่วนใหญ่จะเป็นไม้ผล เช่น มะม่วง ขนุน ส้ม ลาไย เป็นต้น ไม้ผลเหล่านี้อาจจะเข้าสู่อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่ จากการนาเข้ามารับประทานของนักท่องเที่ยว หรืออาจมาจากเจ้าหน้าที่ในอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่เอง เมื่อรับประทานเสร็จก็ทิ้งเมล็ดลงบนพื้นดิน ทาให้เกิดการแพร่กระจายของชนิดพันธุ์ต่างถิ่น นอกจากนี้ยังพบไม้ดอก ไม้ประดับ ซึ่งถือว่าเป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นอีกหลายชนิด เช่น เทียนทอง โกสน ไฟเดือนห้า พุดซ้อน และแตรนางฟ้ า เป็นต้น ไม้ดอก ไม้ประดับที่พบส่วนใหญ่จะถูกนามาใช้ในการตกแต่งบริเวณ ต่างๆให้ดูสวยงาม อีกทั้งยังมีเจ้าหน้าที่บางคน นาไม้ดอก ไม้ประดับมาใช้ปลูกตกแต่งบริเวณที่พักอีกด้วย การนาเข้ามาปลูกอาจจะกระทาโดยความรู้เท่าไม่ถึงการณ์
  • 29. ที่ ชื่อพันธุ์ไม้ ชื่อวิทยาศาสตร์ แหล่งที่พบ 1 สาบเสือ Chromolaena odoratum • บริเวณสถานที่กางเต็นท์ลาตะคอง จะขึ้นกระจายอยู่เป็นหย่อมๆ มักพบใกล้ริมน้า 2 สาหร่ายหางกระรอก Hydrilla verticillata • บริเวณสถานที่กางเต็นท์ลาตะคอง พบกระจายทั่วในแหล่งน้า 3 แว่นแก้ว Hydrocotyle umbellate • บริเวณสถานที่กางเต็นท์ลาตะคอง จะขึ้นกระจายอยู่ทั่วบริเวณเป็นหย่อมๆ 4 ผกากรอง Lantana camara • บริเวณศูนย์ฝึกอบรมที่ ๒ (เขาใหญ่) 5 ไมยราบเลื้อย Mimosa diplotricha • บริเวณสถานที่กางเต็นท์ลาตะคอง • บริเวณจุดชมวิวไฟป่า 6 ไมยราบ Mimosa sp. • บริเวณสถานที่กางเต็นท์ลาตะคอง • บริเวณจุดชมวิวไฟป่า 7 หญ้าขจรจบดอกเล็ก Pennisetum polystachion • บริเวณสถานที่กางเต็นท์ลาตะคอง • บริเวณจุดชมวิวไฟป่า 8 หญ้าขจรจบ Pennisetum sp. • บริเวณสถานที่กางเต็นท์ลาตะคอง • บริเวณจุดชมวิวไฟป่า ชนิดพันธุ์พืชในรายการที่ 1 : ชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่นที่รุกรานแล้ว
  • 30. ที่ ชื่อพันธุ์ไม้ ชื่อวิทยาศาสตร์ แหล่งที่พบ 1 กระดุมทองเลื้อย Sphagneticola trilobata (L. C. Rich) Pruski) • บริเวณสถานที่กางเต็นท์ลาตะคอง • บริเวณจุดชมวิวไฟป่า พบในจานวนที่ค่อนข้างน้อยมาก 2 ตะขบฝรั่ง Muntingia calabura L. • บริเวณสถานที่กางเต็นท์ลาตะคอง • บริเวณสถานที่กางเต็นท์ผากล้วยไม้ • บริเวณหน่วยพิทักษ์ ขญ.๑ (ด่านศาลเจ้าพ่อเขาใหญ่) 3 ผักชีฝรั่ง Eryngium foetidum L. • บริเวณสถานที่กางเต็นท์ลาตะคอง 4 พริกฝรั่ง Rivina humilis L. • บริเวณสถานที่กางเต็นท์ลาตะคอง ชนิดพันธุ์พืชในรายการที่ 2 : ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่มีแนวโน้มรุกราน
  • 31. ที่ ชื่อพันธุ์ไม้ ชื่อวิทยาศาสตร์ แหล่งที่พบ 1 ป่านมะนิลา/อากาเว่ Agave Americana L. • บริเวณจุดชมวิวไฟป่า พบเพียงจานวน 1 ต้น ซึ่งเป็นจานวนที่น้อยมาก 2 ฝรั่ง Psidium guajava L. • บริเวณสถานที่กางเต็นท์ลาตะคอง พบเพียงจานวน 2 ต้น ซึ่งเป็นจานวนที่น้อยมาก ชนิดพันธุ์พืชในรายการที่ 3 : ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่มีประวัติว่ารุกราน แล้วในประเทศอื่น แต่ยังไม่รุกรานในประเทศไทย
  • 32. ที่ ชื่อพันธุ์ไม้ ชื่อวิทยาศาสตร์ 1 กระถินณรงค์ Acacia auriculaeformis Cunn. 2 มะยม Phyllanthus acidus Skeels 3 ประดู่ Pterocarpus indicus Willd 4 มะขาม Tamarindus indica Linn 5 มะนาว Citrus aurantifolia (Christm.) Swingle 6 มะม่วง Mangifera indica Linn. 7 ขนุน Artocarpus heterophyllus Lam. พบชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่นนอกทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่น ที่ควรป้องกัน ควบคุม และกาจัดของประเทศไทย จานวน 53 ชนิด เช่น และชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ อ้างโดย สานักวิจัยการอนุรักษ์ ป่าไม้และพันธุ์พืช (2556) จานวน 1 ชนิด ได้แก่ ผักคราดดอกใหญ่ (Acmella ciliate (Kunth) Cass.)
  • 33. ข้อเสนอแนะ พืชต่างถิ่น เช่น ไมยราบเลื้อย สาบเสือ แว่นแก้ว เป็นต้น ควรกาจัดด้วยวิธีเชิงกล โดยทาการขุดไถ กลบดินหรือถอนออกจากพื้นที่ก่อนระยะเวลาออกดอก เพื่อป้องกันไม่ให้มีการแพร่กระจาย แล้วทาลายโดยการฝังกลบอีกครั้ง การกาจัดโดยวิธีนี้ ต้องทาซ้าในพื้นที่นั้นๆ หลายครั้ง พืชต่างถิ่นจาพวกไม้ยืนต้น เช่น ราชพฤกษ์ หางนกยูงฝรั่ง ขี้เหล็กอเมริกัน แคบ้าน และมะขาม เป็นต้น ทาการควบคุมโดยการตัดใบหรือกิ่งไม้ นาเนื้อไม้ไปใช้ทาการใช้ประโยชน์อื่นๆ ควรเร่งกาจัดชนิดพันธุ์ต่างถิ่นออกจากพื้นที่ เพื่อป้องกันการแพร่กระจาย การปลูกไม้ดอกไม้ประดับภายในอุทยานแห่งชาติ ควรพิจารณาชนิดพันธุ์ที่มีอยู่ในท้องถิ่นหรือ ในธรรมชาติเป็นหลัก ควรมีการให้ความรู้เกี่ยวกับพืชต่างถิ่น โดยเริ่มจากเจ้าหน้าที่ภายในอุทยานแห่งชาติก่อน และ ขยายผลสู่นักท่องเที่ยวต่อไป