SlideShare a Scribd company logo
1 of 108
Download to read offline
โครงการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ประจาปีงบประมาณ 2557
สถาบันนวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
แนวเชื่อมต่อ (Corridor) หมายถึง ทางเชื่อมต่อพื้นที่
ขนาดเล็กโดยมากมักมีรูปร่างเป็นแถบยาวช่วยทาหน้าที่
ตอบสนองความต้องการของ ชนิดเฉพาะนั้นๆ ที่ต้องการ
เคลื่อนที่ระหว่างหย่อมป่าที่แตกต่างกันได้ โดยแนวเชื่อมต่อมัก
มีพืชพรรณใกล้เคียงกับถิ่นที่อาศัยหลักที่อยู่ใกล้เคียง”
โครงการศึกษาและสารวจความหลากหลายทางชีวภาพของทรัพยากรป่าไม้
และสัตว์ป่า บริเวณแนวเชื่อมต่อผืนป่า
เพื่ออนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพและระบบนิเวศระหว่าง
อุทยานแห่งชาติคลองวังเจ้า กับ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาสนามเพรียง
จังหวัดกาแพงเพชร ในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันตก
ดาเนินการโดย
ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดพิษณุโลก
หัวข้อ ชนิดป่า / พื้นที่ศึกษา
1.เต็งรัง
ใน อช.
2.เต็งรัง
ใน พทต.อช.
3.ผสมผลัดใบ
ใน อช.
4.ผสมผลัดใบ
ใน พทต.อช.
5.เต็งรัง
ใน ขสป.
6.เต็งรัง
ใน พทต.ขสป.
7.ผสมผลัดใบ
ใน ขสป.
8.ผสมผลัดใบ
ใน พทต.ขสป.
Species 23 30 39 23 23 23 32 32
no. of tree /
ha
140 /
778
229 /
1,272
142 /
789
75/
417
137/
761
164/
911
107/
594
91/
506
Index sp. /
IVI
รัง
106.39
รัง
145.80
ตะแบกเปลือกบาง
32.44
ขะเจ๊าะ
44.68
รัง
44.13
เต็ง
94.48
สัก
66.27
ขะเจ๊าะ
27.58
shannon –
weiner index
2.721/
1.516/
2.855
1.926 /
2.095 /
2.412
3.133/
0.444/
1.074
2.794/
0.794/
1.914
2.714/
2.223/
2.217
2.583/
2.098/
2.189
2.919/
1.462/
2.704
3.214/
1.834/
2.512
simpson
index
0.913/
0.695/
0.909
0.644 /
0.939 /
0.817
0.942/
0.221/
0.642
0.932/
0.423/
0.836
0.919/
0.901/
0.835
0.894/
0.935/
0.821
0.914/
0.714/
0.885
0.960/
0.911/
0.888
BA /ha 24.597 25.856 24.685 10.922 19.880 14.634 23.338 19.197
vol. /ha 184.016 179.896 190.069 79.934 142.954 97.201 178.760 144.826
AGB. / ha 164.888 153.599 170.645 64.171 114.947 71.825 162.655 127.979
AGC./ha 77.497 72.191 80.203 30.161 54.025 33.758 76.448 60.150
ความหลากชนิดของสัตว์ป่า
กลุ่มของสัตว์ป่า ชนิด วงศ์
1.สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม 16 11
2.นก 73 36
3.สัตว์เลื้อยคลาน 15 5
4.สัตว์สะเทินน้าสะเทินบก 8 6
รวม 112 58
ความหลากชนิดของสัตว์ป่า และค่าความหลากชนิดของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
ความชุกชุมของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่พบในพื้นที่สารวจแยกรายพื้นที่
เปรียบเทียบความคล้ายคลึงของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
ที่พบในพื้นที่แนวเชื่อมต่อทางระบบนิเวศ
การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินในแนวเชื่อมต่อ ฯ ระหว่างปี 2542 - 2557
โครงการสารวจความหลากหลายทางชีวภาพของพืชพรรณและสัตว์ป่า
บริเวณแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ระหว่างเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาสอยดาวและอุทยานแห่งชาติเขาคิชฌกูฏ
ดาเนินการโดย
ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดเพชรบุรี
ประเทศกัมพูชา
อ่าวไทย
งานที่ปฏิบัติ : ภาคสนาม
• ความหลากหลายทางชีวภาพของพืชพรรณ
–แปลงตัวอย่างชั่วคราว 30 x 60 จานวน 3 แปลง
–ความหลากหลายของพืช (checklist)
• ความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์ป่า
–สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ (ใช้เส้นสารวจ)
–สัตว์สะเทินน้าสะเทินบก (ตามลาห้วย)
–ผีเสื้อกลางวันและแมลงอื่นๆ (ตามระดับความสูง)
–สัตว์เลื้อยคลาน (ตามระดับความสูง)
งานที่ปฏิบัติ : ภาคสานักงาน
• ความหลากหลายทางชีวภาพของพืชพรรณ
–วิเคราะห์ข้อมูลทางนิเวศวิทยา
–ตรวจสอบความสาคัญของพืชแต่ละชนิด
• ความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์ป่า
–การกระจายของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ (GIS)
–ผีเสื้อกลางวันและแมลงอื่นๆ (ตรวจสอบความสาคัญ)
–สัตว์เลื้อยคลาน (ตรวจสอบความสาคัญ)
–ความชุกชุม ความหนาแน่น ความคล้ายคลึง
ฤดูกาลที่ 1
สัตว์ป่าที่พบ
สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม 31 ชนิด
• สัตว์ป่าสงวน 1 ชนิด (เลียงผาเหนือ)
• สัตว์ป่าคุ้มครอง 21 ชนิด
• Cites บัญชี I 9 ชนิด เช่น เสือดาว ค่างแว่นถิ่นเหนือ เสือลายเมฆ
ช้างป่า กระทิง
• Cites บัญชี II 3 ชนิด เช่น แมวดาว
บัญชี IUCN
• ใกล้สูญพันธุ์ 1 ชนิด (ช้างป่า)
• ใกล้สูญพันธุ์อย่างยิ่ง 1 ชนิด (วัวแดง)
• มีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ 9 ชนิด เช่น เสือลายเมฆ
กระทิง ค่างแว่นถิ่นเหนือ
สัตว์ป่าที่พบ
นก 77 ชนิด เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง 76 ชนิด
Cites บัญชี II 2 ชนิด
สัตว์สะเทินน้าสะเทินบก 6 ชนิด
สัตว์เลื้อยคลาน 9 ชนิด ที่สาคัญคือ ตะกองและเต่าจักร
รอยตีนวัวแดง (Bos javanicus ) รอยตีนหมูป่า (Sus scrofa)
กองมูลชะมด-อีเห็น ( วงศ์ VIVERRIDAE) กองมูลช้างป่า (Elephas maximus)
กองมูลแมวดาว (Prionailurus bengalensis) กองมูลเลียงผาเหนือ
(Capricornis milneedwardsii)
กองมูลหมี ( วงศ์ Ursidae) รอยเล็บหมี (วงศ์ Ursidae)
รอยตีนเสือดาว??? (Panthera pardus )
ฤดูกาลที่ 2
ช้างป่า.ฤดูแล้ง ช้างป่าฤดูฝน
ภัยคุกคาม.ฤดูแล้ง ภัยคุกคาม.ฤดูฝน
ภัยคุกคามที่พบ
ที่ตั้งแปลงตัวอย่างชั่วคราว
ขสป.เขาสอยดาว
อช.เขาคิชฌกูฏ
แปลงที่ 1 น้าตกคลองไพบูลย์ (ดิบชื้น)
แปลงที่ 2 คลองทุ่งเพล (ดิบแล้ง)
แปลงที่ 3 คลองทุ่งเพล (ดิบชื้น)
โครงการศึกษาลักษณะเศรษฐกิจ สังคม และการประเมินการยอมรับ
ในการจัดทาแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศระหว่าง
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดงใหญ่ กับ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดงใหญ่
ในพื้นที่กลุ่มป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่
ดาเนินการโดย
ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดนครราชสีมา
พื้นที่ศึกษา
1) เพื่อศึกษาลักษณะทางเศรษฐกิจ สังคม และความรู้ความเข้าใจบริเวณ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศระหว่างเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดงใหญ่-เขตรักษา
พันธุ์สัตว์ป่าดงใหญ่ ในพื้นที่กลุ่มป่าดงพญาเย็น – เขาใหญ่
2) เพื่อประเมินการยอมรับของชุมชน และความเป็นไปได้ในการจัดทา
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศระหว่างเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดงใหญ่-เขตรักษา
พันธุ์สัตว์ป่าดงใหญ่ ในพื้นที่กลุ่มป่าดงพญาเย็น – เขาใหญ่
3) เพื่อลดปัญหาความขัดแย้งระหว่างคนกับสัตว์ป่า
วัตถุประสงค์
5. นาเสนอผลการศึกษาต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
4. วิเคราะห์ผล จัดทารูปเล่ม
3. เก็บข้อมูลภาคสนาม โดยวิธีการสัมภาษณ์ชาวบ้านในชุมชนที่อยู่ในแนวเชื่อมต่อฯ
2. ประชุมชี้แจงผลการศึกษาแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดงใหญ่ ต่อ
เจ้าหน้าที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดงใหญ่ และชุมชนที่อยู่บริเวณแนวเชื่อมต่อฯ
1. รวบรวมข้อมูลแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดงใหญ่ และข้อมูลทุติย
ภูมิด้านเศรษฐกิจสังคมจากหน่วยงานในพื้นที่
ขั้นตอนการดาเนินงาน
จากข้อมูลทุติยภูมิ พบว่าแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ อยู่ในพื้นที่ตาบลลานางรอง
อาเภอโนนดินแดงและมีหมู่บ้านตั้งอยู่ในบริเวณแนวเชื่อมต่อฯ จานวน 2 หมู่บ้าน เมื่อ
คานวณหากลุ่มตัวอย่าง โดยใช้สูตรคานวณของ Taro Yamane ได้ค่าตามตาราง
หมู่ที่ ชื่อหมู่บ้าน จานวนครัวเรือน
จานวนแบบ
สัมภาษณ์ (ชุด)
8 บ้านหนองบอน 163 100
12 บ้านฐานเจ้าป่า 97 60
รวม 260 160
ผลการศึกษา
41%
59%
8%
76%
10%
4%
1%
1%
ข้อมูลจากแบบสัมภาษณ์ทั้งหมด 220 ชุด สรุปข้อมูลได้ดังนี้
เพศ
 เพศชาย ร้อยละ 59.09
เพศหญิงร้อยละ 40.90
การศึกษา
ระดับประถมศึกษา (ร้อยละ 76)
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ร้อยละ 10)
มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. (ร้อยละ 4)
ข้อมูลจากแบบสัมภาษณ์ทั้งหมด 220 ชุด สรุปข้อมูลได้ดังนี้
ภูมิลาเนา
 ราษฎรย้ายเข้ามา คิดเป็นร้อยละ
75
ภูมิลาเนาเดิม คิดเป็นร้อยละ 25
สาเหตุหลักการย้ายถิ่น
 เข้ามาจับจองที่ดินทากิน คิดเป็นร้อยละ 48
ย้ายตามครอบครัวหรือย้ายเพราะการแต่งงาน
คิดเป็นร้อยละ 23
25%
75%
จับจองที่ทากิน
48%
ย้ายตามเพื่อน
บ้าน
19%
เปลี่ยนอาชีพ
6%
ย้ายตาม
ครอบครัว/
แต่งงานที่นี้
23%
อื่นๆ
4%
ข้อมูลจากแบบสัมภาษณ์ทั้งหมด 220 ชุด สรุปข้อมูลได้ดังนี้
การย้ายถิ่นฐานในอนาคต
ราษฎรส่วนใหญ่ไม่มีแนวโน้มที่จะย้ายออกจากพื้นที่ ร้อยละ 93
ราษฎรที่มีแนวโน้นที่จะย้ายออกจากพื้นที่มีเพียงร้อยละ 7
ไม่ต้องการย้าย
ออก
93%
ต้องการย้าย
ออก
7%
หมายเหตุ : ข้อมูลด้านเศรษฐกิจสังคมและทัศนคติ อยู่ระหว่างการ
วิเคราะห์ข้อมูล
ความคิดเห็นและการยอมรับของชุมชนต่อการจัดทาแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ประเด็น
ร้อยละของความคิดเห็นและการยอมรับ
เห็นด้วย
อย่างยิ่ง
เห็นด้วย เฉยๆ ไม่เห็น
ด้วย
ไม่เห็น
ด้วยอย่าง
ยิ่ง
ไม่ตอบ
1. ท่านเคยได้รับความรู้เรื่องแนวเชื่อมต่อระบบ
นิเวศ
11.82 25.91 4.55 24.55 0.91 32.27
2. ท่านทราบถึงประโยชน์ของแนวเชื่อมต่อระบบ
นิเวศ
13.18 41.82 10.91 19.09 0.45 14.55
3. ท่านคิดว่าแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศช่วยรักษา
ความสมบูรณ์ของป่าไม้ได้
9.55 63.64 14.55 6.82 0 5.45
4. ท่านคิดว่าแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศช่วยรักษา
สัตว์ป่าให้คงอยู่และมีมากขึ้นได้
11.82 56.82 18.18 6.82 0 6.36
5. ท่านได้รับประโยชน์มากกว่าเสียประโยชน์จาก
การสร้างแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
10.91 53.64 23.18 6.82 0 5.45
ประเด็น
ร้อยละของความคิดเห็นและการยอมรับ
เห็นด้วย
อย่างยิ่ง
เห็นด้วย เฉยๆ ไม่เห็น
ด้วย
ไม่เห็นด้วย
อย่างยิ่ง
ไม่ตอบ
6. ท่านเห็นด้วยกับการจัดทาแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ 14.09 46.82 22.27 10.91 0 5.91
7. ท่านเห็นด้วยกับการจัดทาแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแม้น
ว่าท่านต้องเสียประโยชน์บ้าง
15.91 38.64 20.91 19.55 0 5.00
8. การจัดทาแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศจาเป็นต้องผ่านการ
ยอมรับของชุมชนในพื้นที่
31.36 49.09 13.18 1.82 0 4.55
9. การจัดทาแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศระหว่างเขตรักษา
พันธุ์สัตว์ดงใหญ่ทั้งสองฝั่ง สามารถเกิดขึ้นได้หาก
เจ้าหน้าที่ทาการตรวจสอบ และมีการหมายแนวเขตที่
ชัดเจน
21.82 50.00 15.45 8.18 0 4.55
10. ท่านยอมรับได้หากมีการจัดทาแนวเขตเชื่อมต่อระบบ
นิเวศระหว่างเขตรักษาพันธุ์สัตว์ดงใหญ่
ทั้งสองฝั่ง
22.27 53.64 14.55 4.09 0 5.45
การยอมรับของชุมชนต่อการจัดทาแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ คิดเป็นจานวน %
เห็นด้วยอย่าง
ยิ่ง
12%
เห็นด้วย
26%
เฉยๆ
4%
ไม่เห็นด้วย
25%
ไม่เห็นด้วย
อย่างยิ่ง
1%
ไม่ตอบ
32%
1. ท่านเคยได้รับความรู้เรื่องแนวเชื่อมต่อ
ระบบนิเวศ
เห็นด้วย
อย่างยิ่ง
11%
เห็นด้วย
54%
เฉยๆ
23%
ไม่เห็นด้วย
7%
ไม่ตอบ
5%
5. ท่านได้รับประโยชน์มากกว่าเสีย
ประโยชน์จากการสร้างแนว
เชื่อมต่อระบบนิเวศ
เห็นด้วย
อย่างยิ่ง
14%
เห็นด้วย
47%
เฉยๆ
22%
ไม่เห็น
ด้วย
11%
ไม่เห็น
ด้วย
อย่าง
ยิ่ง
0%
ไม่ตอบ
6%
6. ท่านเห็นด้วยกับการจัดทาแนวเชื่อมต่อ
ระบบนิเวศ
เห็นด้วย
อย่างยิ่ง
31%
เห็นด้วย
49%
เฉยๆ
13%
ไม่
เห็น
ด้วย
2%
ไม่เห็นด้วย
อย่างยิ่ง
0%
ไม่ตอบ
5%
8. การจัดทาแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
จาเป็นต้องผ่านการยอมรับของชุมชนใน
พื้นที่
เห็นด้วยอย่างยิ่ง
22%
เห็นด้วย
54%
เฉยๆ
15%
ไม่เห็นด้วย
4%
ไม่ตอบ
5%
10. ท่านยอมรับได้หากมีการจัดทาแนวเขตเชื่อมต่อระบบนิเวศระหว่าง
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดงใหญ่ทั้งสองฝั่ง
ภาพกิจกรรมการดาเนินงาน
ภาพกิจกรรมการดาเนินงาน
โครงการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
อุทยานแห่งชาติน้าตกหงาวและเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งระยะ-นาสัก
จังหวัดระนอง
ดาเนินการโดย
ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดสุราษฎร์ธานี
พื้นที่ศึกษา
ทางหลวงชนบทหมายเลข 5011 ช่วง กิโลเมตรที่ 9 - 11
ทุ่งระยะ-นาสัก
น้าตกหงาว
ผลการศึกษาด้านทรัพยากรป่าไม้
แปลงตัวอย่างชั่วคราว เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งระยะนาสัก
พบไม้ใหญ่ทั้งหมด 167 ต้น ชนิดไม้ที่พบมากที่สุด 5 อันดับแรกได้แก่
1. เปล้าเถื่อน (Ptychopyxis javanica (J.J.Sm.)Croizat) 21 ต้น
2. ขี้หนู (Diospyros borneensis Hiern) 12 ต้น
3. คอแลนเขา (Xerospermum laevigatum Radlk.) 11 ต้น
4. ยางยูง (Dipterocarpus grandiflorus (Blanco)Blanco) 9 ต้น
5. ลังค้าวใบเล็ก (Drypetes longifolia(small leaves)) 7 ต้น
ไม้หนุ่มพบทั้งหมด 159 ต้น ชนิดไม้ที่พบมากที่สุด 3 อันดับแรกได้แก่
ปาหนันนิยมธรรม (Goniothalamus niyomdhamii R.M.K. Saunders &
Chalermglin) 9 ต้น กริมช่อ (Rinorea lanceolata Kuntze) 7 ต้น
ลังค้าวใบเล็ก (Drypetes longifolia(small leaves)) 6 ต้น
ลูกไม้พบทั้งหมด 118 ต้น ชนิดไม้ที่พบมากที่สุด 3 อันดับแรกได้แก่
พิกุลนก (Payena lanceolata Ridl.) 79 ต้น ขี้ชันโจร (Kokoona
filiformis C.E.C.Fisch.) 6 ต้น และกริมช่อ (Rinorea lanceolata
Kuntze) 4 ต้น
การวิเคราะห์เชิงปริมาณไม้ใหญ่
–พันธุ์ไม้ที่มีค่าดัชนีความสาคัญสูงสุด 10 ลาดับแรก ได้แก่ เปล้าเถื่อน
ยางยูง ขี้หนู คอแลนเขา ขี้ชันโจร นากบุด พิกุลนก กอกเขา แดงเขา
และลังค้าวใบเล็ก
–ค่าดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพของไม้ใหญ่ คานวณตามวิธีของ
Shannon-Weiner (Magurran, 1988) มีค่าเท่ากับ 3.715 ตามวิธี
ของ Simpson (Simpson, 1949) มีค่า 0.966 และตามวิธีของ
Fisher (Fisher et al., 1943) มีค่า 39.837 ส่วนค่าดัชนีความ
สม่าเสมอ (Pielou, 1975) มีค่าเท่ากับ 0.887
การกระจายทางด้านตั้ง
• แบ่งเป็น 3 ชั้นเรือน ได้แก่ เรือนยอดชั้นบน ประกอบด้วยไม้ที่มีความสูง
ตั้งแต่ 30 เมตรขึ้นไป (46-48 เมตร) ได้แก่ ยางยูง ขี้ชันโจร ไข่เขียว และ
ยางปาย
• เรือนยอดชั้นกลาง ประกอบด้วยพันธุ์ไม้ที่มีความสูงอยู่ในช่วง 18-29 เมตร
ได้แก่ เปล้าเถื่อน คอแลนเขา กอกเขา ขี้หนู และหมักหยักดา
• ส่วนเรือนยอดชั้นล่าง ประกอบด้วยพันธุ์ไม้ที่มีความสูงน้อยกว่า 18 เมตร
ได้แก่ เปล้าเถื่อน ขี้หนู ลังค้าวใบเล็ก คอแลนเขา ดาตะโก และยางยูง
แปลงตัวอย่างชั่วคราว อุทยานแห่งชาติน้าตกหงาว พบไม้ใหญ่ทั้งหมด
192 ต้น ชนิดไม้ที่พบมากที่สุด 5 อันดับแรกได้แก่ กระเบาค่าง
(Hydnocarpus castaneus Hook.f. & Thomson) 17 ต้น กาแร้งหิน
(Koilodepas longifolium Hook.f.) 13 ต้น นากบุด (Mesua ferrea L.) 11
ต้น เสียดใบเล็ก (Pentace curtisii King) 11 ต้น ยางยูง (Dipterocarpus
grandiflorus (Blanco) Blanco) 7 ต้น
แปลงตัวอย่าง อช.น้าตกหงาว
การวิเคราะห์เชิงปริมาณไม้ใหญ่
–พันธุ์ไม้ที่มีค่าดัชนีความสาคัญสูงสุด 10 ลาดับแรก ได้แก่ เสียดใบเล็ก
กระเบาค่าง กาแร้งหิน นากบุด ยางยูง กะอาม ขี้หนู หมักใบเบี้ยว ไม้
นกค่อ และลังค้าวใบเล็ก
–ค่าดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพของไม้ใหญ่ คานวณตามวิธีของ
Shannon-Weiner มีค่าเท่ากับ 3.957 ตามวิธีของ Simpson มีค่า
0.975 และตามวิธีของ Fisher มีค่า 53.862 ส่วนค่าดัชนีความ
สม่าเสมอของ Pielou มีค่าเท่ากับ 0.898
การกระจายทางด้านตั้ง
• แบ่งได้เป็น 3 ชั้นเรือน ได้แก่ เรือนยอดชั้นบน ประกอบด้วยไม้ที่มีความสูง
ตั้งแต่ 27 เมตรขึ้นไป (44 เมตร) ได้แก่ เสียดใบเล็ก นากบุด และยางยูง
• เรือนยอดชั้นกลาง ประกอบด้วยพันธุ์ไม้ที่มีความสูงอยู่ในช่วง 16-26 เมตร
ได้แก่ กระเบาค่าง กาแร้งหิน และขี้หนู
• เรือนยอดชั้นล่าง ประกอบด้วยพันธุ์ไม้ที่มีความสูงน้อยกว่า 16 เมตร
ได้แก่ กระเบาค่าง กาแร้งหิน นากบุด ลังค้าวใบเล็ก และไม้นกค่อ
ทุ่งระยะ-นาสัก
49 ชนิด
น้าตกหงาว
73 ชนิด
56 ชนิด
47.86%
เปรียบเทียบดัชนีความคล้ายคลึงระหว่างสังคม Sorensen(1948)
สรุปทรัพยากรป่าไม้
• 1. มีชนิดพันธุ์ประมาณครึ่งหนึ่งของแปลงหนึ่งแปลงใด สามารถพบได้ในอีก
แปลงที่เหลือ
• 2. พันธุ์ไม้วงศ์ DIPTEROCARPACEAE มีความหลากชนิดมากสุด และพบ
เป็นวงศ์พันธุ์ไม้เด่นในเรือนยอดชั้นบนสุดของสังคม เหมือนกันทั้งสองแปลง
• 3. แปลงทุ่งระยะ-นาสัก มีความหนาแน่นต่อพื้นที่ของพันธุ์ไม้ใหญ่น้อยกว่า
แต่จะมีค่าเฉลี่ยของช่วงชั้นเส้นผ่าศูนย์กลางที่สม่าเสมอกว่า คือมีสัดส่วนของ
ไม้ขนาดกลาง (10-60 ซ.ม.) มากหรือสูงกว่าแปลงน้าตกหงาว ที่มีช่วงชั้น
เส้นผ่าศูนย์กลาง >4.5-10 ซ.ม. สูงหรือมีความหนาแน่นของไม้ในช่วงชั้นนี้
มากกว่าทุกช่วงชั้นที่เหลือรวมกัน แสดงให้เห็นถึงของพัฒนาการของหมู่ไม้
ในแปลงทุ่งระยะ-นาสักที่มีสูงกว่า
ด้านสัตว์ป่า
ทุ่งระยะ-นาสัก
น้าตกหงาว
Mammal
แนวสารวจฝั่งทุ่งระยะ-นาสักพบสัตว์ป่า 17 ชนิด
ความชุกชุมมาก 4 ชนิด ได้แก่ หมูป่า กระรอก
ท้องแดง ชะมดแผงหางปล้อง และลิ่นพันธุ์ใต้
ชุกชุมปานกลาง 3 ชนิด ได้แก่ ค่างแว่นถิ่นใต้
เม่นหางพวง และพญากระรอกดา
ชุกชุมน้อย 10 ชนิด ได้แก่ กระจงหนู เม่นใหญ่
ลิงเสน บ่าง กระจงควาย ลิงกัง เลียงผา หมาหริ่ง
หมีหมา และอีเห็นหน้าขาว
Mammal
แนวสารวจฝั่งน้าตกหงาว พบสัตว์ป่า 23 ชนิด
ความชุกชุมมาก 5 ชนิด ได้แก่ หมูป่า กระรอก
ท้องแดง เม่นหางพวง ค่างแว่นถิ่นใต้ และลิงเสน
ชุกชุมปานกลาง 2 ชนิด ได้แก่ พญากระรอกดา
และลิ่นพันธุ์ใต้
ชุกชุมน้อย 16 ชนิด ได้แก่ บ่าง หมีหมา ชะมด
แผงหางปล้อง นากเล็กเล็บสั้น เม่นใหญ่ ชะมด
เช็ด ชะมดแปลงลายแถบ เลียงผา อ้นเล็ก ค่างดา
ชะนีธรรมดา ลิงกัง เสือดาว หนูเหม็น อ้นใหญ่
และอีเห็นธรรมดา
ดัชนีความคล้ายคลึงของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม Jaccard(1902)
ทุ่งระยะ-นา
สัก
17 ชนิด
น้าตกห
งาว
23 ชนิด
13
ชนิด
0.48
ค่าดัชนีของ Jaccard มีค่าอยู่ระหว่าง 0 – 1 แสดงว่ามีความคล้ายคลึงกันในระดับปานกลาง
แต่เมื่อพิจารณาเฉพาะสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ที่มีบทบาทสาคัญในระบบนิเวศป่าไม้ ซึ่งพบ
ทั้งหมด 4 ชนิด ค่าความคล้ายคลึงได้เท่ากับ 0.75 นั่นคือพบสัตว์ป่า 3 ชนิด คือ หมูป่า หมีหมา
และเลียงผา อาศัยหรือมีร่องรอยอยู่ในทั้ง 2 ฝั่งพื้นที่แนวสารวจ
ผลรวมของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในพื้นที่
ศึกษาแนวเชื่อมต่อฯ จานวน 27 ชนิด พบสัตว์
ป่าที่มีความชุกชุมมาก 3 ชนิด ชุกชุมปานกลาง 5
ชนิด และชุกชุมน้อย 19 ชนิด
จากร่องรอยสัตว์ป่าที่สารวจพบและนา
ผลมาประเมินค่าร้อยละความชุกชุมนั้น จะพบว่า
สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่พบ เป็นสัตว์ขนาดเล็กถึง
กลางเกือบทั้งหมด และส่วนใหญ่เป็นสัตว์กินพืช
หรือกินสัตว์ขนาดเล็กเท่านั้น สัตว์ผู้ล่าขนาดใหญ่
ที่อยู่ส่วนบนสุดของห่วงโซ่อาหาร ขาดหายไป
100
21
13
4
0
20
40
60
80
100
120
หมูป่า หมีหมา เลียงผา เสือดาว
ฤดูร้อน
ฤดูฝน
รวม
พบว่ามีหมูป่าเพียงนิดเดียวที่มีความ ซึ่งชุกชุมสูงมากถึง 100 เปอร์เซ็นต์ นั่นคือพบ
ในทุกเส้นสารวจและทุกฤดูกาล ส่วนอีก 3 ชนิด ซึ่งได้แก่ หมีหมา เลียงผา และเสือดาว พบ
มีความชุกชุมน้อย โดยเฉพาะเสือดาวนั้นพบรอยเท้าเพียงครั้งเดียว ในการสารวจรอบฤดู
ร้อนของแนวสารวจที่ 2 ฝั่งแนวสารวจอุทยานแห่งชาติน้าตกหงาว
สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ที่มีบทบาทสาคัญในระบบนิเวศป่าไม้
รอยตีนกระจง รอยตีนเสือดาว
Reptile
สัตว์เลื้อยคลาน จานวน 23 ชนิด ได้แก่ เต่าหกดา เต่าเหลือง
เต่าใบไม้ ตะกวด เห่าช้าง ตุ๊กแกป่า ตุ๊กแกบิน งูกะปะ งูเหลือม งูจงอาง
งูเขียวปากแหนบ งูเขียวหัวจิ้งจก งูเขียวหางไหม้ งูกินทากเกล็ดสั้น งู
สามเหลี่ยมหัวแดง งูปล้องทอง งูสิง กิ้งก่าแก้ว กิ้งก่าเขียว กิ้งก่าเขาหนาม
ยาว กิ้งก่าบิน กิ้งก่าคอแดง จิ้งเหลนบ้าน
Reptile
Amphibian
สัตว์สะเทินน้าสะเทินบก จานวน 12 ชนิด ประกอบด้วย กบทูด
กบท่าสาน กบนิ้วปาดปัญหา กบอ๋อง กบชะง่อนผาตะนาวศรี กบชะง่อน
ผาใต้ เขียดเขาหลังตอง เขียดงูธรรมดา จงโคร่ง คางคกบ้าน คางคก
ห้วยระนอง ปาดบ้าน
Amphibian
นกปรอทคอลายนกกางเขนดง
กะเต็นลาย บั้งรอกเขียวอกแดง
ภัยคุกคาม
การปฏิบัติงานในพื้นที่
โครงการศึกษาและสารวจความหลากหลายทางชีวภาพ
ของพื้นที่คุ้มครองทางทะเลระหว่างอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะอ่างทอง จังหวัดสุราษฏร์ธานี
และอุทยานแห่งชาติหาดขนอม-หมู่เกาะทะเลใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช
ดาเนินการโดย
ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครองทางทะเล จังหวัดชุมพร
พื้นที่ดาเนินการ
วิธีการดาเนินการ
การสารวจแบบ MantaTow technique
เป็นวิธีการที่ใช้ในการประเมินสภาพแนวปะการังและการปกคลุมพื้นที่
ด้วยสายตา การสารวจด้วยวิธีนี้ใช้ในกรณีที่ต้องการตรวจสอบสถานภาพของ
แนวปะการังอย่างกว้างๆ ในการสารวจสารวจแต่ละครั้งจะใช้ประเมินสภาพแนว
ปะการังในพื้นที่ประมาณ 120x5 เมตร หรือ 120x10 เมตรขึ้นกับรัศมีสายตาที่
สามารถมองเห็นได้ตามความกว้าง ทาการบันทึกจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดด้วย
เครื่องกาหนดพิกัด (GPS) ผู้สารวจสังเกตและบันทึกข้อมูลโดยการประมาณค่า
ร้อยละ การปกคลุมของปะการังมีชีวิต ปะการังตาย พื้นทราย พื้นหิน กลุ่มชนิด
ปะการังหลักๆ และข้อมูลอื่นๆ เช่นร่องรอยความเสียหายจากการฟอกขาว พายุ
หรือจานวนของดาวมงกุฎหนาม
การสารวจแบบ Line Intercept Transect
โดยการวาง line เพื่อศึกษาระบบนิเวศแนวปะการัง ด้านชนิดพันธุ์ การ
กระจาย รวมถึงความหลากหลายและโครงสร้างของสังคมปะการังนั้น ๆ
การสารวจแบบ Photo Belt Transect
ทาการสารวจโดยการวางเส้นสารวจยาวประมาณ 20 หรือ 30 เมตร
ขนานไปกับแนวชายฝั่ง จานวน 5 transect ในแต่ละสถานี ก่อนเริ่มถ่ายภาพ
จะต้องทาการทาเครื่องหมายจุดเริ่มต้น พร้อมถ่ายภาพบันทึกไว้เป็นภาพแรก
ก่อนการสารวจ จากนั้นเริ่มบันทึกด้วยกล้องบันทึกภาพใต้น้าทุก transect line
โดยบันทึกภาพให้มีระยะห่างระหว่างกล้องกับพื้นประมาณ 30 เซนติเมตร โดยใช้
มุมมองภาพกว้างที่สุดเพื่อครอบคลุมพื้นที่มากที่สุด ถ่ายภาพด้านข้างสายวัดใน
แนวตั้งฉากโดยไม่ให้สายวัดปรากฏในภาพ และทาการบันทึกภาพทุกๆ 50
เซนติเมตร จนครบทั้งเส้นสารวจ
ด้านการสารวจทรัพยากรแนวปะการัง
ผลการดาเนินการ
ดาเนินการสารวจในพื้นที่อุทยานแห่งชาติหาดขนอม – หมู่เกาะ
ทะเลใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช จานวน 4 สถานี คือ บริเวณเกาะวังนอก
เกาะวังใน เกาะแตน และเกาะราบ ซึ่งอยู่ระหว่างการวิเคราะห์ข้อมูล
ด้านการสารวจทรัพยากรป่าชายเลน จากการสารวจทรัพยากรป่าชาย
เลน บริเวณอุทยานแห่งชาติหาดขนอม –
หมู่เกาะทะเลใต้ พบพันธุ์ไม้ทั้งหมด 11
ชนิด คือ แสมขาว โกงกางใบเล็ก ตะบูน
ขาว ตะบูนดา ตาตุ่มทะเล ถั่วขาว ถั่วดา
ฝาดดอกขาว พังกาหัวสุมดอกแดง
โพทะเล และลาแพน มีพันธุ์ไม้เด่น ได้แก่
ตะบูนขาว ตามตุ่มทะเล ถั่วขาว และ
โพทะเล มีค่า 79.69, 39.84, 28.39,
และ21.92 เป็นต้น
จากการพิจารณาโครงสร้างด้านของพันธุ์ไม้ป่าชายเลน พบมีการปกคลุมเรือน
ยอดแบบปิด เมื่อพิจารณาการปกคลุมเรือนยอด พบมีเพียงชั้นเรือนยอดเดียว พันธุ์ไม้ส่วน
ใหญ่มีความสูงตั้ง 5 -12 เมตร
ด้านการสารวจทรัพยากรหญ้าทะเลจากการสารวจพบหญ้า
ทะเลทั้งหมด 5 ชนิด คือ หญ้า
กุยช่ายเข็ม หญ้ากุยช่ายทะเล หญ้า
ชะเงาเต่า หญ้าใบมะกรูด และหญ้า
คาทะเล พบหญ้ากุยช่ายทะเล มี
การมีความสาคัญมากที่สุด
รองลงมา คือ หญ้าคาทะเล หญ้า
ชะเงาเต่า และหญ้ากุยช่ายเข็ม มี
ค่า 86.92, 67.10, 53.34 และ
21.39 และอยู่ในระหว่างวิเคราะห์
ข้อมูลการปกคลุมพื้นที่
ชนิด ชื่อวิทยาศาสตร์ D F Do RD RF RDO IVI
สาหร่ายหูหนู Padina 0.01 10.91 0.000066116 0.66 3.87 0.66 5.20
กุ่ยช่ายเข็ม Halodule pinifolia 0.11 27.27 0.000777521 7.79 9.68 7.79 25.25
กุ่ยช่ายทะเล
Halodule
uninervis 0.45 56.36 0.003284628 32.90 20.00 32.90 85.80
ชะเงาเต่า
Thalassia
hemprichii 0.27 47.27 0.001951736 19.55 16.77 19.55 55.87
ใบมะกรูด Halophila ovalis 0.23 34.55 0.001644959 16.48 12.26 16.48 45.21
หญ้าคาทะเล Enhalus acorides 0.22 67.27 0.001597355 16.00 23.87 16.00 55.87
สาหร่ายพัด 0.06 18.18 0.000465455 4.66 6.45 4.66 15.78
ปลา 0.00 1.82 5.28926E-06 0.05 0.65 0.05 0.75
ฝอย 0.03 16.36 0.000185124 1.85 5.81 1.85 9.52
หอย 0.00 1.82 0.000005289 0.05 0.65 0.05 0.7511
1.37 281.82 0.009983471 100 100 100 300
ตารางที่ 1 ค่าดัชนีความสาคัญ (IVI)
หญ้าทะเลและสาหร่ายที่พบ
รูปลักษณ์ของหญ้าทะเล
หญ้าเงา หรือหญ้าอาพัน หญ้าเงาแคระ
หญ้าเงาใบเล็ก
หญ้าเงาใส
หญ้าต้นหอมทะเล
หญ้าตะกานน้าเค็ม
หญ้ากุ่ยช่ายเข็ม หญ้ากุ่ยช่ายทะเล
หญ้าคาทะเล หญ้าชะเงาเต่า
หญ้าชะเงาใบฟันเลื่อย
หญ้าชะเงาใบมน
ด้านการสารวจทรัพยากรสัตว์ทะเลหายากและใกล้สูญพันธ์
ซึ่งจากการสอบถาม
จากบ้าน/ชาวประมง
พบโลมาปากขวด
บริเวณใกล้ ๆ แหลม
ประทับ จานวน 2 คู่
โครงการสารวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ทางทะเลระหว่างพื้นที่คุ้มครองทางทะเลอันดามันตอนเหนือและพื้นที่แนวเชื่อมต่อ
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะระนองและอุทยานแห่งชาติแหลมสน จังหวัดพังงาและ
ระนอง
ดาเนินการโดย
ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครองทางทะเล จังหวัดภูเก็ต
• อุทยานแห่งชาติแหลมสน
• อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะระนอง
• พื้นที่คุ้มครองทางทะเลใกล้เคียง
พื้นที่ดาเนินงาน
 การสารวจแนวปะการัง
Manta Tow Technique อาจใช้กล้องวีดีโอแทนนักดาน้า
Line Intercept Transect,
Photo Transect
วิธีการสารวจ : การสารวจแนวปะการัง
แนวปะการัง
การประเมิน วิธี Line intercept transect โดยการวางเส้นเทปยาว
30 เมตร จานวน 3 ซ้า (replicate) บันทึกขนาดและจานวนของสิ่งมีชีวิต
ภายใต้เส้นเทป
การวิเคราะห์ข้อมูล โดยหาค่าเปอร์เซ็นต์ครอบคุลมพื้นที่ของสิ่งมีชีวิต
และแปลค่าบอกถึงสภาพของแนวปะการัง และหาค่าดัชนีความ
หลากหลายด้วยดัชนี Shannon-Wiener Index
ทาโดยผู้เชี่ยวชาญ
แนวปะการัง
การประเมิน วิธี Photo Transect โดยการวางเส้นเทปยาว 30
เมตร จานวน 3 ซ้า (replicate) วาง Quadrat ขนาด 50x50 เซนติเมตร
ถ่ายภาพต่อเนื่อง 60ภาพ สถานีละ 180 ภาพ คู่ขนานกับเส้นเทป
การวิเคราะห์ข้อมูล นาเข้าโปรแกรม CPCeโดยหาค่าเปอร์เซ็นต์
ครอบคลุมพื้นที่ของสิ่งมีชีวิต และแปลค่าบอกถึงสภาพของแนวปะการัง
และหาค่าดัชนีความหลากหลายด้วยดัชนี Shannon-Wiener Index
• Belt transect
• Estimated timed swim
• Estimated distance swim
• ใช้วิธี Fish visual census โดยการนับจานวนปลาที่อยู่ในแนว Belt
transect
• จาแนกกลุ่มของปลาตาม Trophic level ดังนี้
1. กลุ่มปลากินเนื้อ 4. กลุ่มปลาที่พบได้ทั่วไป
2. กลุ่มปลากินพืช 5. กลุ่มปลาหายาก
3. กลุ่มปลาที่กินแพลงก์ตอน 6. กลุ่มปลาสวยงาม
วิธีการเก็บข้อมูลสถานภาพปลา
หญ้าทะเล
ก า ร ส า ร ว จ ห ญ้ า ท ะ เ ล มี วิ ธี ก า ร ส า ร ว จ 3 แ บ บ คื อ
1. การสารวจแบบ Line transects โดยการวางแนวตั้งฉากกับ
ชายฝั่ง บันทึกพิกัดเริ่มต้นและสุดท้ายของแนว กาหนดสถานีเก็บข้อมูล
ทุกๆ 50 เมตรในพื้นที่มีหญ้าทะเลผืนกว้าง โดยโยนกรอบสี่เหลี่ยม
(Quadrat) 0.5x0.5 เมตร ซ้ายและขวา 2 ซ้า และประเมินร้อยละการปก
คลุมของหญ้าทะเลโดยรวม
ด้านทรัพยากรทางทะเล
2. ใช้วิธี line transect ตามความลาดชันของชายฝั่ง โดยวาง Quadrat ขนาด
50x50 เซนติเมตรทุกๆ 10 เมตรในพื้นที่มีหญ้าทะเลน้อยตลอดแนวประเมินร้อย
ละการปกคลุมของหญ้าทะเล และวัดความยาวใบของหญ้าทะเล
3. การสารวจแบบ Spot check ในพื้นที่น้าลึก โดยการใช้เรือสารวจตาม
แนวตั้งฉากกับชายฝั่ง กาหนดสถานีทุกๆ 100 เมตร และเก็บข้อมูลโดยการดาน้า
หรืออาจใช้กล้องวิดีโอแทนนักดาน้าประเมินร้อยละการปกคลุมของหญ้าทะเล
โดยรวม
การสารวจแนวหญ้าทะเล
ด้านทรัพยากรทางทะเล
ป่าชายเลน
1. ทาการวางเส้นแนวสารวจ (Base line) ตั้งฉากจากริมฝั่งคลอง ทะเล หรือชายป่า
ชายเลนที่ติดกับชายฝั่งลึกเข้าไปจนสุดแนวของป่าชายเลน จากนั้นวางแปลงขนาด 10x10
เมตร ติดต่อกันเป็นแถบตลอดความยาวของสาหรับจานวนแนวที่ศึกษาขึ้นอยู่กับความ
ละเอียดของการศึกษาและขนาดพื้นที่ป่าชายเลน
www.dnpii.org
Contact : ฝ่ายวิจัยฯ email : hnukool@hotmail.com

More Related Content

What's hot

สรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspa
สรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspaสรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspa
สรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspayah2527
 
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตาแผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตาyah2527
 
METT book
METT bookMETT book
METT bookUNDP
 
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557Narong Jaiharn
 
ศ.ดร นิพนธ์ ศาสตร์พระราชา
ศ.ดร นิพนธ์ ศาสตร์พระราชาศ.ดร นิพนธ์ ศาสตร์พระราชา
ศ.ดร นิพนธ์ ศาสตร์พระราชาyah2527
 
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่าง
T-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่างT-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่าง
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่างAuraphin Phetraksa
 
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) UNDP
 
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดพิษณุโลก
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดพิษณุโลกT-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดพิษณุโลก
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดพิษณุโลกAuraphin Phetraksa
 
9.00 อ.ปรารพ (2) งานนำเสนอปิดโครงการ catspa ใช้งาน
9.00 อ.ปรารพ (2) งานนำเสนอปิดโครงการ catspa ใช้งาน9.00 อ.ปรารพ (2) งานนำเสนอปิดโครงการ catspa ใช้งาน
9.00 อ.ปรารพ (2) งานนำเสนอปิดโครงการ catspa ใช้งานyah2527
 
แก่งเสือเต้น
แก่งเสือเต้นแก่งเสือเต้น
แก่งเสือเต้นPoramate Minsiri
 
Carrying Capacity
Carrying CapacityCarrying Capacity
Carrying Capacityyah2527
 
นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗Auraphin Phetraksa
 
รายงานการศึกษาร่างแรก
รายงานการศึกษาร่างแรกรายงานการศึกษาร่างแรก
รายงานการศึกษาร่างแรกweeraboon wisartsakul
 

What's hot (13)

สรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspa
สรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspaสรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspa
สรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspa
 
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตาแผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
 
METT book
METT bookMETT book
METT book
 
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
 
ศ.ดร นิพนธ์ ศาสตร์พระราชา
ศ.ดร นิพนธ์ ศาสตร์พระราชาศ.ดร นิพนธ์ ศาสตร์พระราชา
ศ.ดร นิพนธ์ ศาสตร์พระราชา
 
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่าง
T-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่างT-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่าง
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่าง
 
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
 
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดพิษณุโลก
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดพิษณุโลกT-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดพิษณุโลก
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดพิษณุโลก
 
9.00 อ.ปรารพ (2) งานนำเสนอปิดโครงการ catspa ใช้งาน
9.00 อ.ปรารพ (2) งานนำเสนอปิดโครงการ catspa ใช้งาน9.00 อ.ปรารพ (2) งานนำเสนอปิดโครงการ catspa ใช้งาน
9.00 อ.ปรารพ (2) งานนำเสนอปิดโครงการ catspa ใช้งาน
 
แก่งเสือเต้น
แก่งเสือเต้นแก่งเสือเต้น
แก่งเสือเต้น
 
Carrying Capacity
Carrying CapacityCarrying Capacity
Carrying Capacity
 
นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗
 
รายงานการศึกษาร่างแรก
รายงานการศึกษาร่างแรกรายงานการศึกษาร่างแรก
รายงานการศึกษาร่างแรก
 

Viewers also liked

โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...Auraphin Phetraksa
 
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติInVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติAuraphin Phetraksa
 
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรังชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรังAuraphin Phetraksa
 
แปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวรแปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวรAuraphin Phetraksa
 
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออกUNDP
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวAuraphin Phetraksa
 
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557Auraphin Phetraksa
 
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์Auraphin Phetraksa
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศUNDP
 
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม UNDP
 
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดตรัง
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดตรังT-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดตรัง
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดตรังAuraphin Phetraksa
 
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาดการเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาดAuraphin Phetraksa
 
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินคู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินUNDP
 
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณแนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณUNDP
 
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...UNDP
 
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครองUNDP
 
รายงานข้อเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพ
รายงานข้อเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพรายงานข้อเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพ
รายงานข้อเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพUNDP
 
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุนการวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุนUNDP
 
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศการวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศUNDP
 

Viewers also liked (20)

โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
 
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติInVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
 
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรังชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
 
แปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวรแปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวร
 
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
 
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
 
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
Carbon Credits
Carbon CreditsCarbon Credits
Carbon Credits
 
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
 
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดตรัง
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดตรังT-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดตรัง
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดตรัง
 
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาดการเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
 
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินคู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
 
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณแนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
 
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
 
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
 
รายงานข้อเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพ
รายงานข้อเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพรายงานข้อเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพ
รายงานข้อเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพ
 
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุนการวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
 
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศการวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
 

Similar to แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ

คัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทย
คัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทยคัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทย
คัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทยUNDP
 
โครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลนโครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลนtawinee
 
โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริtipfylovely
 
โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร pang_patpp
 
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้Sompop Petkleang
 
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่งโครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่งTaweesak Poochai
 
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิรินศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิรินmoddodcom
 
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิรินศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิรินmoddodcom
 
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิรินศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิรินmoddodcom
 
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมืองPPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมืองFURD_RSU
 
Marine smart patrol 2
Marine smart patrol 2Marine smart patrol 2
Marine smart patrol 2yah2527
 
อุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิต
อุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิตอุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิต
อุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิตyah2527
 
โครงการในพระราชดำริ ป่าสงวนขุนแม่กวง
โครงการในพระราชดำริ ป่าสงวนขุนแม่กวงโครงการในพระราชดำริ ป่าสงวนขุนแม่กวง
โครงการในพระราชดำริ ป่าสงวนขุนแม่กวง0857099227
 
โครงการปลูกป่าคืนชีวิตสู่ธรรมชาติ
โครงการปลูกป่าคืนชีวิตสู่ธรรมชาติโครงการปลูกป่าคืนชีวิตสู่ธรรมชาติ
โครงการปลูกป่าคืนชีวิตสู่ธรรมชาติพัน พัน
 
Sea turtles preservation
Sea turtles preservationSea turtles preservation
Sea turtles preservationaunun
 
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56krupornpana55
 
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56krupornpana55
 

Similar to แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (20)

คัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทย
คัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทยคัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทย
คัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทย
 
โครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลนโครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลน
 
โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริ
 
โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร
 
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
 
10
1010
10
 
10
1010
10
 
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่งโครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
 
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิรินศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
 
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิรินศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
 
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิรินศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
 
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมืองPPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
 
Marine smart patrol 2
Marine smart patrol 2Marine smart patrol 2
Marine smart patrol 2
 
อุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิต
อุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิตอุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิต
อุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิต
 
โครงการในพระราชดำริ ป่าสงวนขุนแม่กวง
โครงการในพระราชดำริ ป่าสงวนขุนแม่กวงโครงการในพระราชดำริ ป่าสงวนขุนแม่กวง
โครงการในพระราชดำริ ป่าสงวนขุนแม่กวง
 
04
0404
04
 
โครงการปลูกป่าคืนชีวิตสู่ธรรมชาติ
โครงการปลูกป่าคืนชีวิตสู่ธรรมชาติโครงการปลูกป่าคืนชีวิตสู่ธรรมชาติ
โครงการปลูกป่าคืนชีวิตสู่ธรรมชาติ
 
Sea turtles preservation
Sea turtles preservationSea turtles preservation
Sea turtles preservation
 
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
 
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
 

More from Auraphin Phetraksa

การใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณการใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณAuraphin Phetraksa
 
แนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อแนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อAuraphin Phetraksa
 
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาวสถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว Auraphin Phetraksa
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกAuraphin Phetraksa
 
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพรผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพรAuraphin Phetraksa
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกAuraphin Phetraksa
 
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานีการเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานีAuraphin Phetraksa
 
Chamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรีChamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรีAuraphin Phetraksa
 
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ตCorridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ตAuraphin Phetraksa
 
การกัดเซาะชายหาด ๕๗
การกัดเซาะชายหาด ๕๗การกัดเซาะชายหาด ๕๗
การกัดเซาะชายหาด ๕๗Auraphin Phetraksa
 
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่Auraphin Phetraksa
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติAuraphin Phetraksa
 
แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)
แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)
แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)Auraphin Phetraksa
 
ปะการังฟอกขาว
ปะการังฟอกขาวปะการังฟอกขาว
ปะการังฟอกขาวAuraphin Phetraksa
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวAuraphin Phetraksa
 

More from Auraphin Phetraksa (18)

การใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณการใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณ
 
แนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อแนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อ
 
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาวสถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
 
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพรผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
 
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานีการเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
 
Chamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรีChamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรี
 
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ตCorridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
 
Corridor 55-56
Corridor 55-56Corridor 55-56
Corridor 55-56
 
การกัดเซาะชายหาด ๕๗
การกัดเซาะชายหาด ๕๗การกัดเซาะชายหาด ๕๗
การกัดเซาะชายหาด ๕๗
 
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
 
Prosopis juliflora tha_edit1
Prosopis juliflora tha_edit1Prosopis juliflora tha_edit1
Prosopis juliflora tha_edit1
 
แปลงถาวร
แปลงถาวร แปลงถาวร
แปลงถาวร
 
แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)
แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)
แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)
 
ปะการังฟอกขาว
ปะการังฟอกขาวปะการังฟอกขาว
ปะการังฟอกขาว
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
 

แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ