SlideShare a Scribd company logo
1 of 48
Download to read offline
 อุทยานแห่งชาติเขาเเหลมหญ้า-หมู่เกาะเสม็ด ตั้งอยู่บริเวณชายฝั่งทะเลด้านอ่าวไทยใน
ท้องที่อาเภอแกลง และอาเภอเมือง จังหวัดระยอง ครอบคลุมพื้นที่บนฝั่งและในท้อง
ทะเล ตลอดจนเกาะต่างๆ ประกอบด้วยเกาะเสม็ด เกาะจันทร์ เกาะทะลุ เกาะกุฎี เกาะ
มะขาม และเกาะปลายตีน เขาแหลมหญ้าและชายทะเลด้านทิศตะวันตกของเขาแหลม
หญ้า มีเนื้อที่ประมาณ 81755 ไร่ (131 ตร.กม.)
ข้อมูลพื้นฐาน
สถานการณ์กรณีน้ามันดิบรั่วไหล
อุทยานแห่งชาติเขาแหลมหญ้า – หมู่เกาะเสม็ด จังหวัดระยอง
เมื่อ วันที่ 27 กรกฎาคม 2556
เมื่อเวลา 06.50 น. วันที่ 27 กรกฎาคม 2556 เกิดเหตุการณ์น้ามันดิบรั่วประมาณ
50,000 ลิตร ในทะเล ห่างจากท่าเรือน้าลึกมาบตาพุดไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ประมาณ
20 กิโลเมตร ขณะกาลังมีการส่งน้ามันมายัง โรงกลั่นน้ามันของ บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิ
คอล จากัด (มหาชน)
วันที่ 29 กรกฎาคม 2556 คราบน้ามันที่ผิวหน้าทะเล มีขนาดพื้นที่ประมาณ 15 ตาราง
กิโลเมตร ห่างชายฝั่งทะเลประมาณ 1.6 กิโลเมตร โดยคราบน้ามันที่พบเป็นบริเวณกว้างจะอยู่ทาง
ตอนเหนือของเกาะเสม็ด (วงสีเขียว) และมีทิศทางเคลื่อนที่ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือเข้าหาฝั่ง
แต่มีลักษณะเป็นเพียงแผ่นฟิล์มบางๆ
วันที่ 30 กรกฎาคม 2556 อาณาบริเวณของคราบน้ามันที่เป็นฟิล์มบางๆ ด้าน
เหนือของเกาะเสม็ดและอ่าวบ้านเพ มีขนาดลดลง
วันที่ 31 กรกฎาคม 2556 อาณาบริเวณของคราบน้ามันที่เป็ นฟิ ล์มบางๆ ที่ยังมีอยู่
ทางด้านเหนือของเกาะเสม็ด ซึ่งมีขนาดลดลงจากเมื่อวานนี้เล็กน้อย (ประมาณ 10 ตาราง
กิโลเมตร) และมีการกระจายตัวของฟิล์มน้ามันบางส่วนทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะเสม็ด
วันที่ 1 สิงหาคม 2556 ทางด้านเหนือของเกาะเสม็ด แสดงให้เห็นอาณาบริเวณของ
คราบน้ามันที่เป็ นฟิ ล์มที่มีขนาดและปริมาณลดลงจากเมื่อวานนี้ จากประมาณ 9 ตาราง
กิโลเมตร เหลือ 5 ตารางกิโลเมตร และมีการหดตัวลงจนกระจายตัวไปไม่ถึงเกาะปลาตีน เกาะ
ขาม และเกาะกุฎี นอกจากนี้เริ่มเห็นผิวน้าสีอ่อนแทรกตัวอยู่ในอาณาบริเวณของฟิล์มนี้
วันที่ 2 สิงหาคม 2556 ทางด้านเหนือของเกาะเสม็ด แสดงให้เห็นอาณาบริเวณของฟิล์ม
น้ามันที่ลดลงมากจากเมื่อวานนี้ จนแทบมองไม่เห็นด้วยภาพถ่ายดาวเทียมแต่ทั้งนี้ สาหรับการ
สารวจทางภาคพื้นดิน บริเวณชายหาดต่างๆ ยังมีความจาเป็นเพื่อตรวจสอบปริมาณคราบหรือ
ฟิล์มน้ามันที่อาจจะหลงเหลืออยู่บ้าง เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ดาเนินการในขั้นตอนต่างๆ
ต่อไป
สรุปผลกระทบด้านระบบนิเวศแนวปะการัง
จากกรณีน้ามันดิบรั่วไหล
บริเวณอุทยานแห่งชาติเขาแหลมหญ้า – หมู่เกาะเสม็ด
1. อ่าวมะพร้าวด้านทิศเหนือ พิกัด 47 P 0765825
UTM 1391124
2. อ่าวพร้าวด้านทิศใต้ พิกัด 47 P 0766017 UTM
1390634 (ได้รับผลกระทบจากคราบน้ามันอย่างรุนแรง)
3.อ่าวปลาต้ม พิกัด 47 P 0765934 UTM 1389864
4.เกาะจันทร์ พิกัด 47 P 0765522 UTM 1384746
พื้นที่ในการศึกษา
 ศึกษาผลกระทบจากน้ามันรั่วไหลต่อแนวปะการัง
o โครงสร้างกลุ่มสิ่งมีชีวิตแนวปะการัง
o สรีรวิทยาปะการัง
o สัตว์ทะเลหน้าดินขนาดใหญ่
o ปลาในแนวปะการัง
วิธีการดาเนินงาน :
1. ศึกษาสถานภาพทรัพยากรปะการังโดยวิธี Photo Belt Transect
โดยวิธีการวาง Line จานวน 2 Line/1 สถานี ในลักษณะตั้งฉากกับ
ชายฝั่งจนถึงสุดขอบแนวปะการัง
2. เก็บข้อมูลและบันทึกภาพ โดยวางquadrateขนาด 50 x 50
เซนติเมตร บริเวณจุดเริ่มต้นสารวจจนสุดแนวเส้นสารวจ
3. วัดความลึกทุก 2 เมตร
4. จับพิกัดด้วยเครื่องกาหนดพิกัดดาวเทียม (GPS) ทั้งหัว Line และ
ท้าย Line
5. วิเคราะห์ข้อมูลในห้องปฏิบัติการ
สถานภาพแนวปะการัง
• ปะการังตายมากที่สุดบริเวณ อ่าวปลาต้ม (36%)
• ปะการังตายเป็นบางส่วนมากที่สุดบริเวณ อ่าวพร้าวใต้ (53%)
36%
53%
No.ofcoralcolonies(%)
Normal Partial mortality Death
 ปะการังตายก่อนการเกิดน้ามันรั่วไหล
ระยะเวลาในการสารวจหลังจากน้ามันรั่วไหล
1 เดือน 3 เดือน 6 เดือน
สิงหาคม 2556 ตุลาคม 2556 มกราคม 2557
0
5
10
15
20
25
30
35
40
45
50
อ่าวพร้าวแหนือ อ่าวพร้าวใต้ อ่าวปลาต้ม เกาะจันทร์
สิงหาคม 2556 ตุลาคม 2556 มกราคม 2557
การปกคลุมพื้นที่ร้อยละ
 การปกคลุมพื้นที่ของปะการังมีชีวิต
•การเปลี่ยนแปลงการปกคลุมพื้นที่ของปะการังมีชีวิตทั้ง 3 ช่วงเวลา
ไม่มีนัยสาคัญ
สถานภาพแนวปะการัง
อ่าวพร้าวเหนือ
ผลกระทบต่อปะการัง
• ปะการังฟอกขาว
• ปะการังขับเมือกมากกว่าปกติ
• ปะการังส่วนใหญ่ที่ได้รับผลกระทบคือ ปะการังโขด (Porites lutea)
- อ่าวพร้าว ด้านทิศเหนือ
- อ่าวพร้าว ด้านทิศใต้
- อ่าวปลาต้ม
bleaching
(Porites lutea)
partial bleaching
(Astreopora myriophthalma)
production of mucus
(Porites lutea)
: 1 เดือนหลังจากน้ามันรั่วไหล
ผลกระทบต่อปะการัง
 ภาพตัดขวางแนวปะการังและระดับน้าทะเล: อ่าวพร้าวเหนือ
ผลกระทบต่อปะการัง
 ภาพตัดขวางแนวปะการังและระดับน้าทะเล: อ่าวพร้าวใต้
ผลกระทบของต่อปะการัง
 ภาพตัดขวางแนวปะการังและระดับน้าทะเล: อ่าวปลาต้ม
ผลกระทบต่อปะการัง
• อ่าวพร้าวเหนือ
86
100 100
3
0 0
12
0 0
0%
10%
20%
30%
40%
50%
60%
70%
80%
90%
100%
สิงหาคม ตุลาคม มกราคม
จ้านวนโคโลนี%
อกขาว ขับเมือก ปกติ
:แต่ละช่วงเวลา 1, 3, 6 เดือนหลังน้ามันรั่วไหล
ผลกระทบของต่อปะการัง
• อ่าวพร้าวใต้
72
86
100
8
4
0
20
10
0
0%
10%
20%
30%
40%
50%
60%
70%
80%
90%
100%
สิงหาคม ตุลาคม มกราคม
จ้านวนโคโลนี%
อกขาว ขับเมือก ปกติ
:แต่ละช่วงเวลา 1, 3, 6 เดือนหลังน้ามันรั่วไหล
ผลกระทบต่อปะการัง
•อ่าวปลาต้ม
86
96 100
3
0
0
11
4 0
0%
10%
20%
30%
40%
50%
60%
70%
80%
90%
100%
สิงหาคม ตุลาคม มกราคม
จ้านวนโคโลนี%
อกขาว ขับเมือก ปกติ
4
:แต่ละช่วงเวลา 1, 3, 6 เดือนหลังน้ามันรั่วไหล
ผลกระทบต่อปะการัง
• เกาะจันทน์
100 100 100
0 0 00 0 0
0%
10%
20%
30%
40%
50%
60%
70%
80%
90%
100%
สิงหาคม ตุลาคม มกราคม
จ้านวนโคโลนี%
อกขาว ขับเมือก ปกติ
:แต่ละช่วงเวลา 1, 3, 6 เดือนหลังน้ามันรั่วไหล
ผลกระทบต่อปะการัง
• การศึกษาติดตามการเปลี่ยนแปลง 3 ครั้ง ในช่วงเวลา 1, 3 และ 6 เดือน
หลังจากน้ามันรั่วไหล พบว่าช่วงเวลา 1 เดือนหลังจากน้ามันรั่วไหล ปะการังอยู่
ในภาวะอ่อนแอ โดยเฉพาะปะการังโขด Porites spp.)
• ปะการังบางโคโลนีแสดงอาการฟอกขาว และผลิตเมือกมากกว่าปกติ
• ผลกระทบต่อแนวปะการังบริเวณอ่าวพร้าวใต้ มีความรุนแรงมากกว่าสถานีศึกษา
อื่นๆ
• ผลกระทบดังกล่าวลดน้อยลงในช่วงเวลา 3 เดือน และไม่พบความผิดปกติใน
ช่วงเวลา 6 เดือนหลังจากน้ามันรั่วไหล
สรุปผล
สัตว์ทะเลหน้าดินขนาดใหญ่
หอยเม็ดขนุน (Arca ventricosa)
0.00
1.00
2.00
3.00
4.00
5.00
6.00
อ่าวพร้าวเหนือ อ่าวพร้าวใต้ อ่าวปลาต้ม เกาะจันทน์
สิงหาคม ตุลาคม มกราคม
ความหนาแน่นรวมเฉลี่ย
ตัวต่อตารางเมตร
หอยเม็ดขนุน (Arca ventricosa)
 พบมากบริเวณอ่าวปลาต้ม
 ผลกระทบของน้ามันรั่วไหลที่มีต่อหอยเม็ดขนุน Arca ventricosa) ไม่ชัดเจน
28
สัตว์ทะเลหน้าดินขนาดใหญ่
0.00
0.50
1.00
1.50
2.00
2.50
อ่าวพร้าวเหนือ พร้าวใต้ อ่าวปลาต้ม เกาะจันทน์
สิงหาคม ตุลาคม มกราคม
ความหนาแน่นรวมเฉลี่ย
ตัวต่อตารางเมตร
หอยเจาะปะการัง (Beguina semiorbiculata)
 พบมากบริเวณอ่าวปลาต้ม
 ผลกระทบของน้ามันรั่วไหลที่มีต่อหอยเจาะปะการัง Beguina semiorbiculata) ไม่ชัดเจน
หอยเจาะปะการัง
Beguina semiorbiculata)
29
เม่นทะเล (Diadema setosum)
เม่นทะเล (Diadema setosum)
สัตว์ทะเลหน้าดินขนาดใหญ่
• พบมากบริเวณเกาะจันทน์
• ผลกระทบของน้ามันรั่วไหลที่มีต่อเม่นทะเล Diadema setosum) ไม่ชัดเจน
0.00
0.50
1.00
1.50
2.00
2.50
3.00
3.50
4.00
4.50
5.00
อ่าวพร้าวเหนือ พร้าวใต้ อ่าวปลาต้ม เกาะจันทน์
สิงหาคม ตุลาคม มกราคม
ความหนาแน่นรวมเฉลี่ย
ตัวต่อตารางเมตร
ปลาในแนวปะการัง
0
5
10
15
20
25
อ่าวพร้าวเหนือ อ่าวพร้าวใต้ ปลาต้ม เกาะจันทน์
สิงหาคม 2556 ตุลาคม 2556 มกราคม 2557
ความหลากหลายของชนิด
ความหลากหลายของชนิดปลา
• ความหลากหลายของชนิดปลามากที่สุด
- เดือนสิงหาคม 2556 บริเวณอ่าวปลาต้ม
- เดือนตุลาคม 2556 บริเวณอ่าวปลาต้ม
- เดือนมกราคม 2557 บริเวณเกาะจันทน์
สิงหาคม 2556
ตุลาคม 2556
มกราคม 2557
จานวนชนิด
ปลาในแนวปะการัง
0
100
200
300
400
500
600
อ่าวพร้าวเหนือ อ่าวพร้าวใต้ ปลาต้ม เกาะจันทน์
สิงหาคม 2556 ตุลาคม 2556 มกราคม 2557
ความหนาแน่นตัว25ตร.ม.
 ความหนาแน่นของประชากรปลา
• หนาแน่นของประชากรปลามากที่สุด
- เดือนสิงหาคม 2556 บริเวณอ่าวปลาต้ม
- เดือนตุลาคม 2556 บริเวณเกาะจันทน์
- เดือนมกราคม 2557 บริเวณอ่าวพร้าวใต้
ปลาในแนวปะการัง
• ผลกระทบจากเหตุการณ์น้ามันรั่วไหลที่มีต่อความหลากหลายของชนิดและความหนาแน่น
ของปลาแนวปะการังไม่ชัดเจน
ปลาสลิดทะเลจุดเหลือง (Siganus guttatus)
ปลานกขุนทองเขียวอ่อน
(Halichoeres chloropterus)
ปลาสลิดหินเล็กเกล็ดวาว
(Neopomacentrus anabatoides)
ปลากะรังลายเสือครีบยาว
(Epinephelus quoyanus)
ปลาผีเสื้อแปดขีด
(Chaetodon octofasciatus)
ปลาสลิดหินบั้งหางกรรไกร
(Abudefduf sexfasciatus)
สรุปผล
ภาพปะการังแต่ละช่วงเวลาหลังเกิดเหตุ
1 เดือน 3 เดือน 6 เดือน
สิงหาคม 2556 ตุลาคม 2556 มกราคม 2557
สิงหาคม 2556
อ่าวพร้าวเหนือ
ตุลาคม 2556
อ่าวพร้าวเหนือ
มกราคม 2557
อ่าวพร้าวเหนือ
อ่าวพร้าวใต้
สิงหาคม 2556
ตุลาคม 2556
อ่าวพร้าวใต้
มกราคม 2557
อ่าวพร้าวใต้
อ่าวปลาต้ม
สิงหาคม 2556
ตุลาคม 2556
อ่าวปลาต้ม
มกราคม 2557
อ่าวปลาต้ม
เกาะจันทร์
สิงหาคม 2556
ตุลาคม 2556
เกาะจันทร์
มกราคม 2557
เกาะจันทร์
1 พฤษภาคม 2557
16 มิถุนายน 2557
ปรากฏการณ์อุณหภูมิน้าทะเลสูงผิดปกติ
ข้อมูลจาก
NOAA
( National Oceanic and
Atmospheric Administration)
ปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาวจากอุณหภูมิน้าทะเลสูงผิดปกติ
 สารวจเมื่อ 4 มิถุนายน 2557
• ปะการังฟอกขาวรอบเกาะเสม็ดมากกว่าร้อยละ 30
• ปะการังที่ฟอกขาว โดยเฉพาะปะการังโขด (Porites lutea)
ขอขอบคุณ
ผศ.ดร.ธรรมศักดิ์ ยีมิน
กลุ่มวิจัยความหลากหลายทางชีวภาพในทะเล
ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง
ดร.ทรงธรรม สุขสว่าง
ผอ.สถาบันนวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง
นายสุเมธ สายทอง
หัวหน้าอุทยานแห่งชาติเขาเเหลมหญ้า – หมู่เกาะเสม็ด
และคณะเจ้าหน้าที่และนักวิจัยทุกท่าน

More Related Content

Viewers also liked

T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดภูเก็ต
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดภูเก็ตT-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดภูเก็ต
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดภูเก็ตAuraphin Phetraksa
 
Chamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรีChamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรีAuraphin Phetraksa
 
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานีการเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานีAuraphin Phetraksa
 
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศสรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศAuraphin Phetraksa
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกAuraphin Phetraksa
 
แนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อแนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อAuraphin Phetraksa
 
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติInVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติAuraphin Phetraksa
 
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่นชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่นครูเย็นจิตร บุญศรี
 
การใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณการใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณAuraphin Phetraksa
 
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรังชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรังAuraphin Phetraksa
 
แปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวรแปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวรAuraphin Phetraksa
 
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออกUNDP
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวAuraphin Phetraksa
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศAuraphin Phetraksa
 
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...Auraphin Phetraksa
 
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557Auraphin Phetraksa
 
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์Auraphin Phetraksa
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศUNDP
 

Viewers also liked (18)

T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดภูเก็ต
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดภูเก็ตT-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดภูเก็ต
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดภูเก็ต
 
Chamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรีChamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรี
 
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานีการเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
 
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศสรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
 
แนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อแนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อ
 
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติInVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
 
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่นชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
 
การใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณการใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณ
 
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรังชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
 
แปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวรแปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวร
 
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
 
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
 
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 

More from Auraphin Phetraksa

การศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าการศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าAuraphin Phetraksa
 
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาวสถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว Auraphin Phetraksa
 
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาดการเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาดAuraphin Phetraksa
 
นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗Auraphin Phetraksa
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกAuraphin Phetraksa
 
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ตCorridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ตAuraphin Phetraksa
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)Auraphin Phetraksa
 
การกัดเซาะชายหาด ๕๗
การกัดเซาะชายหาด ๕๗การกัดเซาะชายหาด ๕๗
การกัดเซาะชายหาด ๕๗Auraphin Phetraksa
 
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่Auraphin Phetraksa
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติAuraphin Phetraksa
 
แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)
แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)
แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)Auraphin Phetraksa
 
ปะการังฟอกขาว
ปะการังฟอกขาวปะการังฟอกขาว
ปะการังฟอกขาวAuraphin Phetraksa
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวAuraphin Phetraksa
 

More from Auraphin Phetraksa (16)

การศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าการศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่า
 
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาวสถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
 
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาดการเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
 
นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
 
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ตCorridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
 
Corridor 55-56
Corridor 55-56Corridor 55-56
Corridor 55-56
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)
 
การกัดเซาะชายหาด ๕๗
การกัดเซาะชายหาด ๕๗การกัดเซาะชายหาด ๕๗
การกัดเซาะชายหาด ๕๗
 
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
 
Prosopis juliflora tha_edit1
Prosopis juliflora tha_edit1Prosopis juliflora tha_edit1
Prosopis juliflora tha_edit1
 
แปลงถาวร
แปลงถาวร แปลงถาวร
แปลงถาวร
 
แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)
แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)
แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)
 
ปะการังฟอกขาว
ปะการังฟอกขาวปะการังฟอกขาว
ปะการังฟอกขาว
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
 

ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร